You are on page 1of 49

เอกสารประกอบการสอนรายวิชาเคมี 2 รหัสวิชา ว 40121

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ

ตารางธาตุ

-1- นางสาวจตุภรณ สวัสดิร์ ักษา ครูวิชาการ


เอกสารประกอบการสอนรายวิชาเคมี 2 รหัสวิชา ว 40121
สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ

3.1 วิวัฒนาการของตารางธาตุ
- เริ่มแรกในศตวรรษที่ 19 Johann Dobereiner ไดนําธาตุตาง ๆ ที่พบในสมัยนั้นมาจัดเรียงเปนหมวดหมู
โดยนําธาตุที่มีสมบัติคลายกันมาจัดไวในหมวดหมูเดียวกัน หมูละ 3 ธาตุ เรียงตามมวลอะตอมจากนอยไปมาก
และธาตุแตละหมูมวลอะตอมที่อยูตรงกลางจะเปนคาเฉลี่ยของมวลอะตอมของอีก 2 ธาตุ โดยประมาณ กฎนี้
เรียกวา Law of Triads

รูปที่ 3.1 การจัดตารางธาตุของ Johann Dobereiner

ตารางที่ 3.1 แสดงมวลอะตอมเฉลี่ยของธาตุบางกลุมตามกฎชุดสาม


ธาตุ มวลอะตอม มวลอะตอมของธาตุแถวที่ 1 และ 3
Li 6.940
Na 22.997 23.018
K 39.096
Cl 35.453
Br 79.909 81.197
I 126.197

- ค. ศ. 1866 John Newlands ไดจัดธาตุตาง ๆ เปนหมวดหมู โดยถาเรียงธาตุตามมวลอะตอมจากนอยไป


มากพบวาธาตุที่ 8 จะมีสมบัติเหมือนกับธาตุที่ 1 เสมอ แตจะใชไดถึงธาตุแคลเซียมเทานั้น

Li Be B C N O F
Na Mg Al Si P S Cl
K Ca
รูปที่ 3.2 การจัดตารางธาตุของ John Newlands

-2- นางสาวจตุภรณ สวัสดิร์ ักษา ครูวิชาการ


เอกสารประกอบการสอนรายวิชาเคมี 2 รหัสวิชา ว 40121
สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ

- ค.ศ 1869 Julius Lothar Meyer จัดตารางธาตุเปนหมวดหมู โดยนํามวลอะตอมของธาตุตาง ๆ มาเขียน


กราฟกับสมบัติทางกายภาพตาง ๆ ของธาตุ เรียกวา Lothar Meyer’s Curves กราฟที่ไดจะพบวาสมบัติตาง ๆ ของ
ธาตุจะเพิ่มขึ้นแลวลดลง แลวเพิ่มขึ้นอีก ซ้ํา ๆ กันเปนชวง ๆ เมื่อมวลอะตอมของธาตุเพิ่มขึ้น

รูปที่ 3.3 การจัดตารางธาตุของ Julius Lothar Meyer

- ในชวงเดียวกับ Julius Lothar Meyer มีนักเคมีชาวรัสเซีย Dmitri Ivanovich Mendeleev


ไดเสนอการจัดตารางธาตุออกมาในลักษณะคลาย ๆ กัน โดยพบวาสมบัติตาง ๆ ของธาตุสัมพันธกับมวลอะตอม
ของธาตุ ตาม Periodic Law คือ “ สมบัติของธาตุเปนไปตามมวลอะตอมของธาตุโดยเปลี่ยนแปลงเปนชวง ๆ ตาม
มวลอะตอมที่เพิ่มขึ้น”

รูปที่ 3.4 การจัดตารางธาตุของ Dmitri Ivanovich Mendeleev

-3- นางสาวจตุภรณ สวัสดิร์ ักษา ครูวิชาการ


เอกสารประกอบการสอนรายวิชาเคมี 2 รหัสวิชา ว 40121
สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ

ชองวางที่เวนไวคือตําแหนงของธาตุที่ยังไมพบในสมัยนั้น เนื่องจากตําแหนงของธาตุในตารางธาตุสัมพันธ
กับสมบัติของธาตุ ทําใหเมนเดเลเอฟสามารถทํานายสมบัติของธาตุไวลวงหนาไดดวย โดยการศึกษาสมบัติเกีย่ วกับจุด
หลอมเหลว จุดเดือด ความถวงจําเพาะ และความรอนจําเพาะ รวมทั้งสมบัติเกี่ยวกับสารประกอบคลอไรด และ
ออกไซด
ตัวอยาง เชน ธาตุที่อยูในชองวางใต Si เมนเดเลเอฟเรียกชื่อวาธาตุเอคาซิลิคอน อีก 15 ปตอมาคือในป พ.ศ.
2429 (ค.ศ. 1886) เคลเมนส วิงคเลอร (Clemens Winkler) นักวิทยาศาสตรชาวเยอรมันจึงไดพบธาตุนี้และเรียกชื่อวา
ธาตุเจอรเมเนียม (Ge) นั่นเอง

ตาราง 3.2 เปรียบเทียบสมบัติของเอคาซิลิคอนกับเจอรเมเนียม


สมบัติ เอคาซิลิคอนทํานายเมื่อ เจอรเมเนียมพบเมื่อ
พ.ศ. 2414 (ค.ศ. 1871) พ.ศ. 2429 (ค.ศ.1886)
มวลอะตอม 72 72.6
สีของธาตุ เปนโลหะสีเทา เปนโลหะสีเทา
ความหนาแนน (g/cm3) 5.5 5.36
0
จุดหลอมเหลว ( C ) สูง 958
สูตรของออกไซด GeO2 GeO2
ความหนาแนนของออกไซด (g/cm3) 4.7 4.70
เมื่อผสมกับกรดไฮโดรคลอริก ละลายไดเล็กนอย ไมละลายที่ 25 0C

นอกจากธาตุเอคาซิลิคอนแลว ยังมีธาตุอื่นที่เมนเดเลเอฟ ไดเรียกชื่อไวลวงหนา เชน ธาตุที่อยูใต B เรียกวา


เอคาโบรอน ธาตุที่อยูใต Al เรียกวา เอคาอะลูมิเนียม ซึ่งปจจุบันก็คือธาตุ Se และ Ga ตามลําดับ
การจัดตารางธาตุของเมนเดเลเอฟนั้น ถายึดหลักการเรียงตามมวลอะตอมจากนอยไปหามากอยางเครงครัด
จะทําใหธาตุบางธาตุซึ่งมีสมบัติแตกตางกันอยูในหมูเดียวกัน ทําใหตองยกเวนไมเรียงตามมวลอะตอมบางแตเมนเดเล
เอฟก็ไมสามารถใหเหตุผลไดวาเปนเพราะเหตุใดจึงตองเรียงลําดับธาตุเชนนั้น เนื่องจากในขณะนั้นยังไมมีความเขาใจ
เกี่ยวกับโครงสรางของอะตอมมากพอ ตอมานักวิทยาศาสตรจึงสรางแนวคิดใหมวา ตําแหนงของธาตุในตารางธาตุไม
ควรขึ้นอยูกับมวลอะตอม แตควรจะขึ้นอยูกับสมบัติอื่น ๆ ที่สัมพันธกับมวลอะตอม
- ค.ศ. 1913 Henry Moseley ไดจัดเรียงธาตุตามเลขอะตอมจากนอยไปหามาก ดังนั้นในปจจุบัน Periodic
Law มีความหมายวา “สมบัติตาง ๆ ของธาตุจะขึ้นอยูกับเลขอะตอมของธาตุนั้น และขึ้นอยูกับการจัดอิเล็กตรอน
ของธาตุเหลานั้น”

-4- นางสาวจตุภรณ สวัสดิร์ ักษา ครูวิชาการ


เอกสารประกอบการสอนรายวิชาเคมี 2 รหัสวิชา ว 40121
สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ

3.2 ตารางธาตุในปจจุบัน

รูปที่ 3.5 ตารางธาตุปจจุบัน

ปจจุบันการจัดธาตุตามเลขอะตอมจากนอยไปหามาก โดยแบงธาตุออกเปนหมู (แนวตั้ง ) ทั้งหมด 18 หมู


และคาบ (แนวนอน) ทั้งหมด 7 คาบ ธาตุที่พบทั้งหมดในตารางธาตุมี 105 (มีรายงานการคนพบธาตุที่ 110 และ
111 แลว แตกําลังอยูระหวางการทดสอบเพื่อยืนยันและตั้งชื่อตอไป)
ธาตุในแนวตั้ง แบงเปน 2 กลุมใหญ ๆ คือกลุม A และ B กลุม A มี 8 หมู คือหมู IA ถึง VIIIA สวน
กลุม B ซึ่งอยูระหวางหมู IIA และ IIIA มี 8 หมูเชนเดียวกัน คือ หมู IB ถึง VIIIB (แตมี 10 แนวตั้ง) เรียก
ธาตุกลุม B วา ธาตุทรานซิชัน
• ธาตุหมู I มีสมบัติเปนโลหะซึ่งมีคุณสมบัติวองไวในการผสมธาตุมาก ธาตุหมู I เรียกวา alkalai
metal และมีอิเล็กตรอนวงนอกสุดอยู 1 ตัว
• ธาตุหมู II เปนธาตุโลหะ มีอิเล็กตรอนวงนอกสุด 2 ตัว ธาตุที่วองไวที่สุดในหมูนี้ คือเรเดียม (Ra)

-5- นางสาวจตุภรณ สวัสดิร์ ักษา ครูวิชาการ


เอกสารประกอบการสอนรายวิชาเคมี 2 รหัสวิชา ว 40121
สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ

• ธาตุหมู III จะเริ่มประกอบดวยโลหะและอโลหะ มีอิเล็กตรอนวงนอกสุด 3 ตัว


• ธาตุหมู IV มีอิเล็กตรอนวงนอกสุด 4 ตัว
• ธาตุหมู V ในตอนตน ๆ จะเปนอโลหะ ธาตุถัดมา เชน สารหนู (As) และอันติโนมี (Sb) จะแสดง
คุณสมบัติระหวางโลหะและอโหะก้ํากึ่งกัน ลักษณะเชนนี้เรียกวามีสมบัติเปน metalloid
• ธาตุหมู VI ตอนตนหมูจะมีธาตุที่มีสมบัติเปนอโลหะ แลวคอย ๆ เปนโลหะ
• ธาตุหมู VII มีชื่อเรียกวา Halogen group ธาตุหมูนี้เปนอโลหะ ที่วองไวในการผสมธาตุมาก
• ธาตุหมู VIII จัดเปนธาตุ Inert gas จึงไมคอยทําปฏิกิริยากับธาตุอื่น เพราะมีอิเล็กตรอนวงนอกสุด
เทากับ 8
หมูธาตุทรานซิชั่น (Transition elements) ไดแก
• Lanthanide series ประกอบดวยธาตุที่มี Atomic number 57 - 70 เปนธาตุที่หายากมาก
• Actinide series ประกอบดวยธาตุที่มี Atomic number 89 - 102 ธาตุในหมูนี้มีคุณสมบัติเปนสาร
กัมมันตรังสี

3.2.1 การตั้งชื่อธาตุที่คนพบใหม
จากตารางธาตุจะพบวามีธาตุอยู 105 ธาตุ ซึ่งยังมีการคนพบธาตุใหม ๆ เพิ่มขึ้นอีกหลายธาตุ แตยังไมได
กําหนดสัญลักษณที่แนนอนไวในตารางธาตุ ธาตุบางธาตุถูกคนพบโดยนักวิทยาศาสตรหลายคณะ ทําใหมีชื่อเรียก
และสัญลักษณตางกัน
เชน ธาตุที่ 104 คนพบโดยคณะนักวิทยาศาสตร 2 คณะ คือ คณะของนักวิทยาศาสตรสหรัฐอเมริกา ซึ่ง
เรียกชื่อวา รัทเทอรฟอรเดียม (Ratherfordium) และใชสัญลักษณ Rf ในขณะที่คณะนักวิทยาศาสตรสหภาพโซเวีย
ตเรียกชื่อวาเคอรซาโตเวียม (Kurchatovium) และใชสัญลักษณ Ku
ธาตุที่ 105 คนพบโดยคณะนักวิทยาศาสตร 2 คณะเชนเดียวกัน คือคณะนักวิทยาศาสตรสหรัฐอเมริกาเรียกชื่อ
วา ฮาหเนียม (Hahnium) และใชสัญลักษณ Ha ในขณะที่นักวิทยาศาสตรสหภาพโซเวียตใชชื่อวา นิลสบอหเรียม
(Neilbohrium) และใชสัญลักษณเปน Ns
การที่คณะนักวิทยาศาสตรตางคณะตั้งชื่อแตกตางกัน ทําใหเกิดความสับสน International Union of Pure
and Applied Chemistry (IUPAC) จึงไดกําหนดระบบการตั้งชื่อขึ้นใหม โดยใชกับชื่อธาตุที่มีเลขอะตอมเกิน 100
ขึ้นไป ทั้งนี้ใหตั้งชื่อธาตุโดยระบุเลขอะตอมเปนภาษาละติน แลวลงทายดวย ium
ระบบการนับเลขในภาษาละตินเปนดังนี้
0 = nil (นิล) 1 = un (อุน)
2 = bi (ไบ) 3 = tri (ไตร)
4 = quad (ควอด) 5 = pent (เพนท)

-6- นางสาวจตุภรณ สวัสดิร์ ักษา ครูวิชาการ


เอกสารประกอบการสอนรายวิชาเคมี 2 รหัสวิชา ว 40121
สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ

6 = hex (เฮกซ) 7 = sept (เซปท)


8 = oct (ออกตฺ) 9 = enn (เอนน)
เชน ธาตุที่ 104 ตามระบบ IUPAC อานวา อุนนิลควอเดียม (Unnilquadium) สัญลักษณ Unq
ธาตุที่ 105 ตามระบบ IUPAC อานวา อุนนิลเพนเทียม (Unnilpentium) สัญลักษณ Unp

ตัวอยางที่ 1 จงอานชื่อตามระบบ IUPAC พรอมทั้งเขียนสัญลักษณของธาตุตอไปนี้


1. ธาตุที่ 106 =____________________________________________สัญลักษณ___________
2. ธาตุที่ 208 =____________________________________________สัญลักษณ___________
3. ธาตุที่ 119 =____________________________________________สัญลักษณ___________
4. ธาตุที่ 135 =____________________________________________สัญลักษณ___________
5. ธาตุที่ 374 =____________________________________________สัญลักษณ___________

การจัดตารางธาตุเปนหมูเปนคาบ ทําใหศึกษาสมบัติตาง ๆ ของธาตุไดงายขึ้น สามารถทํานายสมบัติบาง


ประการของธาตุบางธาตุได กลาวคือธาตุที่อยูในหมูเดียวกันจะมีสมบัติตาง ๆ คลาย ๆ กัน และธาตุที่อยูในคาบ
เดียวกัน จะมีแนวโนมของการเปลี่ยนแปลงสมบัติตาง ๆ ตอเนื่องกันไป

3.2.2 การจัดอิเล็กตรอนของธาตุในตารางธาตุ
การแบงธาตุตามหมูและตามคาบมีความสัมพันธกับโครงแบบอิเล็กตรอนของธาตุ คือ ธาตุในหมูเดียวกันมี
จํานวนอิเล็กตรอนนอกสุดหรือเวเลนซอิเล็กตรอนเทากันเสมอ เชน ธาตุหมู IA ทุกธาตุมีเวเลนซอิเล็กตรอนเทากับ 1
หมู IIA มีเวเลนซอิเล็กตรอนเทากับ 2 และธาตุเรพรีเซนเททีฟทุกหมูมีจํานวนเวเลนซอิเล็กตรอนเทากับเลขชื่อหมู
นั้นดวย สําหรับธาตุที่อยูในคาบเดียวกันจะมีเวเลนซอิเล็กตรอนที่ระดับพลังงานหลัก (n) นอกสุดระดับเดียวกันเสมอ
โดยมีอิเล็กตรอนเพิ่มขึ้นจากซายไปขวาของคาบ เชน 19K 20Ca 21Sc เปนธาตุในคาบที่ 4 มีเวเลนซอิเล็กตรอน ดังนี้
K (4s1) Ca (4s2) และ Sc (4s2 3d1) การที่ธาตุตาง ๆ มีการจัดอิเล็กตรอนเปนลักษณะเฉพาะที่แบงไดตามคาบและ
ตามหมูนี้ จึงเรียกวาโครงแบบอิเล็กตรอน มีลักษณะเปนพิริออดิกอยางหนึ่งดวย
สําหรับกาซมีสกุล ทุกธาตุมีอิเล็กตรอนเต็มใน s- และ p-ออรบิทัล เชน He (1s2) Ne (2s2 2p6) Ar (3s2
3p6)

-7- นางสาวจตุภรณ สวัสดิร์ ักษา ครูวิชาการ


เอกสารประกอบการสอนรายวิชาเคมี 2 รหัสวิชา ว 40121
สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ

รูปที่ 3.6 การจัดเรียงอิเล็กตรอนในตารางธาตุ

ตัวอยางที่ 2 จงเติมขอความตอไปนี้ใหสมบูรณ
เลขอะตอม โครงแบบอิเล็กตรอน คาบที่ หมูที่ สัญลักษณธาตุ
8 _________________ _____ _____ __________
36 _________________ _____ _____ __________
42 _________________ _____ _____ __________
50 _________________ _____ _____ __________

-8- นางสาวจตุภรณ สวัสดิร์ ักษา ครูวิชาการ


เอกสารประกอบการสอนรายวิชาเคมี 2 รหัสวิชา ว 40121
สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ

3.3 สมบัติของธาตุตามหมูและตามคาบ
3.3.1 แรงดึงดูดของนิวเคลียส (Zeff) บงบอกถึงอิเล็กตรอนที่อยูในชั้นนอกสุดวาสามารถถูกดูด
โดยประจุที่นิวเคลียสไดมากนอยเพียงใด ทําใหพบวาถาจํานวนอิเล็กตรอนมากขึ้นแรงดึงดูดของนิวเคลียสจะมากขึ้น
ดวย ทําให Zeff มากขึ้น

รูปที่ 3.7 แรงดึงดูดภายในนิวเคลียส

Element Al Si P S Cl Ar
Atomic# 13 14 15 16 17 18
Zeff 1+ 2+ 3+ 4+ 5+ 6+

รูปที่ 3.8 กราฟแสดงความสัมพันธระหวางขนาดอะตอมกับแรงดึงดูดของนิวเคลียส

-9- นางสาวจตุภรณ สวัสดิร์ ักษา ครูวิชาการ


เอกสารประกอบการสอนรายวิชาเคมี 2 รหัสวิชา ว 40121
สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ

3.3.2 ขนาดอะตอม
การพิจารณาแนวโนมของขนาดอะตอม หรือเปรียบเทียบขนาดขงอะตอมสวนใหญใชคารัศมีอะตอม ซึ่งอาจ
ใชหนวยเปนพิโกเมตร ( pm ) หรือแองสตรอม ( A ๐ )
ในการวัดรัศมีของอะตอม สามารถทําไดหลายวิธีดังนี้
1. ถาอะตอมรวมตัวกันดวยพันธะโคเวเลนต เมื่อวัดระยะระหวางนิวเคลียสทั้งสองแลวหารดวย 2
จะไดรัศมีอะตอมเรียกวา รัศมีโคเวเลนต

รัศมีโคเวเลนต คือระยะทางครึ่งหนึ่งของความยาวพันธะโคเวเลนต ระหวางอะตอม


ชนิดเดียวกัน

ความยาวพันธะ Cl-Cl = 198/2 = 99 pm


ถาความยาวพันธะ C-Cl = 176 pm
รัศมีอะตอมของ Cl = 99 pm
ดังนั้นรัศมีอะตอมของ C = (176-99) = 77 pm

2. ถาโมเลกุลสองโมเลกุลยึดเหนี่ยวกันดวยแรงแวนเดอรวาลส ระยะระหวางนิวเคลียสของ
อะตอมทั้งสองของแตละโมเลกุลหารดวย 2 จะไดรัศมีอะตอมซึ่งเรียกวา รัศมีแวนเดอรวาลส

รัศมีแวนเดอรวาลส คือระยะทางครึ่งหนึ่งของระยะ
ระหวางนิวเคลียสของอะตอมที่อยูใกลที่สดุ

H2
Kr Kr

รัศมีแวนเดอรวาลสของ H = 120 pm
รัศมีแวนเดอรวาลสของ Kr = 200 pm

- 10 - นางสาวจตุภรณ สวัสดิร์ ักษา ครูวิชาการ


เอกสารประกอบการสอนรายวิชาเคมี 2 รหัสวิชา ว 40121
สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ

3. ถาวัดระยะระหวางนิวเคลียสของอะตอมภายในผลึกของโลหะแลวหารดวย 2 จะไดรัศมีอะตอม
เรียกวา Metallic radius เพราะอะตอมยึดเหนี่ยวกันดวยพันธะโลหะ

รัศมีอะตอมที่หาไดในแตละวิธีจะมีคาไมเทากันถึงแมวาจะเปนอะตอมของธาตุเดียวกันก็ตาม

ความสัมพันธระหวางขนาดอะตอมกับตารางธาตุ
ถาพิจารณาธาตุทุก ๆ หมูและทุก ๆ คาบในตารางธาตุ อาจแสดงแนวโนมของขนาดอะตอมไดดังแผนภาพ
ตอไปนี้

รูปที่ 3.9 ขนาดอะตอมตามตาราง

จากแนวโนมดังกลาว จึงสามารถสรุปขนาดของอะตอมหรือรัศมีอะตอมของธาตุในหมูเดียวกัน และในคาบ


เดียวกันไดดังนี้
ก. ธาตุในหมูเดียวกัน เมื่อเลขอะตอมเพิ่มขึ้น ขนาดอะตอมจะใหญขึ้น เพราะธาตุในหมูเดียวกันเมื่อ
เมื่อเลขอะตอมเพิ่มขึ้น จะมีจํานวนระดับพลังงานเพิ่มขึ้น แมวาจํานวนโปรตอนจะเพิ่มขึ้นดวยก็ตาม แตแรงดึงดูดตอ
เวเลนซอิเล็กตรอนมีนอย จึงทําใหขนาดใหญขึ้น กลาวไดวากรณีนี้การเพิ่มระดับพลังงานมีผลมากกวาการเพิ่มจํานวน
โปรตอน
ข. ธาตุในคาบเดียวกัน เมื่อเลขอะตอมเพิ่มขึ้น ขนาดอะตอมจะเล็กลง เนื่องจากธาตุในคาบเดียวกันมีจํานวน
ระดับพลังงานเทากัน แตเมื่อเลขอะตอมเพิ่ม จํานวนโปรตอนจะเพิ่มขึ้นดวย แรงดึงดูดระหวางนิวเคลียสกับเวเลนซ
อิเล็กตรอนเพิ่มขึ้น ขนาดจึงลดลง

- 11 - นางสาวจตุภรณ สวัสดิร์ ักษา ครูวิชาการ


เอกสารประกอบการสอนรายวิชาเคมี 2 รหัสวิชา ว 40121
สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ

1A 7A
3Li 2, 1 9F 2, 7

Na
11 2, 8, 1 Cl
17 2, 8, 7

K
19 2, 8, 8, 1 Br
35 2, 8, 18, 7

3.3.3 ขนาดไอออน

รูปที่ 3.10 รัศมีไอออนของ Mg2+ และ O2-

รัศมีไอออน คือระยะระหวางนิวเคลียสของไอออนคูหนึ่งๆ ที่มีแรงยึดเหนี่ยวซึ่งกันและกันในโครงผลึก


ก. ไอออนของโลหะ
โลหะ e-

2, 8, 1 2, 8
อะตอม ⇒ เสีย e- → p > e- ⇒ ไอออนบวก
→ การเกิดไอออนบวกนั้น ขนาดของไอออนเล็กกวาอะตอมเดิม เพราะ
1) ระดับพลังงานลดลง
2) จํานวนโปรตอน > จํานวนอิเล็กตรอน
ª สงผลให แรงดึงดูด Nucleus - e- มีคาสูง
ª e- จึงเขาใกลนิวเคลียสไดมาก → ขนาดจึงเล็กลง
- 12 - นางสาวจตุภรณ สวัสดิร์ ักษา ครูวิชาการ
เอกสารประกอบการสอนรายวิชาเคมี 2 รหัสวิชา ว 40121
สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ

พิจารณาขนาดของไอออนของโลหะในหมูและในคาบเดียวกัน ดังตอไปนี้
ตาราง 3.3 เปรียบเทียบขนาดของไอออนของโลหะในหมูเดียวกัน (หมู IIA)
ธาตุหมู เลขอะตอม ไอออน รัศมีไอออน (pm) รัศมีอะตอม (pm)
IIA
Be 4 Be2+ 31 111
Mg 12 Mg2+ 65 160
Ca 20 Ca2+ 99 197
Sr 38 Sr2+ 113 215
Ba 56 Ba2+ 135 217

ตาราง 3.4 เปรียบเทียบขนาดไอออนของโลหะในคาบเดียวกัน (คาบที่ 3)


ธาตุ Na Mg Al
เลขอะตอม 11 12 13
ไอออน Na+ Mg2+ Al3+
รัศมีไอออน (pm) 95 65 50
รัศมีอะตอม (pm) 186 160 143
จะเห็นไดวา “ไอออนของโลหะในหมูเดียวกันจะมีขนาดใหญขึ้นเมื่อเลขอะตอมเพิ่มขึ้น” และ“ไอออนของโลหะใน
คาบเดียวกันจะมีขนาดเล็กลงเมื่อเลขอะตอมเพิ่มขึ้น”
ข. ไอออนของอโลหะ
อโลหะ e-

2, 8, 7 2, 8, 8
อะตอม ⇒ รับ e- → e- > p ⇒ ไอออนลบ
→ การเกิดไอออนลบนั้น ขนาดของไอออนใหญกวาอะตอมเดิม เพราะ
ª e- ที่รับเพิ่มเขามาจะผลักกับ e- เดิม ทําให e- อยูไกลจากนิวเคลียสมากขึ้น
ª ขนาดไอออนจึงใหญขึ้น

- 13 - นางสาวจตุภรณ สวัสดิร์ ักษา ครูวิชาการ


เอกสารประกอบการสอนรายวิชาเคมี 2 รหัสวิชา ว 40121
สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ

พิจารณาขนาดของไอออนของอโลหะในหมูและในคาบเดียวกัน ดังตอไปนี้
ตาราง 3.5 เปรียบเทียบขนาดของไอออนของโลหะในหมูเดียวกัน (หมู VIIA)
ธาตุหมู เลขอะตอม ไอออน รัศมีไอออน (pm) รัศมีอะตอม (pm)
VIIA
F 9 F- 136 71
Cl 17 Cl- 181 99
Br 35 Br- 195 114
I 53 I- 216 133

ตาราง 3.6 เปรียบเทียบขนาดไอออนของโลหะในคาบเดียวกัน (คาบที่ 3)


ธาตุ P S Cl
เลขอะตอม 15 16 17
ไอออน P3-
P S2- Cl-
รัศมีไอออน (pm) 212 184 181
รัศมีอะตอม (pm) 110 102 99

จะเห็นไดวา
“ไอออนของอโลหะในหมูเดียวกัน จะมีขนาดใหญขึ้นเมื่อเลขอะตอมเพิ่มขึ้น” และ “ไอออนของโลหะในคาบ
เดียวกันจะมีขนาดเล็กลง เมื่อเลขอะตอมเพิ่มขึ้น”
จะเห็นไดวา ทั้ งไอออนของโลหะและอโลหะในหมู เดียวกัน จะมีขนาดใหญขึ้น เมื่อเลขอะตอมเพิ่มขึ้น
สําหรับไอออนในคาบเดียวกัน ถาพิจารณาแยกกันระหวางโลหะกับอโลหะ จะมีแนวโนมเปนอยางเดียวกันคือมีขนาด
เล็กลง เมื่อเลขอะตอมเพิ่มขึ้น แตเมื่อมาพิจารณารวมกันแนวโนมของขนาดจะไมเปน
ดังที่กลาวแลว

ตาราง 3.7 เปรียบเทียบขนาดของไอออนของธาตุในคาบที่ 3


ธาตุ Li Be B C N O F
เลขอะตอม 3 4 5 6 7 8 9
ไอออน Li+ Be2+ B3+ C4- N3- O2- F-
รัศมีไอออน (pm) 68 31 20 260 171 140 136
รัศมีอะตอม (pm) 152 111 79 77 74 73 71

- 14 - นางสาวจตุภรณ สวัสดิร์ ักษา ครูวิชาการ


เอกสารประกอบการสอนรายวิชาเคมี 2 รหัสวิชา ว 40121
สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ

เมื่อเขียนแผนภาพแสดงขนาด จะไดแนวโนมของการเปลี่ยนแปลงดังนี้

รูปที่ 3.11 แนวโนมขนาดของไอออนในคาบเดียวกันเปรียบเทียบกับขนาดอะตอม

ค. ไอออนที่มีจํานวนอิเล็กตรอนเทากัน
พิจารณาขนาดของไอออนตางๆ ที่มีจํานวนอิเล็กตรอนเทากันทั้งไอออนบวกและไอออนลบ ดังตอไปนี้
ตาราง 3.8 แสดงขนาดของไอออนตางๆ ที่มี 10 อิเล็กตรอนเทากัน
เลขอะตอม 6 7 8 9 11 12 13
ไอออน C4- N3- O2- F- Na+ Mg2+ Al3+
จํานวนอิเล็กตรอน 10 10 10 10 10 10 10
รัศมีไอออน (pm) 260 171 140 136 98 65 45

จากตาราง จะเห็นไดวา ขนาดของไอออนที่มี 10 อิเล็กตรอนเทากัน เรียงลําดับจากใหญไปหาเล็กไดดังนี้


C4- > N3- > O2- > F- > Na+ > Mg2+ > Al3+
ทําใหสรุปไดดังนี้ “สําหรับไอออนที่มีจํานวนอิเล็กตรอนเทากันไอออนที่มีประจุลบมากที่สุดจะมี
ขนาดใหญที่สุด ขณะที่ไอออนที่มีประจุบวกมากที่สุด จะมีขนาดเล็กที่สุด”

3.3.4 พลังงานไอออไนเซชัน

พลังงานที่ใชดึง e- หลุดออกจาก
+ อะตอมในสถานะกาซ

Na(g) Na+ + e- (ดูดความรอน)


⇒ อะตอมใดมีขนาดเล็ก จะทําใหดึง e- ออกยาก ⇒ IE สูง
⇒ อะตอมใดมีขนาดใหญ จะทําใหดึง e- ออกงาย ⇒ IE ต่ํา
- 15 - นางสาวจตุภรณ สวัสดิร์ ักษา ครูวิชาการ
เอกสารประกอบการสอนรายวิชาเคมี 2 รหัสวิชา ว 40121
สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ

ก. ธาตุในหมูเดียวกัน คา IE1 จะลดลงเมื่อเลขอะตอมเพิ่มขึ้น ทั้งนี้เพาะธาตุในหมูเดียวกัน เมื่อเลขอะตอม


เพิ่มขึ้นขนาดของอะตอมจะใหญขึ้น การดึงอิเล็กตรอนออกจากอะตอมขนาดใหญ (ซึ่งมีแรงดึงดูดระหวาง
อิเล็กตรอนระดับนอกกับนิวเคลียสนอย) ยอมงายกวาการดึงอิเล็กตรอนจากอะตอมเล็ก (ที่มีแรงดึงดูดระหวาง
อิเล็กตรอนระดับนอกกับนิวเคลียสมาก)
ข. ธาตุในคาบเดียวกัน คา IE1 จะเพิ่มขึ้นเมื่อเลขอะตอมเพิ่มขึ้น ทั้งนี้เพราะขนาดอะตอมเล็กลงการดึงดูด
ระหวางอิเล็กตรอนระดับนอกกับนิวเคลียสเพิ่มขึ้น การดึงอิเล็กตรอนออกจากอะตอมทําไดยากขึ้น คาพลังงานไอออ
ไนเซชันจึงสูงขึ้น
จะเห็นไดวาธาตุในหมูเดียวกันเมื่อเลขอะตอมเพิ่มขึ้น คา IE1 ลดลงตามลําดับ แตธาตุในคาบเดียวกัน เมื่อเลข
อะตอมเพิ่มขึ้น คา IE1 สวนใหญเพิ่มขึ้น แตมีบางธาตุคา IE1 ลดลงอยางไรก็ตามเมื่อพิจารณาโดยรวม ก็จะพบวาใน
คาบเดียวกันเมื่อเลขอะตอมเพิ่มขึ้นคา IE1 มีแนวโนมเพิ่มขึ้น
แนวโนมของคา IE ในตารางธาตุ
IE เพิ่ม พิจารณา
Mg → Mg++ e- IE1
IE Mg → Mg2++ e- IE2
ลด IE1 > IE2

ตามหมู ⇒ ระดับพลังงานมากขึ้น ⇒ e- อยูไกล Nu มาก ⇒ e- หลุดงาย ; IE ต่ํา


ตามคาบ⇒ จํานวนประจุบวกเพิ่มมากขึ้น ⇒ e- ถูกดึงดูดมาอยูใกล Nu ไดมาก ⇒ e- หลุดยาก ; IE สูง
ª คา IE พิจารณาความเปนโลหะได ⇒ โดยโลหะที่ดีจะเสีย e- ไดงาย ⇒ IE ต่ํา
ขอยกเวน
N
IE Be O
B
IE Mg P
Al S
เลขอะตอม

- 16 - นางสาวจตุภรณ สวัสดิร์ ักษา ครูวิชาการ


เอกสารประกอบการสอนรายวิชาเคมี 2 รหัสวิชา ว 40121
สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ

จากกราฟ ⇒ แสดงคา IE ของธาตุในคาบ 2 และ 3 ซึ่งพบวา คา IE ไมไดเพิ่มขึ้นเสมอไป


ª ทั้งนี้ขึ้นกับการจัดเรียง e- ในอะตอม
4Be ี (เต็ม field)
เสถยร
5B
2s 2p
ª Be มี e บรรจุอยูเต็ม field จึงเสถียร (ไมชอบเสีย e- ; IE สูง)
-

ª สําหรับ B หากเสีย e- ไป 1 ตัว จะทําใหอยูในรูปแบบที่เสถียรเต็ม field ดังนั้น B จึงชอบเสีย e-


(IE ต่ํา)
7N เสถียร (half field)
6O
2s 2p
ª N มี e- บรรจุแบบ half field จึงเสถียร (IE สูง)
ª สวน O หากเสียe- ไป 1 ตัว จะทําใหอยูในรูปแบบที่เสถียรขึ้นเปน half field ดังนั้น O จึงชอบเสียe- (IE ต่ํา)

รูปที่ 3.12 แนวโนมพลังงานไอออไนเซชันตามตารางธาตุ

3.3.5 อิเล็กตรอนอัฟฟนิตี
อิเล็กตรอนอัฟฟนิตี (Electron affinity) หมายถึง พลังงานที่คายออกมาเมื่ออะตอมที่เปนกลางในภาวะกาซ
รับอิเล็กตรอน 1 ตัว กลายเปนไอออนลบในสภาวะกาซ ดังสมการ

X (g) + e- → X- (g) + พลังงาน

- 17 - นางสาวจตุภรณ สวัสดิร์ ักษา ครูวิชาการ


เอกสารประกอบการสอนรายวิชาเคมี 2 รหัสวิชา ว 40121
สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ

พลังงานนี้คือ พลังงานอิเล็กตรอนอัฟฟนิตีนั่นเอง

พลังงานที่อะตอมคาย
ออกมาหลังจากรับ e-
Cl(g) + e- Cl-

แนวโนมของคา EA ในตารางธาตุ
รับ e-

งาย ยาก

EA สูง EA ต่ํา

⇒ อะตอมที่มีขนาดใหญ จะรับ e- ไดไมดี เพราะ e- ที่รับเขามาใหมจะไดรับแรงดึงดูดจาก Nucleus


ไดนอย จึงพรอมที่จะหลุดออกไปอีกไดงาย ∴ EA จะต่ํา
⇒ แตถาอะตอมขนาดเล็ก จะรับ e- ไดดี เพราะ e- ที่เขามาใหมจะถูกดึงดูดดวย Nucleus ไดมาก
∴ EA จะ สูง
ก. ธาตุในหมูเดียวกัน คาสัมพรรคภาพอิเล็กตรอนลดลงจากบนลงลาง เพราะธาตุขางบนมีขนาดเล็กกวาธาตุ
ขางลาง จึงมีแรงดึงดูดระหวางประจุบวกที่นิวเคลียสกับอิเล็กตรอนที่เพิ่มเขาในอะตอมไดมากกวา ระยะทางจาก
นิวเคลียสถึงขอบเขตของอะตอมสั้นกวาอะตอมที่มีขนาดใหญที่อยูขางลางของหมู ธาตุขางบนรับอิเล็กตรอนไดดีกวา
ธาตุขางลาง EA จึงมากกวา
ข. ธาตุในคาบเดียวกัน คาสัมพรรคภาพอิเล็กตรอนเพิ่มขึ้นจากซายไปขวาของตารางธาตุ เพราะธาตุทางขวามี
ขนาดเล็กกวาธาตุทางซายมือ จะรับ e- ไดดีกวา e- ที่เขามาใหมจะถูกดึงดูดดวย Nucleus ไดมาก EA จะ สูง

- 18 - นางสาวจตุภรณ สวัสดิร์ ักษา ครูวิชาการ


เอกสารประกอบการสอนรายวิชาเคมี 2 รหัสวิชา ว 40121
สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ

รูปที่ 3.13 คาสัมพรรคภาพอิเล็กตรอนในตารางธาตุ

หนวยของพลังงานอิเล็กตรอนอัฟฟนิตีจะเหมือนกับพลังงานไอออไนเซชันคือ kJ/mol หรือ หนวยที่ใหญ


กวา MJ/mol และหนวยที่เล็กกวาคือ eV
ธาตุที่มีอิเล็กตรอนอัฟฟนิตีสูง จะคายพลังงานออกมามากเมื่อรับอิเล็กตรอนเขาไป ทําใหเกิดไอออนลบที่มี
ความเสถี ย รมาก ดั ง นั้ น อิ เ ล็ ก ตรอนอั ฟ ฟ นิ ตี จึ ง ใช ทํ า นายความสามารถในการเป น ไอออน ลบ กล า วคื อ ธาตุ ที่ มี
อิเล็กตรอนอัฟฟนิตีสูง จะสามารถเกิดเปนไอออนลบไดงายกวาธาตุที่มีอิเล็กตรอนอัฟฟนิตีต่ํา
ปจจัยที่มีผลตอคาอิเล็กตรอนอัฟฟนิตี
เหมือนกับปจจัยที่มีผลตอพลังงานไอออไนเซชันและอิเล็กโทรเนกาติวิตี คือขึ้นอยูกับขนาดของอะตอมและ
ประจุในนิวเคลียส
ก. ขนาดของอะตอม อะตอมที่มีขนาดเล็ก จะมีอิเล็กตรอนอัฟฟนิตีมากกวา อะตอมที่มีขนาดใหญ
ข. ประจุในนิวเคลียส อะตอมที่มีประจุในนิวเคลียสมาก จะมีอิเล็กตรอนอัฟฟนีตีมากกวาอะตอมที่มีประจุใน
นิวเคลียสนอย
ปจจัยเกี่ยวกับขนาดของอะตอมจะมีผลตออิเล็กตรอนอัฟฟนิตีมากกวาประจุในนิวเคลียส
ขอยกเวน
1) ธาตุในคาบที่ 2 จะมีคา EA นอยกวาคาบที่ 3 เพราะขนาดของอะตอมในคาบที่ 2 จะเล็กมาก ทําใหe- ที่รับเขา
ไปใหมเกิดแรงผลักกับ e- เดิมไดงาย ทําใหอะตอมไมเสถียร ดังนั้น EA จะต่ํา เพราะอะตอมไมชอบที่จะรับ e-
2) ธาตุในหมู 4A มี EA มากกวาหมู 5A เพราะการจัดเรียง e- เชน
6C half field
7N
2s 2p

- 19 - นางสาวจตุภรณ สวัสดิร์ ักษา ครูวิชาการ


เอกสารประกอบการสอนรายวิชาเคมี 2 รหัสวิชา ว 40121
สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ

ª N มีการจัดเรียง e- ที่เสถียร (half field) จึงไมชอบรับ e- ∴ EA ต่ํา


ª สวน C ชอบรับ e- เพราะเมื่อรับ e- เขามา 1 ตัว จะทําใหเสถียรขึ้น ∴ EA สูง

3.3.6 อิเล็กโตรเนกาติวิตี้ (EN)


อิเล็กโตรเนกาติวิตี้ ( Electronegativity ) เปนคาสมมติที่แสดงความสามารถในการดึงดูดอิเล็กตรอนคูรวม
พันธะ (V e-) จาก Nucleus

H2 ⇒ F2 ⇒
e- คูรวมพันธะ
EN ต่ํา EN สูง
ª e- คูรวมพันธะของอะตอมที่มีขนาดเล็ก จะไดรับแรงดึงดูดจาก Nucleus มาก ∴ EN สูง
ª สวน e- คูรวมพันธะของอะตอมที่มีขนาดใหญ จะไดรับแรงดึงดูดจาก Nucleus นอย ∴ EN ต่ํา
อะตอมที่มีสภาพไฟฟาลบมาก จะดึงอิเล็กตรอนที่ใชรวมกันในการเกิดพันธะโคเวเลนตเขาหาตัวเองได
มากกวา ไดมีผูหาคาสภาพไฟฟาลบไวหลายแบบ แตที่นิยมใชอางอิงมากที่สุด คือ ของพอลิง ( linus Pauling ) โดย
กําหนดใหฟลูออรีนมีคาสภาพไฟฟาลบมากที่สุด คือ เทากับ 4.0 และซีเซียม ( Cs ) มีสภาพไฟฟาลบนอยที่สุด คือ
เทากับ 0.7
คาอิเล็กโตรเนกะติ วิตีตามตารางของพอลิงคํานวณจากการใชพลั งงานพันธะ ซึ่งพอลิงไมไดกําหนดคา
สําหรับแกสเฉื่อยหรือแกสมีตระกูล ทั้งนี้เนื่องจากแกสเหลานี้โดยปกติไมเกิดสารประกอบ
พิจารณาคาอิเล็กโตรเนกาติวิตีของธาตุในตาราง จะเห็นแนวโนมอยางเดนชัดซึ่งพอสรุปไดวา
ก. ธาตุหมูเดียวกัน คา EN จะลดลงจากบนลงลาง เพราะขนาดอะตอมใหญขึ้นทําใหนิวเคลียสมีโอกาส
ดึงดูดอิเล็กตรอนไดนอยกวาอะตอมที่มีขนาดเล็ก EN จึงต่ําลง
ข. ธาตุในคาบเดียวกัน คา EN จะเพิ่มขึ้นจากซายไปขวา เพราะขนาดอะตอมเล็กลงทําใหไดรับแรงดึงดูด
จากนิวเคลียสมากกวาอะตอมที่มีขนาดใหญ EN จึงสูงขึ้น

- 20 - นางสาวจตุภรณ สวัสดิร์ ักษา ครูวิชาการ


เอกสารประกอบการสอนรายวิชาเคมี 2 รหัสวิชา ว 40121
สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ

รูปที่ 3.14 คาอิเล็กโตรเนกาติวิตขี องธาตุในตารางธาตุ

3.3.7 การหลอมเหลวและกลายเปนไอ
การหลอมเหลวและกลายเปนไอเปนการใชพลังงานความรอนแยกโมเลกุลที่จัดตัวเปนระเบียบใผลึกใหหาง
จากกัน เคลื่อนที่ไปมาไดบางจนถึงแยกจากกันโดยเด็ดขาดในสภาวะกาซ ในกรณีที่ธาตุมีโครงสรางเปนโมเลกุลเดี่ยว
พลังงานความรอนจะไปทําลายแรงแวนเดอรวาลสซึ่งออน ธาตุกลุมนี้จึงมีจุดหลอมเหลวและจุดเดือดคอนขางต่ํา แต
จะสูงขึ้นเมื่อโมเลกุลมีขนาดใหญขึ้น
แตถาเปนโลหะหรือพวกโครงรางตาขาย ความรอนที่ใชตองไปทําลายพันธะโลหะหรือพันธะโคเวเลนต
ตามลําดับ จึงตองใชพลังงานมากกวา โลหะทรานซิชันเปนกลุมที่มีจุดเดือดสูงมาก รองลงมาก็ไดแกกลุมโครงรางตา
ขาย
แนวโนมของการเปลี่ยนแปลงจุดหลอมเหลวและจุดเดือดของธาตุตาง ๆ ในตารางธาตุตามหมูและคาบซึ่งพอ
สรุปไดดังนี้
- ธาตุในหมูเดียวกัน
ก. โลหะในหมูเดียวกัน คือ หมู IA , IIA, และ IIIA “จุดหลอมเหลวและจุดเดือดมีแนวโนมลดลง เมื่อเลขอะตอมเพิ่มขึ้น”
เนื่องจากความแข็งแรงของพันธะโลหะลดลง เพราะมีขนาดอะตอมใหญขึ้น
ข. อโลหะในหมูเดียวกัน คือ หมู VIA , VIIA, และ VIIIA “จุดหลอมเหลวและจุดเดือดมีแนวโนมเพิ่มขึ้น
เมื่อเลขอะตอมเพิ่มขึ้น” เนื่องจากแรงยึดเหนี่ยวระหวางโมเลกุลคือแรงวันเดอรวาลสเพิ่มขึ้น เพราะมวลโมเลกุลและ
ขนาดโมเลกุลเพิ่มขึ้น
หมายเหตุ
สําหรับธาตุหมู IVA และ VA จุดหลอมเหลวและจุดเดือดมีแนวโนมของการเปลี่ยนแปลงไมชัดเจน
เนื่องจากมีโครงสรางและแรงยึดเหนี่ยวระหวางอะตอมที่แตกตางกัน

- 21 - นางสาวจตุภรณ สวัสดิร์ ักษา ครูวิชาการ


เอกสารประกอบการสอนรายวิชาเคมี 2 รหัสวิชา ว 40121
สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ

- ธาตุในคาบเดียวกัน
ก. โลหะในคาบเดียวกัน คือ โลหะในหมู IA , IIA, และ IIIA ในคาบตางๆ “จุดหลอมเหลวและจุดเดือดมี
แนวโนมสงขึ้น เมื่อเลขอะตอมเพิ่มขึ้น” เนื่องจากมีพันธะโลหะที่แข็งแรงมากขึ้น ทั้งนี้เพราะอะตอมมีขนาดเล็กลง
และมีจํานวนเวเลนตอิเล็กตรอนเพิ่มขึ้น
ข. อโลหะในคาบเดียวกัน คือ อโลหะ หมู VA, VIA , VIIA, และ VIIIA “จุดหลอมเหลวและจุดเดือดมี
แนวโนมลดต่ําลงเมื่อเลขอะตอมเพิ่มขึ้น” เนื่องจากแรงยึดเหนี่ยวระหวางโมเลกุลคือ แรงวันเดอรวาลสมีคาลดลง
เพราะขนาดของโมเลกุลเล็กลง โดยเฉพาะกาซเฉื่อยเปนกาซประเภทโมเลกุลเดี่ยว และมีขนาดเล็ก มีจุดหลอมเหลว
และจุดเดือดต่ํามาก
อาจแสดงแนวโนมของการเปลี่ยนแปลงจุดหลอมเหลวและจุดเดือดของธาตุตางๆ ตามหมูและตามคาบ
(ยกเวนธาตุแทรนซิชันและธาตุบางธาตุ) ไดดังแผนภาพตอไปนี้

รูปที่ 3.15 การเปรียบเทียบจุดหลอมเหลวและจุดเดือดของธาตุเรพรีเซนเตติฟตามคาบและตามหมู

3.3.8 การนําไฟฟาและความรอน
ธาตุบริสุทธิ์สามารถนําไฟฟาและความรอนไดถามีอิเล็กตรอนอิสระ สมบัติขอนี้ใชแบงธาตุออกเปนโลหะ
อโลหะ และกึ่งโลหะ โดย
• โลหะ เปนตัวนําที่ดี มีความสามารถในการนําไฟฟาสูงกวา 1 x 10-4 ohm-1 cm-1 และการนําไฟฟาจะลดลง
เมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น
• อโลหะ เปนฉนวนมีความตานทานสูงมาก
• กึ่งโลหะ นําไฟฟาไดเล็กนอย แตจะนําไฟฟาไดดีขึ้นเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น

- 22 - นางสาวจตุภรณ สวัสดิร์ ักษา ครูวิชาการ


เอกสารประกอบการสอนรายวิชาเคมี 2 รหัสวิชา ว 40121
สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ

3.3.9 เลขออกซิเดชัน
เลขออกซิเดชัน ( Oxidation Number ) เปนตัวเลขเพื่อแสดงคาประจุไฟฟาหรือประจุไฟฟาสมมติของไอออน
หรืออะตอมของธาตุ ซึ่งสวนใหญเปนเลขจํานวนเต็มรวมทั้งศูนยและอาจมีเครื่องหมายเปนบวกหรือลบก็ได
ธาตุหมูตาง ๆ เมื่อเกิดสารประกอบมักจะแสดงเลขออกซิเดชันที่มีคาเทากับเลขหมูนั้น โดยเฉพาะธาตุกลุม s
หมู IA และ IIA มีเลขออกซิเดชันเปน +1 และ +2 ตามลําดับ แตธาตุในกลุมอื่น ๆ สวนใหญจะมีเลขออกซิเดชัน
มากกวา 1 คา
โลหะในกลุม p เชน หมู IIIA, ธาตุหนักในหมู IVA จะมีเลขออกซิเดชันสองคาหางกัน 2 หนวย ซึ่ง
สอดคลองกับการจัดเวเลนซอิเล็กตรอนแบบ ns2 npx เชนโลหะหมู IIIA (ns2 np1) อาจมีเลขออกซิเดชันเปน +1, +3
ธาตุที่หนักขึ้น เลขออกซิเดชันคาต่ําจะเสถียรมากขึ้น เชน ในหมู IIIA Al มีเพียง +3 In มีทั้ง +1 และ +3 Tl
สวนใหญจะเปน +1
โลหะในกลุม d และ f สวนมากจะมีเลขออกซิเดชันหลายคา หางกัน 1 หนวย หรือมาก
กวา ทั้งนี้เนื่องจากธาตุเหลานี้มีหลายเวเลนซอิเล็กตรอน และพลังงานไอออไนเซชันลําดับตาง ๆ มีคาไมตางกันมาก
นัก แนวโนมที่ตางกับโลหะกลุม p อีกประการหนึ่งคือ ธาตุที่หนักขึ้นมักแสดงเลขออกซิเดชันคาสูงมากกวาคาต่ํา
สําหรับอโลหะ ถาปรากฏเปนไอออนลบในสารประกอบมักแสดงเลขออกซิเดชันคาเดียว
คือ เทากับจํานวนอิเล็กตรอนที่รับเขามาเพื่อใหเปนไปตามกฎออกเตต เชน Cl- , S2- , O2- แตถาเกิดเปนสารประกอบ
โคเวเลนซก็อาจมีเลขออกซิเดชันคาบวกหรือลบไดแลวแตวาสรางพันธะกับธาตุใด
ในการกําหนดตัวเลขออกซิเดชันจะตองมีการตกลงกันกอนวาจะตองมีกฎเกณฑอยางเดียวกัน กฎดังกลาวคือ
1. อะตอมของธาตุตาง ๆ ในสภาวะอิสระ ไมวาจะอยูในรูปที่เปนอะตอมเดียว หรือโมเลกุล จะมีเลข
ออกซิเดชันเทากับศูนย เชน Na Be He O2 S8
2. ไอออนที่มีอะตอมเดี่ยวเลขออกซิเดชันจะมีคาเทากับประจุของไอออนนั้น เชน
Na+ มีเลขออกซิเดชัน เทากับ +1
Be2+ มีเลขออกซิเดชัน เทากับ +2
O2- มีเลขออกซิเดชัน เทากับ -2
3. เลขออกซิเดชันของโลหะอัลคาไล ( หมู IA ) และโลหะอัลคาไลนเอิรท ( หมู IIA ) ในสารประกอบตาง ๆ
มีคาเทากับ +1 และ +2 ตามลําดับ
4. เลขออกซิเดชันของออกวิเจนในสารประกอบสวนมาก มีคาเทากับ -2 ยกเวนในกรณี
• สารประกอบเปอรออกไซด เชน H2O2 และ Na2O2 ⇒ ออกซิเจนมีเลขออกซิเดชัน -1
• สารประกอบซุปเปอรออกไซด เชน KO2 ⇒ ออกซิเจนมีเลขออกซิเดชัน -1/2
• สารประกอบ OF2 ⇒ ออกซิเจนมีเลขออกซิเดชัน +2

- 23 - นางสาวจตุภรณ สวัสดิร์ ักษา ครูวิชาการ


เอกสารประกอบการสอนรายวิชาเคมี 2 รหัสวิชา ว 40121
สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ

5. เลขออกซิเดชันของไฮโดรเจนในสารประกอบสวนมากมีคาเทากับ +1 ยกเวนในสารประกอบ
พวกไฮไดรดไอออนิก ซึ่งไฮโดรเจนมีคาเลขออกซิเดชันเทากับ -1 เชน LiAlH4 และ NaBH4
6. ผลรวมทางพีชคณิตของเลขออกซิเดชันของอะตอมทั้งหมดในสูตรเคมีใด ๆ จะมีคาเทากับประจุสําหรับ
กลุมของอะตอมที่เขียนแสดงในสูตรนั้น ๆ เชน ผลรวมของเลขออกซิเดชันของ KMnO4 เทากับ 0 ผลรวมของเลข
ออกซิเดชันของ NO3- เทากับ -1
ตัวอยางเลขออกซิเดชันของ N

รูปที่ 3.16 คาเลขออกซิเดชันที่แตกตางกันของไนโตรเจน

ตัวอยางที่1 จงหาเลขออกซิเดชันธาตุที่ขีดเสนใตตอไปนี้
1) Na2S 6) CO32-
2) HClO4 7) OF2
3) NaBrO3 8) H2O2
4) NO3- 9) CH3OH
5) (NH4)2SO4 10) S8

- 24 - นางสาวจตุภรณ สวัสดิร์ ักษา ครูวิชาการ


เอกสารประกอบการสอนรายวิชาเคมี 2 รหัสวิชา ว 40121
สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ

3.4 สมบัติของธาตุและสารประกอบตามคาบ
3.4.1 สารประกอบคลอไรดและออกไซดของโลหะและอโลหะ
สารประกอบคลอไรด จากการจั ด ธาตุ เ ป น 2 ประเภท คื อ โลหะและอโลหะ ทํ า ให ส ามารถแบ ง
สารประกอบคลอไรดออกเปน 2 กลุมใหญ ๆ คือ คลอไรดของโลหะและคลอไรดของอโลหะดังนี้
ก. คลอไรดของโลหะ ไดแก LiCl , BeCl2 , NaCl , MgCl2 , AlCl3 , KCl ,และ CaCl2
ข. คลอไรดของอโลหะ ไดแ ก HCl , BCl3 , CCl4 , NCl3 , Cl2O , ClF , PCl5 , SiCl4 และ SCl2
นอกจากจะแบงสารประกอบคลอไรดเปน 2 กลุมใหญ ๆ ดังกลาวแลว ยังสามารถแบงเปนกลุมยอยไดอีก
เพื่ อ ให ก ารจั ด หมวดหมู มี ค วามสมบู ร ณ ม ากที่ สุ ด โดยใช ส มบั ติ ข องสารประกอบคลอไรด เช น สถานะ จุ ด
หลอมเหลว ความเปนกรดเบสของสารละลายเปนตน
เมื่อใชความเปนกรด - เบสของสารละลาย จะแบงกลุมยอยไดดังนี้
ก. คลอไรดของโลหะ
สารละลายเปนกรด ไดแก AlCl3 , BeCl2
สารละลายเปนกลาง ไดแก LiCl , NaCl , MgCl2 , KCl ,และ CaCl2
สารละลายเปนเบส -
ข.คลอไรดของอโลหะ
สารละลายเปนกรด ไดแก HCl , BCl3 , Cl2O , ClF ,PCl5 , SiCl4 และ SCl2
สารละลายเปนกลาง ไดแก -
สารละลายเปนเบส ไดแก -
เมื่อใชสถานะและจุดหลอมเหลวจะแบงกลุมยอยได

ตาราง 3.9 การแบงสารประกอบคลอไรดเปนกลุมโดยใชจุดหลอมเหลว


คลอไรดที่เปนของแข็งและมีจุด คลอไรดที่เปนของแข็งและมจี ุด คลอไรดที่เปนของเหลวหรือกาซ
หลอมเหลวสูง หลอมเหลวคอนขางสูง และมีจุดหลอมเหลวต่ํา
สูตร จุดหลอมเหลว (0C) สูตร จุดหลอมเหลว (0C) สูตร จุดหลอมเหลว (0C)
LiCl 610 AlCl3 198 SCl2 -80
NaCl 801 PCl5 148 CCl4 -23
KCl 770 ClF -154
BeCl2 405 Cl2O -20
MgCl2 712 BCl3 -107

- 25 - นางสาวจตุภรณ สวัสดิร์ ักษา ครูวิชาการ


เอกสารประกอบการสอนรายวิชาเคมี 2 รหัสวิชา ว 40121
สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ

จากตารางเมื่อพิจารณาคลอไรดของ 20 ธาตุแรก จะพบวา


ก. คลอไรดที่เปนของแข็งและมีจุดหลอมเหลวสูงคือ คลอไรดของโลหะ
ข. คลอไรดที่เปนของเหลวและกาซซึ่งมีจุดหลอมเหลวต่ํา คือคลอไรดของอโลหะ
เมื่อนําคลอไรดมาจัดรวมกันเปนหมวดหมู โดยจัดคลอไรดที่มีสูตรชนิดเดียวกันและสมบัติเชน ความเปน
กรดเบส และจุดหลอมเหลวคลายกันอยูในชองแนวดิ่งเดียวกันจะไดดังนี้

ตาราง 3.10 การจัดกลุมสารประกอบคลอไรดโดยใชสมบัติเปนเกณฑ


HCl He
LiCl BeCl2 BCl3 CCl4 NCl3 OCl2 FCl Ne
NaCl MgCl2 AlCl3 SiCl4 PCl5 SCl2 Cl-Cl Ar
KCl CaCl2

จะเห็นไดวาเมื่อจัดกลุมธาตุโดยใชสูตรและสมบัติของสารประกอบคลอไรดเปนเกณฑ จะจัดกลุมธาตุได 8
กลุม ตามแนวดิ่ง ซึ่งสวนใหญจะสอดคลองกับการจัดกลุมธาตุโดยใชความเปนโลหะ ความแข็งและความไวเปน
เกณฑ แตก็มีบางธาตุที่เปลี่ยนไปอยูในกลุมใหม เชน K Al B Si O บางธาตุที่จัดกลุมไมได เมื่อพิจารณาสมบัต
คลอไรดกํสามารถจัดอยูในกลุมเดียวกันได เชน P กับ N และ S กับ C ถาเรียงตามมวลอะตอม จะตองแยก Ar
ออกจาก He และ Ne ซึ่งก็แสดงวาการใชมวลอะตอมเปนเกณฑในการจัดกลุมยังมีปญหาอีกบางสวน ทําใหตองหา
วิธีการอื่น ๆ อีกตอไป
ประโยชนของสารประกอบคลอไรด
• CaCl2 ใชในเครื่องทําความเย็นในอุตสาหกรรมหองเย็น ใชทําฝนเทียม
• KCl ใชทําปุย
• NH4Cl ใชเปนอิเล็กโทรไลตของเซลลถานไฟฉาย ใชเปนน้ําประสานดีบุก
• ปูนคลอรีน ใชเปนสารฟอกสีหรือฟอกขาวเยื่อกระดาษ ใชฆาแบคทีเรียในน้ําประปาและในสระวายน้ํา
• DDT และดีลดริน ใชเปนยาฆาแมลง กําจัดศัตรูพืช
• เกลือแกง ใชปรุงแตงอาหาร ถนอมอาหาร และใชเปนสารตั้งตนในการผลิต NaHCO3 (โซดาทําขนม)
Na2CO3 (โซดาแอช) NaOH (โซดาไฟ) และ HCl นอกจากนี้ยังใชละลายน้ําแข็งในหิมะ
• CCl4 และ CHCl3 ใชเปนตัวทําละลายในการสกัดสารอินทรีย

- 26 - นางสาวจตุภรณ สวัสดิร์ ักษา ครูวิชาการ


เอกสารประกอบการสอนรายวิชาเคมี 2 รหัสวิชา ว 40121
สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ

สารประกอบออกไซด เชนเดียวกับสารประกอบคลอไรดที่ผานมาแลว สามารถใชสมบัติบางประการ เชน


การละลายน้ํา ความเปนกรดหรือเบสของสารละลาย สูตรของสารประกอบ ฯลฯ มาเปนเกณฑในการจัดหมวดหมู
ของธาตุ โดยในขั้นแรกจะแบงธาตุออกเปนกลุมใหญ ๆ คือ ออกไซดของโลหะและอโลหะกอน แลวจึงใชสมบัติอื่น
ๆ แบงออกเปนกลุมยอย
เมื่อใชความเปนโลหะและอโลหะเปนเกณฑ จะแบงสารออกไดเปน 2 กลุมดังนี้
ก. ออกไซดของโลหะ เชน Li2O , BeO , Na2O , MgO , Al2O3 , K2O , CaO
ข. ออกไซดของอโลหะ เชน H2O , CO2 , N2O5 , F2O , P2O5 , SO2 , Cl2O
ในการแบงกลุมยอยอาจจะใชสมบัติความเปนกรดเบสของสารละลายหรือจุดหลอมเหลว เชน
ก. ออกไซดของโลหะ
สารละลายเปนกรด -
สารละลายเปนเบส ไดแก Li2O , Na2O , MgO , K2O และ CaO
สารละลายเปนกลาง ไดแก -
พวกไมละลายน้ํา ไดแก BeO , Al2O3 B2O3 , SiO2
ข. ออกไซดของอโลหะ
สารละลายเปนกรด ไดแก CO2 , N2O5 , F2O , P2O5 , SO2 และ Cl2O
สารละลายเปนเบส ไดแก -
สารละลายเปนกลาง ไดแก H2O
พวกไมละลายน้ํา ไดแก -
เมื่อใชจุดหลอมเหลวเปนเกณฑจะไดกลุมยอยดังนี้
ตาราง 3.11 การแบงสารประกอบออกไซดเปนกลุมโดยใชจุดหลอมเหลวเปนเกณฑ
ออกไซดที่เปนของแข็งและมีจุด ออกไซดที่เปนของแข็งและมีจุด ออกไซดที่เปนของเหลวหรือ
หลอมเหลวสูง หลอมเหลวคอนขางสูง กาซและมีจุดหลอมเหลวต่ํา
สูตร จุดหลอมเหลว (0C) สูตร จุดหลอมเหลว (0C) สูตร จุดหลอมเหลว (0C)
Li2O 1700 K2O 350 H2O(l) 0
Na2O 1275 B B2O3 460 CO2(g) -57
BeO 2530 P2O5 580 N2O5(g) -102
MgO 2800 F2O(g) -218
CaO 2580 P2O5(g) -224
Al2O3 2045 SO2(g) -73
Cl2O(g) -20

- 27 - นางสาวจตุภรณ สวัสดิร์ ักษา ครูวิชาการ


เอกสารประกอบการสอนรายวิชาเคมี 2 รหัสวิชา ว 40121
สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ

จะเห็นไดวาออกไซดที่เปนของแข็งมีจุดหลอมเหลวสูง จะเปนพวกออกไซดของโลหะและออกไซดที่เปน
ของเหลวและกาซและมีจุดหลอมเหลวต่ํา จะเปนออกไซดของพวกอโลหะ
โดยสรุป
ขอแตกตางระหวางออกไซดของโลหะและอโลหะ
ก. ออกไซดของโลหะ มีสถานะเปนของแข็งที่มีจุดหลอมเหลวคอนขางสูง พวกที่ละลายน้ําไดสารละลายจะ
แสดงสมบัติเปนเบส เปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสจากแดงเปนน้ําเงิน
ข. ออกไซดของอโลหะ มีสถานะเปนไดทั้งของแข็ง ของเหลวและกาซ สวนมากมีจุดหลอมเหลวคอนขาง
ต่ํา พวกที่ละลายน้ําไดสารละลายจะแสดงสมบัติเปนกรด
เมื่อนําสารประกอบออกไซดมาจัดเรียงเปนหมวดหมู โดยจัดพวกที่มีสมบัติคลายกันอยูในแนวดิ่งเดียวกัน
เชนพวกที่มีสูตรโมเลกุลอยางเดียวกัน ความเปนกรด - เบสของสารละลายและจุดหลอมเหลวที่มีแนวโนมเหมือนกัน
จะไดดังนี้

ตาราง 3.12 การจัดกลุมสารประกอบออกไซดใชสมบัติเปนเกณฑ


H2O He
Li2O BeO B2O3 CO2 N2O5 O2 F2O Ne
Na2O MgO Al2O3 SiO2 P4O10 SO2 Cl2O Ar
K2O CaO

จะเห็นไดวาการจัดกลุมของสารประกอบออกไซด คลายคลึงกับสารประกอบคลอไรด ยกเวน H เมื่อเปน


H2O จะมีสมบัติแตกตางจาก F2O และ Cl2O แมวาจะมีสูตรโมเลกุลเหมือนกัน แสดงวา H กับ F และ Cl ไม
ควรจัดอยูในกลุมเดียวกัน แตจะจัดอยูในกลุมใดนั้น นักเรียนจะไดศึกษาตอไป
สารประกอบออกไซดที่ควรรูจัก
• CO2 เกิดจากการเผาไหมของเชื้เพลิงและการเผาผลาญอาหารของสิ่งมีชีวิต การเพิ่มขึ้นของ CO2 ทําให
อุณหภูมิของบรรยาการสูงขึ้นทําใหเกิดปรากฎการเรือนกระจก
• CO2 ใชเปนสารตั้งตนในกระบวนการสังเคราะหดวยแสงของพืช
• ใชผลิตปุยยูเรีย ใชผลิตน้ําอัดลม น้ําโซดา ใชดับเพลิง
• ใชในยุงเก็บเมล็ดธัญพืชเพื่อปองกันการงอก ทําน้ําแข็งแหงเพื่อใชเก็บอาหาร
• CO, SO2, NO และ NO2 จัดเปนกาซพิษ เปนอันตรายตอระบบหายใจ ทําใหเกิดหมอกควันพิษ เกิดฝน
กรด
• CO(g) + H2(g) เรียกวา water gas

- 28 - นางสาวจตุภรณ สวัสดิร์ ักษา ครูวิชาการ


เอกสารประกอบการสอนรายวิชาเคมี 2 รหัสวิชา ว 40121
สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ

• CO(g) + N2(g) เรียกวา producer gas


• CO(g) ใชเปนตัวรีดิวซในการถลุงโลหะ
• SO2(g) ใชในการฟอกสีและฆาเชื้อรา
• แรดีบุกคือ แรแคสซิเทอไรต (SnO2)
• แรเหล็กคือ แรฮีมาไทต (Fe2O3)
• SiO2 หรือซิลิกา เกิดในธรรมชาติเปนผลึกรูปตาง ๆ บางชนิดสวยงาม บางชนิดแข็ง มีจุดเดือดจุด
หลอมเหลวสูง ใชทําเครื่องประดับ สารขัดโลหะกระดาษทราย สารชวยกรองในเครื่องกรองน้ํา ทําแกว
กระจก และเลนส

3.5 สมบัติของธาตุและสารประกอบตามหมู
3.5.1 สมบัติทั่วๆ ไปของธาตุหมู IA ไดดังนี้
1. เปนธาตุที่มี 1 เวเลนตอิเล็กตรอน
2. เปนของแข็ง ยกเวน Cs เปนของเหลว แตจัดวาเปนประเภทโลหะออน สามารถตัดดวยมีดไดงาย ทําให
เปนชิ้น แผน หรือดึงเปนเสนลวดไดงาย
3. เปนโลหะที่นําไฟฟาและนําความรอนไดดีมาก เพราะมีพันธะโลหะ
4. ความเปนโลหะเพิ่มขึ้น เมื่อเลขอะตอมเพิ่มขึ้น
5. ทําปฏิกิริยากับน้ํา เกิดปฏิกิริยารุนแรง คายความรอนมาก และติดไฟไดไดสารละลายที่แสดงสมบัติเปนเบส
จึงเรียกวา โลหะแอลคาไลน
เขียนสมการทั่วๆ ไป สําหรับแสดงปฏิกิริยากับน้ําไดดังนี้
2M + 2H2O → 2MOH + H2
เชน
2Na + 2H2O → 2NaOH + H2
2Li + 2H2O → 2LiOH + H2
เนื่องจากเกิดปฏิกิริยากับน้ําไดงาย และยังสามารถทําปฏิกิริยากับ O2 ไดดวย ดังนั้นจึงตองเก็บโลหะแอล
คาไลนในน้ํามัน
6. เปนธาตุที่ชอบใหอิเล็กตรอนแกธาตุอื่นๆ เรียกวา electropositive element แลวกลายเปนไอออนที่ประจุ +1
7. รัศมีอะตอมและรัศมีไอออนเพิ่มขึ้น เมื่อเลขอะตอมเพิ่มขึ้น
8. มีคา IE1 นอยที่สุด ในคาบเดียวกัน และคา IE1 จะลดลงเมื่อเลขอะตอมเพิ่มขึ้น เพราะขนาดอะตอมใหญขึ้น
9. มีคาอิเล็กโทรเนกาติวิตีนอย เมื่อเทียบกับธาตุอื่นๆ ในคาบเดียวกัน และคาอิเล็กโทรเนกาติวิตีจะลดลงเมื่อ
เลขอะตอมเพิ่มขึ้น

- 29 - นางสาวจตุภรณ สวัสดิร์ ักษา ครูวิชาการ


เอกสารประกอบการสอนรายวิชาเคมี 2 รหัสวิชา ว 40121
สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ

10. เปนโลหะที่มีจุดหลอมเหลวต่ํากวาโลหะอื่นๆ ในคาบเดียวกัน นอกจากนี้จุดหลอมเหลวและจุดเดือดจะ


ลดลงเมื่อเลขอะตอมเพิ่มขึ้น เพราะความแรงของพันธะโลหะลดลง
11. เปนตัวรีดิวซที่ดีมาก โดยเฉพาะ Li เปนตัวรีดิวซที่ดีที่สุด
12. ความหนาแนนนอยกวาโลหะอื่นๆ ที่อยูในคาบเดียวกัน แตความหนาแนนมีแนวโนมเพิ่มขึ้น เมื่อเลข
อะตอมเพิ่มขึ้น
13. ทําปฏิกิริยากับธาตุตางๆ เกิดเปนสารประกอบไดงาย และเปนสารประกอบไอออนิก สารประกอบคลอ
ไรด คารบอเนต ซัลเฟต ไนเตรต ฟอสเฟต โดยมีจุดหลอมเหลวสูงมาก (ดังตาราง 7.34)
14. สารประกอบของธาตุหมู IA ละลายน้ําไดดีมาก ดังแสดงในตารางที่ 7.35
15. เมื่อเผาสารประกอบของหมู IA จะไดเปลวไฟที่มีสีตางๆ กัน เชน Li มีสีแดงสด หรือแดงเลือดนก Na
ใหสีเหลือง K ใหสีมวงน้ําเงิน เปนตน
3.5.2 สมบัติทั่วๆ ไปของธาตุหมู IIA ไดดังนี้
1. เปนธาตุที่มี 2 เวเลนตอิเล็กตรอน เมื่อเปนไอออนจึงมีประจุเปน +2
2. เปนธาตุที่จัดอยูในกลุมของโลหะ ความเปนโลหะเพิ่มมากขึ้นเมื่อเลขอะตอมเพิ่มขึ้น
3. เปนโลหะที่นําความรอนและนําไฟฟาไดดี เพราะมีพันธะโลหะ
4. มีความหนาแนนมากกวาโลหะหมู IA ดังนั้นจึงมีความแข็งแรงมากกวาโลหะหมู IA และความหนาแนนมี
แนวโนมเพิ่มมากขึ้น เมื่อเลขอะตอมเพิ่มขึ้น
5. รัศมีอะตอมเล็กกวาหมู IA และคอยๆ เพิ่มขึ้นเมื่อเลขอะตอมเพิ่มขึ้น
6. จุดหลอมเหลวและจุดเดือดมีคาคอนขางสูง แตมีแนวโนมที่ลดลงเมื่อมวลอะตอมเพิ่มขึ้น
7. IE1 มีคาคอนขางนอย (แตมากกวาหมู IA ในคาบเดียวกัน) และมีแนวโนมลดลงเมื่อเลขอะตอมเพิ่มขึ้น
8. อิเล็กโทรเนกาติวิตีมีคานอย และมีคาลดลงเมื่อเลขอะตอมเพิ่มขึ้น
9. เปนตัวรีดิวซที่ดี คา E0 มีคาลดลงตามลําดับเมื่อเลขอะตอมเพิ่มขึ้น แสดงวาความสามารถในการเปนตัวรีดิ
วซจะเพิ่มขึ้น เมื่อเลขอะตอมเพิ่มขึ้น
10. ทําปฏิกิริยากับน้ําไดกาซ H2 และสารละลายแสดงสมบัติเปนเบส แตปฏิกิริยาไมรุนแรงเหมือนกับธาตุหมู
IA เมื่อเลขอะตอมเพิ่มขึ้น การทําปฏิกิริยากับน้ําจะเกิดไดเร็วขึ้น
เขียนสมการทั่วๆ ไปไดดังนี้
M + 2H2O → M(OH)2 + H2
เชน
Mg + 2H2O → Mg(OH)2 + H2
Ca + 2H2O → Ca(OH)2 + H2

- 30 - นางสาวจตุภรณ สวัสดิร์ ักษา ครูวิชาการ


เอกสารประกอบการสอนรายวิชาเคมี 2 รหัสวิชา ว 40121
สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ

11. เกิดเปนสารประกอบตางๆ ไดเชน คลอไรด ออกไซด ซัลไฟด ซัลเฟต เปนตน โดยมีสูตรและสมบัติตางๆ


คลายๆ กัน
12. สารประกอบของหมู IIA สวนมากเปนสารประกอบไอออนิก (ยกเวนสารประกอบของธาตุ Be เชน
BeCl2 , BeSO4 เปนสารประกอบโคเวเลนต ) ดังนั้นสวนมากจึงละลายน้ําได เชนเกลือไนเตรต เกลือคลอไรด ละลายน้าํ
ได แตเกลือคารบอนเนต เกลือซัลเฟต (ยกเวน MgSO4) และเกลือฟอสเฟต ละลายน้ําไดนอยมาก
13. เมื่อเผาสารประกอบของธาตุหมู IIA จะใหเปลวไฟสีตางๆ กัน

3.5.3 สมบัติทั่วๆ ไปของธาตุหมู VIIA ไดดังนี้


1. เปนพวกอโลหะ มีเวเลนตอิเล็กตรอนเทากับ 7 สภาวะปกติ F2 และ Cl2 เปนกาซสีเหลืองออนและเขียวออน
ตามลําดับ Br2 เปนของเหลวสีน้ําตาลแดง และ I2 เปนของแข็งสีมวง ซึ่งสีของธาตุแฮ-โลเจนจะเขมขึ้น เมื่อเลขอะตอม
เพิ่มขึ้น ทุกตัวเปนสารพิษ
2. ความเปนอโลหะจะลดลงเมื่อเลขอะตอมเพิ่มขึ้น หรือความเปนโลหะจะเพิ่มขึ้นเมื่อเลขอะตอมเพิ่มขึ้น
3. ธาตุแฮโลเจนทุกตัวอยูในสภาพโมเลกุลอะตอมคู (diatomic molecule) ทุกสถานะทั้งของแข็ง ของเหลว
และกาซ โดยยึดเหนี่ยวกันดวยพันธะโคเวเลนต
4. ไมนําความรอนและไฟฟาเพราะเปนอโลหะ
5. อะตอมมีขนาดเล็กเมื่อเปรียบเทียบกับธาตุในคาบเดียวกัน แตมีขนาดใหญขึ้นเมื่อเลขอะตอมเพิ่มขึ้น
6. ธาตุหมู VIIA ละลายในน้ําไดเล็กนอยและใหสีตางๆ กัน เนื่องจากเปนโมเลกุลไมมีขั้วจึงละลายไดดีในตัว
ทําละลายอินทรีย เชน ใน CCl4
Cl2 ใน CCl4 ไมมีสี
Br2 ใน CCl4 สีสม
I2 ใน CCl4 สีมวง
ซึ่งในตัวทําละลายดังกลาวนี้ธาตุหมู VIIA ทุกชนิดจะอยูในรูปของโมเลกุลอิสระเหมือนกับในสภาวะเปนกาซ
ในตัวทําละลายที่มีขั้ว เชน H2O, C2H5OH , CH3COCH3 , ทั้ง Br2 และ I2 จะมีสีน้ําตาลแดง เนื่องจากเกิด
สารประกอบเชิงซอนขึ้น
7. ความหนาแนนนอย แตความหนาแนนจะเพิ่มขึ้นเมื่อเลขอะตอมเพิ่มขึ้น
8. มีจุดหลอมเหลว จุดเดือดและความรอนแฝงของการเกิดไอต่ํา เนื่องจากมีแรงยึดเหนี่ยวระหวางโมเลกุล
(คือแรงวันเดอรวาลส) นอย แตจุดหลอมเหลว จุดเดือดและความรอนแฝงของการเกิดไอเพิ่มขึ้น เมื่อเลขอะตอม
เพิ่มขึ้น เพราะมีแรงวันเดอรวาลสเพิ่มขึ้น นอกจากนี้การระเหยของธาตุหมู VIIA จะคอยๆ ลดลงเมื่อเลขอะตอมเพิม่ ขึน้
เพราะแรงวันเดอรวาลสเพิ่มขึ้น

- 31 - นางสาวจตุภรณ สวัสดิร์ ักษา ครูวิชาการ


เอกสารประกอบการสอนรายวิชาเคมี 2 รหัสวิชา ว 40121
สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ

9. มีคาอิเล็กโทรเนกาติวิตีสูงที่สุด ในคาบเดียวกัน และคาอิเล็กโทรเนกาติวิตีจะคอยๆ ลดลงเมื่อเลขอะตอม


เพิ่มขึ้น
10. มี IE1 คอนขางสูง และคา IE1 จะคอยๆ ลดลงเมื่อเลขอะตอมเพิ่มขึ้น เนื่องจากขนาดใหญขึ้น
11. มีเลขออกซิเดชันไดหลายคา เนื่องจากมี 7 เวเลนตอิเล็กตรอน ซึ่งสามารถจะใหหรือรับอิเล็กตรอนจาก
ธาตุอื่น หรือใชอิเล็กตรอนรวมกับธาตุอื่นๆ ซึ่งมีคาอิเล็กโทรเนกาติวิตีตางๆ กันได ทําใหมีเลขออกซิเดชันหลายคา
เชน ตัวอยางของธาตุ Cl มีเลขออกซิเดชันตั้วแต -1 ถึง +7
12. เกิดสารประกอบไดหลายชนิด เชน NaCl CaF2 HF KI และยังเกิดสารประกอบที่มีธาตุองคประกอบ
ชนิดเดียวกันไดหลายชนิด เพราะมีเลขออกซิเดชันหลายคา
เชน NaClO NaClO2 NaClO3 NaClO4
Cl2O ClO2 ClO3 และ Cl2O7 เปนตน
13. ธาตุที่อยูตอนบนของหมู สามารถทําปฏิกิริยากับสารประกอบแฮไลดของธาตุที่อยูตอนลางได แตธาตุอยู
ตอนลางจะไมทําปฏิกิริยากับสารประกอบแฮไลดของธาตุที่อยูตอนบน จึงสรุปไดวา “ความสามารถในการทําปฏิกิริยา
ของธาตุหมู VIIA จะลดลงจากบนลงลาง” เชน
F2 ทําปฏิกิริยากับ NaCl ได แต Cl2 ไมทําปฏิกิริยากับ NaF
F2 + 2NaCl → 2NaF + Cl2
Cl2 + NaF → ไมเกิดปฏิกิริยา
ธาตุอื่นๆ ก็เชนเดียวกัน
Cl2 + 2NaBr → 2NaCl + Br2
Br2 + NaCl → ไมเกิดปฏิกิริยา
14. การเตรียมธาตุแฮโลเจนบางธาตุทําไดดังนี้
2KMnO4 + 16HCl (conc) → KCl + 2MnCl2 + 8H2O + 5Cl2
MnO2 + 4HCl (conc) → MnCl2 + 2H2O + Cl2
2NaBr + MnO2 + 3H2SO4 (conc) → 2NaHSO4 + MnSO4 + 2H2O + Br2

- 32 - นางสาวจตุภรณ สวัสดิร์ ักษา ครูวิชาการ


เอกสารประกอบการสอนรายวิชาเคมี 2 รหัสวิชา ว 40121
สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ

3.6 ตําแหนงของไฮโดรเจนในตารางธาตุ
โดยทั่ว ๆ ไปการจัดธาตุใหอยูในหมูเดียวกันจะใชเวเลนตอิเล็กตรอนและสมบัติของธาตุเปนเกณฑ ถามีเว
เลนตอิเล็กตรอนเทากัน และมีสมบัติตางๆ คลายกันจะจัดวาอยูในหมูเดียวกัน
สําหรับไฮโดรเจนมีเลขอะตอมเทากับหนึ่ง เมื่อพิจารณาการจัดเรียงอิเล็กตรอน จะพบวามีเวเลนตอิเล็กตรอน
เทากับ 1 และอยูในระดับพลังงานแรก ซึ่งถาใชเวเลนตอิเล็กตรอนเปนเกณฑควรจะจัดใหไฮโดรเจนอยูในหมู IA คาบ
1 ได แตอยางไรก็ตาม อาจจะพิจารณาวาอยูในหมู VIIA ไดเหมือนกัน เพราะยังขาดอิเล็กตรอน เพียง 1 ตัวจะมีการจัด
อิเล็กตรอนเหมือน He เมื่อพิจารณาสมบัติบางประการของธาตุไฮโดรเจนเทียบกับสมบัติของธาตุหมู IA และหมู
VIIA จะไดดังนี้
ตาราง 3.14 สมบัติบางประการของไฮโดรเจนเทียบกับธาตุหมู IA และหมู VIIA
สมบัติ ไฮโดรเจน ธาตุหมู IA ธาตุหมู VIIA
เวเลนตอิเล็กตรอน 1 1 7
จํานวนอะตอมในโมเลกุล 2 ไมแนนอน 2
เลขออกซิเดชันในสารประกอบ -1, +1 +1 -1,+1, +3, +5, +7
การนําไฟฟาในสถานะของแข็ง ไมนําไฟฟา นําไฟฟา ไมนําไฟฟา
IE1 (kJ/mol) 1318 382-526 1015-1687
อิเล็กโทรเนกาติวิตี 2.1 1.0 - 0.7 4.2 - 2.2

จากตารางจะเห็นไดวา ไฮโดรเจนมีสมบัติบางประการเหมือนธาตุหมู VIIA เชน มีเลขออกซิเดชันมากกวา 1


คา ไมนําไฟฟา มีคา IE1 และอิเล็กโทรเนกาติวิตีสูง ในขณะเดียวกันมีสมบัติบางประการเหมือนธาตุหมู IA เชน มีเว
เลนตอิเล็กตรอนเทากับ 1 การที่ไฮโดรเจนมีสมบัติบางประการคลายทั้งหมู IA และ VIIA จึงไดแยกไฮโดรเจนออก
จากหมูทั้งสอง ดังปรากฏอยูในตารางธาตุ

- 33 - นางสาวจตุภรณ สวัสดิร์ ักษา ครูวิชาการ


เอกสารประกอบการสอนรายวิชาเคมี 2 รหัสวิชา ว 40121
สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ

3.7 ธาตุแทรนซิชัน
ธาตุแทรนซิชัน หมายถึง ธาตุที่มีสมบัติอยูระหวางกลางของธาตุทางซายสุด และขวาสุดของตาราง หรือ
หมายถึง ธาตุที่ใชอิเล็กตรอนในระดับพลังงานยอย d หรือ f ในการเกิดพันธะ ยกเวนธาตุหมู IIB มีธาตุ Zn Cd
และ Hg ที่ใชอิเล็กตรอนในระดับพลังงานยอย s ในการเกิดพันธะ

รูปที่ 3.17 ตารางแสดงธาตุแทรนซิชัน

ธาตุ แทรนซิ ชัน จั ด เปน หมู และคาบแบบเดีย วกับโลหะและอโลหะทั่ ว ๆ ไป ธาตุแทรนซิชั น ที่มีสมบั ติ


คลายกันจะอยูในหมูเดียวกัน โดยแบงเปน 8 หมู คือหมูที่ IB ถึง VIIIB สําหรับหมู VIIIB มี 3 แถวในแนวดิ่ง ทําให
ธาตุแทรนซิชันมีทั้งหมด 10 แถวในแนวดิ่ง
ธาตุแทรนซิชันแบงออกเปนคาบ โดยที่แตละคาบมีชื่อเรียกตางๆ กันดังนี้
1. อนุกรมแทรนซิชันที่ 1 (first transition series) คือ ธาตุแทรนซิชันแถวแรกตั้งแต Sc ถึง Cu (เลขอะตอม
21 - 29 ) ธาตุเหลานี้อิเล็กตรอนใน 3d - orbital ไมครบ
2. อนุกรมแทรนซิชันที่ 2 (second transition series) คือ ธาตุแทรนซิชันแถวที่ 2 ตั้งแตธาตุ Y ถึง Ag (เลข
อะตอม 39 - 47 ) ธาตุเหลานี้อิเล็กตรอนใน 4d - orbital ไมครบ
3. อนุกรมแทรนซิชันที่ 3 (third transition series) คือ ธาตุแทรนซิชันในแถวที่ 3 ตั้งแต La ถึง Au (เลข
อะตอม 57 - 79 ) ธาตุเหลานี้อิเล็กตรอนใน 5d - orbital ไมครบ
4. อนุกรมแลนทาไนด (lanthanide series) คือธาตุอินเนอรแทรนซิชันตั้งแตธาตุ Ce ถึง Lu (เลขอะตอมตั้งแต
58 - 71) ธาตุเหลานี้มีอิเล็กตรอนใน 4f - orbital ไมครบ
- 34 - นางสาวจตุภรณ สวัสดิร์ ักษา ครูวิชาการ
เอกสารประกอบการสอนรายวิชาเคมี 2 รหัสวิชา ว 40121
สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ

5. อนุกรมแอคติไนด (actinide series) คือ ธาตุอินเนอรแทรนซิชันตั้งแต Th ถึง Lr (เลขอะตอม 90 - 103)


ธาตุเหลานี้มีอิเล็กตรอนใน 5f - orbital ไมครบ
สําหรับอนุกรมแลนทาไนดและแอคติไนด จัดอยูในสวนลางของตารางธาตุ แยกออกจากกลุมธาตุหลัก
ของแทรนซิชัน
ธาตุแทรนซิชันทั้งหมดรวมกันมีจํานวนมากกวาครึ่งหนึ่งของธาตุทั้งหมด บางธาตุไมมีอยูในธรรมชาติแต
มนุษยสังเคราะหขึ้น (man made element) เชน ธาตุเลขอะตอมตั้งแต 93 - 103
บางธาตุเปนกั มมันตรังสี เชน Es, Am, Pu ธาตุแทรนซิชันทั้งหมดจัดวาเปนโลหะ เปนตัวนําไฟฟาและนํา
ความรอนที่ดี (Ag มีการนําความรอนและไฟฟาดีที่สุด) เปนของแข็งที่มีจุดหลอมเหลวสูง (W เปนธาตุที่มีจุด
หลอมเหลวสูงสุดถึง 3400 0C )
3.7.1 สมบัติของธาตุแทรนซิชัน
การที่ธาตุแทรนซิชันมีสมบัติแตกตางจากโลหะทั่วๆ ไป ทําใหตองแยกออกเปนกลุม ๆ ตางหาก ลักษณะที่
สําคัญของธาตุแทรนซิชันเปนดังนี้
1. มีเลขออกซิเดชันมากกวา 1 คา ยกเวนหมู IIIB เชน Sc เปน +3 คาเดียว และหมู IIB (Zn, Cd) เปน +2 คา
เดียว
2. ธาตุแทรนซิชันเปนโลหะ จึงดึงดูดกับแมเหล็ก และมีบางธาตุ เชน Fe, Co, และ Ni สามารถแสดงสมบัติ
เปนแมเหล็กไดเมื่อนําไปวางไวในสนามแมเหล็กนาน ๆ นอกจากนี้ยังมีสารประกอบของธาตุแทรนซิชันอีกหลายชนิด
ที่สามารถดูดกับแมเหล็กได
3. สารประกอบสวนใหญ มีสี (ยกเวนหมู IIIB) ซึ่งเปนสีของไอออนเชิงซอนของธาตุแทรนซิชัน
4. ธาตุแทรนซิชันมีแนวโนมที่จะเกิดสารประกอบเชิงซอนได
5. มีเวเลนตอิเล็กตรอนเทากับ 2 (ยกเวน Cr, และ Cu มีเวเลนตอิเล็กตรอนเทากับ 1) และอิเล็กตรอนถัดจาก
วงนอกสุดไมครบ 18 (ยกเวน Cu และ Zn)
6. รัศมีอะตอมมีแนวโนมลดลงจากซายไปขวาของคาบ (หรือเมื่อเลขอะตอมเพิ่มขึ้น รัศมีอะตอมจะเล็กลง)
ซึ่งเหมือนกับธาตุในคาบเดียวกันทั่วๆ ไป)
7. มีจุดหลอมเหลวและจุดเดือดคอนขางสูง เพราะมีพันธะโลหะ
8. ความหนาแนนเพิ่มขึ้น เมื่อเลขอะตอมเพิ่มขึ้น เนื่องจากมวลเพิ่มขึ้นในขณะที่ขนาดเล็กลง
9. คา IE1 , IE2 , และ IE3 มีแนวโนมเพิ่มขึ้นเมื่อเลขอะตอมเพิ่มขึ้น แตคาตางกันไมมากนัก เพราะขนาด
ใกลเคียงกัน
10. อิเล็กโทรเนกาติวิตีมีแนวโนมเพิ่มขึ้น เมื่อเลขอะตอมเพิ่มขึ้น
11. เปนโลหะที่นําความรอนและนําไฟฟาไดดีเหมือนกับโลหะทั่ว ๆ ไป ทั้งนี้เพราะมีพันธะโลหะ

- 35 - นางสาวจตุภรณ สวัสดิร์ ักษา ครูวิชาการ


เอกสารประกอบการสอนรายวิชาเคมี 2 รหัสวิชา ว 40121
สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ

3.7.2 สารประกอบของธาตุแทรนซิชัน
เนื่องจากธาตุแทรนซิชันสวนใหญเสียอิเล็กตรอนไดงายจึงมีความวองไวในการเกิดปฏิกิริยากับอโลหะ เกิด
สารประกอบไดมากมายหลายชนิด สารประกอบและไอออนของธาตุแทรนซิชันสวนใหญจะมีสีตาง ๆ กัน ซึ่งขึ้นอยู
กับชนิดของธาตุแทรนซิชันเอง เลขออกซิเชัน ชนิดและจํานวนของสารที่รวมตัวกับธาตุแทรนซิชัน คือ ถาธาตุแท
รนซิชันตางชนิดกัน หรือชนิดเดียวกันแตมีเลขออกซิเดชันตางกัน หรือมีจํานวนและชนิดของสารที่รวมตัวกับธาตุแท
รนซิ ชั น ต า งกั น มั ก จะทํ า ให ส ารประกอบหรื อ ไอออนของธาตุ แ ทรนซิ ชั น มี สี ต า งกั น ด ว ย ส ว นสาเหตุ ที่ ทํ า ให
สารประกอบหรือไอออนของธาตุแทรนซิชันมีสี เนื่องจากอิเล็กตรอนใน d ออรบิทอล สามารถดูดกลืนแสงในชวงที่
ตามองเห็น แสงที่ไมถูกดูดกลืนก็คือสีของสารประกอบหรือของไอออนนั้น

3.7.2.1 เลขออกซิเดชันของธาตุแทรนซิชัน ในสารประกอบ


ลักษณะที่เดนชัดประการหนึ่งของธาตุแทรนซิชัน คือ มีเลขออกซิเดชันหลายคาทั้งนี้ เนื่องจากโครงสราง
ของอิเล็กตรอนของธาตุแทรนซิชัน มีทั้งที่อยูใน 3d และ 4s- orbital ซึ่งพลังงานใกลเคียงกัน เมื่อเกิดปฏิกิริยาจะ
สามารถเสียอิเล็กตรอนไดทั้งใน 3d และ 4s-orbital จํานวนตางๆ กัน ซึ่งทําใหมีเลขออกซิเดชันไดหลายคา (ยกเวน Sc
และ Zn มีเลขออกซิเดชันคาเดียวคือ +3 และ +2 ตามลําดับ)
สรุป เกี่ยวกับเลขออกซิเดชันของธาตุแทรนซิชันคาบที่ 4 ดังนี้
1. เลขออกซิเดชันสามัญของธาตุคือ +2 และ +3 โดยที่ +3 เปนเลขออกซิเดชันสามัญของธาตุซายของคาบ
และ +2 เปนของธาตุทางขวา
2. เลขออกซิเดชันสูงสุดคือ +7 ซึ่งเปนของ Mn เนื่องจาก Mn มีอิเล็กตรอนวงนอกเปน 3d5 4s2 มี 7
อิเล็กตรอน ในขณะที่หมูอื่นๆ เลขออกซิเดชันสูงสุดคือเลขประจําหมู เชน
Sc อยูหมู IIIB เลขออกซิเดชันสูงสุดคือ +3
Ti อยูหมู IVB เลขออกซิเดชันสูงสุดคือ +4
V อยูหมู VB เลขออกซิเดชันสูงสุดคือ +5
Cr อยูหมู VIB เลขออกซิเดชันสูงสุดคือ +6
Mn อยูหมู VIIB เลขออกซิเดชันสูงสุดคือ +7
แตหลังจากหมู VIIB ไปแลวคือหมู VIIIB IB และ IIB จะไมเปนไปตามหลักเกณฑนี้ เนื่องจากเมื่อประจุ
ในนิวเคลียสเพิ่มมากขึ้นจะสงผลกระทยถึงอิเล็กตรอนใน 3d-orbital ทําใหเลขออกซิเดชันสวนใหญเกี่ยวของกับ 4s-
orbital ซึ่งมี 2e- ดังนั้นจึงมักจะพบเลขออกซิเดชัน +2
3. เลขออกซิเดชันที่เสถียรของธาตุทางซายของคาบ มักจะเปนเลขออกซิเดชันที่มีคาสูง และเลขออกซิเดชัน
ที่เสถียรของธาตุทางขวาของคาบ มักจะเปนเลขออกซิเดชันที่มีคาต่ํา

- 36 - นางสาวจตุภรณ สวัสดิร์ ักษา ครูวิชาการ


เอกสารประกอบการสอนรายวิชาเคมี 2 รหัสวิชา ว 40121
สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ

4. เลขออกซิเดชันสูงสุดของธาตุแทรนซิชัน มักจะพบในสารประกอบของออกซิเจน และฟลูออรีน เชน เลข


ออกซิเดชันสูงสุดของ Mn คือ +7 ใน MnO4-
สํา หรับสารประกอบหรื อไอออนของธาตุแ ทรนซิชั นคาบที่ 4 มั ก จะมีสีต างๆ กัน ซึ่ งขึ้ นอยู กับชนิ ดของธาตุ เลข
ออกซิเดชัน ชนิดของไอออนลบที่มาเกิดพันธะดวย และโครงสรางของสารที่เกิดขึ้น การที่มีสีเนื่องจากอิเล็กตรอนใน
3d-orbital ซึ่งอยูในสถานะพื้น (ground state) ไดรับพลังงานแสงในชวงแสงขาว (visible light) ทําใหเปลี่ยนจากระดับ
พลังงานต่ําขึ้นไปสูระดับพลังงานสูงกวา (exited state) และใหสีตางๆ ตามความถี่ของแสงที่ถูกดูดกลืนเขาไป
ตาราง 3.15 สีของสารประกอบและไอออนของธาตุแทรนซิชันคาบที่ 4 บางธาตุ
ธาตุ ไอออน เลขออกซิเดชันของโลหะ สี ตัวอยาง
Sc Sc3+ +3 ไมมีสี ScCl2
2+
Ti Ti +2 น้ําตาล TiCl2
Ti3+ +3 มวงออน TiCl3
V V2+ +2 มวง VCl2
V3+ +3 เขียว VCl3
VO2+ +4 น้ําเงิน VOCl2
+
VO2 +5 เหลือง VO2Cl
Cr Cr2+ +2 น้ําเงิน CrCl2
Cr3+ +3 เขียว CrCl3
CrO42- +6 เหลือง Na2CrO4
Cr2O72- +6 สม K2Cr2O7
2+
Mn Mn +2 ชมพูออน Mn(OH)2
Mn3+ +3 น้ําตาล Mn(OH)3
MnO2 +4 ดํา MnO2
MnO3- +5 น้ําเงิน KMnO3
MnO42- +6 เขียว K2MnO4
-
MnO4 +7 มวงแดง KMnO4
Fe Fe2+ +2 เขียวออน FeCl2
Fe3+ +3 เหลือง* FeCl3
Co Co2+ +2 ชมพู CoCl2
Ni Ni2+ +2 เขียว NiCl2
2+
Cu Cu +2 น้ําเงิน CuCl2
Zn Zn2+ +2 ไมมีสี ZnCl2
- 37 - นางสาวจตุภรณ สวัสดิร์ ักษา ครูวิชาการ
เอกสารประกอบการสอนรายวิชาเคมี 2 รหัสวิชา ว 40121
สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ

* สารละลายของ Fe3+ ปกติในน้ําจะเปน [Fe(H2O)6]3+ ซึ่งเปนสีมวงออน แตเสถียรเฉพาะในสารละลายที่


เปนกรดมาก การที่เห็นเปนสีเหลืองเพราะถูกไฮโดรไลสกลายเปน [Fe(H2O)5OH]2

3.7.3 สารประกอบเชิงซอนของธาตุแทรนซิชัน
โลหะแทรนซิชันเกิดเปนสารประกอบเชิงซอน (Complex compounds) หรือ coordination compounds ได
งาย โดยมีอะตอมหรือกลุมของอะตอมที่เรียกวาลิแกนด (Ligands) ลอมรอบโลหะ แทรนซิชันโดยใชพันธะโคออดิ
เนตโคเวเลนต เชน

ไอออนเชิงซอน แอนไอออน

3+
Co (NH3)6 3Cl-

ไอออนกลาง ลิแกนด เลขโคออรดิเนชัน

สารประกอบเชิงซอน

ไอออนเชิงซอน คือ สารที่เกิดจากไอออนลบ (anions) หรือโมเลกุลที่เปนกลางไมมีประจุจํานวนหนึ่ง หรือ


มากกวานั้นมาสรางพันธะเคมีกับไอออนกลางของโลหะ เชน [Cu(NH3)4 ] 2+, [FeCl4] - ไอออนเชิงซอนมี 2
ชนิดคือ ไอออนเชิงซอนที่เปนไอออนบวก และไอออนลบ
สารประกอบเชิงซอน คือ สารประกอบที่มีไอออนเชิงซอนเปนองคประกอบอยูดวย สวนมากเกิดกับธาตุแท
รนซิชัน
ลิแกนด คือ ไอออนหรือโมเลกุลที่ลอมรอบอะตอมกลางหรือไอออนกลาง สารพวกนี้เปนสารที่มีอะตอม
ของธาตุที่มีอิเล็กตรอนคูอิสระอยู เชน F-, Br-, OH-, SCN-, S2-, CO, NH3, H2O เปนตน
อะตอมกลางหรือไอออนกลาง (Central atom ion) คือ อะตอมของธาตุที่อยูแกนกลางของสารเชิงซอน
สวนมาก ไดแก โลหะแทรนซิชัน
พันธะระหวางลิแกนด และโลหะแทรนซิชันที่อยูกลางในสารเชิงซอนเปนพันธะโคเวเลนต และจํานวนลิ
แกนดที่ลอมรอบโลหะแทรนซิชันที่อยูกลาง เรียกวา เลขโคออรดิเนชัน และเลขโคออรดิเนชันเปนเทาใดนั้นขึ้นอยู
กับชนิดของธาตุแทรนซิชัน เลขออกซิเดชันของโลหะแทรนซิชัน และชนิดของลิแกนดดวย

- 38 - นางสาวจตุภรณ สวัสดิร์ ักษา ครูวิชาการ


เอกสารประกอบการสอนรายวิชาเคมี 2 รหัสวิชา ว 40121
สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ

ตาราง 3.16 สารประกอบเชิงซอนบางชนิดและไอออนองคประกอบ


สารประกอบเชิงซอน ไอออนบวก ไอออนลบ
KMnO4 K+ [ MnO4] -
K2MnO4 K+ [MnO4]2-
PbCrO4 Pb2+ [ CrO4 ] 2-
K3Fe(CN)6 K+ [Fe(CN)6] 3-
K4Fe(CN)6 K+ [Fe(CN)6 ]4-
Cu(NH3)4SO4 [ Cu(NH3)4]2+ [SO4 ]2-

สารประกอบเชิงซอน เปนสารประกอบที่มีไอออนเชิงซอน สารหลายชนิดของธาตุ แทรน-ซิชันที่รูจักกันดี


เชน KMnO4 K2Cr2O7 และ K4Fe(CN)6 ก็เปนสารประกอบเชิงซอน โดยทั่ว ๆ ไปสารประกอบชนิดหนึ่ง ๆ จะ
ประกอบดวยไอออน 2 ชนิดคือ ไอออนบวกและลบ ไอออนที่ประกอบดวยธาตุตั้งแต 2 ธาตุขึ้นไปเรียกวา ไอออน
เชิงซอน ซึ่งอาจจะเปนไอออนบวกหรือลบก็ได เชน [Fe(CN)63- และ [Cu(NH3)4]2+ ไอออนเชิงซอนเหลานี้จะมีธาตุแท
รนซิชันเปนอะตอมกลางและมีไอออน อะตอมหรือโมเลกุลอื่นๆ มาลอมรอบ หรือ ลิแกนด สวนมากลิแกนดมักจะยึด
เหนี่ยวกับธาตุแทรนซิชันดวยพันธะโคเวเลนต หรือพันธะโคออรดิเนตโคเวเลนต
จํานวนอะตอมที่มาใชพันธะรวมกับธาตุแทรนซิชันในไอออนเชิงซอนเรียกวา coordination number ซึ่ง
อาจจะมีเลขโคออรดิเนชันตั้งแต 2 ถึง 8 (ถามี 6 อะตอม มาสรางพันธะกับธาตุแทรนซิชัน ธาตุแทรนซิชันนั้นจะมีเลข
โคออรดิเนชัน = 6 ถามี 4 อะตอม มาสรางพันธะกับธาตุแทรนซิชัน ธาตุ แทรนซิชันนั้นจะมีเลขโคออรดิเนชัน = 4)
เชน MnO4- มี Mn เปนอะตอมกลาง และมีธาตุ O 4 อะตอมมาสรางพันธะกับ Mn ดังนั้น Mn มีเลขโคออรดิเนชัน = 4
โดยทั่ว ๆ ไป เลขโคออรดิเนชันของธาตุก็คือ จํานวนลิแกนดมาสรางพันธะกับอะตอมของธาตุนั้นนั่นเอง
เชน Cu มีเลขโคออรดิเนชัน = 4 ในไอออนเชิงซอน [Cu(H2O)4] 2+ [Cu(NH3)4] 2+ และ [CuCl4] 2+ , Fe2+ มีเลขโค
2+

ออรดิเนชัน = 6 ใน [FeF6] 3- [Fe(CN)6] 3- และ [Fe(H2O)6] 3+ เปนตน สารประกอบของธาตุแทรนซิชัน นอกจากจะมี


สีแตกตางกันเพราะเกิดจากธาตุตางชนิดกันแลว สารประกอบชนิดเดียวกันที่มีสูตรเหมือนกันแตสูตรโครงสรางตางกัน
ก็จะมีสีตางกันดวย
การเรียกชื่อสารประกอบและไอออนเชิงซอน
ตามขอตกลงระหวางนักเคมีนานาชาติใหใชระบบ IUPAC (International Union of Pure and Applied
Chemistry) ในการเรียกชื่อสารประกอบเชิงซอนดังนี้
1. เรียกชื่อไอออนบวกกอนไอออนลบ ซึ่งเปนหลักเกณฑเดียวกับการเรียกชื่อสารประกอบไอออนิกทั่วไป
เชน
[Co(NH3)6] Cl3 ใหเรียกชื่อสวน [Co(NH3)6]3+ กอน แลวจึงตามดวยชื่อของ Cl, K3[Co(C2O4)3] ใหเรียกชื่อ
สวน K+ กอนแลวจึงตามดวยชื่อของ [Co(C2O4)33-
- 39 - นางสาวจตุภรณ สวัสดิร์ ักษา ครูวิชาการ
เอกสารประกอบการสอนรายวิชาเคมี 2 รหัสวิชา ว 40121
สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ

2. ในการเรียกชื่อไอออนเชิงซอน ใหเรียกชื่อลิแกนดกอนแลวตามดวยชื่อของไอออนของธาตุแทรนซิชัน
เชน
[Ni(NH3)4]2+ ใหเรียกชื่อ NH3 กอน แลวจึงเรียกชื่อของ Ni2+
[Fe(CN)63- ใหเรียกชื่อ CN- กอน แลวจึงเรียกชื่อของ Fe3+
3. การเรียกชื่อไอออนลบที่เปนลิแกนด จะลงทายดวย “O” โดยมีหลักเกณฑดังนี้
ก. ไอออนลบที่ลงทายดวย -ide เมื่อเปนสารประกอบเชิงซอนใหเปลี่ยนจาก -ide เปน -o ตัวอยางเชน
ไอออนลบ ชื่อทั่วไป ชื่อเมือเป
่ นลิแกนด
Cl- chloride chloro
Br- bromide bromo
I- iodide iodo
CN- cyanide cyano
2-
O oxide oxo

ข. ไอออนลบที่ลงทายดวย -ite หรือ -ate ใหเปลี่ยนเปน -ito หรือ -ato ตามลําดับ ตัวอยางเชน
ไอออนลบ ชื่อทั่วไป ชื่อเมื่อเปนลิแกนด
CO32- carbonate Carbonato
S2O32- thiosulfate Thiosulfato
-
SCN thiocyanate thiocyanato เมื่อเกิดพันธะที่ S
thiocyanate isothiocyanato เมื่อเกิดพนั ธะที่ N
C2O42- oxalate oxalato

4.สําหรับลิแกนดที่ไมมีประจุหรือเปนกลาง (neutral ligand) ใหเรียกชื่อเหมือนกับโมเลกุลที่เปนกลาง เชน


NH2CH2CH2NH2 เมื่อเปนโมเลกุลเรียกวา ethylenediamine เมื่อเปนลิแกนดก็ยังคงเรียกวา ethylenediamine
ยกเวนลิแกนดที่เปนกลางบางชนิดใหเรียกชื่อเฉพาะตัว เชน
H2O เรียก aquo
NH3 เรียก ammine
CO เรียก carbonyl

- 40 - นางสาวจตุภรณ สวัสดิร์ ักษา ครูวิชาการ


เอกสารประกอบการสอนรายวิชาเคมี 2 รหัสวิชา ว 40121
สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ

5. ถาสารประกอบเชิงซอนนั้นมีลิแกนดชนิดเดียวกันมากกวาหนึ่งใหบอกจํานวนที่ซ้ํากันไวหนาชื่อของลิ
แกนด โดยระบุจํานวนดวยภาษากรีกดังนี้
จํานวนลิแกนดที่ซ้ํากัน เรียก
2 Di
3 Tri
4 Tetra
5 Penta
6 Hexa
เชน (CN)6 เรียก hexacyano
(C2O4)3 เรียก trioxalato
ในกรณีที่เปนพวก polydentate ligand (ลิแกนดที่สามารถเกิดพันธะกับไอออนไดตั้งแต 2 ตําแหนงขึ้นไปใน
1 ลิแกนด) ใหใชดังนี้
จํานวนลิแกนดที่ซ้ํากัน เรียก
2 Bis
3 Tris
4 Tetrakis
สําหรับ ethylenediamine ถามี 2 โมเลกุล เนื่องจากมีคําวา di อยูแลวจึงใช bis แทน di โดยเขียน bis ไว
ขางหนาและ ethylenediamine อยูในวงเล็บดังนี้ bis(ethylenediamine)
6.ถาไอออนเชิงซอนมีประจุเปนลบ ใหเรียกชื่อลิแกนดกอนแลวตามดวยชื่อโลหะ พรอมกันเปลี่ยนคําลงทาย
ของโลหะใหเปน -ate และใสเลขออกซิเดชันไวในวงเล็บตอจากชื่อของโลหะดวยเลขโรมัน

โลหะ ชื่อโลหะ ชื่อโลหะในไอออนเชิงซอนที่มีประจุลบ


Al Aluminium Alminate
Cr chromium Chromate
Mn manganese Manganate
Ni nickel Nickelate
Co cobalt Cobaltate
Zn zinc Zinccate
Mo molybdenum Molybdate
W tungsten Tungatate

- 41 - นางสาวจตุภรณ สวัสดิร์ ักษา ครูวิชาการ


เอกสารประกอบการสอนรายวิชาเคมี 2 รหัสวิชา ว 40121
สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ

โลหะบางตัวมีชื่อเรียกเปนภาษาละติน ใหใชภาษาละตินและลงทายดวย -ate ดังตัวอยาง

ธาตุ ชื่อโลหะ ชื่อโลหะในไอออนเชิงซอน


ภาษาอังกฤษ ภาษาละติน ที่มีประจุเปนลบ
Fe iron Ferrum Ferrate
Cu copper Cuprum Cuprate
Pb lead Plumbum Plumbate
Ag silver Argentum Argentate
Au gold Aurum Aurate
Sn tin Stannum Stannate
เชน
[Fe(CN)6]3- เรียกวา hexa cyano ferrate (III) ion
[Co(C2O4)3]3- เรียกวา tris oxalato cobalttate (II) ion
[Cr(NO2)6]3- เรียกวา hexa nitro chromate(III) ion
สําหรับไอออนเชิงซอนที่มีประจุบวกและสารประกอบเชิงซอนที่เปนกลาง ใหอานชื่อของโลหะตามชื่อ
โลหะเดิม โดยไมตองเปลี่ยนคําลงทาย
เชน [Cu(NH3)4]2+ เรียกวา tetra amminne copper (II) ion
[Co(H2O)63+ เรียกวา hexa aquo cobalt (III) ion
3+
[Cr(H2O)6] เรียกวา hexa aquo chromium (III) ion
7.ในกรณีที่สารประกอบเชิงซอนนั้นมีลิแกนดหลายชนิด ใหเรียกชื่อลิแกนดที่มีประจุลบกอน ตามดวยลิ
แกนดที่เปนกลาง และลิแกนดที่มีประจุบวกไวทายสุด

ตัวอยางที่ 4 การเรียกชื่อสารประกอบเชิงซอน
สารประกอบเชิงซอน ไอออนบวก ไอออนลบ เลขโคออรดิเนชัน อานชื่อ
K3[Fe(CN)6] ……………… ……………… ………………… …………………………………
[Cu(NH3)4]SO4 ……………… ……………… ………………… …………………………………
[Cr(H2O)4Cl2]ClO4 ……………… ……………… ………………… …………………………………
Na3[Cr(NO2)6] ……………… ……………… ………………… …………………………………
Fe2[Fe(CN)6] ……………… ……………… ………………… …………………………………
[Ni(NH3)6]Br2 ……………… ……………… …………………. …………………………………

- 42 - นางสาวจตุภรณ สวัสดิร์ ักษา ครูวิชาการ


เอกสารประกอบการสอนรายวิชาเคมี 2 รหัสวิชา ว 40121
สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ

3.8 ธาตุกัมมันตรังสี

ในป ค.ศ. 1896 อองตวน อองรี เบ็กเคอเรล นักวิทยาศาสตรชาว


ฝรั่งเศสพบวา เมื่อเก็บแผนฟลมที่หุมดวยกระดาษสีดําไวกับสารประกอบ
ของยูเรเนียม ฟลมจะมีลักษณะเหมือนถูกแสง และเมื่อทําการทดลองกับ
สารประกอบของยูเรเนียมชนิดอื่นๆ ก็ไดผลเชนเดียวกัน จึงสรุปวานาจะมี
รังสีแผออกมาจากธาตุยูเรเนียม

ต อ มาป แ อร และมารี กู รี พบว า ธาตุ พ อโลเนี ย ม เรเดี ย ม และ


ทอเรียม สามารถแผรังสีไดเชนเดียวกัน ปรากฏการณที่ธาตุแผรังสีไดเอง
อยางตอเนื่องเรียกวา กัมมันตภาพรังสี (Radioactivity)

รูปที่ 3.18 ปแอร และมารี กูรี

3.8.1 การเกิดกัมมันตภาพรังสี

รูปที่ 3.19 การกัมมันตภาพรังสี

- 43 - นางสาวจตุภรณ สวัสดิร์ ักษา ครูวิชาการ


เอกสารประกอบการสอนรายวิชาเคมี 2 รหัสวิชา ว 40121
สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ

กัมมันตรังสี (Radioactivity) คือกระบวนการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นภายในนิวเคลียสของอะตอม


เพื่อใหเกิดเปนนิวเคลียสใหมที่เสถียรกวา ดวยการเปลงรังสีออกมา กระบวนการนี้เกิดขึ้นอยางอิสระไมขึ้นกับสภาวะ
ใด ๆ
ธาตุกัมมันตรังสี ( Radio element ) เปนธาตุที่นิวเคลียสสามารถเปลงรังสีกัมมันตภาพ ไดแก รังสี α , β และ
γ ออกมาไดตลอดเวลา แลวไดธาตุใหมขึ้นมา

3.8.2 การสลายตัวของธาตุกัมมันตรังสี
รังสีกัมมันตภาพ ( Radiation ) เปนรังสีที่ธาตุกัมมันตรังสีแผหรือสลายตัวออกมา เนื่องจากภายในธาตุ
กัมมันตรังสีมีพลังงานสวนเกินอยูจึงตองถายเทพลังงานสวนเกินนี้ออกไปเพื่อที่จะไดอยูในสภาพที่เสถียรตอไป ซึ่ง
การแผหรือการแตกสลายรังสีจะมี 3 ประเภท คือ
- การแผรังสีของอนุภาคแอลฟา ( Alpha rays ) เปนอนุภาคที่มีมวลมาก 4.00260 amu มีประจุไฟฟา +2 โดย
ใชสัญลักษณเปน α หรือ 24He
- การแผรังสีของอนุภาคบีตา ( Beta Rays ) เปนอนุภาคที่มีมวลนอย 0.000549 amu มีประจุไฟฟา –1 โดย
ใชสัญลักษณเปน β หรือ −10e
- การแผรังสีแกมมา ( Gamma Rays ) เปนพลังงานที่อยูในรูปคลื่นแมเหล็กไฟฟา ซึ่งมีชวงคลื่นสั้นมาก มี
ความเร็วเทากับความเร็วแสง เปนรังสีที่ไมมีมวลและไมมีประจุไฟฟา จึงไมเบี่ยงเบนในสนามแมเหล็ก มี
สัญลักษณเปน γ

3.8.3 ครึ่งชีวิตของธาตุกัมมันตรังสี
ครึ่งชีวิต (half life) ของสารกัมมันตรังสี หมายถึง ระยะเวลาที่สารกัมมันตรังสีสลายตัวไปจนเหลือเพียง
ครึ่งหนึ่งของปริมาณเดิม ใชสัญลักษณเปน t1/2

รูปที่ 3.20 ครึง่ ชีวติ ของเรเดียม

Radioactive decays law หมายถึง อัตราการสลายหรือจํานวนอะตอมของธาตุที่สลายไปในระยะเวลา


หนึ่งเปนปฏิภาคโดยตรงกับจํานวนอะตอมของธาตุกัมมันตรังสีที่มีอยูทั้งหมด
ให N เปนจํานวนอะตอมของธาตุกัมมันตรังสีที่มีอยูทั้งหมด
และ λ เปนคาคงของการสลาย หนวยตอเวลา

- 44 - นางสาวจตุภรณ สวัสดิร์ ักษา ครูวิชาการ


เอกสารประกอบการสอนรายวิชาเคมี 2 รหัสวิชา ว 40121
สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ

อัตราการสลาย ∝ N
อัตราการสลาย = ∝ N จากหลักเกณฑทางคณิตศาสตร จะไดคาครึ่งชีวิต จากความสัมพันธดังนี้
ln N = - λ t1/2
N 0
N0 = จํานวนอะตอมของธาตุกัมมันตรังสีที่เวลาเริ่มตัน ( t = 0 )
N = จํานวนอะตอมของธาตุกัมมันตรังสีที่เวลาผานมา t
λ = คาคงที่ของการสลาย
t1/2 = ครึ่งชีวิต
นิวเคลียสของธาตุกัมมันตรังสีที่ไมเสถียร จะสลายตัวและแผรังสีไดเองตลอดเวลาโดยไมขึ้นอยูกับ
อุณหภูมิหรือความดัน อัตราการสลายตัว จะเปนสัดสวนโดยตรงกับจํานวนอนุภาคในธาตุกัมมันตรังสีนั้น ปริมาณการ
สลายตัวจะบอกเปนครึ่งชีวิต โดยครึ่งชีวิติเปนสมบัติเฉพาะตัวของแตละไอโซโทป

ตัวอยางที่ 1 จงหาปริมาณของ Tc-99 ที่เหลือเมื่อวาง Tc-99 จํานวน 18 กรัมไวนาน 24 ชั่วโมง และ Tc-99 มีครึ่งชีวิต 6
ชั่วโมง

ตัวอยางที่ 2 ถาทิ้งไอโซโทปกัมมันตรังสีชนิดหนึ่ง 20 กรัม ไวนาน 28 วัน ปรากฏวามีไอโซโทปนั้นเหลืออยู 1.25 กรัม


ครึ่งชีวิตของไอโซโทปนี้มีคาเทาใด

- 45 - นางสาวจตุภรณ สวัสดิร์ ักษา ครูวิชาการ


เอกสารประกอบการสอนรายวิชาเคมี 2 รหัสวิชา ว 40121
สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ

ตัวอยางที่ 3 จงหาปริมาณ I-131 เริ่มตน เมื่อนํา I-131 จํานวนหนึ่งมาวางไวเปนเวลา 40.5 วัน ปรากฎวา มีมวลเหลือ
0.125 กรัม ครึ่งชีวิตของ I-131 เทากับ 8.1 วัน

3.8.3 สมการนิวเคลียร
สมการนิวเคลียร ( Nuclear equation ) คือสมการที่เขียนขึ้นเพื่อแสดงปฏิกิริยานิวเคลียร โดยผลบวกของเลข
อะตอมและเลขมวล ทางซายตองเทากับทางขวา เชน
238
92 U
234
90Th + 4
2 He

210
82 Pb
210
83 Bi + 0
−1 e

226
88 Ra
222
86 Rn
*
+ 4
2 He
222
86 Rn + γ

3.8.4 ปฏิกิริยานิวเคลียร
ปฏิกิริยานิวเคลียร ( Nuclear reaction ) จะเปนปฏิกิริยาที่เกิดในนิวเคลียสของอะตอมของธาตุที่จะใหธาตุ
ใหมเปลงรังสี α ( แอลฟา ), β ( บีตา ), และ γ ( แกมมา )เกิดขึ้นดวยโดยปฏิกิริยาจะไมยอนกลับ และไมขึ้นอยูกับ
อุณหภูมิ ความดันหรือตัวคะตะไลส นอกจากนี้ยังปลอยพลังงานมหาศาล
ปฏิกิริยาฟชชัน (Fission reaction) คือ กระบวนการที่นิวเคลียสของธาตุหนักบางชนิด แตกตัวออกเปน
ไอโซโทปของธาตุที่เบากวา
การยิงนิวตรอนเขาไปที่นิวเคลียสของธาตุหนัก จะทําใหแตกตัวเปนนิวเคลียสของธาตุใหมหลาย
ชนิดที่เบาขึ้น และคายความรอนออกมาเปนจํานวนมาก ยังไดนิวตรอนจํานวนหนึ่งดวย ซึ่งนิวตรอนที่เกิดขึ้นใหม
นี้จะชนกับนิวเคลียสอื่นๆ เกิดฟชชันแบบตอเนื่องเปนปฏิกิริยาลูกโซ
ในป พ.ศ. 2482 นักวิทยาศาสตรพบวาเมื่อใชนิวตรอนยิงไปที่นิวเคลียสของ U-235 จะทําใหเกิดการแตกตัว
ไดธาตุใหมคือ Ba-139, กับ Kr-97 หรือ Ba-142 กับ Kr-91 การใชนิวตรอนยิงไปที่นิวเคลียสจัดวาเปนปฏิกิริยาฟช
ชันที่สําคัญ

- 46 - นางสาวจตุภรณ สวัสดิร์ ักษา ครูวิชาการ


เอกสารประกอบการสอนรายวิชาเคมี 2 รหัสวิชา ว 40121
สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ

รูปที่ 3.21 ปฏิกิริยาฟชชัน

ปฏิกิริยาฟชชัน สามารถเกิดไดกับนิวเคลียสของธาตุหนักเชน U-233 , U-235, U-238, และ Pu-239


พิจารณาตัวอยางของปฏิกิริยาฟสชันตอไปนี้

235 U
92 + 1
0n → 90 Kr
36 + 144 Ba
56 + 2( 01 n )

นิวตรอนที่เกิดขึ้นจะทําใหเกิดปฏิกิรยิ าลูกโซจนกระทั่งไดนิวเคลียสที่เสถียร คือ Zr-90 และ Nd-144 ดังนี้


90 Kr ⎯β 90 Rb ⎯β β β
36 ⎯→ 37 ⎯→ 90
38 Sr ⎯⎯→ 90
39Y ⎯⎯→ 90
40 Zr

144 Ba ⎯β β β β
56 ⎯→ 144
57 La ⎯⎯→ 144
58 Ce ⎯⎯→ 144
59 Pr ⎯⎯→ 144
60 Nd

ปฏิกิริยาฟชชันที่เกิดขึ้นภายใตสภาวะที่เหมาะสม จะทําใหเกิดพลังงานอยางมหาศาล ซึ่งใชหลักการของฟ


ชชันมาทําระเบิดปรมาณู ในสงครามโลกครั้งที่ 2
ประโยชนของปฏิกิริยาฟชชัน
ปจจุบันนักวิทยาศาสตรสามารถควบคุมปฏิกิริยาลูกโซในฟสชันได และนํามาใชประโยชนทางสันติ เชน ใช
สรางเตาปฏิกรณปรมาณู เพื่อผลิตไอโซโทปกัมมันตรังสี เพื่อใชในทางการแพทย การเกษตร และอุตสาหกรรม
ในขณะที่พลังงานที่ไดก็สามารถนําไปใชผลิตกระแสไฟฟาได

- 47 - นางสาวจตุภรณ สวัสดิร์ ักษา ครูวิชาการ


เอกสารประกอบการสอนรายวิชาเคมี 2 รหัสวิชา ว 40121
สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ

ปฏิกิริยาฟวชัน (Fusion reaction) คือ ปฏิกิริยาที่เกิดการรวมตัวของไอโซโทปที่มีมวลอะตอมต่ํา ทําใหเกิด


ไอโซโทปใหมที่มีมวลมากขึ้นกวาเดิม และใหพลังงานจํานวนมหาศาล และโดยทั่วๆ ไปจะใหพลังงานมากกวา
ปฏิกิริยาฟชชัน

รูปที่ 3.22 ปฏิกิริยาฟวชัน

ตัวอยางปฏิกิริยาไดแก
2H
1 + 31 H → 42 He + 01 n + พลังงาน
3 He
2 + 21 H → 42 He + 11 H + พลังงาน
6 Li
3 + 21 H → 42 He + พลังงาน
6 Li
3 + 21 H → 73 Li + 11 H + พลังงาน

ปฏิกิริยาฟวชันจะเกิดขึ้นไดที่อุณหภูมิสูงมากเทานั้น เพื่อเอาชนะแรงผลักระหวางนิวเคลียสที่จะมารวมกัน
ประมาณวาตองมีอุณหภูมิสูงประมาณ 2 x 108 0C ความรอนดังกลาวนี้อาจไดจากปฏิกิริยาฟสชัน ซึ่งเปรียบเสมือน
เปนชนวนใหเกิดปฏิกิริยาฟวชัน
ประโยชนของปฏิกิริยาฟวชัน
พลังงานในปฏิกิริยาฟวชันถาควบคุมใหปลอยออกมาชา ๆ จะเปนประโยชนตอมนุษยอยางมากมาย และมี
ขอไดเปรียบกวาปฏิกิริยาฟสชัน เพราะสารตั้งตนคือไอโซโทปของไฮโดรเจนนั้นหาไดงาย นอกจากนี้ผลิตภัณฑที่เกิด
จากฟวชันยังเปนธาตุกัมมันตรังสีที่มีอายุและอันตรายนอยกวา ซึ่งจัดเปนขอไดเปรียบในแงของสิ่งแวดลอม (เกิดเปน
แหลงพลังงานมหาศาลที่เปนประโยชนตอมนุษย)
3.8.5 ประโยชนและโทษของกัมมันตรังสี
ประโยชนของกัมมันตรังสี
1. ใชในดานการเกษตร เชน การวิจัยเกี่ยวกับปุยหรือการเปลี่ยนแปลงพืชพันธุบางชนิด
2. ใชในการแพทย เชน รักษาโรคมะเร็ง Co-60, Ra-226 หรือตรวจระบบการหมุนเวียนโลหิต Na-24 ใช I-131
ดูความผิดปกติของตอมไทรอยด ใช I-123 ดูภาพสมอง ใช Tc-99 ดูภาพอวัยวะภายใน
3. ในทางอุตสาหกรรม ใชตรวจสอบรอยแตกราวในเสาหินปูน หรือภายในโลหะซึ่งมองจากภายนอกไมเห็น
4. ในทางธรณีวิทยา ใชหาอายุวัตถุโบราณโดยเทียบจาก 14C ซึ่งอยูในของโบราณนั้น
5. ใชควบคุมความหนาของแผนโลหะที่รีดออกมาจากเครื่องรีดโลหะใหบางเทากันตลอดแผน

- 48 - นางสาวจตุภรณ สวัสดิร์ ักษา ครูวิชาการ


เอกสารประกอบการสอนรายวิชาเคมี 2 รหัสวิชา ว 40121
สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ

โทษของกัมมันตรังสี
1. ทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงภายในสารในรางกายสําหรับสิ่งมีชีวิต
2. ถาสิ่งมีชีวิต ไดรับรังสีปริมาณมากอาจตายในทันที
3. ถานําเอาความรูไปใชในทางที่ผิดก็จะเปนอันตรายตอมวลมนุษยชาติ
4. เกิดผลกระทบตอสิ่งแวดลอม

- 49 - นางสาวจตุภรณ สวัสดิร์ ักษา ครูวิชาการ

You might also like