You are on page 1of 90

ตะลุยโจทย์เตรียมสอบปลายภาค

ม.6 เทอม 2 [# 3]
By P’Tum (CU Engineer)
LINE : @tumtewphysics
ฟิสิกส์นิวเคลียร์ - การเปลี่ยนสภาพนิวเคลียส LINE : @tumtewphysics
1 องค์ประกอบของนิวเคลียส สัญลักษณ์นิวเคลียสของธาตุ
𝑨
𝒁 𝑿
A = ผลรวม P + n เรียกว่า
เลขมวล (mass number)
Z = จานวน P เรียกว่า
เลขอะตอม (Atomic number)
n = A – Z (บน - ล่าง)
ฟิสิกส์นิวเคลียร์ - การเปลี่ยนสภาพนิวเคลียส LINE : @tumtewphysics
2. การเปลี่ยนสภาพนิวเคลียส
1. การสลายให้อนุภาคแอลฟา(𝜶 , 𝟒𝟐𝑯𝒆)
2. การสลายให้อนุภาคบีตา( 𝜷 )
บีตาลบ( 𝜷− , −𝟏𝟎𝒆 ) เรียกว่า เนกาตรอน + -
บีตาบวก( 𝜷+ , +𝟏𝟎𝒆 ) เรียกว่า โพสิตรอน
- +

3. การสลายให้รงั สีแกมมา( 𝛾 )
ฟิสิกส์นิวเคลียร์ - การเปลี่ยนสภาพนิวเคลียส LINE : @tumtewphysics
2. การเปลี่ยนสภาพนิวเคลียส
สัญลักษณ์ของอนุภาคต่างๆ
ฟิสิกส์นิวเคลียร์ - การเปลี่ยนสภาพนิวเคลียส LINE : @tumtewphysics
2. การเปลี่ยนสภาพนิวเคลียส

หลักในการสลายให้รงั สีต่างๆ
1. ผลรวมของเลขมวลจะต้องเท่าเดิม

2. ผลรวมของเลขอะตอมจะต้องเท่าเดิม
ฟิสิกส์นิวเคีลยร์ LINE : @tumtewphysics
𝟏𝟗𝟔 𝟏𝟗𝟔
1.1 อะตอมธาตุ 𝟕𝟖𝑷𝒕 และ 𝟕𝟗𝑨𝒖 จะมีจานวนอะไรเท่ากัน
1. นิวคลีออน 2. นิวตรอน 3. โปรตอน 4. อิเล็กตรอน
ฟิสิกส์นิวเคีลยร์ LINE : @tumtewphysics
1.2 ไอโทปกัมมันตรังสี 𝟐𝟒
𝟏𝟏𝑵𝒂 สามารถผลิตได้จากปฎิกิริยานิวเคลียร์
𝟐𝟕
𝟏𝟑 𝑨𝒍+ X → 𝟐𝟒
𝟏𝟏 𝑵𝒂 + 𝟒
𝟐𝑯𝒆
ในสมการนี้ อนุภาค X คือ

1. นิวตรอน 2. โปรตอน 3. โปสิตรอน 4. อิเล็กตรอน


ฟิสิกส์นิวเคีลยร์ LINE : @tumtewphysics
1.3 เมือ่ นิวเคลียส 𝟐𝟏𝟔
𝟖𝟒 𝑷𝒐 สลายตั
ว ไปเป็ นนิ วเคลี ยส 𝟖𝟐𝑷𝒃 จะให้รงั สีหรืออนุภาค
𝟐𝟏𝟐

ชนิดใดออกมา

1. แกมมา
2. บีตา
3. นิวตรอน
4. แอลฟา
ฟิสิกส์นิวเคีลยร์ LINE : @tumtewphysics
1.4 จากปฎิกิริยานิวเคลียร์ต่อไปนี้
𝟏𝟗𝟕
𝟕𝟗 𝑨𝒖 + 𝟐
𝟏 𝑯 X + 𝟒
𝟐𝑯𝒆
นิวเคลียส X จะมีจานวนโปรตอนและนิวตรอนอย่างไร
1. โปรตอน 78 ตัว นิวตรอน 117 ตัว
2. โปรตอน 78 ตัว นิวตรอน 195 ตัว
3. โปรตรอน 117 ตัว นิวตรอน 195 ตัว
4. โปรตอน 195 ตัว นิวตรอน 78 ตัว
ฟิสิกส์นิวเคีลยร์ LINE : @tumtewphysics
1.5 จากธาตุไอโชโทปของยูเรเนี ยม 𝟐𝟑𝟖
𝟗𝟐𝑼 สลายตัวแบบอนุกรมได้อนุภาคแอลฟา
รวม 8 ตัว และอนุภาคบีตารวม 6 ตัว และได้ไอโชโทปของธาตุใหม่อีก 1 ตัว อยาก
ทราบว่าไอโชโทปของธาตุใหม่มีเลขมวลและอะตอมตรงกับข้อใด

1. 91, 234 2. 92, 206 3. 234, 91 4. 206, 82


ฟิสิกส์นิวเคีลยร์ LINE : @tumtewphysics
1.6 ธาตุ X รวมกับอนุภาคแอลฟา กลายเป็ นธาตุกมั มันตรังสี Y ซึ่งสลายตัวให้รงั สี
บีตาแล้วตัวมันกลายเป็ นธาตุ Z ถ้าเลขมวลของธาตุ Z เป็ น 2 เท่าของเลขอะตอม
ของมันธาตุ X คือธาตุใด
𝟔𝟓 𝟔𝟖
1. 𝟓𝟖𝟐𝟗 𝑪𝒖 2. 𝟔𝟐
𝟑𝟎 𝒁𝒏 3. 𝟑𝟏 𝑮𝒂 4. 𝟑𝟐𝑮𝒆
ฟิสิกส์นิวเคลียร์ - การสลายของนิวเคลียสกัมมันตรังสี LINE : @tumtewphysics
3. การสลายของนิวเคลียสกัมมันตรังสี ความสัมพันธ์ระหว่าง N,m,A กับ t
อัตราการสลาย 𝑵 = 𝑵𝟎 𝒆−𝝀𝒕
𝑨 = 𝝀𝑵
𝒎 = 𝒎𝟎 𝒆−𝝀𝒕
หน่ วย จานวนนิวเคลียสที่สลายต่อ 1 วินาที
(Bq , เบ็กเคอเรล) 𝑨 = 𝑨𝟎 𝒆−𝝀𝒕
หน่ วยอัตราการสลายอื่นๆ
𝟏 𝑪𝒊 = 𝟑. 𝟕 × 𝟏𝟎𝟏𝟎 𝑩𝒒
ฟิสิกส์นิวเคลียร์ - การสลายของนิวเคลียสกัมมันตรังสี LINE : @tumtewphysics
3. การสลายของนิวเคลียสกัมมันตรังสี 𝑵𝟎 𝒎𝟎
ครึ่งชีวิต (Half life) 𝑵= 𝒏 𝒎= 𝒏
𝟐 𝟐
เวลาของการสลายที่ทาให้จานวน
นิวเคลียสลดลงเหลือครึ่งหนึ่ ง 𝑨𝟎
เรียกว่า “ครึ่งชีวิต(half life , 𝑻𝟏/𝟐)” 𝑨= 𝒏
𝟐
𝒕
n = จานวนรอบที่ผา่ นครึ่งชีวิต =
𝑻𝟏/𝟐

𝒍𝒏𝟐 𝟎. 𝟔𝟗𝟑
𝑻𝟏/𝟐 = =
𝝀 𝝀
ฟิสิกส์นิวเคลียร์ - การสลายของนิวเคลียสกัมมันตรังสี LINE : @tumtewphysics
3. การสลายของนิวเคลียสกัมมันตรังสี
เปรียบเทียบการทดลองกับการสลายนิวเคลียส
การทดลองลูกเต๋า การสลายนิวเคลียส
1. จานวนลูกเต๋าที่เหลือในแต่ละครัง้ จานวนนิวเคลียสที่เหลือจากการสลาย
2. จานวนครัง้ ที่ทอดลูกเต๋า ช่วงเวลาที่เกิดการสลายตัว
3. จานวนที่ทอดลูกเต๋าแล้วเหลือ
เวลาครึ่งชีวิต
ลูกเต๋าครึ่งหนึ่ ง
4. โอกาสที่ลกู เต๋าจะหงายหน้ าที่แต้มสี
ค่าคงตัวการสลาย
(หน้ าที่คดั ออก)
ฟิสิกส์นิวเคีลยร์ LINE : @tumtewphysics
2.1 ไอโชโทปของโชเดียม( 𝟐𝟒 𝟏𝟏𝑵𝒂) มีครึ่งชี วิต 15 ชัวโมง
่ จงหาว่าเวลาผ่านไป 75
ชัวโมง
่ นิวเคลียสของไอโชโทปนี้ จะสลายตัวไปแล้วประมาณกี่เปอร์เซ็นต์ของ
จานวนที่ตงั ้ ต้น ถ้าตอนเริ่มแรกนิวเคลียสของไอโชโทปนี้ มีค่า 5 คูรี
1. 75% 2. 87.5% 3. 94% 4. 97%
ฟิสิกส์นิวเคีลยร์ LINE : @tumtewphysics
2.2 สารกัมมันตรังสีจานวนหนึ่ ง เมื่อทิ้งไว้ 2 ชัวโมง
่ ปรากฏว่าสลายตัวไปจานวน
15/16 เท่าของเดิม จงหาเวลาครึ่งชีวิตของสารนี้
1. 7.5 นาที 2. 15 นาที 3. 30 นาที 4. 64 นาที
ฟิสิกส์นิวเคีลยร์ LINE : @tumtewphysics
2.3 สารกัมมันตรังสีชนิดหนึ่ งมีค่านิจของการสลายตัว 0.077 ต่อปี จะต้องใช้
เวลานานเท่าไรจึงจะมีมวลลดลงจาก 40 กรัมเหลือเพียง 2.5 กรัม
1. 3 ปี 2. 13 ปี 3. 36 ปี 4. 45 ปี
ฟิสิกส์นิวเคีลยร์ LINE : @tumtewphysics
2.4 ค่าคงตัวของการสลายของธาตุกมั มันตรังสี ซึ่งเริ่มต้นมีจานวนอะตอม 24 ×
1018 อะตอมเมือ่ เวลาผ่านไป 90 วัน จะเหลือ 3 × 1018 อะตอม คือข้อใด
1. 0.069 ต่อวัน 2. 0.035 ต่อวัน 3. 0.023 ต่อวัน 4. 0.017 ต่อวัน
ฟิสิกส์นิวเคีลยร์ LINE : @tumtewphysics
2.5 เมือ่ นาชากไม้โบราณ 6 กรัม มาวัดปริมาณรังสี ปรากฏว่ามีกมั มันตภาพเท่ากับ
ไม้ที่มีชีวิต 2 กรัม ถ้าครึ่งชีวิตของ C-14 เป็ น 5,600 ปี แสดงว่าชากไม้มีอายุ
1. เกิน 16,800 ปี 2. อยู่ระหว่าง 11,200 – 16,800 ปี
3. อยู่ระหว่าง 5,600 – 11,200 ปี 4. ไม่เกิน 5,600 ปี
ฟิสิกส์นิวเคีลยร์ LINE : @tumtewphysics
𝝀
2.6 สารกัมมันตรังสี A,B และ C สลายให้รงั สีแกมมาด้วยค่าคงตัวการสลายเป็ น 𝝀 , และ
𝟐
2𝝀 ตามลาดับจากกราฟการสลายตัวดังรูป สรุปได้ว่า
ก. กราฟ 1, 2 และ 3 เป็ นกราฟแสดงการสลายตัวของสาร A, B และ C ตามลาดับ
ข. ครึ่งชีวิตของ C น้ อยกว่า B และน้ อยกว่า A
ค. ครึ่งชีวิตของ A มากว่า B และน้ อยกว่า C
ง. ปริมาณของสารที่เหลือของ A จะมากกว่า C
แต่น้อยกว่า B เมื่อเวลาผ่านไปเท่ากัน
ข้อความที่ถกู ต้องคือ
1. ก และ ค 2. ข และ ง 3. ค เท่านัน้ 4. ง เท่านัน้
ฟิสิกส์นิวเคีลยร์ LINE : @tumtewphysics
2.7 สารกัมมันตรังสี มีการสลายตัวเป็ นไปตามสมการ 𝒎 = 𝒎𝟎 𝒆−𝝀𝒕
โดย m เป็ นมวลของสลายที่เหลืออยู่ เมื่อเวลาผ่านไป t
m0 เป็ นมวลของสาร ณ เวลาเริ่มต้น
e เป็ นค่าคงที่ ชึ่งมีค่าเท่ากับ 2.7182818
เป็ นค่าคงตัวการสลาย
ในการสารวจแหล่งแร่แห้งหนึ่ ง พบสารกัมมันตรังสีมวล 1,800 กรัมก้อนหนึ่ ง และ
เมื่อเวลาผ่านไป 1 ชัวโมงจะเหลื
่ อมวล 1,350 กรัม อยากทราบว่าในอดีต 2 ชัวโมง

ก่อนที่จะพบสารกัมมันตรังสีก้อนนี้ สารก้อนนี้ มีมวลเท่าไร
1. 2,250 g 2. 2,400 g 3. 2,900 g 4. 3,200 g
ฟิสิกส์นิวเคีลยร์ LINE : @tumtewphysics
2.8 ในการเปลี่ยนสภาพของนิวเคลียสของธาตุกมั มันตรังสี X ไปเป็ นธาตุ
กัมมันตรังสี Y พบว่าในขณะที่ธาตุทงั ้ สองอยู่ในสภาพสมดุล อะตอมของธาตุ X มีค่า
เป็ น 3 × 106 เท่าของอะตอมของธาตุ Y ถ้าครึ่งชีวิตของธาตุ Y มีค่าเท่ากับ 1,600 ปี
จงหาเวลาครึ่งชีวิตของธาตุ X
1. 5.3 × 10-4 ปี 2. 1.9 × 103 ปี 3. 3.3 × 109 ปี 4. 4.8 × 109 ปี
ฟิสิกส์นิวเคีลยร์ LINE : @tumtewphysics
2.9 ในการทดลองลูกเต๋า 6 หน้ า ที่มีการแต้มสี 1 หน้ า เหมือนกันทุกลูก จานวน 180
ลูก ถ้าทอดแล้วทาการคัดลูกเต๋าที่มีหน้ าสีหงายขึน้ ออกไป ถ้าทาการทอด 2 ครัง้
โดยเฉลี่ยจะตัดลูกเต๋าออกกี่ลกู
1. 60 ลูก 2. 55 ลูก 3. 30 ลูก 4. 25 ลูก
ฟิสิกส์นิวเคีลยร์ LINE : @tumtewphysics
2.10 ในการทดลองอุปมัยการทอดลูกเต๋ากับการสลายตัวของนิวเคลียสกัมมันตรังสี
นักเรียนคนหนึ่ งใช้ลกู เต๋าหลายหน้ าชนิดเดียวกัน จานวน 200 ลูก ซึ่งมีหน้ าที่แต้มสีไว้หน้ า
หนึ่ ง นามาทดลองโดยการทดลองทอดแล้วคัดลูกที่หงายหน้ าซึ่งแต้มสีออกได้ผลออกมา
ดังกราฟ อยากทราบว่าลูกเต๋าชุดนี้ เป็ นชนิดลูกเต๋ากี่หน้ า
1. 12 หน้ า
2. 16 หน้ า
3. 18 หน้ า
4. 24 หน้ า
ฟิสิกส์นิวเคลียร์ LINE : @tumtewphysics
4. เสถียรภาพของนิวเคลียส 4.2 พลังงานยึดเหนี่ ยว (Binding energy B.E.)
4.1 รัศมีนิวเคลียส - มวลพร่อง คือ มวลส่วนหนึ่ งที่หายไปซึ่ง
จะเปลี่ยนไปเป็ นพลังงานยึดเหนี่ ยว
𝑹 = 𝒓𝟎 𝑨𝟏/𝟑
A = เลขมวล ∆𝑬 = ∆𝒎𝒄𝟐
𝒓𝟎 = 1.2 x 10-15 m
𝟏 𝒖 = 𝟏. 𝟔𝟔 𝒙 𝟏𝟎−𝟐𝟕 𝒌𝒈

𝟏 𝒖 มีพลังงานงานเท่ากับ 931 MeV

∆𝑬(𝑴𝒆𝑽) = ∆𝒎 𝒖 𝒙 𝟗𝟑𝟏
ฟิสิกส์นิวเคีลยร์ LINE : @tumtewphysics
3.1 รัศมีนิวเคลียสของ 𝟐𝟑𝟖𝑼 มีค่าประมาณเป็ นกี่เท่าของรัศมีนิวเคลียสของ 𝟒𝑯𝒆
1. 4 2. 8 3. 16 4. 60
ฟิสิกส์นิวเคีลยร์ LINE : @tumtewphysics
3.2 จงหาเลขอะตอมของนิวเคลียสหนึ่ ง ซึ่งประกอบด้วยจานวนโปรตอนเท่ากับ
จานวนนิวตรอนและนิวเคลียสนี้ มีรศั มีเป็ น 2/3 เท่าของนิวเคลียสของ 𝟐𝟕
𝟏𝟑𝑨𝒍
1. 2
2. 4
3. 8
4. 9
5. 18
ฟิสิกส์นิวเคีลยร์ LINE : @tumtewphysics
3.3 ข้อใดต่อไปนี้ ข้อใดอธิบายธรรมชาติของแรงนิวเคลียสได้ถกู ต้องที่สดุ
1. แรงนิวเคลียร์เป็ นแรงระยะสัน้ , ดึงดูด, ขึน้ อยู่กบั ระยะทางกาลังสองผกผันและ
ไม่ขึน้ กับชนิดประจุไฟฟ้ า
2. แรงนิวเคลียร์เป็ นแรงระยะสัน้ , ดึงดูด, ขึน้ อยู่กบั ระยะทางกาลังสองผกผันและ
ขึน้ กับชนิดประจุไฟฟ้ า
3. แรงนิวเคลียร์เป็ นแรงระยะยาว, ดึงดูด, ขึน้ อยู่กบั ชนิดของประจุไฟฟ้ า และมี
ขนาดใหญ่กว่าแรงโน้ มถ่วงมาก
4. แรงนิวเคลียร์เป็ นแรงระยะสัน้ , ดึงดูด, ไม่ขึน้ อยู่กบั ชนิดประจุไฟฟ้ า และมี
ขนาดใหญ่กว่าแรงไฟฟ้ ามาก
ฟิสิกส์นิวเคีลยร์ LINE : @tumtewphysics
3.4 นิวเคลียสกัมมันตรังสี X มีเลขมวลเท่ากับ 200 มีค่าพลังงานยึดเหนี่ ยว/นิวคลี
ออนประมาณ 7 MeV เกิดการแตกตัวเป็ น 2 ส่วนเท่าๆ กัน แต่ละส่วนมีเลขมวล
เท่ากับ 100 และมีพลังงานยึดเหนี่ ยว/นิวคลีออนประมาณ 8 MeV จงหาพลังงานที่ถกู
ปล่อยออกมาในการแตกตัวของนิวเคลียส X หนึ่ งตัว
1. 200 MeV 2. 1,400 MeV 3. 1,600 MeV 4. 3,000 MeV
ฟิสิกส์นิวเคีลยร์ LINE : @tumtewphysics
3.5 ถ้านิวเคลียสของธาตุ A มีมวล 4.0020 u และนิวเคลียสของธาตุ A นี้ ประกอบขึน้
ด้วยโปรตอนและนิวตรอนอย่างละ 2 ตัว (มวลของโปรตอน = 1.0073 u, มวลของ
นิวตรอน = 1.0087 u, มวล 1 u เทียบเท่ากับพลังงาน 930 MeV) พลังงานยึดเหนี่ ยว
ต่อนิวคลีออนของธาตุ A มีค่ากี่ MeV
1. 2
2. 7
3. 14
4. 28
ฟิสิกส์นิวเคีลยร์ LINE : @tumtewphysics
3.6 จะต้องใช้พลังงานตา่ สุดกี่ MeV เพื่อแยกโปรตอน 1 ตัวออกจาก 𝟏𝟐𝟔𝑪
1. 17.9 2. 15.9 3. 7.7 4. 1.9
13
12
11
1
C
N
B
H
1657
ฟิสิกส์นิวเคีลยร์ LINE : @tumtewphysics
3.7 จากสมการ 𝟔𝟐𝑯𝒆 → 𝟔𝟑𝑳𝒊 + 𝜷 และกาหนดมวลของไอโซโทปต่างๆ ดังนี้
𝟏
𝟏 𝑯 = 1.0027 u 𝟎𝒏 = 1.00867 u
𝟏
𝟔
𝟐 𝑯𝒆 = 6.02047 u 𝟑𝑳𝒊 = 6.01702 u
𝟔

จงหาพลังงานของอนุภาค β
1. 1.8 MeV
2. 2.7 MeV
3. 3.2 MeV
4. 4.3 MeV
ฟิสิกส์นิวเคีลยร์ LINE : @tumtewphysics
3.8 ในปฏิกิริยานิวเคลียร์ 𝟕𝟑𝑳𝒊 (p, 𝜶) 𝟒𝟐𝑯𝒆 จะคายหรือดูดกลืนพลังงานเป็ นจานวน
เท่าใด (กาหนดให้มวลของลิเธียม-7 เท่ากับ 7.0160 มวลของโปรตอน เท่ากับ
1.0078 u มวลอนุภาคแอลฟา เท่ากับ 4.0026 u และมวล 1 u เทียบเท่ากับพลังงาน
930 MeV)
1. คาย 17 MeV
2. คาย 4 MeV
3. ดูดกลืน 17 MeV
4. ดูดกลืน 4 MeV
ฟิสิกส์นิวเคีลยร์ LINE : @tumtewphysics
3.9 จากปฏิกิริยานิวเคลียร์ 𝟏𝟎𝟓𝑩 + 𝟏𝟎𝒏 → 𝟕𝟑𝑳𝒊 + 𝟒𝟐𝑯𝒆 พบว่ามีพลังงานที่เกิดขึน้
2.79 MeV จงหามวลของ Li ในหน่ วย u (กาหนด มวลของโบรอน-10 เท่ากับ
10.01294 u มวลของนิวตรอนเท่ากับ 1.00866 u และมวลของฮีเลียม -4 เท่ากับ
4.00260 u และมวล 1 u เทียบเท่ากับพลังงาน 930 MeV)
1. 7.00000 u
2. 7.01600 u
3. 7.02000 u
4. 7.03100 u
ฟิสิกส์นิวเคีลยร์ LINE : @tumtewphysics
3.10 จงหาพลังงานที่ใช้ในการแยกนิวตรอน 𝟐𝟎 𝟏𝟎𝑵𝒆 ออกมาเป็ นแอลฟา 2 อนุภาค
และ 𝟏𝟐𝟔𝑪 1 นิวเคลียส กาหนดให้พลังงานยึดเหนี่ ยวต่อนิวเคลียสของ 𝟐𝟎
𝟏𝟎 𝑵𝒆, 𝟒
𝟐𝑯𝒆
และ 𝟏𝟐𝟔𝑪 เป็ น 8.03, 7.07 และ 7.68 MeV ตามลาดับ
1. -6.72 MeV
2. 5.94 MeV
3. 6.72 MeV
4. 11.88 MeV
5. 40.16 MeV
ฟิสิกส์นิวเคลียร์ LINE : @tumtewphysics
5. ปฏิกิริยานิวเคลียร์
สมการปฏิกิริยานิวเคลียร์
1. ผลรวมของเลขมวลก่อนและหลังปฏิกิริยาจะต้องเท่าเดิม

2. ผลรวมของเลขอะตอมก่อนและหลังปฏิกิริยาจะต้องเท่าเดิม
ฟิสิกส์นิวเคลียร์ LINE : @tumtewphysics
5. ปฏิกิริยานิวเคลียร์
ปฏิกิริยานิวเคลียร์ มี 2 แบบ
1. ดูดพลังงาน (𝒎หลัง > 𝒎ก่อน )
ต้องดูดพลังงานเข้าไปจึงจะเกิดปฏิกิริยาขึน้ ได้ เช่น
17
14
7 𝑵 + 42𝑯𝒆 + 𝑬𝒏𝒆𝒓𝒈𝒚 → 8𝑶 + 11𝑯
2. คายพลังงาน (𝒎หลัง < 𝒎ก่อน )
ปฏิกิริยาประเภทนี้ จะคายพลังงานออกมา เช่น
7
3𝑳𝒊 + 11𝑯 → 42𝑯𝒆 + 42𝑯𝒆 + 𝑬𝒏𝒆𝒓𝒈𝒚
ฟิสิกส์นิวเคลียร์ LINE : @tumtewphysics
5. ปฏิกิริยานิวเคลียร์
5.1 ปฏิกิริยาฟิชชัน (Fission) แตกตัวธาตุใหญ่เป็ นธาตุเล็ก
คายพลังงาน
200 MeV
5.2 ปฏิกิริยาฟิวชัน (Fusion) รวมตัวธาตุเล็ก เป็ นธาตุใหญ่
คายพลังงาน
26 MeV
ฟิสิกส์นิวเคลียร์ LINE : @tumtewphysics
5. ปฏิกิริยานิวเคลียร์
5.2 ปฏิกิริยาฟิวชัน (Fusion)
ตัวอย่างปฏิกิริยาฟิวชัน
ปฏิริยาหลอมรวมไฮโดรเจนบนดวงอาทิตย์

คายพลังงาน
26 MeV
ฟิสิกส์นิวเคีลยร์ LINE : @tumtewphysics
4.1 ปฏิกิริยาฟิวชันเกิดขึน้ ในดวงอาทิตย์ได้พลังงานมากมายดังนี้
𝟒 𝟏𝟏𝑯 → 𝟒𝟐𝑯𝒆 + 𝟐 +𝟏𝟎𝒆 พลังงาน
จงหาพลังงานที่ได้จากไฮโดรเจน 1 กิโลกรัม ที่เกิดปฏิกิริยานี้
กาหนดให้ มวลอะตอมของไฮโดรเจน = 1.00782 u = 1 g/mole
มวลอะตอมของฮีเลียม = 4.00260 u
มวลของอิเล็กตรอนและโปสิตรอน = 0.00055 u
NA = 6 × 1023 g/mole
ให้ใช้ค่า 1 u = 900 MeV
1. 3.6 × 1024 MeV 2. 14 × 1024 MeV 3. 3.6 × 1027 MeV 4. 14 × 1027 MeV
ฟิสิกส์นิวเคีลยร์ LINE : @tumtewphysics
4.2 เตาปฏิกรณ์ที่ใช้แหล่งกาเนิดพลังงานจากการเกิดฟิชชันของยูเรเนี ยน U-235 ซึ่ง
แต่ละครัง้ ให้พลังงานออกมา 220 MeV ถ้าต้องการกาลัง 1 กิโลวัตต์ ในเวลา 1 วินาที
จานวนครัง้ โดยประมาณของการเกิดฟิชชัน คือ
1. 3 × 1020 2. 3 × 1014 3. 3 × 103 4. 3 × 1013
ฟิสิกส์นิวเคีลยร์ LINE : @tumtewphysics
4.3 โรงไฟฟ้ าพลังงานความร้อนแห่งหนึ่ งเผาน้ามันเตา 1 ตัน ได้ความร้อน 1.5 ล้าน
กิโลแคลอรี อยากทราบว่าจะต้องใช้ยเู รเนี ยม -235 กี่มิลลิกรัม ในปฏิกิริยานิวเคลียร์
ฟิชชัน จึงจะได้ความร้อนที่มีปริมาณเท่ากับความร้อนที่เกิดจากน้ามันเตานี้ สมมติ
ว่ามวลของยูเรเนี ยม -235 หายไป 0.1% ของมวลเดิมในปฏิกิริยา (กาหนดให้ 1 กิโล
แคลอรี = 4.2 กิโลจูล)
1. 14 มิลลิกรัม
2. 42 มิลลิกรัม
3. 70 มิลลิกรัม
4. 140 มิลลิกรัม
ฟิสิกส์นิวเคีลยร์ LINE : @tumtewphysics
4.4 ถ้าสามารถทาให้ 𝟔𝟑𝑳𝒊 ซึ่งมี 7% ในธรรมชาติเกิดปฏิกิริยาฟิวชันดังสมการ
ต่อไปนี้ จะให้พลังงานเท่าใดต่อปฏิกิริยา 𝟔𝟑𝑳𝒊 + 𝟔𝟑𝑳𝒊 → 𝟏𝟐𝟔𝑪
กาหนดให้มวลอะตอมของ 𝟔𝟑𝑳𝒊 = 6.0151u , = 12.0000u และค่า mc2 ของ 1 u = 930
MeV

You might also like