You are on page 1of 35

หน่วยที 3 - 6 : สารรอบตัว

¾ สารและการจําแนกสาร
หน่วยที 3 - 6 1. สมบัตขิ องสาร
2. การจําแนกสาร
¾ การเปลียนแปลงของสาร
¾ สารบริสุทธิและสารผสม
สารรอบตัว 1. สารบริสุทธิ
2. สารผสม
3. สมบัตขิ องสารบริสุทธิและสารผสม
Free PowerPoint Templates
Free PowerPoint Templates

สารและการจําแนกสาร .. . หน่วยที 3 - 6 : สารรอบตัว


สสาร (Matter) คือ .. . ¾ สารและการจําแนกสาร
สิ งที อยู่ ร อบตั ว เรา มี ม วล มี ตั ว ตน ต้อ งการที อยู่ สั ม ผั ส ได้ 1. สมบัตขิ องสาร
2. การจําแนกสาร
มองเห็นได้ดว้ ยตาเปล่าหรือมองไม่เห็นด้วยตาเปล่าก็ได้
¾ การเปลียนแปลงของสาร
¾ สารบริสุทธิและสารผสม
แต่ถา้ สสาร ทีทราบสมบัติและองค์ประกอบ เรียกว่า “ สาร” 1. สารบริสุทธิ
(substance) 2. สารผสม
3. สมบัตขิ องสารบริสุทธิและสารผสม
สารและการจําแนกสาร .. . สมบัตขิ องสาร .. .
สสาร (Matter) คือ .. . หมายถึง ลักษณะเฉพาะตัวของสาร เช่น สาถานะ สี กลิน
สิ งที อยู่ ร อบตั ว เรา มี ม วล มี ตั ว ตน ต้อ งการที อยู่ สั ม ผั ส ได้ รส การละลายนํา จุดเดือด จุดหลอมเหลว ความเป็ นกรด – เบส
มองเห็นได้ดว้ ยตาเปล่าหรือมองไม่เห็นด้วยตาเปล่าก็ได้ เป็ นต้น ซึงสามารถสังเกตได้จากประสาทสัมผัสทัง 5 ซึงเมือสาร
เหล่านีได้รบั ความร้อนจะเกิดการเปลียนแปลง
แต่ถา้ สสาร ทีทราบสมบัติและองค์ประกอบ เรียกว่า “ สาร”
สมบัติ ข องสารแบ่ ง ออกเป็ น 2 ประเภท คื อ สมบัติท าง
(substance) กายภาพ และสมบัตทิ างเคมี

สมบัตขิ องสาร .. . สมบัตขิ องสาร .. .


สมบัตทิ างกายภาพ สมบัตทิ างเคมี
1. สังเกตได้จากภายนอก โดย 1. เกิดจากการทําปฏิกิริยาเคมี
ประสาทสัมผัสทัง 5 และองค์ประกอบเคมี
2. เช่น สี กลิน รส การละลาย สถานะ ทีมา : http://www.blisby.com/blog/diy-crystal-rock-candy/
2. เช่น การเผาไหม้ ผุกร่อน ความเป็ น ทีมา : https://pixabay.com/th/photos/%...

ความแข็ง การนําไฟฟ้ า เป็ นต้น กรด – เบส เป็ นต้น


3. เป็ นการเปลียนแปลงทางกายภาพ 3. เป็ นการเปลียนแปลงทางกายภาพ
ไม่ได้เกิดจากองค์ประกอบภายใน ทีมีผลต่อองค์ประกอบภายใน และ
และไม่เกิดสารใหม่ ทําให้สารมีสมบัตเิ ปลียนไปจากเดิม
ทีมา : https://www.sanook.com/home/19929/ ทีมา : https://pixabay.com/th/photos/%E0%B8...
การจําแนกสาร .. .
หน่วยที 3 - 6 : สารรอบตัว
คือ การจัดสารออกเป็ นหมวดหมู่ และประเภท เพือให้ง่าย
¾ สารและการจําแนกสาร
1. สมบัตขิ องสาร 9
ต่อการจําจดและใช้ประโยชน์
2. การจําแนกสาร
¾ การเปลียนแปลงของสาร โดยเกณฑ์ในการจําแนกมีหลายเกณฑ์ ได้แก่
¾ สารบริสุทธิและสารผสม 1. จําแนกสารโดยใช้สถานะของสารเป็ นเกณฑ์
1. สารบริสุทธิ 2. จําแนกโดยใช้เนือสารเป็ นเกณฑ์
2. สารผสม
3. สมบัตขิ องสารบริสุทธิและสารผสม
3. จําแนกโดยใช้ขนาดของอนุภาคเป็ นเกณฑ์

การจําแนกสาร .. . 1. การจําแนกสารโดยใช้สถานะเป็ นเกณฑ์ .. .


คือ การจัดสารออกเป็ นหมวดหมู่ และประเภท เพือให้ง่าย เป็ นการจําแนกโดยใช้สมบัติทางกายภาพ สารทีมี สถานะต่างกัน
ต่อการจําจดและใช้ประโยชน์ จะมีรูปร่างและปริมาตรไม่เท่ากัน การจัดเรียงอนุภาคไม่เหมือ นกัน แรง
ยึดเหนียวระหว่างโมเลกุลก็จะไม่เท่ากัน
โดยเกณฑ์ในการจําแนกมีหลายเกณฑ์ ได้แก่
1. จําแนกสารโดยใช้สถานะของสารเป็ นเกณฑ์ สามารถแบ่งออกเป็ น 3 ประเภท คือ .. .
2. จําแนกโดยใช้เนือสารเป็ นเกณฑ์ 1. ของแข็ง
2. ของเหลว
3. จําแนกโดยใช้ขนาดอนุภาคเป็ นเกณฑ์
3. แก๊ส
1. การจําแนกสารโดยใช้สถานะเป็ นเกณฑ์ .. . 1. การจําแนกสารโดยใช้สถานะเป็ นเกณฑ์ .. .
แบบจําลองของของแข็ง
การอธิบายลักษณะของสารให้เข้าใจง่ายจะนิ ยมใช้แบบจําลอง อนุภาคเรียงตัวใกล้ชิดหรือติดกัน
ซึงเป็ นตัวแทนของทฤษฎีอนุภาคสาร เรียกว่า เป็ นแบบแผนทีมีระเบียบตายตัว
อนุภาคเกาะติดกันในตําแหน่งทีแน่นอน
ด้วยแรงดึงดูดทีแข็งแรงมาก
Particulate model of matter อนุภาคแกว่งและหมุนรอบตัวเองได้
ทําให้มีรูปร่างและปริมาตรคงที

นิยมใช้สิงทีเป็ นทรงกลมคล้ายลูกบอลเป็ นตัวแทนอนุภาค อนุภาคของของแข็ง แรงดึงดูดระหว่างอนุภาค


ทีมา : สือการเรียนการสอน วพ.

1. การจําแนกสารโดยใช้สถานะเป็ นเกณฑ์ .. . 1. การจําแนกสารโดยใช้สถานะเป็ นเกณฑ์ .. .


แบบจําลองของของแข็ง แบบจําลองของของเหลว
อนุภาคเรียงตัวใกล้ชิดหรือติดกัน อนุภาคเรียงตัวไม่เป็ นระเบียบ
เป็ นแบบแผนทีมีระเบียบตายตัว และไม่อยูใ่ กล้ชิดกัน
อนุภาคเกาะติดกันในตําแหน่งทีแน่นอน อนุภาคเกาะติดกันด้วยแรงดึงดูดทีแข็งแรง
ด้วยแรงดึงดูดทีแข็งแรงมาก ทําให้มีปริมาตรคงที
อนุภาคแกว่งและหมุนรอบตัวเองได้ อนุภาคสันตัวในตําแหน่งทีไม่แน่นอน
ทําให้มีรูปร่างและปริมาตรคงที ทําให้รูปร่างเปลียนแปลงตามภาชนะ

อนุภาคของของแข็ง แรงดึงดูดระหว่างอนุภาค อนุภาคของของเหลว แรงดึงดูดระหว่างอนุภาค


ทีมา : สือการเรียนการสอน วพ. ทีมา : สือการเรียนการสอน วพ.
1. การจําแนกสารโดยใช้สถานะเป็ นเกณฑ์ .. . 1. การจําแนกสารโดยใช้สถานะเป็ นเกณฑ์ .. .
แบบจําลองของของเหลว แบบจําลองของแก๊ส
อนุภาคเรียงตัวไม่เป็ นระเบียบ อนุภาคเรียงตัวไม่เป็ นระเบียบ
และไม่อยูใ่ กล้ชิดกัน และอยูห่ ่างกัน
อนุภาคเกาะติดกันด้วยแรงดึงดูดทีแข็งแรง อนุภาคเกาะกันด้วยแรงดึงดูดทีน้อยมาก
ทําให้มีปริมาตรคงที ทําให้ปริมาตรเปลียนแปลงตามภาชนะ
อนุภาคสันตัวในตําแหน่งทีไม่แน่นอน อนุภาคเคลือนทีได้อย่างอิสระ
ทําให้รูปร่างเปลียนแปลงตามภาชนะ ทําให้รูปร่างเปลียนแปลงตามภาชนะ

อนุภาคของของเหลว แรงดึงดูดระหว่างอนุภาค อนุภาคของแก๊ส แรงดึงดูดระหว่างอนุภาค


ทีมา : สือการเรียนการสอน วพ. ทีมา : สือการเรียนการสอน วพ.

1. การจําแนกสารโดยใช้สถานะเป็ นเกณฑ์ .. . 1. การจําแนกสารโดยใช้สถานะเป็ นเกณฑ์ .. .


แบบจําลองของแก๊ส เปรียบเทียบของแข็ง ของเหลว และแก๊ส
อนุภาคเรียงตัวไม่เป็ นระเบียบ
และอยูห่ ่างกัน
ของแข็ง ของเหลว แก๊ส
อนุภาคเกาะกันด้วยแรงดึงดูดทีน้อยมาก
ทําให้ปริมาตรเปลียนแปลงตามภาชนะ
อนุภาคเคลือนทีได้อย่างอิสระ การจัดเรียงตัวของอนุภาค
ทําให้รูปร่างเปลียนแปลงตามภาชนะ
อนุภาคมีการจัดเรียง อนุภาคมีการจัดเรียง อนุภาคมีการจัดเรียง
ตัวเป็ นระเบียบ ตัวไม่เป็ นระเบียบ ตัวไม่เป็ นระเบียบ
อนุภาคของแก๊ส แรงดึงดูดระหว่างอนุภาค
มีแบบแผนแน่นอน
ทีมา : สือการเรียนการสอน วพ. ทีมา : สือการเรียนการสอน วพ.
1. การจําแนกสารโดยใช้สถานะเป็ นเกณฑ์ .. . 1. การจําแนกสารโดยใช้สถานะเป็ นเกณฑ์ .. .
เปรียบเทียบของแข็ง ของเหลว และแก๊ส เปรียบเทียบของแข็ง ของเหลว และแก๊ส

ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ของแข็ง ของเหลว แก๊ส

ระยะห่างระหว่างอนุภาค แรงดึงดูดระหว่างอนุภาค

อนุภาคมีการจัดเรียง อนุภาคมีการจัดเรียง อนุภาคมีการจัดเรียง มีความแข็งแรงมาก มีความแข็งแรงน้อย มีความแข็งแรงน้อย


ตัวใกล้ชิดหรือติดกัน ตัวไม่ใกล้ชิดกัน ตัวห่างกัน กว่าของแข็ง
ทีมา : สือการเรียนการสอน วพ. ทีมา : สือการเรียนการสอน วพ.

1. การจําแนกสารโดยใช้สถานะเป็ นเกณฑ์ .. . 1. การจําแนกสารโดยใช้สถานะเป็ นเกณฑ์ .. .


เปรียบเทียบของแข็ง ของเหลว และแก๊ส เปรียบเทียบของแข็ง ของเหลว และแก๊ส

ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ของแข็ง ของเหลว แก๊ส

การเคลือนทีของอนุภาค แบบแผนการจัดเรียงตัวของอนุภาค

มีการสันหรือหมุนตัว มีการสันและ มีการเคลือนทีไปใน


ในตําแหน่งทีแน่นอน เคลือนทีไปรอบ ๆ ทุกทิศทุกทาง
อนุภาคอืน
ทีมา : สือการเรียนการสอน วพ. ทีมา : สือการเรียนการสอน วพ.
1. การจําแนกสารโดยใช้สถานะเป็ นเกณฑ์ .. . 1. การจําแนกสารโดยใช้สถานะเป็ นเกณฑ์ .. .

ของแข็ง ของเหลว
ลว แก๊ส

ทีมา : สือการเรียนการสอน อจท.

ทีมา : สือการเรียนการสอน อจท.

ทีมา : สือการเรียนการสอน อจท.


- อนุภาค : เรียงชิดกัน - อนุภาค : อยูใ่ กล้กนั - อนุภาค : อยูห่ ่างกันมาก
- ช่องว่าง : น้อย - ช่องว่าง : ปานกลาง - ช่องว่าง : มาก
จงเรียงลําดับความสามารถในการเคลือนทีของอนุภาคของสารในสถานะต่าง ๆ - แรงยึดเหนียว : มากทีสุด - แรงยึดเหนียว : ปานกลาง - แรงยึดเหนียว : น้อยทีสุด
- การเคลือนที : สันอยูก่ บั ที - การเคลือนที : เคลือนทีได้ - การเคลือนที : เคลือนทีได้
เรียงจากมากไปน้อย : แก๊ส ของเหลว ของแข็ง - รูปร่าง : คงที แต่ไม่อิสระ อย่างอิสระ
เรียงจากน้อยไปมาก : ของแข็ง ของเหลว แก๊ส - ปริมาตร : คงที - รูปร่าง : ไม่คงที - รูปร่าง : ไม่คงที
ทีมา : สือการเรียนการสอน วพ.
- ปริมาตร : คงที - ปริมาตร : ไม่คงที

การจําแนกสาร .. . 2. การจําแนกสารโดยใช้เนือสารเป็ นเกณฑ์ .. .


คือ การจัดสารออกเป็ นหมวดหมู่ และประเภท เพือให้ง่าย 2.1 สารเนือเดียว สารบริสุทธิ = สารเนือเดียวทีประกอบ
- มีเนือสารเหมือนกันทุกส่วน ด้วยสารเพียงชนิดเดียว
ต่อการจําจดและใช้ประโยชน์ - มองเห็นเป็ นเนือเดียวกันตลอด
สารละลาย = สารทีผสมกันหลายชนิดแต่
- เช่น นําเกลือ ทอง ทองแดง เป็ นต้น
มองเห็นเป็ นเนือเดียว
โดยเกณฑ์ในการจําแนกมีหลายเกณฑ์ ได้แก่
1. จําแนกสารโดยใช้สถานะของสารเป็ นเกณฑ์ สารบริสุทธิ สารละลาร ธาตุ = สารบริสุทธิทีประกอบด้วยอะตอม
เพียงชนิดเดียว
2. จําแนกโดยใช้เนือสารเป็ นเกณฑ์
ธาตุ สารประกอบ สารประกอบ = สารทีเกิดจากการรวมตัว
3. จําแนกโดยใช้ขนาดอนุภาคเป็ นเกณฑ์
ของธาตุตงแต่
ั 2 ชนิดขึนไป
โลหะ อโลหะ กึงโลหะ
2. การจําแนกสารโดยใช้เนือสารเป็ นเกณฑ์ .. . 2. การจําแนกสารโดยใช้เนือสารเป็ นเกณฑ์ .. .
2.2 สารเนือผสม แขวนลอย = ของเหลวทีมีอนุภาค
- มีเนือสารแตกต่างกันในแต่ละส่วน ของแข็งขนาด 10-4 ซม.
- มี ส มบั ติ ไ ม่ เ หมื อ นกั น ทุ ก ส่ ว น จึ ง ผสมอยู่ สามารถมองเห็นได้
มองเห็นไม่เป็ นเนือเดียว เมือตังทิงไว้จะตกตะกอน
- เช่น นําคลอง พริกเกลือ เป็ นต้น คอลลอยด์ = สารเนือผสมทีมีอนุภาค
สารเนือเดียว สารเนือเดียว สารเนือเดียว สารเนือเดียว
ของแข็งขนาด 10-7–10-4ซม.
สารละลาย สารละลาย สารบริสุทธิ สารบริสุทธิ ปะปนอยู่ ทําให้มองเห็นเป็ น
แขวนลอย คอลลอยด์
เนือเดียว ขุ่น แต่ไม่ตกตะกอน
ธาตุ สารประกอบ
ทีมา : https://www.matichon.co.th/economy/news_347681 ทีมา : https://th.pngtree.com/freepng/quality-white-granulated-sugar_3483527.html
ทีมา : http://chaprachanyim.com/health_CENTER/?id=422 ทีมา : http://www.foodietaste.com/FoodPedia_detail.asp?id=177

การจําแนกสาร .. . 3. การจําแนกสารโดยใช้ขนาดของอนุภาคเป็ นเกณฑ์ .. .


คือ การจัดสารออกเป็ นหมวดหมู่ และประเภท เพือให้ง่าย 3.1 สารแขวนลอย 3.2 คอลลอยด์ 3.3 สารละลาย
- สารผสมทีประกอบด้วย - สารผสมทีประกอบด้วย - สารผสมทีประกอบด้วย
ต่อการจําจดและใช้ประโยชน์
อนุภาคทีมีเส้นผ่านศูนย์- อนุภาคทีมีเส้นผ่านศูนย์- อนุภาคทีมีเส้นผ่านศูนย์-
กลาง มากกว่า 10-4 ซม. กลาง 10-7 - 10-4 ซม. กลาง น้อยกว่า 10-7 ซม.
โดยเกณฑ์ในการจําแนกมีหลายเกณฑ์ ได้แก่ - มีลกั ษณะขุ่น เมือตังทิง - มีลกั ษณะขุ่น ไม่ตก - มองเห็นเป็ นเนือเดียว
1. จําแนกสารโดยใช้สถานะของสารเป็ นเกณฑ์ ไว้จตกตะกอน ตะกอน มองเห็นเป็ นเนือ - เช่น นําเกลือ นําหวาน
2. จําแนกโดยใช้เนือสารเป็ นเกณฑ์ - เช่น นําแป้ ง นําโคลน เดียว
- เช่น นํานม หมอก
3. จําแนกโดยใช้ขนาดอนุภาคเป็ นเกณฑ์
หน่วยที 3 - 6 : สารรอบตัว การเปลียนแปลงของสาร .. .
¾ สารและการจําแนกสาร
1. สมบัตขิ องสาร 9 การเปลียนแปลงทางกายภาพ คือ การเปลียนสถานะไป
2. การจําแนกสาร 9 จากเดิมในรูปแบบ สี กลิน รูปร่าง แต่ไม่เกิดเป็ นสารใหม่
¾ การเปลียนแปลงของสาร ส่วนการเปลียนแปลงทางเคมี คือ การเปลียนแปลงสาร
¾ สารบริสุทธิและสารผสม บางชนิดทีมีผลต่อองค์ประกอบเคมี ทําให้เกิดสารใหม่
1. สารบริสุทธิ
2. สารผสม
3. สมบัตขิ องสารบริสุทธิและสารผสม

การเปลียนแปลงของสาร .. . การเปลียนแปลงของสาร .. .
คื อ การเปลี ยนสถานะของสารจากสถานะหนึ งไปสู่ อี ก ของเหลว >> ของแข็ง
ของแข็ง >> ของเหลว ของเหลว >> แก๊ส แก๊ส >> ของเหลว เรียกอุณหภูมินีวา่ จุดเยือกแข็ง
สถานะหนึง มีพลังงานเกียวข้อง เรียกอุณหภูมินีวา่ จุดหลอมเหลว เรียกอุณหภูมินีวา่ จุดเดือด เรียกอุณหภูมินีวา่ จุดควบแน่น (ซึงเป็ นอุณหภูมิเดียวกับจุด
หลอมเหลว)

ความร้อนเป็ นพลังงานรูปแบบหนึง ทีเป็ นปั จจัยต่ออุณหภูมิของ


สาร ส่งผลให้สารเกิดการเปลียนแปลงในรูปแบบต่างๆ การหลอมเหลว การเดือดของ ไอนําควบแน่น นําแข็งตัวกลายเป็ น
ของนําแข็ง นํากลายเป็ นไอ กลายเป็ นนํา นําแข็ง

ทีมา : สือการเรียนการสอน อจท.


ความร้อนแฝง .. .
ความร้ อ นแฝงของการหลอมเหลว จุดหลอมเหลว จุดเดือด
หมายถึ ง ความร้อ นที ทํา ให้ข องแข็ ง เกิ ด การ
เปลี ยนสถานะเป็ นของเหลว แต่ อุ ณ หภู มิ ไ ม่
เปลียน ทีมา : https://www.rabbitice-thailand.com/article/2/6...

จุดเยือกแข็ง จุดควบแน่น
ความร้อ นแฝงของการกลายเป็ นไอ
หมายถึ ง ความร้อนที ทําให้ของเหลวเกิ ดการ
เปลียนสถานะเป็ นแก๊ส แต่อุณหภูมิไม่เปลียน
ทีมา : https://social.tvpoolonline.com/news/84644
ทีมา : ชุดสัมฤทธิมาตรฐาน วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 อจท.

การเปลียนแปลงของสาร .. . การเปลียนแปลงของสาร .. .
1. การหลอมเหลว (Melting) 1. การหลอมเหลว (Melting) จุดหลอมเหลว
ความรอน (melting point)
คื อ กระบวนการการเปลี ยนแปลงสถานะของสสาร จาก
ของแข็ง กลายเป็ นของเหลว โดยมักเกิดเมือของแข็งนันๆ ได้รบั
ความร้อ นหรื อ พลัง งาน จุ ด ที เกิ ด การหลอมเหลว เรี ย กว่ า จุ ด อนุ ภาคเกิดการสัน
ของแข็ง แรงยึดเหนี ยวระหว่างอนุ ภาค
หลอมเหลว (melting point) เช่น นําแข็ง เปลียนแปลงสถานะเป็ น และผลักอนุ ภาคอืน ถูกทําลาย
นํา ของแข็งขยายตัว อนุ ภาคเคลือนทีมากขึน

ของแข็งกลายเป็ นของเหลว
ทีมา : สือการเรียนการสอน วพ.
การเปลียนแปลงของสาร .. . การเปลียนแปลงของสาร .. .
2. การกลายเป็ นไอ (Evaporation) 2. การกลายเป็ นไอ (Evaporation)
จุดเดือด
คื อ กระบวนการการเปลียนแปลงสถานะของสสาร จาก ความรอน (boiling point)

ของเหลวกลายเป็ นแก๊ส โดยมักเกิ ดเมื อของเหลวนันๆ ได้รับ


พลัง งานหรื อ ความร้อ น ได้แ ก่ นํา เปลี ยนสถานะเป็ น ไอนํา
ของเหลว อนุ ภาคเคลือนที แรงยึดเหนี ยวระหว่างอนุ ภาค
เรียกอุณหภูมิทีทําให้อนุภาคชนะแรงยึดเหนียวของของเหลวได้ อย่างรวดเร็ว ถูกทําลาย
ว่า จุดเดือด (boiling point)
อนุ ภาคเคลือนทีอย่างอิสระ

ทีมา : สือการเรียนการสอน วพ.


ของเหลวกลายเป็ นแก๊ส

การเปลียนแปลงของสาร .. . การเปลียนแปลงของสาร .. .
3. การแข็งตัว (Freezing) 3. การแข็งตัว (Freezing)
จุดเยือกแข็ง
คื อ กระบวนการการเปลี ยนแปลงสถานะของสารจาก ความรอน (freezing point)

ของเหลวกลายเป็ นของแข็ง โดยจะมี การคายพลังงานออกมา


โดยมักเกิ ดเมื อของเหลวนันๆ สูญเสียความร้อนหรือพลังงาน อนุ ภาคเคลือนทีช้า
ของเหลว แรงยึดเหนี ยวระหว่างอนุ ภาค
ได้แ ก่ นํา เปลี ยนแปลงสถานะเป็ น นําแข็ ง โดยของแข็ ง นั น ลง
เพิมขึน
เรียงตัวใกล้กนั
สามารถเปลี ยนสถานะกลับ เป็ นของเหลวได้ โดยการได้รับ
เรียงตัวในตําแหน่ งทีแน่ นอน
พลังงานหรือความร้อน
ทีมา : สือการเรียนการสอน วพ.
ของเหลวกลายเป็ นของแข็ง
การเปลียนแปลงของสาร .. . การเปลียนแปลงของสาร .. .
4. การควบแน่น (Condensation) 4. การควบแน่น (Condensation)
จุดควบแน่น
คื อ กระบวนการการเปลี ยนแปลงสถานะของสสารจาก ความร้อน (condensation point)

แก๊สกลายเป็ นของเหลว โดยมักเกิดเมือแก๊สนันๆ สูญเสียความ


ร้อนหรือพลังงาน ได้แก่ ไอนํา เปลียนแปลงสถานะเป็ น นํา
แก๊ส อนุ ภาคเคลือนทีช้าลง แรงยึดเหนี ยวระหว่างอนุ ภาค
เรียงตัวใกล้กนั เพิมขึน

หยุดการเคลือนทีอย่างอิสระ

ทีมา : สือการเรียนการสอน วพ.


แก๊สกลายเป็ นของเหลว

การเปลียนแปลงของสาร .. . การเปลียนแปลงของสาร .. .
5. การระเหิด (Sublimation) 5. การระเหิด (Sublimation)
คื อ กระบวนการการเปลี ยนแปลงสถานะของสสารจาก ความร้อน

ของแข็งกลายเป็ นแก๊ส โดยไม่ผ่านสถานะของการเป็ นของเหลว


เช่น การระเหิดของลูกเหม็น
ของแข็ง ของแข็งกลายเป็ นแก๊ส

นําแข็งแห้ง แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์
(dry ice)

ทีมา : สือการเรียนการสอน วพ.


การเปลียนแปลงของสาร .. . การหลอมเหลว
การแข็งตัว
6. การระเหิดกลับ (Deposition)
คื อ กระบวนการการเปลี ยนแปลงสถานะของสสารจาก ของแข็ง ของเหลว
การเปลียนแปลง
แก๊สกลายเป็ นของแข็ง โดยไม่ผ่านสถานะของการเป็ นของเหลว สถานะของสาร
ใช้ความเย็นในการก่อตัว การระเหิดกลับ การระเหิด การควบแน่น การเดือด

แก๊ส
ทีมา : สือการเรียนการสอน วพ.

ทีมา : สือการเรียนการสอน อจท.

2 เมือไอนําในอากาศมีอุณหภูมิตาลง

การเปลียนสถานะของนําในธรรมชาติ จะควบแน่นกลายเป็ นละอองนํา การเปลียนแปลงของสาร .. .
และรวมตัวกันเป็ นเมฆ

ของแข็งได้รบั ความร้อน ของแข็ง ของเหลว


1 เมือนําในแหล่งนําได้รบั ความร้อนจาก
ดวงอาทิตย์ นําจะระเหยกลายเป็ นไอนํา ของเหลวได้รบั ความร้อน ของเหลว แก๊ส
ลอยขึนไปในอากาศ
แก๊สสูญเสียความร้อน แก๊ส ของเหลว
ของเหลวสูญเสียความร้อน ของเหลว ของแข็ง

3 เมือละอองนําในชันเมฆตกลงมาเป็ น
4 เมือลูกเห็บได้รบั ความร้อนจาก หยดนํา กระทบกับอากาศทีมี
ดวงอาทิตย์ ลูกเห็บจะหลอมละลาย อุณหภูมิตาํ ทําให้หยดนํากลายเป็ น
กลายเป็ นนําแล้วไหลลงสูน่ าํ ลูกเห็บ ทีมา : สือการเรียนการสอน วพ.
การเปลียนแปลงของสาร .. . ได้รบั ความร้อน
การเปลียนแปลงประเภทดูดความร้อน (endothermic change)

การระเหิด
จุด
จุดเดือด
หลอมเหลว จุดหลอมเหลว จุดเดือด
ได้รบั ความร้อน
การเปลียนแปลงประเภทดูดความร้อน (endothermic change)
การหลอมเหลว การกลายเป็ นไอ
นําแข็ง นํา นํา ไอนํา
0 ˚C 0 ˚C 100 ˚C 100 ˚C ของแข็ง การแข็งตัว ของเหลว การควบแน่น แก๊ส

สูญเสียความร้อน จุดเยือกแข็ง จุดควบแน่น


การเปลียนแปลงประเภทคายความร้อน (exothermic change)

จุดเยือกแข็ง จุดควบแน่น การระเหิดกลับ


สูญเสียความร้อน
การเปลียนแปลงประเภทคายความร้อน (exothermic change)
ทีมา : สือการเรียนการสอน วพ. ทีมา : สือการเรียนการสอน วพ.

ตารางสรุปการเปลียนแปลงของสาร
การเรียกอุณหภูมิ การเรียก ณ จุด ประเภทของ
การเปลียนสถานะ ระดับอุณหภูมิ
ณ จุดเปลียน การเปลียนสถานะ ความร้อน
ของแข็ง --> ของเหลว จุดหลอมเหลว การหลอมเหลว เพิมความร้อน การดูดความร้อน
ของเหลว --> แก๊ส จุดเดือด การกลายเป็ นไอ เพิมความร้อน การดูดความร้อน
แก๊ส --> ของเหลว จุดควบแน่น การควบแน่น ลดความร้อน การคายความร้อน
ของเหลว --> ของแข็ง จุดเยือกแข็ง การแข็งตัว ลดความร้อน การคายความร้อน
ของแข็ง --> แก๊ส - การระเหิด เพิมความร้อน การดูดความร้อน
แก๊ส --> ของแข็ง - การระเหิดกลับ ลดความร้อน การคายความร้อน

ที่มา : https://www.youtube.com/watch?v=z6o5a02e2BI&feature=share&fbclid=IwAR3A9eR_9Lui50ojOkPavwp2uYunx2t4oY7OKzbs8oP79aVYIjtxXOxzIR4
หน่วยที 3 - 6 : สารรอบตัว สารบริสุทธิและสารผสม .. .
¾ สารและการจําแนกสาร สิงต่างๆรอบตัวประกอบด้วยสารทีมี ลักษณะและสมบั ติที
1. สมบัตขิ องสาร 9 แตกต่า งกัน ร่า งกายของมนุ ษ ย์จ ะประกอบด้ว ยธาตุที อยู่ใ นรู ป
2. การจําแนกสาร 9
¾ การเปลียนแปลงของสาร 9
สารประกอบ
¾ สารบริสุทธิและสารผสม
การศึกษาลักษณะและสมบัติสารจะทําให้สามารถนําสารที มี
1. สารบริสุทธิ
2. สารผสม อยูร่ อบตัวไปใช้ประโยชน์ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
3. สมบัตขิ องสารบริสุทธิและสารผสม

หน่วยที 3 - 6 : สารรอบตัว สารบริสุทธิ (Pure substance) .. .


¾ สารและการจําแนกสาร
- เป็ นสารเนือเดียวทีประกอบไปด้วยสารเพียงชนิดเดียว
1. สมบัตขิ องสาร 9
2. การจําแนกสาร 9
- มีสมบัตทิ างกายภาพและทางเคมีทีคงที
¾ การเปลียนแปลงของสาร 9 - แบ่งออกเป็ นธาตุ และสารประกอบ
¾ สารบริสุทธิและสารผสม
1. สารบริสุทธิ
2. สารผสม
3. สมบัตขิ องสารบริสุทธิและสารผสม
สารบริสุทธิ .. . (ธาตุ)
สารบริสุทธิ ธาตุ (Element)
เป็ นสารบริสุทธิทีประกอบด้วยอะตอมเพียงชนิดเดียวไม่สามารถทํา
ธาตุ สารประกอบ ให้แยก หรือสลายเปลียนไปเป็ นอะตอมชนิดอืนได้
มีทงในธรรมชาติ
ั และสังเคราะห์ขึน ธาตุอาจปรากฎอยูใ่ นรูปอะตอม
หรือโมเลกุล เช่น
โลหะ อโลหะ กึงโลหะ - ทองแดง (Cu) คาร์บอน(C) โซเดียม(Na) อยูเ่ ป็ นอะตอม
- แก๊สไฮโดรเจน(H2) แก๊สออกซิเจน(O2) อยูเ่ ป็ นโมเลกุล
Free PowerPoint Templates
Free PowerPoint Templates

สารบริสุทธิ .. . (ธาตุ)
ตารางแสดงอนุภาคมูลฐานของอะตอม
อะตอมของธาตุ มี ลั ก ษณะ มวลเปรียบเทียบกับ
ชนิดของอนุภาค สัญลักษณ ตําแหนงในอะตอม ประจุไฟฟา มวลของอิเล็กตรอน
เ ป็ น ท ร ง ก ล ม แ ต่ ล ะ ช นิ ด
เคลื่อนที่เปนชั้นๆ อยูรอบๆ
ประกอบด้วย อนุ ภาคทีเป็ นมูลฐาน อิเล็กตรอน e -1 1 เทา
นิวเคลียสของอะตอม
ของอะตอม
อยูที่นิวเคลียสของอะตอม
ซึ ง ไ ด้ แ ก่ โ ป ร ต อ น โปรตอน p +1 1,836 เทา
(ตรงกลางอะตอม)
อิ เ ล็ ก ตรอน และนิ ว ตรอน ซึ งมี อยูที่นิวเคลียสของอะตอม
นิวตรอน n 0 1,839 เทา
สมบัตดิ งั นี ที่มา : ชุดสัมฤทธิ์มาตรฐาน วิทยาศาสตร ม.1 เลม 1 อจท.
(ตรงกลางอะตอม)
สารบริสุทธิ .. . (ธาตุ) สารบริสุทธิ .. . (ธาตุ)

จอห์ น ดาลตั น นั ก เคมี แ ละ


ฟิ สิ ก ส์ ช า ว อั ง ก ฤ ษ เ ป็ น
นั ก วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ค น แ ร ก ที คิ ด
สั ญ ลั ก ษณ์ แ ทนธาตุ โดยกํา หนด
รูปภาพเป็ นสัญลักษณ์ตา่ งๆ
ที่มา : ชุดสัมฤทธิ์มาตรฐาน วิทยาศาสตร ม.1 เลม 1 อจท.
ทีม่ า : https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%88...

สารบริสุทธิ .. . (ธาตุ) สารบริสุทธิ .. . (ธาตุ)


1. ถ้าธาตุมีชือในภาษาละตินให้ใช้อกั ษรตัวแรกเป็ นสัญลักษณ์
เมือมีการค้นพบธาตุมากขึน โดยเขี ย นเป็ นตัว อัก ษรภาษาอัง กฤษตัว พิ ม พ์ใ หญ่ เ ช่ น โซเดี ย ม
การใช้รูปภาพจงไม่สะดวก โจนส์ (Sodium) มีชือในภาษาละติน Natrium จึงใช้สญ ั ลักษณ์คือ Na
จาคอบ เบอร์ซีเลียส นักเคมี ชาว 2. ถ้าธาตุนนไม่
ั มีชือในภาษาละตินให้ใช้อกั ษรตัวแรกของชือ
ส วี เ ด น ไ ด้ เ ส น อ ก า ร เ ขี ย น ในภาษาอังกฤษตัวพิมพ์ใหญ่เป็ นสัญลักษณ์ เช่น H แทนไฮโดรเจน
สัญลักษณ์ของธาตุใหม่ ดังนี 3. กรณีภาษาละตินและภาษาอังกฤษมีอกั ษรตัวแรกเหมือนกัน
ที่มา : http://chemistryza.blogspot.com/2013/06/jons-jacobberzelius.html
ให้ใช้ตวั ถัดไปเพิมเข้าไปอีกตัวหนึงด้วยตัวพิมพ์เล็ก
สารบริสุทธิ .. . (ธาตุ - สัญลักษณ์ธาตุ)
สัญลักษณ์นิวเคลียร์ ภาพสัญลักษณ์ของธาตุ

ที่มา : ชุดสัมฤทธิ์มาตรฐาน วิทยาศาสตร ม.1 เลม 1 อจท.

สารบริสุทธิ .. . (ธาตุ) สารบริสุทธิ .. . (ธาตุ)

เช่น เลขมวล (p+n)


โดยให้ .. . 60
29 Co เลขอะตอม (p)
X แทน สัญลักษณ์ของธาตุ
A แทน เลขมวล (mass number) เท่ากับจํานวนโปรตอน (p) + แสดงว่า Co มีเลขมวล = มีโปรตอน = 29
นิวตรอน (n) มีเลขอะตอม = มีโปรตอน + นิวตรอน = 60
Z แทน เลขอะตอม (atomic number) เท่ากับจํานวนโปรตอน (p) จึงมีนิวตรอน = 60 – 29 = 31
เลขมวล (โปรตอน+นิวตรอน) เลขมวล (โปรตอน+นิวตรอน)
สารบริสุทธิ .. . (ธาตุ) สารบริสุทธิ .. . (ธาตุ)

เลขอะตอม (โปรตอน) เลขอะตอม (โปรตอน)

เลขมวล (โปรตอน+นิวตรอน) เลขมวล (โปรตอน+นิวตรอน)


สารบริสุทธิ .. . (ธาตุ) สารบริสุทธิ .. . (ธาตุ)

เลขอะตอม (โปรตอน) เลขอะตอม (โปรตอน)


เลขมวล (โปรตอน+นิวตรอน)
สารบริสุทธิ .. . (ธาตุ)

ธาตุ แ ต่ ล ะชนิ ด มี ส มบั ติ

อจท.
ม 1 เลม 1 อจท
เฉพาะตัว แต่อาจจะมีสมบัติ

ดสัมฤทธิ์มาตรฐาน วิทยาศาสตร ม.1


เลขอะตอม (โปรตอน) ทางกายภาพบางประการ
เหมือนกัน เช่น

ที่มา : ชุชดสั
สารบริสุทธิ .. . (ธาตุ - ตารางธาตุ)

ปั จจุบนั ธาตุมีมากกว่า 118 ธาตุ นักวิทยาศาสตร์จึงได้นาํ มา


จัดเรียงลงในตารางธาตุ โดยให้มีสมบัตคิ ล้ายกันอยูใ่ นหมู่หรือกลุ่ม
เดียวกัน (แนวดิง) ได้ 16 หมู่ และแบ่งได้ 7 คาบ
การใช้เ กณฑ์ดัง กล่ า วสามารถจัด กลุ่ ม ธาตุไ ด้ 3 กลุ่ ม คื อ
โลหะ อโลหะ และกึงโลหะ

ที่มา : หนังสือสื่อการเรียนรูฯ วิทยาศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 เลม 2


สารบริสุทธิ .. . (ธาตุ - ตารางธาตุ) สารบริสุทธิ .. . (ธาตุ)
- ธาตุหมู่ IA เป็ นโลหะทีว่องไวต่อการทําปฏิกิริยา
- ธาตุหมู่ IIA เป็ นโลหะทีว่องไวต่อการทําปฏิกิริยาแต่นอ้ ยกว่า IA
- ธาตุทรานซิชนั เป็ นโลหะเนือแข็ง จุดหลอมเหลวสูง ว่องไวต่อการทํา
ปฏิกิริยาแต่นอ้ ยกว่า IIA
ธาตุโลหะ อโลหะ
- ธาตุหมู่ VIIA เรียก แฮโลเจน เป็ นอโลหะทีว่องไวต่อการทําปฏิกิริยา
มักอยูเ่ ป็ นโมเลกุล
- ธาตุหมู่ VIIIA เป็ นแก๊สตระกูลเฉือย ทําปฏิกิริยายากมา
และกึงโลหะ

สารบริสุทธิ .. . (ธาตุ - โลหะ) สารบริสุทธิ .. . (ธาตุ - อโลหะ)


สมบัตขิ องโลหะ .. . สมบัตขิ องอโลหะ .. .
1. ส่วนใหญ่มีสถานะเป็ นของแข็ง ทีมีสถานะเป็ นของเหลวน้อยมาก 1. อโลหะมีทงสถานะของแข็
ั ง ของเหลว และแก๊ส
2. เหนียว รีดให้เป็ นแผ่นบางหรือดึงให้เป็ นเส้นได้ จึงสามารถนําไป 2. เปราะ ทุบแล้วแตกเป็ นชินเล็กๆ
ทําให้มีรูปทรงต่างๆ ได้ เช่น เส้นลวด ทําภาชนะ 3. ไม่นาํ ไฟฟ้ าและความร้อน
3. นําไฟฟ้ าและความร้อนได้ จึงใช้ทาํ สายไฟและภาชนะหุงต้ม 4. ความหนาแน่นตํา
4. มีจุดเดือดและจุดหลอมเหลวสูง จึงนิยมใช้ทาํ ภาชนะหุงต้ม
5. มีจุดเดือดจุดหลอมเหลวตํา
5. มีความหนาแน่นสูง
6. ทิงไว้ในอากาศจะเกิดสนิม
6. ไม่ทาํ ปฏิกิริยากับกรด
สารบริสุทธิ .. . (ธาตุ - กึงโลหะ)

ตารางเปรียบเทียบสมบัติ
สมบัตขิ องกึงโลหะ .. .

จะมีสมบัติบางตัวเหมือนโลหะ และบางตัวเหมือนอโลหะ

ที่มา : หนังสือสื่อการเรียนรูฯ วิทยาศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 เลม 2

สารบริสุทธิ .. . (ธาตุ - ประโยชน์ของธาตุ) สารบริสุทธิ .. . (ธาตุ - ประโยชน์ของธาตุ)


ประโยชน์ของธาตุโลหะ .. . ประโยชน์ของธาตุกึงโลหะ .. .
สารบริสุทธิ .. . (ธาตุ - ประโยชน์ของธาตุ) การเปลียนแปลงของสาร .. .
ประโยชน์ของธาตุอโลหะ .. .
คือ การเปลียนสถานะของสารจากสถานะหนึ งไปสู่
อีกสถานะหนึง มีพลังงานเกียวข้อง

การเปลียนแปลงของสาร .. . การเปลียนแปลงของสาร .. .
โดย การเปลียนแปลงของสารจําแนกออกเป็ น 2 ประเภท คือ
1. จากของแข็งไปเป็ นของเหลว มวลจะไม่เปลียน 1. การเปลียนแปลงทางกายภาพ
2. จากสถานะของเหลวไปเป็ นแก๊ส มวลจะคงที แต่ตอ้ ง 2. การเปลียนแปลงทางเคมี
อยู่ในภาชนะปิ ด ถ้าภาชนะเปิ ดไอของสารจะออกจากระบบ
ไปสูส่ ิงแวดล้อมได้
การเปลียนแปลงของสาร .. . การเปลียนแปลงของสาร .. .
การเปลียนแปลงทางกายภาพ การเปลียนแปลงทางเคมี
1. เกียวข้องกับสมบัติทางกายภาพ 1. เกียวข้องกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี โดย
2. ไม่เกียวข้องกับปฏิกิริยาทางเคมี และไม่ หลังการเกิดจะมีสารใหม่เกิดขึนเสมอ
มีสารใหม่เกิดขึน 2. สารใหม่ทีเกิดจะมีองค์ประกอบที ที่ีมา : https://www.trueplookpanya.com/learning/detail/30127/042697
htt // t l k /l i /d t il/30127/042697

3. เช่น การละลายนําตาลทราย การระเหิด แตกต่างไปจากเดิม ไม่สามารถกลับไป


ของนําแข็งแห้ง เป็ นสารเดิมได้
3. เช่น การเกิดสนิมของเหล็ก การเผาไหม้
ที่มา : https://www.pim.in.th/thai-dessert/779-jelly-cake/
กระดาษ ทีม่ า : https://board.postjung.com/994200

การเปลียนแปลงของสาร .. . การเปลียนแปลงของสาร .. .

การเปลียนแปลงของสารจะต้องใช้พลังงานเข้ามาเกียวข้อง
พลัง งานความร้อ นจึ ง เป็ นปั จ จัย หนึ งที สํา คัญ ที ส่ ง ผลให้
สมบัตทิ างกายภาพหรือสถานะของสารเปลียนแปลง ดังนี

ที่มา : ชุดสัมฤทธิ์มาตรฐาน วิทยาศาสตร ม.1 เลม 1 อจท.


การเปลียนแปลงของสาร .. . สารบริสุทธิ .. . (ธาตุ)

ธาตุกมั มันตรังสี
ที่มา : ชุดสัมฤทธิ์มาตรฐาน วิทยาศาสตร ม.1 เลม 1 อจท.

สารบริสุทธิ .. . (ธาตุ - ธาตุกมั มันตรังสี) สารบริสุทธิ .. . (ธาตุ - ธาตุกมั มันตรังสี)


- ธาตุกมั มันตรังสี (radioactive element) หมายถึง ธาตุที ชนิดรังสี สัญลักษณ ประจุไฟฟา มวล สมบัติ
มี สมบัติในการแผ่รังสีออกมาตลอดเวลา เนื องจากนิ วเคลี ยส แอลฟา α +2 4 เปนนิวเคลียสของอะตอมฮีเลียม
ของอะตอมไม่เสถียร หรือ คลื่ น ยาว ความถี่ ต่ํ า มี พ ลั ง งาน
รัง สี ที แผ่ อ อกมา ได้แ ก่ รัง สี แ อลฟา รัง สี บี ต า และรัง สี นอย ไมสามารถทะลุผานกระดาษ
4
2He บางๆ หนา 0.1 มม. หรือฝามือได
แกมมา
- กัมมันตภาพรังสี (radioactive) หมายถึง ปรากฏการณ์ที
ธาตุแผ่รงั สีออกมา
สารบริสุทธิ .. . (ธาตุ - ธาตุกมั มันตรังสี) สารบริสุทธิ .. . (ธาตุ - ธาตุกมั มันตรังสี)
ชนิดรังสี สัญลักษณ ประจุไฟฟา มวล สมบัติ ชนิดรังสี สัญลักษณ ประจุไฟฟา มวล สมบัติ
บีตา β -1 0 เป น อนุ ภ าคที่ มี ส มบั ติ เ หมื อ น แกมมา γ 0 0 เปนคลื่นแมเหล็กไฟฟาที่ มีความ
หรือ อิ เ ล็ ก ตรอน คลื่ น สั้ น กว า รั ง สี ยาวคลื่ น สั้ น มาก ความถี่ สู ง มี
แอลฟา มี อํ า นาจทะลุ ท ะลวง พลังงานและอํานาจทะลุทะลวง
0
-1e มากกว า รั ง สี แ อลฟา 100 เท า สู ง มาก สามารถทะลุ ผ า นแผ น
สามารถทะลุผานแผนโลหะบางๆ คอนกรีตหนาๆ ได แตไมสามารถ
ได และมี ค วามเร็ ว ใกล เ คี ย ง ทะลุผานแผนตะกั่วหนาๆได
ความเร็วแสง

สารบริสุทธิ .. . (ธาตุ - ธาตุกมั มันตรังสี) สารบริสุทธิ .. . (ธาตุ - ธาตุกมั มันตรังสี)


ประโยชน์ของธาตุกมั มันตรังสี .. .
1. ไอโอดีน-131 : ให้คนไข้ดืมเพือตรวจหาความผิดปกติและ
รักษามะเร็งทีต่อมไทรอยด์
2. โซเดียม-24 : ฉีดเข้าเส้นเลือดเพือตรวจการไหลเวียนของ
วงจรโลหิต
3. ทอง-198 : ใช้รกั ษาโรคมะเร็งได้
อิตเทียม-901
ที่มา : https://sites.google.com/site/weeratoasfdsdfsafag4474/ 4. ฟอสฟอรัส-32 : ใช้รกั ษามะเร็งเม็ดเลือดขาว
สารบริสุทธิ .. . (ธาตุ - ธาตุกมั มันตรังสี) สารบริสุทธิ .. . (ธาตุ - ธาตุกมั มันตรังสี)
ประโยชน์ของธาตุกมั มันตรังสี .. . ประโยชน์ของธาตุกมั มันตรังสี .. .
5. คาร์บอน-14 : วิ เคราะห์หาอายุโบราณวัตถุ ซากดึกดําบรรพ์ 9. โคบอลต์-60 : - ใช้รกั ษาโรคมะเร็ง
ได้ประมาณ 30,000 ปี - ใช้ฆ่าจุลินทรียใ์ นเมล็ดพืช ผัก ผลไม้
6. ยูเรเนียม : ทําระเบิดหรืออาวุธหรือโรงงานไฟฟ้ านิวเคลียร์ - ใช้ถนอมอาหาร
พลูโตเนียม - ใช้เปลียนสีอญั มณีได้
7. แทลเลียม : ใช้ตรวจสอบการทํางานของกล้ามเนือหัวใจ - ใช้ตรวจรอยร้าวในโลหะ
8. รูบิเดียม-87 : ใช้ตรวจหาอายุวตั ถุโบราณได้ - ใช้ถ่ายภาพอวัยวะภายในเพือวินิจฉัยโรค
โพแทสเซียม-48

สารบริสุทธิ .. . (ธาตุ - ธาตุกมั มันตรังสี)


โทษของธาตุกมั มันตรังสี .. .

ที่มา : ชุดสัมฤทธิ์มาตรฐาน วิทยาศาสตร ม.1 เลม 1 อจท.


1. การได้รบั รังสีพลังงานสูง ทําให้เกิดโรคมะเร็งได้
2. ทําให้เกิดการกลายพันธุ ์ โดยรังสีจะเข้าไปทําลายโครโมโซม
ของคน
3. หากแพร่สูธ่ รรมชาติ อาจเกิดผลกระทบต่อสิงแวดล้อมได้
สารบริสุทธิ .. . (สารประกอบ) สารบริสุทธิ .. . (สารประกอบ)

สารประกอบ (Compounds) เช่น .. . NH3


คือ สารบริสุทธิทีเกิดจากธาตุตงแต่
ั 2 ชนิดขึนไปรวมตัว
กันทางเคมี โดยมีอตั ราส่วนในการรวมกันคงทีแน่นอน 1. ชือ : แอมโมเนีย
สามารถแยกองค์ประกอบออกเป็ นธาตุได้ 2. สูตรเคมี : NH3
เช่น H2O สามารถแยกออกเป็ นธาตุได้ คือ H และ O 3. ธาตุทีเป็ นองค์ประกอบ และจํานวน : ไนโตรเจน (N)
1 อะตอม , ไฮโดรเจน (H) 3 อะตอม

สารผสม
3.2 สารผสม สารละลาย สารแขวนลอย คอลลอยด์

Free PowerPoint Templates Free PowerPoint Templates


Free PowerPoint Templates Free PowerPoint Templates
สารผสม (Mixture) .. . สารผสม .. . (สารละลาย)

- สารทีเกิดจากสารบริสุทธิตังแต่ 2 ชนิดขึนไป สารละลาย (Solution)


- มีมีอตั ราส่วนไม่คงที และไม่เกิดปฏิกิริยาเคมี - สารผสมทีเป็ นสารเนือเดียว เกิดจากสารมากกว่า 1 ชนิด
- แบ่งออกเป็ น 3 กลุ่ม คือ สารละลาย สารแขวนลอย และ ขึนไป มาร่วมกันในอัตราส่วนทีไม่คงที
คอลลอยด์ - สารทีเกิดขึนจากการผสมนี จะแสดงสมบัติทีต่างไปจาก
เดิม
- ไม่สามารถแยกโดยผ่านกระดาษกรองและเยือเซลโลเฟน

สารผสม .. . (สารละลาย) สารผสม .. . (สารละลาย)


1. สถานะและองค์ประกอบของสารละลาย 1. สถานะและองค์ประกอบของสารละลาย
สารละลายทุกชนิดจะประกอบด้วยองค์ประกอบ 2 ชนิด คือ
- ตัวละลาย
- ตัวทําลายละลาย
ซึงสามารถพบได้ทวไปในชี
ั วิตประจําวันทัง 3 สถานะ

ที่มา : ชุดสัมฤทธิ์มาตรฐาน วิทยาศาสตร ม.1 เลม 1 อจท.


สารผสม .. . (สารละลาย) สารผสม .. . (สารละลาย)
1. สถานะและองค์ประกอบของสารละลาย ตัวทําละลายและตัวละลายมีสถานะเดียวกับสารละลาย
หลักในการพิจารณาว่าในตัวใดเป็ นตัวละลาย และตัว - สารทีเป็ นตัวทําละลายจะเป็ นสารทีมีปริมาณมากกว่า
ใดเป็ นตัวทําละลาย สามารถพิจารณาได้จาก .. . - ส่วนสารทีเป็ นตัวละลายจะมีปริมาณน้อยกว่า
- ตั ว ทํา ละลายและตั ว ละลายมี ส ถานะเดี ย วกั บ
สารละลาย
- ตัวทําละลายและตัวละลายมีสถานะต่างกัน
ที่มา : http://www.thaischool1.in.th/_files_school/73100213/workteacher/73100213_1_20180522-203009.pdf

สารผสม .. . (สารละลาย) สารผสม .. . (สารละลาย)


ตัวทําละลายและตัวละลายมีสถานะต่างกัน
- สารทีมีสถานะเดียวกับสารละลายจะเป็ นตัวทําละลาย
- ส่วนสารทีมีสถานะต่างจากสารละลายเป็ นตัวละลาย

ที่มา : http://www.thaischool1.in.th/_files_school/73100213/workteacher/73100213_1_20180522-203009.pdf ที่มา : ชุดสัมฤทธิ์มาตรฐาน วิทยาศาสตร ม.1 เลม 1 อจท.


สารผสม .. . (สารแขวนลอย) สารผสม .. . (คอลลอยด์)
สารแขวนลอย (Suspention)
- เป็ นของเหลวทีมีอนุภาคขนาดเล็กๆ
- มีอนุภาคขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางใหญ่กว่า 10-4 ซม.
- อนุ ภาคของแข็ งจะลอยกระจายในของเหลว เมื อตังทิ งไว้จะ
ตกตะกอน
- สามารถแยกออกได้ดว้ ยการกรอง
- เช่น นําโคลน นําคลอง นําอบไทย เป็ นต้น
ที่มา : http://coagulant-flocculation.blogspot.com/2015/08/pac-is-inorganic-coagulants-to.html

สารผสม .. . (คอลลอยด์) สารผสม .. . (คอลลอยด์)


คอลลอยด์ (Colloid) คอลลอยด์ (Colloid)
- เป็ นสารเนื อผสมทีไม่สามารถจัดให้เป็ นสารเนื อเดียวหรือสาร - คอลลอยด์ทีมนุ ษย์สร้างขึน เกิด
เนือผสม จากการผสมสาร 2 ชนิด ทีไม่รวมตัวกัน
- มีอนุภาคขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 10-7 - 10-4 ซม. - แต่ส ามารถทํา ให้ร วมตัว กัน ได้
- มีลกั ษณะขุ่น แต่ไม่ตกตะกอน มีทงสถานะของแข็
ั ง ของเหลว โดยใช้สารทีเรียกว่า อิมัลซิไฟเออร์ และ
และแก๊ส เรี ย ก ค อ ล ล อ ย ด์ ที เกิ ด ขึ น แ บ บ นี ว่ า
- เช่น นํานม นําสลัด นํากะทิ สีทาบ้าน เป็ นต้น อิมลั ชัน ทีม่ า : หนังสือสื่อการเรียนรูฯ วิทยาศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 เลม 1
สารผสม .. . (คอลลอยด์) สารผสม .. . (คอลลอยด์)
คอลลอยด์ (Colloid)
- เมือผ่านลําแสงเล็กๆ เข้าไปในคอลลยด์จะมองเห็นเป็ นลําแสง ซึง
เกิดจากการกระเจิงของแสง ปรากฏการณ์ทีมองเห็นลําแสงในคอลลอยด์
เรียกว่า ปรากฏการณ์ทินดอลล์ หรือ การกระเจิงแสง

ทีี่มา : หนังสือสื่อการเรียนรู
นรฯ วิทยาศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 เลม 1

สารผสม .. . (คอลลอยด์) สารผสม .. . (คอลลอยด์)


เปรียบเทียบการกระเจิงแสงสารละลาย และคอลลอยด์

ที่มา : http://trangzone.com/webboard_show.php?ID=17961
ที่มา : https://image.slidesharecdn.com/random-140713015245-phpapp02/95/-38-638.jpg?cb=1405216455
ที่มา : https://encrypted-tbn0.gstatic.com/images?q=tbn:ANd9GcT8H2iNwKtYE8Qnf5d58vngO0JnSwo2dw8M3dzEQFsH21OmrVeCyQ ที่มา : https://energiasolarhoy.com/efecto-tyndall/
สารผสม .. . (คอลลอยด์)
เปรียบเทียบการกระเจิงแสงสารแขวนลอย และคอลลอยด์

3.3 สมบัตขิ องสารบริสุทธิและสารผสม

ที่มา : https://www.scimath.org/article-science/item/4410-why-is-the-sky-blue
ที่มา : https://www.siamchemi.com/%E0%B8%84%E0%B8%AD%E0%B8%A5%E0%B8%A5%E0%B8%AD%E0%B8%A2%E0%B8%94%E0%B9%8C/ Free PowerPoint Templates
Free PowerPoint Templates

สมบัตขิ องสารบริสุทธิและสารผสม .. . สมบัตขิ องสารบริสุทธิและสารผสม .. .

- สมบัตทิ างกายภาพจะสามารถสังเกตและตรวจสอบได้ง่าย 1. จุดเดือด (boiling point)


- มีประโยชน์ในการบ่งชีชนิดและความบริสุทธิของสาร - คื อ อุณหภูมิทีเปลียนสถานะจากของเหลวกลายเป็ น
- วิ ธีตรวจสอบชนิ ดและความบริสุทธิ คือ การหาจุดเดือด แก๊ส
จุดหลอมเหลว ความหนาแน่น - ขึนอยูก่ บั แรงยึดเหนียวระหว่างโมเลกุลของสาร
สมบัตขิ องสารบริสุทธิและสารผสม .. . สมบัตขิ องสารบริสุทธิและสารผสม .. .
1. จุดเดือด (boiling point) 2. จุดหลอมเหลว (melting point)
- สารบริสุทธิ มี ส่วนประกอบเป็ นสาร - คื อ อุ ณ หภู มิ ที เปลี ยนสถานะจากของแข็ ง กลายเป็ น
ชนิดเดียว การเปลียนสถานะจึงคงที ของเหลว
- เมือได้รบั พลังงานโมเลกุลจะมีพลังงานสูงขึน แรงยึด
- สารละลาร มีส่วนประกอบมากกว่า 1
ชนิ ด สารผสมที มี จุ ด เดื อ ดสู ง จะเดื อ ด
เหนียวจึงสลาย
ที่มา : ชุดสัมฤทธิ์มาตรฐาน วิทยาศาสตร ม.1 เลม 1 อจท.
หลัง ส่วนทีมีจุดเดือดตําจะเดือดก่อน

สมบัตขิ องสารบริสุทธิและสารผสม .. . สมบัตขิ องสารบริสุทธิและสารผสม .. .


2. จุดหลอมเหลว (melting point) 3. ความหนาแน่นของสาร
- สารบริสุทธิ จะมีจุดหลอมเหลวทีคงที - เป็ นตัวบ่งชี ว่า สาร 1 หน่ วยปริมาตร มี มวลเท่าใดในปริม าตรที
เนื องจากมี แ รงยึ ด เหนี ยวที ไม่ ต่ า งกัน แตกต่าง
พลังงานทีใช้จงึ เท่ากัน - สารทีมีความหนาแน่นมากจะมีมวลมาก
- เป็ นค่าทีเป็ นสมบัตเิ ฉพาะตัวของสารชนิดนันๆ
- สารละลาร เกิ ด จากสารที มี ส ารต่า ง - สารทีมีความหนาแน่นมากจะอยู่ดา้ นล่าง ส่วนสารทีหนาแน่นน้อย
ที่มา : ชุดสัมฤทธิ์มาตรฐาน วิทยาศาสตร ม.1 เลม 1 อจท.
ชนิดกัน แรงยึดเหนียวจึงไม่เท่ากัน จะอยูด่ า้ นบน
สมบัตขิ องสารบริสุทธิและสารผสม .. . (จุดเดือด)
3. ความหนาแน่นของสาร
คํานวนได้จากสูตร

D=M D = ความหนาแน่น
M = มวลของสาร
V V = ปริมาตร

You might also like