You are on page 1of 15

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6

เรื่อง สมบัติของแก๊สและความสัมพันธ์ของปริ มาตร ความดันและอุณหภูมิของแก๊ส เวลา 2 คาบเรี ยน


หน่ วยที่ 1 ชื่อหน่ วย ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4/1
กลุ่มสาระการเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์ รายวิชา เคมี 1 รหัสวิชา SCI31221

สาระสาคัญ
สมบัติบางประการของแก๊ส ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส ผลของอุณหภูมิที่มีต่อปริ มาตรของแก๊ส
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ว 3.1 : เข้าใจสมบัติของสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสารกับโครงสร้างและแรงยึด
เหนี่ยวระหว่างอนุภาค มีกระบวนการสื บเสาะหาความรู ้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่ อสารสิ่ งที่เรี ยนรู ้และนาความรู ้ไปใช้
ประโยชน์
มาตรฐาน ว 3.2 : เข้าใจหลักการและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสาร การเกิดสารละลาย การ
เกิดปฏิกิริยา มีกระบวนการสื บเสาะ หาความรู ้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่ อสารสิ่ งที่เรี ยนรู ้ และนาความรู ้ไปใช้ประโยชน์
มาตรฐาน ว 8.1 ใช้ก ระบวนการทางวิท ยาศาสตร์ แ ละจิ ต วิ ท ยาศาสตร์ ใ นการสื บ เสาะหาความรู้ การ
แก้ปัญหา รู ้ ว่าปรากฏการณ์ ทางธรรมชาติที่เกิ ดขึ้นส่ วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่ นอน สามารถอธิ บายและตรวจสอบได้
ภายใต้ขอ้ มูลและเครื่ องมือที่มีอยูใ่ นช่ วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่า วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่ งแวดล้อม มีความ
เกี่ยวข้องสัมพันธ์กนั
ตัวชี้วดั /ผลการเรี ยนรู้ ทคี่ าดหวัง
1. อธิ บายสมบัติบางประการของของแข็ง ของเหลว และแก๊สได้
จุดประสงค์ การเรี ยนรู้
ด้ านความรู้
1. อธิ บายสมบัติบางประการของแก๊สได้
2. สรุ ปหลักการสาคัญของทฤษฎีจลน์ของแก๊สได้
3. ใช้ทฤษฎีจลน์ของแก๊สอธิ บายสมบัติของแก๊สได้
4. ทาการทดลองเพื่อศึกษาผลของอุณหภูมิและความดันที่มีต่อปริ มาตรของแก๊สได้
5. ใช้ทฤษฎีจลน์ของแก๊สอธิ บายความสัมพันธ์ระหว่างปริ มาตรกับความดันและปริ มาตรกับอุณหภูมิของ
แก๊สได้
ด้ านทักษะ / กระบวนการ
1. สื่ อความหมายระหว่างครู และเพื่อนร่ วมชั้นเรี ยนได้
2. สังเกตการณ์เปลี่ยนแปลงของสารได้
3. จัดทาข้อมูลและสื่ อความหมายจากการทดลองได้
ด้ านคุณลักษณะอันพึงประสงค์
๑. มีความสนใจใฝ่ รู้ ๒. กล้าแสดงออก
๓. มีความรับผิดชอบ ๔. มีระเบียบวินยั

สาระการเรี ยนรู้ /เนือ้ หาสาระ


1. สมบัติของแก๊ส
1. มีรูปร่ างและปริ มาตรไม่แน่นอนเปลี่ยนแปลงไปตามภาชนะที่บรรจุ
2. มีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคน้อยมาก จึงเคลื่อนที่ได้เร็ ว และแพร่ กระจายเต็มภาชนะที่บรรจุ
3. ถ้ามีการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ และความดัน จะหดตัวหรื อขยายตัวได้มากกว่าของแข็ง และของเหลว
4. มีความหนาแน่นน้อยกว่าของแข็งและของเหลว
5. อนุภาคมีพลังงานจลน์มากกว่าของแข็ง และของเหลว
6. ปริ มาตรขึ้นอยูก่ บั ความดัน อุณหภูมิ และจานวนโมล
2. ประเภทของแก๊ส
แก๊สอุดมคติ (ideal gas) คือ แก๊สที่ไม่วา่ จะอยูใ่ นสภาวะใดก็ตามจจะมีพฤติกรรมและสมบัติเป็ นไปตามกฏและ
ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
แก๊สจริ ง (real gas) คือ แก๊สที่มีพฤติกรรมไม่เป็ นไปตามกฏและทฤษฎีจลน์ของแก๊สในสภาวะปกติ
3. ทฤษฎีจลน์ ของแก๊ส
- แก๊สประกอบด้วยโมเลกุลจานวนมาก โมเลกุลเหล่านี้จะอยูห่ ่างกันมาก โมเลกุลเหล่านี้จะอยูห่ ่างกันมาก
และไม่มีแรงกระทาต่อกัน
- โมเลกุลของแก๊สมีมวล แต่มีขนาดเล็กมาก จนถือว่ามีปริ มาตรเป็ นศูนย์
- โมเลกุลของแก๊ส เคลื่อนที่อย่างอิสระ ด้วยอัตราเร็ วคงที่ตลอดเวลา ในแนวเส้นตรง
- เมื่อโมเลกุลของแก๊สชนกันหรื อชนกับผนังภาชนะ จะมีการถ่ายเทพลังงานจลน์ ระหว่างกันได้ แต่ไม่มี
การเปลี่ยนแปลง เป็ นพลังงานรู ปอื่น
- ที่อุณหภูมิเดียวกัน แก๊สทุกชนิดจะมีพลังงานจลน์เฉลี่ยเท่ากัน และแปรผันตรงกับอุณหภูมิเคลวิน
4. ความสั มพันธ์ ของปริมาตร ความดัน และอุณหภูมิของแก๊ ส

กิจกรรมการเรียนการสอน ( 100 นาที)


1. ขั้นสร้ างความสนใจ (Engage) ( 10 นาที)
1.1 ครู ทบทวนเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสถานะของสารจากของเหลวกลายเป็ นไอ เรี ยกว่า การระเหย เมื่อ
สารระเหยและควบแน่นกลับเป็ นของเหลวด้วยอัตราที่เท่ากัน เรี ยกว่าความดันไอ ครู ต้ งั คาถามไอน้ าคือ สถานะใด
ของสาร(แก๊ส)
จากที่เราได้ศึกษาสมบัติของของแข็ง ของเหลว มาแล้วเรื่ องที่เราจะเรี ยนในวันนี้ คือ สมบัติของแก๊ส
เนื่องจากแก๊สเป็ นสารที่อยูร่ อบ ๆตัวเราทุกวินาทีเราสัมพันธ์กบั แก๊ส แต่เราคงจะคุน้ เคยกับของแข็งและของเหลวมา
กว่าเนื่องจากเป็ นสิ่ งที่จบั ต้องได้ แก๊สเป็ นเรื่ องง่ายต่อการทาความเข้าใจมากกว่าของแข็งและของเหลวในหลาย ๆด้าน
ไม่วา่ จะเป็ นการเคลื่อนที่ของโมเลกุลในแก๊สที่เป็ นแบบอิสระ แรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลมีค่าน้อย ทาให้เราสามารถ
ทานายพฤติกรรมโดยรวมของแก๊สได้
นักเรียนคิดว่ามีปัจจัยใดบ้ างทีม่ ีผลต่ อการเปลีย่ นแปลงปริมาตรของแก๊ส ศึกษาได้จากการทดลองต่อไปนี้
2. การสารวจและค้ นหา (Explore) (15 นาที)
2.1 ครู ให้นกั เรี ยนทาการทดลองโดยนักเรี ยนเขียนขั้นตอนการทดลอง ล่วงหน้ามาแล้ว
2.2 นักเรี ยนแต่ละกลุ่มหยิบอุปกรณ์ที่ใช้ในการทดลองให้ถูกต้อง(ครู ให้คะแนน)
2.3 ทาการทดลอง ดังขั้นตอนต่อไปนี้
วิธีการทดลอง

ตอนที่ 1 ผลของความดันต่ อปริมาตรของแก๊ ส

ดึงก้ านหลอดฉีดยาขึ ้นมากลางกระบอกฉีดยา

ใช้ นิ ้วอุดปลายกระบอกฉีดยาไว้ ใช้ นิ ้วอุดปลายกระบอกฉีดยาไว้

กดก้านหลอดฉี ดยาช้าๆ จนกระทั้งกดไม่ลง ดึงก้านหลอดฉีดยาขึ้นช้าๆ จนเกือบสุด

ปล่อยมือที่กดและสังเกต ปล่อยมือที่กดและสังเกต

ตอนที่ 2 ผลของอุณหภูมติ ่ อปริมาตรของแก๊ ส


ครึ่งกระบอกฉีดยา

2 cm3

สังเกตการเปลีย่ นแปลง สังเกตการเปลีย่ นแปลง


น ้าเย็น 10 - 20 oC
น ้าร้ อน 60 – 70 oC
เลือ่ นกระบอกฉีดยาให้ นะดับน ้า
ภายในกระบอกฉีดยาเท่ากับระดับ
น ้าภายนอก แล้ วอ่านปริ มาตรของ
อากาศในกระบอกฉีดยาทันที

2.4 นักเรียนบันทึกผลการทดลองเตรียมตัวอภิปราย

3. การอธิบาย (Explain) (5 นาที)


3.1 ครู ต้ งั คาถามเรี ยกถามเป็ นรายบุคคล ว่า
- เพราะเหตุใด ก่อนอ่านปริ มาตรของแก๊สจึงต้องปรับระดับน้ าภายในกระบอกฉี ดยาให้เท่ากับระดับน้ า
ภายนอก
(เพื่อให้ สายตาเห็นระดับปริ มาตรของอากาศในกระบอกฉี ดยาได้ ถกู ต้ อง)

- เมื่อปริ มาตรของแก๊สที่อยูใ่ นกระบอกฉี ดยาคงที่ ปริ มาตร ความดัน และอุณหภูมิของแก๊สมีความสัมพันธ์


กันอย่างไร
(ปริ มาตรแปรผกผันกับความดัน แปรผันตรงกับอุณหภูมิ)
- จากการทดลองนี้ มีปัจจัยใดบ้างที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงปริ มาตรของแก๊ส
(ความดันและอุณหภูมิ) ในการทดลองแต่ละตอน มวลของอากาศคงที่เพราะอากาศในกระบอกฉี ดยามี
ปริ มาณคงที่ การทดลองตอนที่ 1 อากาศมีอุณหภูมิคงที่เท่ากับอุณหภูมิห้อง เมื่อเพิ่มความดันให้กบั อากาศใน
กระบอกฉีดยา ปริ มาตรของอากาศลดลง เมื่อลดความดันลง ปริ มาตรของอากาศเพิ่มขึ้น แสดงว่ า
ความดันมีผลต่ อปริ มาตรของแก๊ สเมื่ออุณหภูมิคงที่
การทดลองตอนที่ 2 การเลื่อนกระบอกฉี ดยาขึ้นลงเพื่อให้ระดับน้ าในกระบอกฉี ดยาเท่ากับในบีกเกอร์
เป็ นการปรับความดันอากาศในกระบอกฉี ดยาให้เท่ากับความดันของบรรยากาศ ความดันของอากาศใน
กระบอกฉี ดยาทั้งที่แช่ในน้ าร้อนและน้ าเย็นจึงคงที่ คือเท่ากับความดันบรรยากาศ
จากผลการทดลองพบว่ าเมื่ออุณหภูมิสูงขึน้ ปริ มาตรของอากาศจะเพิ่มขึน้ และเมื่ออุณหภูมิตา่ ลงปริ มาตร
ของอากาศจะลดลง ซึ่ งสังเกตได้ จากการเปลี่ยนแปลงระดับของนา้ ในกระบอกฉี ดยา แสดงว่ าอุณหภูมิมี
ผลต่ อปริ มาตรของแก๊ ส เมื่อความดันคงที่
3.2 นักเรี ยนและครู ร่วมกันสรุ ปผลการทดลอง ดังต่อไปนี้
- ผลการทดลองดังกล่าวนี้ใช้ทฤษฎีจลน์ของแก๊สอธิ บายได้วา่ อย่างไร( เมื่อปริ มาตรของแก๊สในกระบอกฉี ด
ยาลดลง ทาให้โมเลกุลของแก๊สอยู่ใกล้กนั มากขึ้น จึงเกิ ดการชนกันเองและชนกับผนังภาชนะมากขึ้น เป็ นผลให้
ความดันของแก๊สในกระบอกฉี ดยาเพิ่มขึ้น ในทางตรงกันข้าม การเพิ่มปริ มาตรของแก๊สในกระบอกฉี ดยา ทาให้
โมเลกุลของแก๊สอยูห่ ่างกัน การชนกันเองของโมเลกุลของแก๊สและชนกับผนังภาชนะมีความถี่ลดลง ความดันของ
แก๊สในกระบอกฉี ดยาจึงลดลง)
4. การขยายความรู้ (Elaborate) (๑๐ นาที)
4.1 ครู ให้นกั เรี ยนดูตารางธาตุ บอกได้หรื อไม่วา่ ธาตุใดอยูใ่ นสถานะแก๊ส (ให้นกั เรี ยนจาไว้วา่
ไฮโดรเจน ไนโตรเจน ออกซิ เจน ฟลูออรี น และคลอรี นอยูใ่ นรู ปของแก๊สที่เป็ นโมเลกุล 2 อะตอม แทนด้วย H2 N2 O2
F2 และ Cl2 ครู ต้ งั คาถามว่านอกจากนี้ยงั มีธาตุใดอีกหรื อไม่ (หมู่ 8A ) เป็ นแก๊สมีตระกูล หรื อแก๊สเฉื่ อยเป็ นแก๊ส
อะตอมเดี่ยว
สารประกอบไอออนิกส่ วนใหญ่ไม่อยูใ่ นรู ปแก๊สที่ 25 °C และความดัน 1 atm เพราะเหตุใด
(ไอออนบวกกับไอออนลบในของแข็งไอออนิกยึดกันด้วยแรงทางไฟฟ้ าที่แข็งแรงมาก เราจะต้องให้พลังงานสู งใน
การเอาชนะแรงดึงดูดดังกล่าว ซึ่งในทางปฏิบตั ิหมายถึงการให้ความร้อนที่สูงมาก ภายใต้สภาวะปกติ สิ่ งที่เรา
สามารถทาได้คือการหลอม เช่น NaCl หลอมที่อุณหภูมิค่อนข้างสู งที่ 801 °C การที่จะทาให้เดือดได้ เราต้องใช้ความ
ร้อนจนอุณหภูมิสูงถึง 1000 °C พฤติกรรมของสารประกอบเชิงโมเลกุลนั้นค่อนข้างแตกต่างกัน สารบางชนิ ด เช่น
CO CO2 HCl NH3 และ CH4(มีเทน) เป็ นแก๊ส ในขณะที่สารประกอบเชิงโมเลกุลส่ วนใหญ่เป็ นของเหลวหรื อ
ของแข็งที่อุณหภูมิห้อง อย่างไรก็ตาม ในการให้ความร้อน สารเหล่านี้จะกลายเป็ นไอได้ง่ายกว่าสารประกอบไอออ
นิก ยิง่ แรงดึงดูดมีค่าสู งมากเท่าใด โอกาสที่สารประกอบจะอยูใ่ นรู ปแก๊สที่อุณหภูมิปกติก็นอ้ งลงเท่านั้น
จากตารางมีสารใดที่มีความสาคัญกับชีวติ (เพียง O2 เท่านั้นที่จาเป็ นสาหรับการดารงชีวติ ของเรา
ไฮโดรเจนซัลไฟด์ (H2S) และไฮโดรเจนไซยาไนด์(HCN) เป็ นพิษอย่างรุ นแรง แก๊สชนิ ดอื่นๆ เช่น CO NO2 O3 และ
SO2 มีความเป็ นพิษต่า แก๊สHe Ne และ Ar มีความเฉื่ อยทางเคมี นัน่ คือ มันไม่ทาปฏิกิริยากับสารชนิดอื่นๆแก๊สโดย
ส่ วนใหญ่จะไม่มีสี ยกเว้น F2 Cl2 และ NO2 บางครั้งสามารถเห็นได้ดว้ ยตาเปล่าในอากาศที่เสี ย) แก๊สทุกชนิดมี
สมบัติดงั นี้
สมบัติของแก๊ส
แก๊สมีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคน้อยมาก อนุ ภาคจะอยูห่ ่างกันมาก ดังนั้นเมื่อบรรจุแก๊สไว้ในภาชนะ
แก๊สจึงแพร่ กระจายเต็มภาชนะที่บรรจุ ทาให้มีรูปร่ างเปลี่ยนแปลงตามขนาดและรู ปร่ างของภาชนะ แก๊สมีความ
หนาแน่นต่ากว่าของเหลวและของแข็งมาก รวมทั้งสามารถบีบอัดได้ง่ายที่สุด
ทฤษฎีจลน์ ของแก๊ส
1. แก๊สประกอบด้วยอนุภาคจานวนมากที่มีขนาดเล็กมาก จนถือได้วา่ อนุภาคแก๊สไม่มีปริ มาตรเมื่อเทียบกับ
ขนาดภาชนะที่บรรจุ
2. โมเลกุลของแก๊สอยูห่ ่างกันมาก ทาให้แรงดึงดูดและแรงผลักระหว่างโมเลกุลน้อยมาก จนถือได้วา่ ไม่มี
แรงกระทาต่อกัน
3. โมเลกุลของแก๊สเคลื่อนที่อย่างรวดเร็ วในแนวเส้นตรง เป็ นอิสระด้วยอัตราเร็ วคงที่และไม่เป็ นระเบียบ
จนกระทัง่ ชนกับโมเลกุลอื่นหรื อชนกับผนังของภาชนะจึงจะเปลี่ยนทิศทางและอัตราเร็ ว
4. โมเลกุลของแก๊สที่ชนกันเองหรื อชนกับผนังภาชนะ จะเกิดการถ่ายโอนพลังงานให้แก่กนั ได้ แต่พลังงาน
รวมของระบบมีค่าคงที่
5. ณ อุณหภูมิเดียวกัน โมเลกุลของแก๊สแต่ละโมเลกุลเคลื่อนที่ดว้ ยความเร็ วไม่เท่ากัน แต่จะมีพลังงานจลน์
เฉลี่ยเท่ากัน โดยที่พลังงานจลน์เฉลี่ยของแก๊สจะแปรผันตรงกับอุณหภูมิเคลวิน
แก๊ สอุดมคติ คือ แก๊สที่มีสมบัติเป็ นไปตามทฤษฎีจลน์ของแก๊สทุกประการโดยปกติแก๊สที่ปรากฏอยูท่ วั่ ไป
จะมีสมบัติใกล้เคียงกับแก๊สอุดมคติเท่านั้น

5. การประเมินผล (Evaluation) (5 นาที)


ตรวจการบันทึกผลการทดลองและสรุ ปผลการทดลองเป็ นกลุ่ม ตรวจแบบฝึ กหัด

ชิ้นงาน/ภาระงานของนักเรียน
สื่ อการเรี ยนรู้ /แหล่ งการเรียนรู้
1. ใบความรู้ เรื่ อง แก๊ส
2. ใบงานที่ 6 เรื่ อง แก๊ส
3. หนังสื อ เคมี 2 สสวท

การวัดผลและการประเมินผล
1. วิธีวดั และเครื่องมือ
เป้าหมายการเรี ยนรู้ วิธีการวัด เครื่องมือ
สาระสาคัญ
1. บอก อธิบาย สมบัติของแก๊ส - ตอบคาถาม - บันทึกคะแนนการถาม-ตอบ
ทฤษฎีจลน์ของแก๊สและปัจจัยที่มีผล - ทาใบงาน - ใบงานที่ 6 เรื่ องแก๊ส
ต่อปริ มาตรของแก๊ส - การทดลอง - แบบประเมินการทดลอง
(ภาคผนวก)
คุณลักษณะ
มีความสนใจใฝ่ รู้ กล้าแสดงออก - ประเมินพฤติกรรม - แบบประเมินพฤติกรรมการเรี ยนรู้
มีความรับผิดชอบ มีระเบียบวินยั (ภาคผนวก)
บันทึกหลังการสอน
วิชา เคมี 1 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4/1
เรื่อง ชนิดของผลึก ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2560

1. ผลการจัดการเรียนรู้
…………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
2. ปัญหาและอุปสรรค
…………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
3. วิธีแก้ไข / ข้ อเสนอแนะ
…………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ………………………………………ผู้สอน

……………../………………/………………
4. การนิเทศ/กากับ/ติดตาม
…………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ……………………………………….ผูน้ ิเทศ
ใบความรู้ที่ 6

เรื่อง แก๊ส(gas)
แก๊สเป็ นเรื่ องง่ายต่อการทาความเข้าใจมากกว่าของแข็งและของเหลวในหลาย ๆด้านไม่วา่ จะเป็ นการ
เคลื่อนที่ของโมเลกุลในแก๊สที่เป็ นแบบอิสระ แรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลมีค่าน้อย ทาให้เราสามารถทานายพฤติกรรม
โดยรวมของแก๊สได้

ตารางแสดงธาตุบางชนิดทีพ่ บในรู ปแก๊ สที่ 1 atm และ 25 °C

ธาตุ สารประกอบ
H2 (molecular hydrogen) HF
N2 (molecular nitrogen) HCl
O2 (molecular oxygen) HI
O3 (ozone) CO
F2 (molecular fluorine) CO2
Cl2 (molecular chlorine) NH3
He NO
Ne NO2
Kr N2O
Xe SO2
Rn H2S
HCN

จากตารางแสดงธาตุที่เป็ นแก๊สภายใต้สภาวะบรรยากาศปกติ ให้ จำไว้ วา่ ไฮโดรเจน ไนโตรเจน ออกซิ เจน ฟลูออรี น
และคลอรี นอยูใ่ นรู ปของแก๊สที่เป็ นโมเลกุล 2 อะตอม แทนด้วย H2 N2 O2 F2 และ Cl2 และหมู่ 8A ที่เป็ นแก๊สมี
ตระกูล หรื อแก๊สเฉื่ อยเป็ นแก๊สอะตอมเดี่ยว
สารประกอบไอออนิกส่ วนใหญ่ไม่อยูใ่ นรู ปแก๊สที่ 25 °C และความดัน 1 atm ไอออนบวกกับไอออนลบใน
ของแข็งไอออนิกยึดกันด้วยแรงทางไฟฟ้ าที่แข็งแรงมาก เราจะต้องให้พลังงานสู งในการเอาชนะแรงดึงดูดดังกล่าว
ซึ่ งในทางปฏิบตั ิหมายถึงการให้ความร้อนที่สูงมาก ภายใต้สภาวะปกติ สิ่ งที่เราสามารถทาได้คือการหลอม เช่น NaCl
หลอมที่อุณหภูมิค่อนข้างสู งที่ 801 °C การที่จะทาให้เดือดได้ เราต้องใช้ความร้อนจนอุณหภูมิสูงถึง 1000 °C
พฤติกรรมของสารประกอบเชิงโมเลกุลนั้นค่อนข้างแตกต่างกัน สารบางชนิด เช่น CO CO2 HCl NH3 และ
CH4 (มีเทน) เป็ นแก๊ส ในขณะที่สารประกอบเชิงโมเลกุลส่ วนใหญ่เป็ นของเหลวหรื อของแข็งที่อุณหภูมิห้อง
อย่างไรก็ตาม ในการให้ความร้อน สารเหล่านี้ จะกลายเป็ นไอได้ง่ายกว่าสารประกอบไอออนิก ยิง่ แรงดึงดูดมีค่าสู ง
มากเท่าใด โอกาสที่สารประกอบจะอยูใ่ นรู ปแก๊สที่อุณหภูมิปกติก็นอ้ งลงเท่านั้น จากตารางมีเพียง O2 เท่านั้นที่
จาเป็ นสาหรับการดารงชีวิตของเรา ไฮโดรเจนซัลไฟด์ (H2S) และไฮโดรเจนไซยาไนด์(HCN) เป็ นพิษอย่างรุ นแรง
แก๊สชนิดอื่นๆ เช่น CO NO2 O3 และ SO2 มีความเป็ นพิษต่า แก๊สHe Ne และ Ar มีความเฉื่ อยทางเคมี นัน่ คือ มันไม่
ทาปฏิกิริยากับสารชนิดอื่นๆแก๊สโดยส่ วนใหญ่จะไม่มีสี ยกเว้น F2 Cl2 และ NO2 บางครั้งสามารถเห็นได้ดว้ ยตาเปล่า
ในอากาศที่เสี ย แก๊สทุกชนิดมีสมบัติดงั นี้
สมบัติของแก๊ส

แก๊สมีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคน้อยมาก อนุ ภาคจะอยูห่ ่างกันมาก ดังนั้นเมื่อ


บรรจุแก๊สไว้ในภาชนะ แก๊สจึงแพร่ กระจายเต็มภาชนะที่บรรจุ ทาให้มีรูปร่ าง
เปลี่ยนแปลงตามขนาดและรู ปร่ างของภาชนะ แก๊สมีความหนาแน่นต่ากว่าของเหลว
และของแข็งมาก รวมทั้งสามารถบีบอัดได้ง่ายที่สุด

ทฤษฎีจลน์ ของแก๊ส
1. แก๊สประกอบด้วยอนุภาคจานวนมากที่มีขนาดเล็กมาก จนถือได้วา่
อนุภาคแก๊สไม่มีปริ มาตรเมื่อเทียบกับขนาดภาชนะที่บรรจุ
2. โมเลกุลของแก๊สอยูห่ ่างกันมาก ทาให้แรงดึงดูดและแรงผลัก
ระหว่างโมเลกุลน้อยมาก จนถือได้วา่ ไม่มีแรงกระทาต่อกัน
3. โมเลกุลของแก๊สเคลื่อนที่อย่างรวดเร็ วในแนวเส้นตรง เป็ น
อิสระด้วยอัตราเร็ วคงที่และไม่เป็ นระเบียบ จนกระทัง่ ชนกับ
โมเลกุลอื่นหรื อชนกับผนังของภาชนะจึงจะเปลี่ยนทิศทางและ
อัตราเร็ ว
4. โมเลกุลของแก๊สที่ชนกันเองหรื อชนกับผนังภาชนะจะเกิดการถ่ายโอนพลังงานให้แก่กนั ได้ แต่พลังงาน
รวมของระบบมีค่าคงที่
5. ณ อุณหภูมิเดียวกัน โมเลกุลของแก๊สแต่ละโมเลกุลเคลื่อนที่ดว้ ยความเร็ วไม่เท่ากัน แต่จะมีพลังงานจลน์
เฉลี่ยเท่ากัน โดยที่พลังงานจลน์เฉลี่ยของแก๊สจะแปรผันตรงกับอุณหภูมิเคลวิน
แก๊ สอุดมคติ คือ แก๊สที่มีสมบัติเป็ นไปตามทฤษฎีจลน์ของแก๊สทุกประการ
โดยปกติแก๊สที่ปรากฏอยูท่ วั่ ไปจะมีสมบัติใกล้เคียงกับแก๊สอุดมคติเท่านั้น

ความสั มพันธ์ ของปริมาตร ความดัน และอุณหภูมิของแก๊ ส

การทดลองเรื่อง ผลของความดันหรื ออุณหภูมิต่อปริ มาตรของแก๊ส

จุดประสงค์
1. ทาการทดลองเพื่อศึกษาผลของความดันหรื ออุณหภูมิต่อปริ มาตรของแก๊สได้
2. อธิ บายผลของความดันที่มีต่อปริ มาตรของแก๊สเมื่ออุณหภูมิและมวลของแก๊สคงที่ได้
3. อธิ บายผลของอุณหภูมิที่มีต่อปริ มาตรของแก๊สอุณหภูมิและมวลของแก๊สคงที่ได้
อุปกรณ์
1. กระบอกฉีดยาขนาด 10 cm3 1 อัน
3
2. บีกเกอร์ขนาด 100 cm 1 ใบ
3. เทอร์โมมิเตอร์ 0 0C - 100 0C 1 อัน
สารเคมี
1. น้ าและน้ าแข็ง
วิธีการทดลอง
ตอนที่ 1 ผลของความดันต่ อปริมาตรของแก๊ส

ตอนที่ 2 ผลของอุณหภูมิต่อปริมาตรของแก๊ ส
ตอนที่ 2 ผลของอุณหภูมิต่อปริมาตรของแก๊ ส

ผลการทดลอง
การเปลีย่ นแปลงของแก๊สในกระบอกฉีดยา
การทดลอง
อุณหภูมิ ความดัน ปริมาตร
ตอนที่ 1 - ขณะกดก้านหลอดฉี ดยา ………… …………. ………….
- ขณะดึงก้านหลอดฉี ดยา ……….. ………… …………
ตอนที่ 2 - เมื่อจุ่มกระบอกฉี ดยาในน้ าร้อน ……….. ……….. …………
- เมื่อจุ่มกระบอกฉี ดยาในน้ าเย็น ……….. …………. …………
สรุ ปผลการทดลอง
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
แบบฝึ กหัด

1. เพราะเหตุใด ก่อนอ่านปริมาตรของแก๊สจึงต้ องปรับระดับนา้ ภายในกระบอกฉีดยาให้ เท่ากับระดับนา้


ภายนอก
…………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………
2. เมื่อปริมาตรของแก๊ สทีอ่ ยู่ในกระบอกฉีดยาคงที่ ปริมาตร ความดัน และอุณหภูมิของแก๊สมีความสั มพันธ์
กันอย่างไร
…………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………
3. จากการทดลองนี้ มีปัจจัยใดบ้ างทีม่ ีผลต่ อการเปลี่ยนแปลงปริมาตรของแก๊ส
…………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………
4. จากผลการทดลองนีใ้ ช้ ทฤษฎีจลน์ ของแก๊สอธิบายได้ ว่าอย่างไร
…………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………
ข้ามไปไม่ได้ เพราะใคร เพราะตัวเอง .ขาดความเพียร
ขาดความมานะ
ความพยายาม ขาดความมุ่งมั่น ขาดความตั้งใจจริง ดังนั้น
เราควรทางานที่รับผิดชอบในปัจจุบันให้ดีที่สุด อย่าคิดลดงานลง เพราะเห็นแก่ความสบาย
เพราะ ... งานคือสะพานสู่ความสาเร็จในภายหน้าของเราเอง
บทความ
เรื่อง ความรู้ ทางวิทยาศาสตร์ ของคนในชาติต่างๆ
ในช่วงเวลา 2 ปี ที่ผา่ นมานี้ นักสังคมศาสตร์ในประเทศต่างๆ 20 ประเทศ ได้ออกแบบสอบถามความรู ้พ้นื ฐานทาง
วิทยาศาสตร์และสภาวะแวดล้อมของประชากรในประเทศ ตัวอย่างคาถามที่ใช้ในการสารวจมีดงั นี้
1. ปรากฎการณ์เรื อนกระจกเกิดจากการที่ช้ นั บรรยากาศของโลกมีรูโหว่ ใช่หรื อไม่
2. ในการพยากรณ์ของวิชาโหราศาสตร์น้ นั ใช้หลักการและวิธีการของวิทยาศาสตร์ ใช่หรื อไม่
สารเคมีทุกชนิดที่นกั วิทยาศาสตร์สงั เคราะห์ได้ หากบริ โภคมาก จะทาให้ผบู ้ ริ โภคเป็ นมะเร็ง ใช่
3.
หรื อไม่
4. มนุษย์เป็ นสัตว์ที่มีววิ ฒั นาการมาจากสัตว์อื่น ใช่หรื อไม่
5. รถยนต์มิได้เป็ นสาเหตุสาคัญที่ทาให้เกิดสภาวะมิลพิษในอากาศ ใช่หรื อไม่
6. ยาปฎิชีวนะฆ่าจุลินทรี ยไ์ ด้ แต่ฆ่าไวรัสไม่ได้ ใช่หรื อไม่
7. มนุษย์กาลังเป็ นต้นเหตุสาคัญที่ทาให้พืชและสัตว์ตอ้ งล้มตายไป ใช่หรื อไม่
ทุกครั้งที่เราใช้น้ ามัน แก๊ส หรื อถ่านหิ น เรากาลังทาให้เกิดปรากฎการณ์เรื อนกระจกในโลก ใช่
8.
หรื อไม่

ในการใช้ประชากรกลุ่มตัวอย่าง จานวน 25,000 คน ผลการสารวจสรุ ปได้วา่ ความรู ้ทางวิทยาศาสตร์ของประชากรโลกอยูใ่ นระดับที่น่าเป็ น


ห่วง โดยเฉลี่ย คนแคนาดาเป็ นคนที่รอบรู ้วชิ าวิทยาศาสตร์ดีที่สุด เมื่อเปรี ยบเทียบกับคนชาติอื่น โดยสามารถตอบคาถามได้ถูกถึง 63
เปอร์เซ็นต์ คนนิวซีแลนด์มาเป็ นที่ 2 เฉลี่ยถูก 62.7 เปอร์เซ็นต์ และคนอังกฤษที่ 3 ถูก 62.4 เปอร์เซ็นต์ นอร์เวย์ 4 ,เนเธอร์แลนด์ 5, ไอร์แลนด์
เหนือ 6, สหรัฐฯ 7, และเยอรมนีตะวันออก 8 เชโกสโลวะเกีย 9, เยอรมนีตะวันตก 10, ไอร์แลนด์ 11, ญี่ปุ่น 12, อิตาลี 13, อิสราเอล 14, ฮังการี
15, สโลวาเนีย 17, ฟิ ลิปปิ นส์ 18, รัสเซีย 19 และโปแลนด์โหล่ที่ 20 โดยตอบคาถามเฉลี่ยถูก 36 เปอร์เซ็นต์ สถิติแสดงข้อมูลให้ค่อนข้าง
ชัดเจนว่า คนยุโรปตะวันตกรอบรู ้วทิ ยาศาสตร์ดีกว่าคนยุโรปตะวันออก และผูช้ ายโดยทัว่ ไปจะรู ้เรื่ องเดียวกันนี้ดีกว่าผูห้ ญิง แต่เมื่อมองใน
ภาพแยก เราก็จะเห็นว่า เพียง 23 เปอร์เซ็นต์ของประชากร รู ้วา่ รู โหว่โอโซนในชั้นบรรยากาศที่ห่อหุม้ โลก ไม่เกี่ยวข้องกับปรากฎการณ์เรื อน
กระจกแต่อย่างใด ตัวเลขแสดงว่า 77 เปอร์เซ็นต์ของประชากร ยังสับสนเมื่อพูดถึงปรากฎการณ์ท้ งั สองนี้ สาหรับคาถามข้อที่สองที่เกี่ยวกับ
วิชาโหราศาสตร์น้ นั คนส่วนใหญ่ 56 เปอร์เซ็นต์ ตอบผิดคิดว่าโหราศาสตร์คือรู ปแบบหนึ่งของวิทยาศาสตร์ และเป็ นที่น่าสังเกตว่า คนใน
ประเทศคอมมิวนิสต์ส่วนใหญ่จะตอบข้อนี้ถูกว่าไม่ใช่ โดย 82 เปอร์เซ็นต์ของคนรัสเซียตอบถูกว่าไม่ใช่ ในขณะที่ 69 เปอร์เซ็นต์ของคน
แคนาดาตอบผิดว่าใช่ สถิติการตอบคาถามที่เกี่ยวกับสารเคมีแสดงว่า 36 เปอร์เซ็นต์ของประชากรที่ถูกสารวจตอบถูกว่าไม่ใช่ และใน
ภาพรวม พลเมืองของประเทศที่ร่ ารวยจะตอบข้อนี้ผดิ ว่าใช่ ส่วนพลเมืองในประเทศที่ยากจนจะตอบข้อนี้ถูกว่าไม่ใช่ เช่น คนอังกฤษ 57
เปอร์เซ็นต์ ตอบใช่ แต่คนโปแลนด์ 69 เปอร์เซ็นต์ ตอบว่าไม่ใช่ ส่ วนคาถามที่เกี่ยวกับวิวฒั นาการของมนุษย์น้ นั 70 เปอร์เซ็นต์ตอบถูกว่าใช่
ประเทศอังกฤษซึ่งเป็ นประเทศบ้านเกิดเมืองนอนของ Darwin ผูเ้ ป็ นเจ้าของทฤษฎีววิ ฒั นาการที่คนอังกฤษ 82 เปอร์เซ็นต์ภูมิใจตอบว่าใช่ แต่
ในสหรัฐอเมริ กา ซึ่งเป็ นชาติที่เคร่ งศาสนาและเชื่อในพระเจ้า 52 เปอร์เซ็นต์ คิดว่าไม่ใช่ 77 เปอร์เซ็นต์ของคนอเมริ กนั ตอบคาถามข้อ
มลภาวะถูกว่าไม่ใช่ ในขณะที่ 38 เปอร์เซ็นต์ของคนฮังการี ตอบข้อนี้ถูกคนญี่ปุ่นเพียง 40 เปอร์เซ็นต์ ตอบคาถามเกี่ยวกับยาปฏิชีวนะผิด และ
72 เปอร์เซ็นต์ของคนอังกฤษ ตอบข้อนี้ถูกว่าใช่ คาถามข้อที่ 7 เป็ นคาถามที่คนตอบหลายคนสับสน โดยเฉพาะคนที่รู้มากได้นึกถึงเหตุการณ์
อุกกาบาตชนโลกเมื่อ 65 ล้านปี มาแล้ว แต่แท้ที่จริ ง คาถามนี้มุ่งถามเหตุการณ์ปัจจุบนั ดังนั้นคาตอบที่ถูกคือใช่ คาถามข้อสุดท้ายเป็ นคาถามที่
คนถามรู ้สึกสบายใจที่สุด เพราะ 73 เปอร์เซ็นต์ของประชากรที่ถูกสารวจตอบข้อนี้ถูกว่าใช่ ในยุคที่การสารวจประชามติกาลังได้รับความ
สนใจจากประชาชนทัว่ ไปมาก การวิจยั สารวจที่ได้ดาเนินไปนี้ แสดงให้เราเห็นความแตกต่างด้านความรู ้ทางวิทยาศาสตร์ของคนในชาติต่างๆ
สถิติตวั เลขบางตัวอาจจะทาให้เรางุนงงหาคาอธิบายไม่ได้ แต่เมื่อพินิจพิเคราะห์ให้ดีเราก็จะเห็นว่าประเพณี วัฒนธรรม และความเชื่อของคน
ในแต่ละชาติ มีบทบาทมากในการกาหนดความคิดเห็น หรื อความเข้าใจวิทยาศาสตร์ของคนในชาติน้ นั ครับ

You might also like