You are on page 1of 214

ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.

com บทที่ 1 อะตอมและตารางธาต ุ


บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
1. แบบจำลองอะตอม
สสารโดยทัว่ ไปนั้นจะประกอบด้วยอนุภาคย่อยอยู่
ภายในเรี ยกอนุ ภาคย่อยนั้นว่าโมเลกุล ในแต่ละโมเลกุล
จะประกอบไปด้วยอนุภาคที่ยอ่ ยกว่า เรี ยกว่าอะตอม อยู่
ภายในแต่ละโมเลกุลนั้นๆ
สารที่ประกอบด้วยอะตอมชนิดเดียวกันล้วนๆ เรี ยก
ธำตุ ธาตุที่นกั วิทยาศาสตร์ รู้จกั แล้วในปัจจุบนั มีมากกว่า
114 ชนิด นักวิทยาศาสตร์ ได้นาชื่อย่อของธาตุท้ งั หมดมา
เขียนเป็ นตารางเรี ยกว่าตำรำงธำตุ

1. ข้อใดเรี ยงลาดับขนาดจากใหญ่ไปเล็กได้ถูกต้อง
1. สสาร  โมเลกุล  อะตอม 2. โมเลกุล  สสาร  อะตอม
3. สสาร  อะตอม  โมเลกุล 4. อะตอม  โมเลกุล  สสาร

1
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 อะตอมและตารางธาต ุ
1.1 แบบจำลองอะตอมของดอลตัน
ทฤษฎีอะตอมของดอลตัน
ดอลตัน ( John Dalton ) นักฟิ สิ กส์และนักเคมีชาวอังกฤษ
แบบจาลองอะตอม
ได้ต้ งั ทฤษฎีอะตอมขึ้นในปี พ.ศ. 2351 ซึ่ งมีใจความว่า ของดอลตัน
1) สสารทั้งหลายประกอบด้วยอะตอมซึ่ งเป็ นหน่วยที่เล็กที่สุดที่ไม่สามารถแบ่งแยกได้
2) ธาตุ แ ต่ล ะชนิ ดประกอบด้วยอะตอม โดยธาตุ ช นิ ดเดี ยวกัน จะมี อะตอมเหมื อนกัน
ส่ วนธาตุต่างชนิดกันอะตอมจะต่างกัน
3) อะตอมชนิดหนึ่งจะเปลี่ยนแปลงไปเป็ นอะตอมชนิดอื่นๆ ไม่ได้
4) หน่ วยย่อยของสารประกอบคือโมเลกุล ซึ่ งจะประกอบด้วยอะตอมของธาตุ ต้ ังแต่ 2
ชนิดขึ้นไปมารวมตัวกัน ในสัดส่ วนที่เป็ นเลขลงตัวน้อยๆ
5) ในปฏิ กิ ริยาเคมี ใดๆ อะตอมไม่มีก ารสู ญหาย และไม่ส ามารถท าให้เกิ ดใหม่ได้ แต่
อะตอมจะเกิดการจัดเรี ยงตัวกันเป็ นโมเลกุลใหม่เกิดขึ้นเป็ นสารประกอบ
ปั จจุบนั นี้ ทฤษฏีอะตอมของดอลตันมีเพียงข้อ 4 เท่านั้นที่เป็ นที่ยงั เป็ นที่ยอมรับ สาหรับ
ข้ออื่นๆ นั้นไม่เป็ นที่ยอมรับของนักวิทยาศาสตร์ ปัจจุบนั
ข้อ 1. ไม่เป็ นที่ยอมรับ เพราะอะตอมไม่ใช่ หน่ วยที่เล็กที่สุด อะตอมยังมีองค์ประกอบ
ย่อยอยูภ่ ายในอีก เช่น อิเล็กตรอน โปรตอน นิวตรอน เป็ นต้น
ข้อ 2. ไม่ เป็ นที่ ย อมรั บ เพราะอะตอมของธาตุ ช นิ ด เดี ย วกัน อาจมี ส มบัติ บ างอย่า ง
แตกต่างกันก็ได้ เช่น อาจมีมวลไม่เท่ากัน เป็ นต้น
ข้อ 3. ไม่เป็ นที่ยอมรับ เพราะอะตอมของธาตุชนิ ดหนึ่ งสามารถเปลี่ ยนให้เป็ นอะตอม
ของธาตุชนิดอื่นๆ ได้
ข้อ 5. ไม่เป็ นที่ยอมรับ เพราะอะตอมของธาตุบางชนิดสามารถทาให้สูญหาย หรื อสร้าง
ขึ้นมาใหม่ได้
2. ปั จจุบนั นี้ เป็ นที่ทราบกันแล้วว่าทฤษฎีอะตอมของดอลตันมีถูกต้องอยูเ่ พียงข้อเดียว ข้อนั้นคือ
1. อะตอมมีลกั ษณะกลมทึบตัน
2. อะตอมจะแบ่งแยกต่ออีกไม่ได้
3. อะตอมธาตุชนิดเดียวกันจะเหมือนกัน และต่างจากอะตอมธาตุชนิ ดอื่น
4. โมเลกุลของสารประกอบ เกิดจากอะตอมของธาตุต้ งั แต่ 2 ชนิดขึ้น ไปมารวมตัวกัน
ในสัดส่ วนที่เป็ นเลขลงตัวน้อยๆ
2
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 อะตอมและตารางธาต ุ
1.2 แบบจำลองอะตอมของทอมสั น
ในเวลาต่อมามีนกั วิทยาศาสตร์ ชื่อ ทอมสัน
( J.J Thomson ) ได้ทาการทดลองโดยใช้หลอด
แก้วสุ ญญากาศ ซึ่ งเป็ นหลอดแก้วกลวงปิ ดสนิท
ภายในมีข้ วั ไฟฟ้ า 2 ขั้ว คือขั้วแคโทดและขั้วแอ-
โนด ภายในหลอดนี้ จะมีแก๊สอยูน่ อ้ ยมากจนถือว่าเป็ นสุ ญญากาศได้ ผนังหลอดด้านในจะฉาบ
เอาไว้ดว้ ยสารเรื องแสงซึ่ งจะเรื องแสงขึ้ นมาให้เห็ นเมื่อมีรังสี มาตกกระทบ เมื่ อนาหลอดแก้ว
สุ ญญากาศไปต่อกับเครื่ องกาเนิ ดกระแสไฟฟ้ าความต่างศักย์สูงประมาณ 10000 โวลต์ โดยต่อ
ขั้วไฟฟ้ าลบเข้ากับแคโทดและขั้วไฟฟ้ าบวกเข้ากับแอโนด จะเกิ ดรังสี พุ่งออกมาจากขั้วแคโทด
จึงเรี ยกรังสี น้ ีวา่ รังสี แคโทด
ทอมสันพบว่ารังสี แคโทดจะมีสมบัติที่สาคัญได้แก่
1) เมื่อนาขั้วไฟฟ้ าบวกและลบเข้าประกบเพิม่ ภาย
นอกหลอด รังสี แคโทดจะเบี่ยงเบนเข้าหาขั้วไฟฟ้ าบวก

2) เมื่อนาขั้วแม่เหล็กเหนือและใต้ เข้าประกบภาย
นอกหลอด ทาให้เกิดสนามแม่เหล็กพุง่ ตัดผ่านหลอดแก้ว
รังสี แคโทดจะเบี่ยงเบนในสนามแม่เหล็ก และทิศการ
เบี่ยงเบนเป็ นไปตามกฎมือซ้าย

3) เมื่อนาแผ่นโลหะบางๆ มาวางกั้นรังสี แคโทด


รังสี แคโทดจะไม่สามารถทะลุแผ่นโลหะที่ขวางกั้น

4) เมื่อนากังหันเล็กๆ มาวางขวางทางรังสี ให้รังสี


พุง่ เข้ากระทบกังหัน จะทาให้กงั หันเกิดการหมุนตัวได้

3
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 อะตอมและตารางธาต ุ
จากสมบัติขอ้ ที่ 3) และ 4) ทาให้ทราบว่าภายในรังสี น้ ีประกอบไปด้วยก้อนอนุภาคซึ่ งมี
ตัวตน มีมวล มีโมเมนตัม ( ไม่ใช่ คลื่ นที่ไร้ตวั ตน ) ดังนั้นเมื่อรังสี พุ่งชนแผ่นโลหะที่ก้ นั จึงไม่
ทะลุแผ่นโลหะได้ เมื่อชนกังหันเล็กๆ จะทาให้กงั หันหมุนตัวได้
จากสมบัติขอ้ ที่ 1) และ 2) ทาให้ทราบว่าอนุภาคภายในรังสี แคโทดนี้ มีประจุไฟฟ้ าเป็ น
ลบ จึงเบนเข้าหาขั้วไฟฟ้ าบวก และเบนในสนามแม่เหล็ก
ทอมสันเรี ยกอนุภาคที่มีประจุเป็ นลบนี้ วา่ อิเล็กตรอน
ทอมสั นอธิ บ ายสาเหตุ การเกิ ดรั งสี ค าโทดว่า เมื่ อโลหะที่ เป็ นขั้วคาโทดได้รับ พลังงาน
ไฟฟ้ าที่มีศกั ย์สูง จะทาให้อิเล็กตรอนภายในอะตอมโลหะในขั้วแคโทดนั้นหลุ ดออกมา แล้ว
เคลื่อนที่พุ่งตรงไปยังขั้วอาโนด (ขั้วบวก) เกิดเป็ นเส้นรังสี แคโทดขึ้นมา และจากการทดลองนี้
ท าให้ ทอมสั น สรุ ปว่ า ในอะตอมจะต้ อ งมี อ นุ ภ าคไฟฟ้ าลบเรี ยกว่ า อิ เล็ ก ตรอน เป็ น
องค์ประกอบอยูภ่ ายใน
นอกจากนี้ ทอมสันยังค้นพบอี กว่า ถ้านาค่าประจุอิเล็กตรอน 1 ตัวหารด้วยมวลอิเล็ก -
ตรอน 1 ตัว จะได้ค่ าประจุ ต่ อมวลเท่ ากับ 1.76 x 108 คู ล อมบ์ต่ อกรั ม คงที่ เสมอไม่ ว่า จะ
เปลี่ยนขั้วแคโทดเป็ นอะตอมของธาตุชนิ ดใดก็ตาม แสดงว่าอิเล็กตรอนของธาตุทุกชนิ ดมีประจุ
และมวลเท่ากันเสมอ
3. สมบัติของรังสี แคโทดข้อใดที่ทาให้ทราบว่ารังสี แคโทดมีประกอบไปด้วยอนุภาค
1. เบี่ยงเบนเข้าหาขั้วไฟฟ้ าบวกและสนามแม่เหล็ก
2. ไม่ทะลุแผ่นโลหะบางๆ ที่วางกั้น และชนกังหันแล้วทาให้กงั หันหมุนได้
3. ทาให้สารเรื องแสงเกิดการเรื องแสงได้
4. ถูกทุกข้อ

4. สมบัติของรังสี แคโทดข้อใดที่ทาให้ทราบว่า อนุภาคในรังสี แคโทดมีประจุไฟฟ้ าเป็ นลบ


1. เบี่ยงเบนเข้าหาขั้วไฟฟ้ าบวกและสนามแม่เหล็ก
2. ไม่ทะลุแผ่นโลหะบางๆ ที่วางกั้น และชนกังหันแล้วทาให้กงั หันหมุนได้
3. ทาให้สารเรื องแสงเกิดการเรื องแสงได้
4. ถูกทุกข้อ

4
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 อะตอมและตารางธาต ุ
5. นักวิทยาศาสตร์ที่คน้ พบอิเล็กตรอนเป็ นคนแรกของโลกคือใคร
1. ทอมสัน 2. โกลด์สไตล์ 3. มิลลิแกน 4. โบเทและเบเกอร์

6. ข้อใดต่อไปนี้เป็ นสิ่ งที่ทอมสันค้นพบ


1. อิเล็กตรอน 2. ประจุต่อมวลอิเล็กตรอน
3. ประจุอิเล็กตรอน 4. ข้อ 1. และ 2.

ในเวลาต่อมานักวิทยาศาสตร์ ชื่อ มิลลิแกน ( Robert A. Millikan ) ได้ทาการทดลองโดย


ใช้หยดน้ ามันแล้วสามารถหาค่าประจุของอิ เล็กตรอน 1 ตัวได้ค่าเท่ากับ 1.6x10–19 คูลอมบ์
และสามารถคานวณหาค่ามวลของอิเล็กตรอน 1 ตัวได้เท่ากับ 9.11x10–28 กรัม อีกด้วย
7. จากการทดลองของมิลลิแกนทาให้เราทราบค่าของ
1. ประจุของอิเล็กตรอน 2. มวลของอิเล็กตรอน
3. ประจุต่อมวลอิเล็กตรอน 4. ข้อ 1. และ 2.

5
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 อะตอมและตารางธาต ุ
ในเวลาต่อมามีนกั วิทยาศาสตร์ ชื่อ ออยเกน-
โกลด์สไตน์ (Eugen Goldstein ) ได้ทาการทดลอง
โดยใช้หลอดแก้วสุ ญญากาศเช่นเดียวกับ ทอมสัน
โกลด์สไตน์พบว่า เมื่อเกิดรังสี แคโทดขึ้นแล้วจะ
เกิดรังสี อีกชนิดหนึ่งวิง่ ย้อนกลับมาหาขั้วแคโทดซึ่ ง
เป็ นขั้วไฟฟ้ าลบ แสดงว่ารังสี น้ ีมีประจุเป็ นบวก จึงเรี ยกรังสี บวกหรื อรังสี แคแนล โกลด์สไตน์
อธิ บ ายการเกิ ดรังสี น้ ี ว่า อะตอมของแก๊สในหลอดสุ ญญากาศนั้น ควรจะมี อิเล็กตรอนลบอยู่
ภายในและควรมีอนุ ภาคไฟฟ้ าบวกอยูด่ ว้ ยในจานวนที่เท่าๆ กัน เพราะอะตอมปกติจะต้องเป็ น
กลางทางไฟฟ้ าคื อมี ป ระจุ ไฟฟ้ ารวมเท่ ากับ ศูน ย์ และเมื่ อยิงรั งสี แคโทดซึ่ งประกอบไปด้ว ย
อิ เล็ ก ตรอนอยู่ภ ายในเข้า ไปกระทบอะตอมแก๊ ส อิ เล็ ก ตรอนในรั ง สี แ คโทดจะไปกระทบ
อิเล็กตรอนของแก๊สให้หลุดกระเด็นออกไป ทาให้อะตอมแก๊สกลายเป็ นอนุ ภาคไฟฟ้ าบวกแล้ว
วิ่งย้อนกลับ มาหาขั้วแคโทด(ลบ) กลายเป็ นรั งสี บ วกดังกล่ าว และจากการทดลองนี้ เป็ นสิ่ ง
ยืนยันให้โกลด์สไตน์ ทราบว่าในอะตอมนั้นต้องมีอนุภาคไฟฟ้ าบวกอยูด่ ว้ ยอย่างแน่นอน โกลด์
สไตน์เรี ยกอนุภาคบวกนี้ วา่ โปรตอน
จากการทดลองของทอมสัน , โกลด์สไตน์ และนักวิทยาศาสตร์ อีกหลายท่าน ทาให้เชื่อว่า
ในอะตอมใดๆ จะต้องประกอบด้วยอนุภาคที่มีประจุบวก (โปรตอน) และอนุภาคที่มีประจุลบ
(อิเล็กตรอน) ทอมสันจึงได้เสนอแบบจาลองของอะตอมเอาไว้วา่
“ อะตอมมีลกั ษณะเป็ นทรงกลม ประกอบไปด้วยโปรตอน
ซึ่งมีประจุบวกและอิเล็กตรอนซึ่งมีประจุลบกระจายอยูท่ วั่ ไปอย่าง
สม่าเสมอและในอะตอมที่เป็ นกลางทางไฟฟ้ าจะมีจานวนโปรตอน แบบจาลองอะตอม
ของทอมสัน
เท่ากับจานวนอิเล็กตรอน ”
8. เราทราบว่าในอะตอมต้องมีอนุภาคไฟฟ้ าบวกเป็ นองค์ประกอบอยู่ จากการทดลองของใคร
1. ทอมสัน 2. โกลด์สไตล์ 3. มิลลิแกน 4. โบเทและเบเกอร์

6
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 อะตอมและตารางธาต ุ
9. จากการทดลองของโกลด์สไตล์ รังสี บวกในหลอดสุ ญญากาศเกิดจาก
1. อนุภาคไฟฟ้ าบวกหลุดออกมาจากขั้วแอโนด
2. อนุภาคบวกถูกสร้างขึ้นมาใหม่
3. อะตอมแก๊สในหลอดสุ ญญากาศเกิดการแตกตัว
4. ถูกทุกข้อ

10. รังสี แคโทดและรังสี แคแนล รังสี ชนิดไหนมีค่าประจุต่อมวลคงที่


1. รังสี แคโทด 2. รังสี แคแนล
3. ไม่คงที่ท้ งั สองรังสี 4. คงที่ท้ งั สองรังสี

11. ต่อไปนี้ ข้อใดเป็ นแบบจาลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน ตามลาดับ


e
+ +
– – – ++
+ + +
– – e
(ก) (ข) (ค) (ง)
1. ( ก ) , ( ข ) 2. ( ก ) , ( ค ) 3. ( ก ) , ( ง ) 4. ( ข ) , ( ค )

7
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 อะตอมและตารางธาต ุ

1.3 แบบจำลองอะตอมของรัทเทอร์ ฟอร์ ด


ในปี พ.ศ. 2454 รัทเทอร์ฟอร์ด
( Ernest Rutherford ) ได้ทาการทดลอง
ยิงรังสี แอลฟา ซึ่งเป็ นอนุภาคไฟฟ้ าบวก
เข้าไปกระทบแผ่นทองคาบางๆ ซึ่งล้อม
รอบไว้ดว้ ยฉากเรื องแสง ผลปรากฏว่า
รังสี แอลฟาส่ วนใหญ่ ทะลุแผนทองคา
ออกไปเห็นเส้นตรง ส่ วนน้อยเบี่ยงเบน e
แนวการเคลื่อนที่ และส่ วนน้อยที่สุดจะเกิดการสะท้อนย้อนกลับ ++

จากการทดลองนี้ ทาให้รัทเทอร์ ฟอร์ ดเสนอแบบจาลองอะตอมขึ้น e


แบบจาลองอะตอม
มาใหม่วา่ อะตอมประกอบด้วยนิวเคลียสที่มีขนาดเล็กมากอยูต่ รงกลาง ของรัทเทอร์ฟอร์ด
และมีประจุไฟฟ้ าเป็ นบวก โดยมีอิเล็กตรอนวิง่ วนอยูร่ อบๆ
รังสีสว่ นน้ อยเบี่ยงเบน
และรัทเทอร์ฟอร์ดได้ใช้แบบจาลอง e
อะตอมที่สร้างขึ้นใหม่ อธิบายผลการทด ++
ลองยิงรังสี แอลฟากระทบแผ่นทองคาบางว่า e
เมื่อรังสี แอลฟาทะลุเข้าอะตอมทองคา รังสี e รังสีสว่ นมาก
++ ทะลุตรง
ส่ วนมากจะลอดช่องว่าง ระหว่างนิวเคลียส
กับอิเล็กตรอนแล้วทะลุออกไปเป็ นเส้นตรง e
รังสี ส่วนน้อย จะ พุง่ เข้าใกล้นิวเคลียสซึ่ งมี รังสีน้อยที่สดุ สะท้ อนกลับ
ขนาดเล็กแล้วเกิดแรงผลักระหว่างประจุบวกของนิวเคลียส กับประจุบวกของรังสี แอลฟาแล้วทา
ให้รังสี แอลฟาเกิดการเบี่ยงเบน และรังสี ส่วนน้อยที่สุดจะพุง่ เข้าชนนิวเคลียสตรงๆ แล้วเกิดการ
สะท้อนย้อนกลับออกมา แต่การพุง่ เข้าใกล้กบั การพุง่ ชนตรงๆ จะเกิดได้นอ้ ยเพราะนิวเคลียสมี
ขนาดเล็กนัน่ เอง

8
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 อะตอมและตารางธาต ุ
12(มช 33 , 34) เมื่อยิงอนุภาคแอลฟาไปยังแผ่นโลหะทองบางๆ ( เลียนแบบการทดลองของรัท -
เทอร์ฟอร์ด ) ปรากฏการณ์ในข้อใดมีโอกาสเกิดได้นอ้ ยที่สุด
1. อนุภาคแอลฟาจะวิง่ ผ่านทะลุผา่ นทองคาเป็ นเส้นตรง
2. อนุภาคแอลฟาจะวิง่ สะท้อนกลับ
3. อนุภาคจะวิง่ เบนไปจากแนวเส้นตรงเล็กน้อย
4. อนุภาคแอลฟาจะวิง่ เบนไปจากแนวเส้นตรงค่อนข้างมาก

13. ต่อไปนี้ ข้อใดเป็ นแบบจาลองอะตอมของรัทเทอร์ ฟอร์ ด


e
+ +
– – – ++
+ + +
– – e
1. 2. 3. 4.

ต่อมา พ.ศ. 2473 W.Bothe


และ H.Becker นักเคมีชาวเยอรมันได้
ทาการทดลอง ใช้อนุภาคแอลฟายิงแผ่น
โลหะแบริ ลเลียม ปรากฏว่าเกิดรังสี
ซึ่งไม่มีประจุชนิดหนึ่งที่มีอานาจทะลุ
ทะลวงได้ดี และรังสี น้ ี เมื่อชนกับโมเลกุลของพาราฟิ นจะได้โปรตอนออกมา ต่อมาในปี
พ.ศ. 2475 Jame Chadwich ได้เสนอว่ารังสี น้ ีตอ้ งประกอบด้วยอนุภาคและให้ชื่อว่า นิวตรอน
และได้ทาการพิสูจน์ได้วา่ นิวตรอนไม่มีประจุ และคานวณมวลนิวตรอนได้ค่าใกล้เคียงกับมวล
ของโปรตอน

9
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 อะตอมและตารางธาต ุ
14. ข้อใดต่อไปนี้เป็ นชื่อนักวิทยาศาสตร์ ที่คน้ พบอิเล็กตรอน โปรตอน และนิวตรอน ตามลาดับ
1. ทอมสัน โกลด์สไตล์ รัทเทอร์ฟอร์ด
2. ทอมสัน โกลด์สไตล์ มิลลิแกน
3. ทอมสัน โกลด์สไตล์ โบเทและเบเกอร์
4. ดอลตัน ทอมสัน โกลด์สไตล์

1.4 อนุภำคมูลฐำนของอะตอม
ในปั จจุ บ นั นี้ เป็ นที่ ท ราบกันแล้วว่า อะตอมประกอบไปด้วยอนุ ภ าคที่ ส าคัญ สามชนิ ด
ได้แก่ อิเล็กตรอน โปรตอน และนิ วตรอน อนุ ภาคทั้งสามชนิ ดนี้ เรี ยกว่าอนุ ภำคมูลฐำนของ
อะตอม ซึ่ งมีคุณสมบัติดงั แสดงในตารางต่อไปนี้
อนุภาค ประจุ ( C ) ตัวแทน มวล (กรัม) มวล (a.m.u)
โปรตอน (p) +1.6 x 10–19 +1 1.672 x 10–24 1.007285
อิเล็กตรอน (e) –1.6 x 10–19 –1 9.108 x 10–28 0.000549
นิวตรอน (n) 0 0 1.674 x 10–24 1.008665
หมำยเหตุ : 1 a.m.u = 1.66 x 10–24 กรัม
สัญลักษณ์ของธาตุที่เขียนโดยแสดงรายละเอียดเกี่ยวกับจานวนอนุภาคมูลฐานของอะตอม
เรี ยกว่าสั ญลักษณ์นิวเคลียร์ รู ปแบบการเขียนเป็ นดังนี้
เลขมวล (A) = จานวนโปรตอน + นิวตรอน
= จานวนนิวคลีออน
AX
Z
เลขอะตอม (Z) = จานวนโปรตอน
เลขอะตอม ( Z ) คือจานวนโปรตอนที่มีในนิ วเคลียส และหากเป็ นอะตอมปกติจะเป็ น
กลางทางไฟฟ้ า ( ประจุไฟฟ้ ารวมเป็ นศูนย์ ) จานวนโปรตอนจะเท่ากับจานวนอิเล็กตรอน ดังนั้น
เลขอะตอมจะเท่ากับจานวนอิเล็กตรอนด้วย
10
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 อะตอมและตารางธาต ุ
เลขมวล ( A ) คือมวลรวมของอะตอม ปกติแล้วอิเล็กตรอนจะมีมวลน้อยมากเมื่อเทียบ
กับมวลโปรตอนและนิ วตรอน ดังนั้นมวลรวมของอะตอมจึงเป็ นมวลของโปรตอนรวมกับมวล
ของนิ ว ตรอนนั่น เอง และเนื่ อ งจากโปรตอนกับ นิ วตรอนแต่ ล ะตัว จะมี ม วลเท่ ากับ 1 มวล
อะตอมรวมแล้วจึ งเท่ากับ จานวนโปรตอนรวมกับ จานวนนิ วตรอน นั่นคื อเลขมวลจะเท่ ากับ
จานวนโปรตอน + จานวนนิวตรอน นัน่ เอง
ข้ อควรทรำบเกีย่ วกับสั ญลักษณ์นิวเคลียร์
1. เลขอะตอม = จานวนโปรตอน = ลาดับของธาตุในตารางธาตุ
@ ถ้ารู ้จานวนโปรตอน จะรู ้วา่ เป็ นธาตุลาดับที่เท่าไรในตารางธาตุ และเป็ นธาตุอะไร
@ ถ้าจานวนโปรตอนของอะตอมเปลี่ยนไปชนิดและสมบัติของอะตอมจะเปลี่ยนไป
@ อะตอมของธาตุชนิดเดียวกันจะมีจานวนโปรตอนเท่ากัน
2. อะตอมปกติ จานวน p = จานวน e จะทาให้ประจุไฟฟ้ ารวม = 0 (เป็ นกลางทางไฟฟ้ า)
หากอะตอมปกติรับอิเล็กตรอนเพิ่มเข้า 1 ตัว ประจุรวม = –1 เขียนสัญลักษณ์เป็ น AZ X1-
หากรับอิเล็กตรอนเพิ่มเข้า 2 ตัว ประจุรวม = –2 เขียนสัญลักษณ์เป็ น AZ X 2-
หากเสี ยอิเล็กตรอนออกไป 1 ตัว ประจุรวม = +1 เขียนสัญลักษณ์เป็ น AZ X1 
หากเสี ยอิเล็กตรอนออกไป 2 ตัว ประจุรวม = +2 เขียนสัญลักษณ์เป็ น AZ X 2 
จาไว้วา่ ถ้ามีประจุเป็ นลบแสดงว่ารับอิเล็กตรอนเพิม่
ถ้าประจุเป็ นบวกแสดงว่าเสี ยอิเล็กตรอนไป
3. จากสัญลักษณ์นิวเคลียร์
เลขมวล (A) บอกประจุ
4 He1 
2
เลขอะตอม (Z)
จะได้วา่ จานวนโปรตอน ( p ) = Z
จานวนนิวตรอน ( n ) = A – Z
  จานวนอิเล็กตรอนทีร่ ั บเพิม
่ 
จานวนอิเล็กตรอน ( e ) = Z + 
 
  จานวนอิเล็กตรอน ที่ เสี ย ไป
เมื่อ A คือเลขมวล Z คือ เลขอะตอม K คือ เลขบอกประจุไฟฟ้ า
11
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 อะตอมและตารางธาต ุ
15. ธาตุใดต่อไปนี้ เป็ นธาตุชนิดเดียวกัน 12 13 14 14
6A ,6B ,6C ,7D
1. A , B , C 2. A , C , D 3. B , C , D 4. A , B , C , D

16. สิ่ งที่บอกให้รู้วา่ อะตอมหรื อไอออนนั้นๆ เป็ นอะตอมของธาตุอะไรคือ


1. จานวนอิเล็กตรอน 2. จานวนโปรตอน
3. จานวนนิวตรอน 4. ถูกทุกข้อ

17. สมบัติของธาตุจะเปลี่ยนไปถ้าเราเปลี่ยน
1. จานวนอิเล็กตรอน 2. จานวนโปรตอน
3. จานวนนิวตรอน 4. ถูกทุกข้อ

12
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 อะตอมและตารางธาต ุ

ฝึ กทำ จงหาจานวนโปรตอน นิวตรอน และอิเล็กตรอน จากสัญลักษณ์ของอะตอมต่อไปนี้


40 Ar
1. 18 ตอบ p = …….. n = ……..…. e = ……….
39 K
2. 19 ตอบ p = …….. n = ……..…. e = ……….
235 U
3. 92 ตอบ p = …….. n = ……..…. e = ……….
4. 83
36 Kr ตอบ p = …….. n = ……..…. e = ……….
232 Th
5. 90 ตอบ p = …….. n = ……..…. e = ………..
เฉลย เนื่องจากทุกข้อย่อยเป็ นอะตอมปกติ ดังนั้นจานวนอิเล็กตรอนจะเท่ากับจานวนโปรตอน
1. 1840 Ar ตอบ p = 18 ; n = 40 – 18 = 22 ; e = 18
2. 1939 K ตอบ p = 19 ; n = 39 – 19 = 20 ; e = 19
3. 92235 U ตอบ p = 92 ; n = 235 – 92 = 143 ; e = 92
4. 8336 Kr ตอบ p = 36 ; n = 83 – 36 = 47 ; e = 36
5. 90232 Th ตอบ p = 90 ; n = 232 – 90 = 142 ; e = 90
18. ธาตุ J และ Q มีสัญลักษณ์ 22 34
10 J และ 16 Q ตามลาดับ ธาตุท้ งั สองมีจานวนโปรตอน
และนิวตรอนต่างกันเท่าใด
จานวนโปรตอนที่ต่างกัน จานวนนิวตรอนที่ต่างกัน
1. 12 18
2. 12 12
3. 6 12
4. 6 6

13
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 อะตอมและตารางธาต ุ

ฝึ กทำ จงหาจานวนโปรตอน นิวตรอน และ อิเล็กตรอน จากสัญลักษณ์ของอะตอมต่อไปนี้


1.31 3 ตอบ p= …….. n = …….. e = ……….
15 P
2.17 O 2 ตอบ p= …….. n = …….. e = ……….
8
3.35 1 ตอบ p= …….. n = …….. e = ……….
17 Cl
4.9 Be 2 ตอบ p= …….. n = …….. e = ……….
4
31 P 3 ประจุ –3
เฉลย 1. 15 แสดงว่ารับอิเล็กตรอนเพิ่ม 3 ตัว
ดังนั้น p = 15 ; n = 31 – 15 = 16 ; e = 15 + 3 = 18
2. 17 2 ประจุ –2 แสดงว่ารับอิเล็กตรอนเพิ่ม 2 ตัว
8 O
ดังนั้น p = 8 ; n = 17 – 8 = 9 ; e = 8 + 2 = 10
35 Cl1 ประจุ –1 แสดงว่ารับอิเล็กตรอนเพิ่ม 1 ตัว
3. 17
ดังนั้น p = 17 ; n = 35 – 17 = 18 ; e = 17 + 1 = 18
4. 94 Be 2 ประจุ +2 แสดงว่าเสี ยอิเล็กตรอนไป 2 ตัว
ดังนั้น p = 4 ; n = 9 – 4 = 5 ; e=4 – 2 = 2

14
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 อะตอมและตารางธาต ุ
19(แนว En) ข้อใดมีจานวนอิเล็กตรอนเท่ากับจานวนนิวตรอน
25 A 2
1. 12 2. 26 3. 75 3 4. 33 2
13 D 33 X 16Y

20. อนุภาคใดมีจานวนอิเล็กตรอนทั้งหมดเท่ากับจานวนอิเล็กตรอนของคลอรี นอะตอม


( เลขอะตอม H = 1 , O = 8 , F = 9 , Ne = 10 , S = 16 , Cl = 17 )
1. OF2 2. Ne– 3. OH– 4. S–

21(แนว En) ถ้าไอโซโทปหนึ่งของธาตุชนิ ดหนึ่ งมีประจุในนิวเคลียสเป็ น 3 เท่าของประจุใน


นิ วเคลียสของ 126 C และมีเลขมวลเป็ น 3.5 เท่าของ 126 C ไอโซโทปนี้ จะมีอนุ ภาคมูลฐาน
อย่างละกี่อนุภาค
1. 18e , 36p และ 18n 2. 12e และ 12p
3. 18e , 18p และ 24n 4. 18e , 18p และ 18n

15
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 อะตอมและตารางธาต ุ

1.5 ไอโซโทป ไอโซบำร์ ไอโซโทน และไอโซอิเล็กทรอนิก


ไอโซโทป คืออะตอมของธาตุเดียวกัน แต่มีมวลไม่เท่ากัน
เช่น 126 C กับ 136 C กับ 146 C
16 O กับ 18 O
8 8
สาเหตุที่เลขมวลไม่เท่ากัน เพราะมีจานวนนิวตรอนไม่เท่ากัน
ไอโซบาร์ คืออะตอมของธาตุต่างชนิ ดกัน แต่มีมวลเท่ากัน
เช่น 146 C กับ 147 N
ไอโซโทน คืออะตอมธาตุต่างชนิดกัน แต่มีจานวนนิวตรอนเท่ากัน
เช่น 39 40
19 K กับ 20 Ca ทั้งสองตัวนี้ มีจานวนนิวตรอน 20 ตัวเท่ากัน
ไอโซอิเล็กทรอนิก คืออะตอมธาตุต่างชนิดกัน แต่มีจานวนอิเล็กตรอนเท่ากัน
เช่น 168 O 2  กับ 20
10 Ne ทั้งสองตัวนี้ มีจานวนอิเล็กตรอน 10 ตัวเท่ากัน
22. อะตอมคู่ใดเป็ นไอโซโทปกัน
1. am A nb A 2. am B nb B 3. am C an C 4. nb D nb D

23. อะตอมของธาตุคู่ใดที่เป็ นไอโซโทนกัน


1. 12 13 2. 12 14 3. 14 16 4. 14 15
6C 6C 6C 7 N 6 C 8 O 7 N 7 N

16
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 อะตอมและตารางธาต ุ
24(แนว Pat) อะตอม 40 39 2
18 Ar และไอออน 20 Ca มีความสัมพันธ์ต่อกันดังข้อใด
1. ไอโซโทป 2. ไอโซโทน 3. ไอโซบาร์ 4. ไอโซอิเล็กทรอนิก

25(แนว Pat) อะตอมหรื อไอออนของธาตุคู่ใดเป็ นไอโซอิเล็กทรอนิก


1. O และ N 2. O+ และ Ar 3. S2– และ Ne 4. S2– และ Ar

17
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 อะตอมและตารางธาต ุ
1.6 แบบจำลองอะตอมของโบร์
1.6.1 คลืน่ แม่ เหล็กไฟฟ้ำ
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า คือคลื่นที่เกิดจากการเหนี่ยวนาของสนามไฟฟ้ าและสนามแม่เหล็ก
เหนี่ยวนาซึ่งกันและกันอย่างต่อเนื่องไม่รู้จบ
แหล่งกาเนิดคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าที่ใหญ่ที่สุดในจักรวาลนี้ คือดวงอาทิตย์
คลื่ นแม่เหล็ก ไฟฟ้ าที่ ออกมาจากดวงอาทิ ตย์ แบ่ งแยกได้ 8 ชนิ ด แต่ละชนิ ดเรี ยกว่า
สเปกตรัม ดังแสดงในตารางต่อไปนี้
กำรเรียงลำดับ กำรเรียงลำดับ กำรเรียงลำดับ
สเปกตรัม ควำมยำวคลืน่ ควำมถี่ พลังงำน
รังสี แกมมา น้อย มาก มาก
รังสี เอ๊กซ์
รังสี อลั ตราไวโอเลต
แสงขาว
รังสี อินฟราเรด
คลื่นไมโครเวฟ
คลื่นวิทยุ
ไฟฟ้ ากระแสสลับ มาก น้อย น้อย
อย่ำลืม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าทุกสเปกตรัม จะมีความเร็ วเท่ากันหมด คือ 3 x 108 m/s
เราสามารถคานวณหาค่าความถี่ และความยาวคลื่นของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า ได้จากสมการ
C = f
และสามารถคานวณหาค่าพลังงานของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าได้จากสมการ
E = hf และ E = hC
เมื่อ E = พลังงานของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า (จูล) h = ค่านิจของพลังค์ = 6.62x10–34 J.s
f = ความถี่ (s–1)  = ความยาวคลื่น (m)
C = ความเร็ วคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า = 3 x 108 เมตร/วินาที

18
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 อะตอมและตารางธาต ุ
26. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า
1. รังสี เอ็กซ์ 2. แสง 3. คลื่นเสี ยง 4. คลื่นวิทยุ

27. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าต่อไปนี้สเปกตรัมไหนมีพลังงานสู งที่สุด


1. รังสี เอ็กซ์ 2. แสง 3. รังสี อินฟราเรด 4. คลื่นวิทยุ

28. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าต่อไปนี้สเปกตรัมไหนมีความเร็ วสู งที่สุด


1. รังสี เอ็กซ์ 2. แสง 3. รังสี อินฟราเรด 4. ความเร็ วเท่ากัน

19
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 อะตอมและตารางธาต ุ
29. สเปกตรัมสี แดงของโพแทสเซียมมีความถี่ 3 x 1014 เฮิรตซ์ จะมีความยาวคลื่นเท่าใด
1. 1 x 10–5 m 2. 1 x10–6 m 3. 1 x10–7 m 4. 1 x10–8 m

30. เส้ น สเปกตรั ม เส้ น หนึ่ งของธาตุ ซี เซี ย มมี ค วามยาวคลื่ น 400 นาโนเมตร ความถี่ ข อง
สเปกตรัมเส้นนี้ มีค่ากี่เฮิรตซ์
1. 1.3 x 1014 2. 7.5 x 1014 3. 1.3 x 1015 4. 7.5 x 1015

31. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าที่มีความถี่ 8 x 1014 เฮิรตซ์ จะมีพลังงานกี่จูล


1. 3.33 x 10–19 2. 4.58 x 10–19 3. 5.30 x 10–19 4. 7.35 x 10–19

20
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 อะตอมและตารางธาต ุ
32. คลื่นแม่เหล็กความยาวคลื่น 300 นาโนเมตร จะปรากฏในช่วงคลื่นแสงที่มีพลังงานกี่จูล
1. 5.31 x 10–19 2. 6.62 x 10–19 3. 7.63 x 10–19 4. 8.32 x 10–19

33(แนว มช) คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าที่มีพลังงาน 3 x 10–19 จูล จะเป็ นแสงสี อะไร


กำหนดให้ แสงสี ช่ วงควำมยำวคลืน่ ( n m )
เขียว 490 – 580
เหลือง 580 – 590
ส้ม 590 – 650
แดง 650 – 700
h = 6.6 x 10–34 J.s c = 3.0x108 ms–1 1 nm = 10–9 m
ข้อที่ถูกต้องคือข้อใด
1. แดง 2. ส้ม 3. เหลือง 4. เขียว

21
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 อะตอมและตารางธาต ุ

1.6.2 สเปกตรัมของธำตุ และแบบจำลองอะตอมของโบร์


โบร์ ได้เสนอแบบจาลองอะตอมของไฮโดรเจนขึ้นมา โดยอาศัยความรู ้เรื่ องการ
เปลี่ยนแปลงพลังงานของอิเล็กตรอนและการเกิด
สเปกตรัม โดยกล่าวว่า อะตอมไฮโดรเจนจะมี
โปรตอน 1 ตัวอยูใ่ นนิวเคลียสตรงกลางอะตอม
อิเล็กตรอนจะเคลื่อนที่รอบนิวเคลียส โดยมีแนว
การเคลื่อนที่เป็ นวงหลายๆ วง คล้ายวงโคจรของ
ดาวเคราะห์รอบดวงอาทิตย์ แต่ละวงจะมีระดับ
พลังงานเฉพาะตัว ระดับพลังงานในสุ ดจะเรี ยก
ระดับ K ถัดออกมาจะเรี ยกเป็ นระดับ L , M ,
N , …. ตามลาดับ ต่อมาได้มีการใช้ตวั เลขแสดงถึงระดับพลังงานของอิเล็กตรอน โดย
n = 1 หมายถึงระดับพลังงานที่ 1 คือชั้นในสุ ดและชั้นถัดออกมาจะเป็ นชั้น n = 2 , n = 3 ,
….. ตามลาดับ
ข้ อควรทรำบเพิม่ เติมเกีย่ วกับแบบจำลองอะตอมของโบร์
1. ระดับ พลังงานในสุ ด ( n = 1 ) จะเป็ นระดับ ที่ มีพ ลังงานต่ าสุ ด และถัดออกมาจะเป็ น
ระดับที่มีพลังงานมากขึ้นเรื่ อยๆ และปกติอิเล็กตรอนชอบที่จะอยูช่ ้ นั ในสุ ด ( n = 1 ) เพราะจะมี
เสถียรภาพมากที่สุด ภาวะเช่นนี้เรี ยก สภำวะพืน้ ( Ground State )
2. หากอิเล็กตรอนได้รับพลังงานที่เหมาะสม อิเล็กตรอนจะดูดพลังงานนั้นแล้วเคลื่ อนย้าย
จากระดับ พลังงานต่ าขึ้ นไประดับ พลังงานสู งกว่าเดิ ม เรี ยกภาวะเช่ นนี้ ว่าเป็ น สภาวะกระตุ น้
( Excited State ) แต่ ภ าวะถู ก กระตุ ้ น นี้ อิ เล็ ก ตรอนจะมี พ ลั ง งานมากเกิ น ไปจึ ง ไม่ เสถี ย ร
อิเล็กตรอนจะคายพลังงานส่ วนหนึ่งออกมแล้วเคลื่อนย้ายลงมาอยูใ่ นระดับพลังงานที่ต่ากว่าเดิม

22
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 อะตอมและตารางธาต ุ
3. พลังงานที่อิเล็กตรอนคายออกมาจะอยูใ่ นรู ปของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าเสมอ
ตัวอย่างการคายพลังงานของอิเล็กตรอนของอะตอมไฮโดรเจนเกิดเป็ นสเปกตรัมดังนี้
กำรเคลือ่ นอิเล็กตรอน คลืน่ แม่ เหล็กไฟฟ้ำทีค่ ำย ชื่ อชุ ดสเปกตรัม (อนุกรม)
จากชั้นบน ลงมา ชั้น 1 รังสี อลั ตราไวโอเลต ไลมาน
จากชั้น 6 ลงมา ชั้น 2 แสงสี ม่วง (410 nm)
จากชั้น 5 ลงมา ชั้น 2 แสงสี น้ าเงิน(434 nm)
บาลเมอร์
จากชั้น 4 ลงมา ชั้น 2 แสงสี น้ าทะเล (484 nm)
จากชั้น 3 ลงมา ชั้น 2 แสงสี แดง (656 nm)
จากชั้นบน ลงมา ชั้น 3 รังสี อินฟราเรด พาสเชน
จากชั้นบน ลงมา ชั้น 4 รังสี อินฟราเรด แบรกเกต
จากชั้นบน ลงมา ชั้น 5 รังสี อินฟราเรด ฟรันด์

23
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 อะตอมและตารางธาต ุ
34. ต่อไปนี้ขอ้ ใดเป็ นแบบจาลองอะตอมของรัทเทอร์ ฟอร์ ดและโบร์ ตามลาดับ
e
+ +
– – – ++
+ + +
– – e
(ก) (ข) (ค) (ง)
1. ( ก ) , ( ข ) 2. ( ก ) , ( ค ) 3. ( ค ) , ( ง ) 4. ( ข ) , ( ค )

35. สภาวะที่อิเล็กตรอนอยูใ่ นระดับพลังงานต่าสุ ด เรี ยกว่าสภาวะใด


1. สภาวะพื้น 2. สภาวะถูกกระตุน้ 3. สภาวะปกติ 4. สภาวะเริ่ มต้น

36. สภาวะที่อิเล็กตรอนอยูใ่ นระดับพลังงานที่สูงกว่าปกติ เรี ยกว่าสภาวะใด


1. สภาวะพื้น 2. สภาวะถูกกระตุน้ 3. สภาวะปกติ 4. สภาวะเริ่ มต้น

24
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 อะตอมและตารางธาต ุ
37. การเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนจากระดับพลังงานต่าไประดับพลังงานสู งเป็ นกระบวนการดูด
พลังงานหรื อคายพลังงาน
1. ดูดพลังงาน 2. คายพลังงาน
3. ดูดพลังงานก่อนแล้วจึงคายพลังงาน 4. คายพลังงานก่อนแล้วจึงดูด

38. การเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนจากระดับพลังงานสู งลงมาระดับพลังงานต่าเป็ นกระบวนการ


ดูดพลังงานหรื อคายพลังงาน
1. ดูดพลังงาน 2. คายพลังงาน
3. ดูดพลังงานก่อนแล้วจึงคายพลังงาน 4. คายพลังงานก่อนแล้วจึงดูด

39. อนุกรมของเส้นสเปกตรัมชุดใด ที่ปลดปล่อยพลังงานโฟตอนเป็ นอัลตราไวโอเลต


1. อนุกรมไลมาน 2. อนุกรมบาล์มเมอร์
3. อนุกรมพาสเซน 4. อนุกรมแบรกเกต

25
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 อะตอมและตารางธาต ุ
40. อนุกรมของเส้นสเปกตรัมชุดแบรกเกตให้พลังงานในระดับรังสี ใด
1. อัลตราไวโอเลต 2. อินฟาเรด
3. รังสี เอกซ์ 4. แสงที่ตาสัมผัสได้

41. สเปกตรัมของอะตอมไฮโดรเจนชุดใดที่ตามองเห็นได้
1. ชุดไลมาน 2. ชุดบาล์มเมอร์
3. ชุดพาสเซน 4. ชุดฟรันด์

42(แนว En) จากระดับพลังงานของอิเล็กตรอนในอะตอมของธาตุ ก าหนดให้ Exy เป็ นผลต่าง


ของระดับพลังงานต่างๆ ในอะตอม เมื่อ x เป็ นระดับพลังงานตั้งต้น y เป็ นระดับพลังงาน
สุ ดท้าย ข้อใดถูกต้อง
1. E54 < E32 2. E54 > E32
3. E54 = E32 4. ระบุไม่ได้

26
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 อะตอมและตารางธาต ุ
43. การเปลี่ยนสถานะต่อไปนี้ของอะตอมไฮโดรเจน ข้อใดจะปล่อยโฟตอนที่มีพลังงานสู งกว่า
1. n = 1 ไป n = 2 2. n = 2 ไป n = 1
3. n = 2 ไป n = 6 4. n = 6 ไป n = 2

44. การเปลี่ยนสถานะต่อไปนี้ของอะตอมไฮโดรเจน ข้อใดจะดูดโฟตอนที่มีพลังงานสู งกว่า


1. n = 1 ไป n = 2 2. n = 2 ไป n = 1
3. n = 2 ไป n = 6 4. n = 6 ไป n = 2

45(มช 44) แสงสี เหลืองในเปลวไฟที่สามารถสังเกตเห็นได้ เมื่อเผาสารประกอบของโซเดียม


เกิดจากอะไร
1. อิเล็กตรอนมีการเลื่อนชั้นกลับลงมาสู่ สถานะพื้น และคายพลังงานส่ วนหนึ่งออกมา
2. อิเล็กตรอนมีการเลื่อนชั้นขึ้นไปอยูใ่ นสถานะกระตุน้ และดูดพลังงานส่ วนหนึ่งเข้าไป
3. อิเล็กตรอนได้รับพลังงานจากเปลวไฟจึงเคลื่อนที่ไปมาระหว่างระดับชั้นพลังงานต่างๆ
4. อิเล็กตรอนหลุดออกไปจากอะตอมของโซเดียมหลังจากที่ได้รับพลังงานที่มีค ่ามาก
กว่าค่า Ionization energy

27
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 อะตอมและตารางธาต ุ
46. สเปคตรัมที่ได้จากอะตอมของธาตุต่าง ๆ จะ
1. เหมือนกันสาหรับธาตุทุกธาตุ 2. จะแสดงคุณสมบัติเฉพาะของแต่ละธาตุ
3. จะได้เป็ นแถบสว่างเสมอ 4. ได้เป็ นเส้นมืดเสมอ

47(แนว En) ความยาวคลื่นของเส้นสเปกตรัม 4 เส้น


A = 404 nm B = 450 nm C = 455 nm D = 608 nm
เส้นสเปกตรัมใดที่แสดงว่าอิเล็กตรอนมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานมากที่สุด
1. A เท่านั้น 2. B และ C 3. C เท่านั้น 4. D เท่านั้น

48(แนว มช) ไดอะแกรมต่อไปนี้แสดงการเคลื่อน


ที่ของอิเล็กตรอนระหว่างระดับพลังงานต่าง ๆ
ของไฮโดรเจนอะตอมการเคลื่อนที่ใน ข้อใด
จะให้สเปกตรัมที่มีความยาวคลื่นต่าสุ ด
1. B 2. C 3. D 4. E

28
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 อะตอมและตารางธาต ุ

1.6.3 กำรจัดเรียงอิเล็กตรอนในอะตอม
1.6.3.1 กำรจัดเรียงอิเล็กตรอนในอะตอมในระดับพลังงำนหลัก
จากแบบจาลองอะตอมของโบร์ ระดับพลังงานของอิเล็กตรอนแต่ละระดับ จะมีความ
สามารถในการบรรจุอิเล็กตรอนได้ไม่เท่ากัน
โดย จานวนอิเล็กตรอนที่มีได้มากที่สุดในระดับพลังงานที่ n = 2n 2
เมื่อ n คือ ลาดับที่ของชั้นพลังงาน
เช่ น ชั้น K (ชั้นที่ 1) เก็บอิเล็กตรอนได้สูงสุ ด = 2 (12) = 2
ชั้น L (ชั้นที่ 2) เก็บอิเล็กตรอนได้สูงสุ ด = 2 (22) = 8
ชั้น M (ชั้นที่ 3) เก็บอิเล็กตรอนได้สูงสุ ด = 2 (32) = 18
ชั้น N (ชั้นที่ 4 ) เก็บอิเล็กตรอนได้สูงสุ ด = 2 ( 42) = 32
ชั้น O (ชั้นที่ 5 ) เก็บอิเล็กตรอนได้สูงสุ ด = 2 ( 52) = 50
หลักการจัดเรียงอิเล็กตรอนในอะตอมสาหรับ 20 ธาตุแรกของตารางธาตุ
1. ต้องจัดเรี ยงอิ เล็กตรอนลงระดับพลังงานในสุ ด ( ชั้น K ) ให้เต็มก่ อน แล้วจึ งจัดเรี ยง
อิเล็กตรอนลงระดับพลังงานถัดออกมาข้างนอกให้เต็มทีละระดับ
2. จานวนอิ เล็ กตรอนในระดับ พลังงานนอกสุ ด ( เรี ยกว่าเวเลนซ์ อิเล็ กตรอน , valence
electron ) จะมีได้ไม่เกิน 8 ตัวเสมอ ไม่วา่ จะเป็ นระดับพลังงานที่เท่าใดก็ตาม

29
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 อะตอมและตารางธาต ุ
ตำรำงกำรจัดเรียงอิเล็กตรอนของ 20 ธำตุแรกในตำรำงธำตุ

K L M
หมำยเหตุ : พิจารณาธาตุที่ 19 ( K ) มีอิเล็กตรอน 19 ตัว ควรจัดเรี ยงเป็ น เพราะ
2 8 9
ระดับพลังงาน M เก็บอิเล็กตรอนได้สูงสุ ดถึง 18 ตัว แต่เนื่องจากระดับพลังงานนอกสุ ดจะมี
อิเล็กตรอนได้ไม่เกิน 8 ตัวไม่วา่ จะเป็ นชั้นอะไรก็ตาม
K L M N
ดังนั้นการจัดเรี ยงอิเล็กตรอนของ K จึงต้องเปลี่ยนเป็ น
2 8 8 1
K L M N
และสาหรับธาตุที่ 20 ( Ca ) มีอิเล็กตรอน 20 ตัว จะจัดเรี ยงเป็ น
2 8 8 2

30
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 อะตอมและตารางธาต ุ
ฝึ กทำ ให้เขียนจานวนอิเล็กตรอนลงในตารางต่อไปนี้ให้สมบูรณ์
ธำตุ K L M ธำตุ K L M N
H (1) Na (11)
He (2) Mg(12)
Li (3) Al (13)
Be (4) Si (14)
B (5) P (15)
C (6) S (16)
N (7) Cl (17)
O (8) Ar (18)
F (9) K (19)
Ne (10) Ca (20)
เฉลย
ธำตุ K L M ธำตุ K L M N
H (1) 1 Na (11) 2 8 1
He (2) 2 Mg(12) 2 8 2
Li (3) 2 1 Al (13) 2 8 3
Be (4) 2 2 Si (14) 2 8 4
B (5) 2 3 P (15) 2 8 5
C (6) 2 4 S (16) 2 8 6
N (7) 2 5 Cl (17) 2 8 7
O (8) 2 6 Ar (18) 2 8 8
F (9) 2 7 K (19) 2 8 8 1
Ne (10) 2 8 Ca (20) 2 8 8 2

เทคนิคกำรจัดเรียงอิเล็กตรอนในระดับพลังงำนหลัก (เบือ้ งต้ น)


ขั้น 1. นาจานวนอิเล็กตรอนทั้งหมดลบออกด้วย
2 , 8 , 18 , 32หรื อ18 , 32หรื อ18 , 18 , 8 , 2 ทีละตัว
จนกว่าจะลบต่อไม่ได้

31
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 อะตอมและตารางธาต ุ
ขั้น 2. ให้นาตัวที่ใช้ลบทั้งหมด และผลลบที่เหลือสุ ดท้ายมาเรี ยงเป็ นคาตอบได้เลย
แต่ถา้ ผลลบสุ ดท้ายเหลือ 9 ให้แบ่งเป็ น 8 , 1
ถ้าผลลบสุ ดท้ายเหลือ 10 ให้แบ่งเป็ น 8 , 2
ถ้าผลลบสุ ดท้ายเหลือ 11 ให้แบ่งเป็ น 9 , 2
ถ้าผลลบสุ ดท้ายเหลือ 12 ให้แบ่งเป็ น 10 , 2
ถ้าผลลบสุ ดท้ายเหลือ 13 ให้แบ่งเป็ น 11 , 2 คือแบ่งเป็ นเลข 2 ไว้
ถ้าผลลบสุ ดท้ายเหลือ 14 ให้แบ่งเป็ น 12 , 2 วงนอกสุด แล้วเขียน
ถ้าผลลบสุ ดท้ายเหลือ 15 ให้แบ่งเป็ น 13 , 2 จานวนอิเล็กตรอนที่เหลือ
ถ้าผลลบสุ ดท้ายเหลือ 16 ให้แบ่งเป็ น 14 , 2 ไว้ช้ นั ถัดเข้ามาด้านใน
ถ้าผลลบสุ ดท้ายเหลือ 17 ให้แบ่งเป็ น 15 , 2
ถ้าผลลบสุ ดท้ายเหลือ 18 ให้แบ่งเป็ น 16 , 2
แล้วจึงนาไปต่อท้ายตัวที่ใช้ลบ

หมำยเหตุ :
1) ธาตุที่ 24 ( Cr ) , 29 ( Cu ) , 41 ถึง 45 , 47 , 78 , 110 , 111 ต้องแบ่งอิเล็กตรอนนอกสุ ด
โดยเขียนเป็ นเลข 1 ไว้วงนอกสุ ด แล้วเขียนจานวนอิเล็กตรอนที่เหลือไว้ช้ ันถัดเข้ามาด้านใน
ธาตุที่ 46 ( Pd ) ต้องแบ่ งอิ เล็กตรอนนอกสุ ดโดยเขียนเป็ นเลข 0 ไว้วงนอกสุ ด แล้ว
เขียนจานวนอิเล็กตรอนที่เหลือไว้ช้ นั ถัดเข้ามาด้านใน
2) หลักเกณฑ์ท้ งั หมดนี้ไม่สามารถใช้ได้กบั ธาตุแทรนซิชนั ใน (แลนทาไนด์ , แอกทิไนท์ )
ตัวอย่ำงที่ 1 จงจัดเรี ยงอิเล็กตรอนของ 82Pb
แนวคิด ขั้น 1. 82 – 2 – 8 – 18 – 32 – 18 เหลือ 4
ลบด้วย 2 ลบต่อด้วย 8 ลบต่อด้วย 18 ลบต่อด้วย 32 ลบต่อด้วย 32 ไม่ได้
เหลือ 80 เหลือ 72 เหลือ 54 เหลือ 22 ให้ลบ 18
เหลือ 4
ขั้น 2. เหลือ 4 ( ไม่เกิน 10 ) นาตัวเลขที่ใช้ลบและที่เหลือสุ ดท้ายมาเรี ยงเป็ นคาตอบ
82Pb จัดเรี ยงอิเล็กตรอนเป็ น 2 , 8 , 18 , 32 , 18 , 4

32
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 อะตอมและตารางธาต ุ
ตัวอย่ำงที่ 2 จงจัดเรี ยงอิเล็กตรอนของ 52Te
แนวคิด ขั้น 1. 52 – 2 – 8 – 18 – 18 เหลือ 4
ลบด้วย 2 ลบต่อด้วย 8 ลบต่อด้วย 18 ลบต่อด้วย 32
ขั้น 2. เหลื
เหลืออ 50
4 ( ไม่เเหลื
กินอ1042) นาตัวเหลื
เลขที
อ 24่ใช้ลบและที
ไม่ได้ใ่เห้หลื
ลบอ18
สุ ดท้ายมาเรี ยงเป็ นคาตอบ
52Te จัดเรี ยงอิเล็กตรอนเป็ น 2 , 8 , 18 ,เหลื
18อ ,4 4
ตัวอย่ำงที่ 3 จงจัดเรี ยงอิเล็กตรอนของ 38Sr
แนวคิด ขั้น 1. 38 – 2 – 8 – 18 เหลือ 10
ลบด้วย 2 ลบต่อด้วย 8 ลบต่อด้วย 18
เหลือ 36 เหลือ 28 เหลือ 10

ขั้น 2. เหลือ 10 ให้แบ่งเป็ น 8 , 2 แล้วนาไปต่อตัวที่ใช้ลบ


38Sr จัดเรี ยงอิเล็กตรอนเป็ น 2 , 8 , 18 , 8 , 2
ตัวอย่ำงที่ 4 จงจัดเรี ยงอิเล็กตรอนของ 39Y
แนวคิด ขั้น 1. 39 – 2 – 8 – 18 เหลือ 11
ลบด้วย 2 ลบต่อด้วย 8 ลบต่อด้วย 18
เหลือ 37 เหลือ 29 เหลือ 11
ขั้น 2. เหลือ 11 ให้แบ่งเป็ น 9 , 2 แล้วนาไปต่อตัวที่ใช้ลบ
นัน่ คือ 39Y จัดเรี ยงอิเล็กตรอนเป็ น 2 , 8 , 18 , 9 , 2
ฝึ กทา อะตอมที่มีจานวนอิเล็กตรอนดังต่อไปนี้ จะมีการจัดเรี ยงอิเล็กตรอนอย่างไร
82 อิเล็กตรอน เรี ยงเป็ น ............
53 อิเล็กตรอน เรี ยงเป็ น ............
33 อิเล็กตรอน เรี ยงเป็ น ............
37 อิเล็กตรอน เรี ยงเป็ น ............
88 อิเล็กตรอน เรี ยงเป็ น ............
เฉลย 82 อิเล็กตรอน เรี ยงเป็ น 2 , 8 , 18 , 32 , 18 , 4
53 อิเล็กตรอน เรี ยงเป็ น 2 , 8 , 18 , 18 , 7
33 อิเล็กตรอน เรี ยงเป็ น 2 , 8 , 18 , 5
33
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 อะตอมและตารางธาต ุ
37 อิเล็กตรอน เรี ยงเป็ น 2 , 8 , 18 , 8 , 1
88 อิเล็กตรอน เรี ยงเป็ น 2 , 8 , 18 , 32 , 18 , 8 , 2
ฝึ กทา อะตอมที่มีจานวนอิเล็กตรอนดังต่อไปนี้ จะมีการจัดเรี ยงอิเล็กตรอนอย่างไร
21 อิเล็กตรอน เรี ยงเป็ น ............
25 อิเล็กตรอน เรี ยงเป็ น ............
28 อิเล็กตรอน เรี ยงเป็ น ............
31 อิเล็กตรอน เรี ยงเป็ น ............
39 อิเล็กตรอน เรี ยงเป็ น ............
เฉลย 21 อิเล็กตรอน เรี ยงเป็ น 2 , 8 , 9 , 2
25 อิเล็กตรอน เรี ยงเป็ น 2 , 8 , 13 , 2
28 อิเล็กตรอน เรี ยงเป็ น 2 , 8 , 16 , 2
31 อิเล็กตรอน เรี ยงเป็ น 2 , 8 , 18 , 3
39 อิเล็กตรอน เรี ยงเป็ น 2 , 8 , 18 , 9 , 2

49(แนว En) จานวนอิเล็กตรอนมากที่สุดที่ระดับพลังงาน n = 5 ที่อะตอมสามารถรับได้และ


การจัดอิเล็กตรอนในอะตอมของอินเดียม (In) ซึ่ งมีเลขอะตอมเท่ากับ 49 เป็ นไปตามข้อใด
จำนวนอิเล็กตรอนทีส่ ำมำรถรับได้ กำรจัดอิเล็กตรอนของ In
1. 49 2 , 8 , 8 , 18 , 8 , 5
2. 50 2 , 8 , 8 , 18 , 11 , 2
3. 49 2 , 8 , 18 , 18 , 3
4. 50 2 , 8 , 18 , 18 , 3

34
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 อะตอมและตารางธาต ุ
50(แนว En) ธาตุ 40
20 X มีการจัดเรี ยงอิเล็กตรอนเป็ นไปตามข้อใด
1. 2 8 2 2. 2 8 18 2 3. 2 8 8 2 4. 2 8 18 10 2

51(มช 31) Mg2+ ion จะมีการจัดอิเล็กตรอน (electron configuration) เหมือนกับ


1. Na 2. Ar 3. F– 4. Ca2+

52(En 40) ไอออนหรื ออะตอมในข้อใดที่มีการจัดอิเล็กตรอนเหมือนกับคลอไรด์ไอออน


1. F– 2. Ne 3. Al3+ 4. Ca2+

53. 22Ti2+ ion จะมีการจัดอิเล็กตรอน (electron configuration) เหมือนกับ


1. 20Ca 2. 21Sc+ 3. 23V3+ 4. ไม่มีขอ้ ถูก

35
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 อะตอมและตารางธาต ุ

1.6.3.2 กำรจัดเรียงอิเล็กตรอนในอะตอมในระดับพลังงำนย่อย
ในปัจจุบนั นักวิทยาศาสตร์ ได้ทาการศึกษาสเปกตรัมของธาตุต ่างๆ โดยละเอียดทา
ให้ทราบว่าระดับพลังงานหลัก ( n ) ยังแบ่งออกเป็ นระดับพลังงานย่อย ( Energy Sublevels ) ได้
อีก ระดับพลังงานย่อยที่คน้ พบแล้วได้แก่
1. s เก็บอิเล็กตรอนได้สูงสุ ด 2 ตัว 2. p เก็บอิเล็กตรอนได้สูงสุ ด 6 ตัว
3. d เก็บอิเล็กตรอนได้สูงสุ ด 10 ตัว 4. f เก็บอิเล็กตรอนได้สูงสุ ด 14 ตัว
5. g เก็บอิเล็กตรอนได้สูงสุ ด 18 ตัว 6. h เก็บอิเล็กตรอนได้สูงสุ ด 22 ตัว
ระดับพลังงานหลักแต่ละระดับ จะมีจานวนระดับพลังงานย่อยไม่เท่ากัน
ระดับพลังงาน K (1) มี 1 ระดับพลังงานย่อย ได้แก่ 1s
ระดับพลังงาน L (2) มี 2 ระดับพลังงานย่อย ได้แก่ 2s 2p
ระดับพลังงาน M (3) มี 3 ระดับพลังงานย่อย ได้แก่ 3s 3p 3d
ระดับพลังงาน N (4) มี 4 ระดับพลังงานย่อย ได้แก่ 4s 4p 4d 4f
ระดับพลังงาน O (5) มี 5 ระดับพลังงานย่อย ได้แก่ 5s 5p 5d 5f 5g
หมายเหตุ : ตัวเลขที่อยูห่ น้าระดับพลังงานย่อย เขียนเพื่อแสดงให้รู้ว่า ระดับพลังงานย่อยนั้นอยู่
ในระดับพลังงานหลักที่เท่าใด เช่น 1s ให้รู้ว่าระดับพลังงานย่อย s อยูใ่ นระดับพลังงานที่ 1
คือ ชั้น K เป็ นต้น
เนื่องจากระดับพลังงานหลักชั้นบนๆ แต่ ล ะระดับ จะอยู่ ชิ ด กัน มาก จึ ง ท าให้ ร ะดับ
พลังงานย่อยของชั้นเหล่านั้นเกิ ดการเหลื่ อมล้ ากัน เช่ นดังรู ปพิจารณาชั้น 3d กับ 4s จะพบว่า
ชั้น 3d ควรอยูด่ า้ นในกว่าเพราะเป็ นระดับย่อยของชั้น 3 แต่ในอะตอมจริ งๆ นั้น ชั้น 4s จะอยู่
ในกว่าชั้น 3d เพราะระดับพลังงานหลักชั้น 4 กับชั้น 3 อยูช่ ิ ดกันมากจึงทาให้เกิดการเหลื่อม
ล้ ากันนัน่ เอง

36
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 อะตอมและตารางธาต ุ

เรำสำมำรถหำลำดับกำรเรี ยงระดับพลังงำนย่ อยจำกชั้ นต่ำสุ ดออกไปได้ ดังนี้


ขั้น 1. เขียนแผนภาพดังนี้

ขั้น 2. เขียนระดับพลังงานย่อยตามแนวลูกศรทีละเส้นจากล่างสุ ดขึ้นบนสุ ด จะได้


ระดับพลังงานย่อยเรี ยงลาดับจากต่าสุ ดขึ้นไปดังนี้
1s , 2s , 2p , 3s , 3p , 4s , 3d , 4p , 5s , 4d , 5p , 6s , 4f , 5d , 6p , 7s , 5f , ….

37
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 อะตอมและตารางธาต ุ
วิธีกำรจัดเรียงอิเล็กตรอนในระดับพลังงำนย่อย
ขั้น 1. ให้ จดั เรี ย งอิ เล็ ก ตรอนแบบระดับ พลังงานหลัก ก่ อน แล้วจึ ง เขี ย นระดับ
พลังงานย่อยที่ มีในแต่ละระดับพลังงานหลัก โดยต้องเรี ยงให้ถูกต้องตามการเหลื่ อมล้ าของ
ระดับพลังงานด้วย
ขั้น 2. ใส่ จานวนอิ เล็กตรอนลงในแต่ละระดับพลังงานย่อย โดยใส่ ช้ นั ในให้เต็ม
ก่อน แล้วจึงใส่ ช้ นั นอกถัดมา
อย่าลืมว่าระดับพลังงานย่อยแต่ละระดับจะเก็บอิเล็กตรอนได้ดงั นี้
s เก็บอิเล็กตรอนได้สูงสุ ด 2 ตัว p เก็บอิเล็กตรอนได้สูงสุ ด 6 ตัว
d เก็บอิเล็กตรอนได้สูงสุ ด 10 ตัว f เก็บอิเล็กตรอนได้สูงสุ ด 14 ตัว
g เก็บอิเล็กตรอนได้สูงสุ ด 18 ตัว h เก็บอิเล็กตรอนได้สูงสุ ด 22 ตัว
ตัวอย่ำง จงจัดเรี ยงอิเล็กตรอนแบบระดับพลังงานย่อยและระดับพลังงานหลักของอะตอม 19K
แนวคิด 19K มี 19 อิเล็กตรอน จัดเรี ยงอิเล็กตรอนแบบระดับพลังงานย่อยได้ดงั นี้
ขั้น 1. ให้ จดั เรี ย งอิ เล็ ก ตรอนแบบระดับ พลังงานหลัก ก่ อน แล้ว จึ ง เขี ย นระดับ
พลังงานย่อยที่มีในแต่ละระดับพลังงานหลัก จะได้
19K = 2 , 8 , 8 , 1
= 1s , 2s 2p , 3s 3p 3d , 4s
แต่เนื่ องจากชั้น 4s จะมาก่อน 3d จึงต้องสลับเป็ นดังนี้
19K = 1s 2s 2p 3s 3p 4s 3d
ขั้น 2. ใส่ จานวนอิเล็กตรอนลงในแต่ละระดับพลังงานหลัก โดยใส่ ช้ นั ในให้เต็ม
ก่อน แล้วจึงใส่ ช้ นั นอกถัดมา
2 2s2 2p6 3s2 3p6 4s1
19K = 1s

38
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 อะตอมและตารางธาต ุ
ฝึ กทำ จงจัดเรี ยงอิเล็กตรอนของอะตอมต่อไปนี้แบบระดับพลังงานย่อย
ธำตุ กำรจัดเรียง กำรจัดเรียงอิเล็กตรอน
ระดับพลังงำนหลัก ระดับพลังงำนย่อย
5B
7N
10Ne
18Ar
36Kr
เฉลย ธำตุ กำรจัดเรียง กำรจัดเรียงอิเล็กตรอน
ระดับพลังงำนหลัก ระดับพลังงำนย่อย
5B 2,3 1s2, 2s2, 2p1
7N 2,5 1s2, 2s2, 2p3
10Ne 2,8 1s2, 2s2, 2p6
18Ar 2, 8, 8 1s2, 2s2, 2p6, 3s2, 3p6
36Kr 2 , 8 , 18 , 8 1s2, 2s2, 2p6, 3s2, 3p6, 4s2, 3d10 , 4p6
ฝึ กทำ จงจัดเรี ยงอิเล็กตรอนของอะตอมต่อไปนี้แบบระดับพลังงานย่อย
ธำตุ กำรจัดเรียง กำรจัดเรียงอิเล็กตรอน
ระดับพลังงำนหลัก ระดับพลังงำนย่อย
17Cl
19K
20Ca
21Sc
เฉลย ธำตุ กำรจัดเรียง กำรจัดเรียงอิเล็กตรอน
ระดับพลังงำนหลัก ระดับพลังงำนย่อย
17Cl 2,8,7 1s2, 2s2, 2p6, 3s2, 3p5
19K 2,8,8,1 1s2, 2s2, 2p6, 3s2, 3p6, 4s2
21Sc 2,8,9,2 1s2, 2s2, 2p6, 3s2, 3p6, 4s2, 3d1
40Zr 2 , 8 , 18 , 10 , 2 1s2, 2s2, 2p6, 3s2, 3p6, 4s2, 3d10 , 4p6 , 5s2 , 4d2

39
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 อะตอมและตารางธาต ุ
กำรเขียนกำรจัดเรี ยงอิเล็กตรอนแบบระดับพลังงำนย่ อยในรู ปแก๊ สเฉื่อย
พิจารณาอะตอมแก๊สเฉื่ อยต่อไปนี้
2
2He มี 2 อิเล็กตรอน จัดเรี ยงเป็ น 1s
2 2 6
10Ne มี 2 อิเล็กตรอน จัดเรี ยงเป็ น 1s , 2s , 2p
2 2 6 2 6
18Ar มี 18 อิเล็กตรอน จัดเรี ยงเป็ น 1s , 2s , 2p , 3s , 3p
2 2 6 2 6 2 10 6
36Kr มี 36 อิเล็กตรอน จัดเรี ยงเป็ น 1s , 2s , 2p , 3s , 3p , 4s , 3d , 4p
2 2 6 2 6 2 10 6 2 10 6
54Xe มี 54 อิเล็กตรอน จัดเรี ยงเป็ น 1s , 2s , 2p , 3s , 3p , 4s , 3d , 4p , 5s , 4d , 5p
86Rn มี 86 อิเล็กตรอน จัดเรี ยงเป็ น
1s2 , 2s2 , 2p6 , 3s2 , 3p6 , 4s2 , 3d10 , 4p6 , 5s2 , 4d10 , 5p6 , 6s2 , 4f14 , 5d10 , 6p6
พิจารณาการจัดเรี ยงอิเล็กตรอนอะตอมธาตุต่อไปนี้
2 2 6 2 3
15P รู ปแบบจัดเรี ยงอิเล็กตรอน 1s , 2s , 2p , 3s , 3p
อาจเขียนย่อเป็ น [ Ne ] , 3s2 , 3p3

37Rb รู ปแบบจัดเรี ยงอิเล็กตรอน 1s2 , 2s2 , 2p6 , 3s2 , 3p6 , 4s2 , 3d10 , 4p6 , 5s1
อาจเขียนย่อเป็ น [ Kr ] , 5s1

54. ธาตุที่มีการจัดเรี ยงอิเล็กตรอนดังต่อไปนี้ จะมีอิเล็กตรอนจานวนเท่าใด


ก. [ Ne ] 3s2 3p3 ข. [ Ar ] 4s2 3d10 4p2 ค. [ Kr ] 5s2 4d5
1. ก. 15 ข. 32 ค. 43 2. ก. 16 ข. 32 ค. 40
3. ก. 15 ข. 30 ค. 43 4. ก. 16 ข. 30 ค. 43

55(แนว มช) การจัดอิเล็กตรอนของอะตอมใดที่แสดงว่าอะตอมอยูใ่ นสภาวะถูกกระตุน้


1. 1s2, 2s2 2. 1s2, 3p1 3. 1s2, 2s2 2p5 4. 1s2, 2s2 2p6, 3s2 3p1

40
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 อะตอมและตารางธาต ุ
1.6.3.3 กำรจัดเรียงอิเล็กตรอนในอะตอมในออร์ บิทลั
ปกติ แล้วอิ เล็ กตรอนจะเคลื่ อนที่ อยู่ตลอดเวลา บริ เวณที่ อิเล็ กตรอนวิ่งอยู่และมี
โอกาสสู งที่จะได้พบอิเล็กตรอนเรี ยกว่าออร์ บิทลั ( Orbotal ) แต่ละออร์ บิทลั จะเก็บอิเล็กตรอน
ได้ 2 ตัว และในแต่ละระดับพลังงานย่อยจะมีจานวนออร์ บิทลั ไม่เท่ากัน โดย
ระดับพลังงานย่อย s มี 1 ออร์บิทลั
คือ s ออร์บิทลั เขียนแทนด้วย 
ระดับพลังงานย่อย p มี 3 ออร์บิทลั
คือ px , py , pz ออร์บิทลั เขียนแทนด้วย 
ระดับพลังงานย่อย d มี 5 ออร์บิทลั
คือ dxy , dyz , dxz , dx2–y2 , dz2 ออร์บิทลั เขียนแทนด้วย 
ระดับพลังงานย่อย f มี 7 ออร์บิทลั
คือ fxyz , fz3 , fyz2 , fxz2 , fz(x2–y2) , fy(3x2–y2) , fx(3y2–x2) ออร์บิทลั
เขียนแทนด้วย 
วิธีกำรจัดเรียงอิเล็กตรอนแบบออร์ บิทลั
1. ให้จดั เรี ยงอิเล็กตรอนแบบระดับพลังงานหลักและพลังงานย่อยก่อน แล้วจึงแบ่งระดับ
พลังงานย่อยเป็ นออร์ บิทลั โดย
s มี 1 ออร์บิทลั p มี 3 ออร์บิทลั
d มี 5 ออร์บิทลั f มี 7 ออร์บิทลั
g มี 9 ออร์บิทลั h มี 11 ออร์บิทลั
2. ต้องบรรจุอิเล็กตรอนลงในออร์ บิทลั ของระดับพลังงานย่อยต่าสุ ดให้เต็มก่อน แล้วจึง
บรรจุอิเล็กตรอนลงออร์ บิทลั ของระดับพลังงานย่อยชั้นบนๆ ต่อไป ( หลักของเอำฟบำว )
3. ในออร์บิทลั หนึ่งๆ จะมีอิเล็กตรอนได้ 2 ตัว และอิเล็กตรอนที่อยูใ่ นออร์ บิทลั เดียวกัน
จะต้องวิง่ สวนทางกันเสมอ ( หลักของเพำลี )
4. หากในระดับพลังงานย่อยเดียวกันมีหลายออร์ บิทลั ต้องบรรจุอิเล็กตรอนลงออร์บิทลั
ละ 1 ตัวให้ครบทุกออร์ บิทลั ก่อน แล้วจึงจัดอิเล็กตรอนเข้าไปอยูค่ ู่ ( กฎของฮุนด์ )

41
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 อะตอมและตารางธาต ุ
ตัวอย่ำง การจัดเรี ยงอิเล็กตรอนแบบออร์บิทลั ของ 9F
แนวคิด ก่อนอื่นต้องจัดเรี ยงอิเล็กตรอนแบบระดับพลังงานหลักและระดับพลังงานย่อย แล้ว
จึงแบ่งเป็ นออร์ บิทลั ดังนี้
9F = 2 , 7
= 1s , 2s 2p
= ,
1 2 3 4 58 69 7 ( ลาดับของอิเล็กตรอนที่บรรจุเข้า )
คาอธิบาย อิเล็กตรอนตัวที่ 1 และ 2 จะต้องบรรจุเข้าชั้นต่าสุ ด คือ 1s และต้องวิง่ สวนกัน
อิเล็กตรอนตัวที่ 3 และ 4 จะต้องบรรจุเข้าชั้นถัดมา คือ 2s และต้องวิง่ สวนกัน
อิเล็กตรอนตัวที่ 5 , 6 , 7 จะต้องบรรจุเข้าชั้นถัดมา คือ 2p และต้องอยูอ่ อร์ บิทลั ละ 1
ตัว เพราะชั้นนี้มี 3 ออร์ บิทลั ต้องแยกอิเล็กตรอนอยูเ่ ดี่ยวให้ครบทุกห้องก่อน
อิเล็กตรอนตัวที่ 8 บรรจุเข้าชั้น 2p ห้องแรกอยูค่ ู่กบั อิเล็กตรอนตัวที่ 5 และวิง่ สวนกัน
อิเล็กตรอนตัวที่ 9 บรรจุเข้าชั้น 2p ห้องที่ 2 อยูค่ ู่กบั อิเล็กตรอนตัวที่ 6 และวิง่ สวนกัน
ข้ อควรทรำบเพิม่ เติมเกีย่ วกับกำรจัดเรียงอิเล็กตรอน
1. พิจารณาการจัดเรี ยงอิเล็กตรอนแบบออร์บิทลั ของ 9F
1s 2s 2p
9F
อิเล็กตรอนที่อยูต่ วั เดียว
อิเล็กตรอนที่อยู่ 2 ตัว ในออร์บิทลั ในออร์บิทลั เรี ยก อิเล็กตรอนเดีย่ ว
เดียวกัน เรี ยก อิเล็กตรอนคู่

2. พิจารณาการจัดเรี ยงอิเล็กตรอนแบบออร์บิทลั ของ 10Ne


1s 2s 2p
10Ne
จะเห็นว่าชั้นนอกสุ ดทุกออร์ บิทลั มีอิเล็กตรอนเต็ม 2 ตัว ลักษณะนี้ จะเรี ยกเป็ นการ
บรรจุเต็ม

42
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 อะตอมและตารางธาต ุ
พิจารณาการจัดเรี ยงอิเล็กตรอนแบบออร์บิทลั ของ 7N
1s 2s 2p
7N
จะเห็นว่าชั้นนอกสุ ดทุกออร์ บิทลั มีอิเล็กตรอนเต็ม 1 ตัว ลักษณะนี้ จะเรี ยกเป็ นการ
บรรจุครึ่ ง การบรรจุท้ งั 2 แบบนี้ จะทาให้อะตอมมีความเสถียรมากกว่าการบรรจุแบบอื่นๆ
3. พิจารณาการจัดเรี ยงอิเล็กตรอนของ 24Cr และ 29Cu
3d
2 2 6 2 6 1 5
24Cr จัดเรี ยงเป็ น 1s , 2s , 2p , 3s , 3p , 4s , 3d ( )
3d
ไม่ใช่ 1s2 , 2s2 , 2p6 , 3s2 , 3p6 , 4s2 , 3d4 ( )
ทั้งนี้เพราะการจัดแบบแรกจะเป็ นแบบบรรจุครึ่ ง ซึ่งมีเสถียรภาพสู งกว่า
3d
2 2 6 2 6 1 10
29Cu จัดเรี ยงเป็ น 1s , 2s , 2p , 3s , 3p , 4s , 3d ( )
3d
2 2 6 2 6 2 9
ไม่ใช่ 1s , 2s , 2p , 3s , 3p , 4s , 3d ( )
ทั้งนี้เพราะการจัดแบบแรกจะเป็ นแบบบรรจุเต็ม ซึ่ งมีเสถียรภาพสู งกว่า

56. ข้อใดเป็ นการจัดอิเล็กตรอนในออร์บิทลั ของธาตุไนโตรเจน ( Z = 7 ) ถูกต้อง


1. 2.
3. 4.

43
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 อะตอมและตารางธาต ุ
57. ธาตุในข้อใดมีอิเล็กตรอนเดี่ยวมากที่สุด
1. 6C 2. 15P 3. 12Mg 4. 13Al

58. ธาตุในข้อใดมีอิเล็กตรอนเดี่ยวมากที่สุด
1. 3Li+ 2. 8O– 3. 12Mg+ 4. 7N–

59. ธาตุในข้อใดมีการจัดเรี ยงอิเล็กตรอนแบบบรรจุเต็ม


1. 6C 2. 8O– 3. 12Mg 4. 13Al

44
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 อะตอมและตารางธาต ุ
60. ธาตุในข้อใดมีการจัดเรี ยงอิเล็กตรอนแบบบรรจุครึ่ ง
1. 6C 2. 15P 3. 12Mg 4. 13Al

61. เหตุใดการจัดเรี ยงอิเล็กตรอนของ 24Cr จึงเป็ น 2 , 8 , 13 , 1 แทนที่จะเป็ น 2 , 8 , 12 , 2


1. เพราะจัดเรี ยงแบบแรกจะเรี ยงแบบบรรจุครึ่ งซึ่งเสถียรกว่าแบบหลัง
2. เพราะจัดเรี ยงแบบแรกจะเรี ยงแบบบรรจุเต็มซึ่ งเสถียรกว่าแบบหลัง
3. เพราะจัดเรี ยงแบบแรกเวเลนซ์อิเล็กตรอนจะครบ 8 ตัวตามกฎออกเตต
4. เพราะจัดเรี ยงแบบแรกจะรับอิเล็กตรอนเข้าได้มากที่สุด

45
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 อะตอมและตารางธาต ุ

1.7 แบบจำลองอะตอมแบบกลุ่มหมอก
ดังได้กล่าวมาแล้วว่า ออร์ บิทลั คือบริ เวณที่มีโอกาสสู งที่จะได้พบอิเล็กตรอน เรานิยม
แทนออร์ บิทลั ด้วยกลุ่มเมฆหมอกอิเล็กตรอน และรู ปร่ างของออร์ บิทลั ของแต่ละระดับพลังงาน
ย่อยจะมีลกั ษณะไม่เหมือนกันดังนี้

46
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 อะตอมและตารางธาต ุ
62. “อิเล็กตรอนเคลื่อนที่ไปรอบ ๆ นิ วเคลียส เป็ นรู ปทรงกลมหรื อรู ปอื่น แล้วแต่วา่ อิเล็กตรอน
จะอยู่ในระดับพลังงานใด และไม่สามารถบอกตาแหน่ งที่แน่นอนของอิเล็กตรอนได้ บอก
ได้แต่ เพี ยงโอกาสที่ จะพบอิ เล็ก ตรอนในระดับ พลังงานต่ าง ๆ ได้ม ากน้อยเพี ย งใด” เป็ น
ลักษณะอะตอมของนักวิทยาศาสตร์ ท่านใด
1. นีลส์ โบร์ 2. ทอมสัน 3. รัทเทอร์ฟอร์ ด 4. นักวิทยาศาสตร์ปัจจุบนั

47
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 อะตอมและตารางธาต ุ
2. ตำรำงธำตุ
2.1 ลักษณะของตำรำงธำตุปัจจุบัน
ตารางธาตุในปั จจุบนั จะมีลกั ษณะดังนี้
หมู่ 1A โลหะอัลคาไลน์ หมู่ 8A แก๊สเฉื่ อย
หมู่ 2A โลหะอัลคาไลน์เอิร์ท หมู่ 7A แฮโลเจน
กึ่งโลหะ
คาบ 1
คาบ 2 แทรนซิชนั
คาบ 3
คาบ 4
คาบ 5
คาบ 6
คาบ 7
แลนทาไนด์
แอกทิไนด์
ธาตุที่เรี ยงอยูใ่ นแนวนอนเดียวกัน เรี ยกว่าคำบ ซึ่ งมีท้ งั หมด 7 คาบ
ธาตุ ที่ เรี ย งอยู่ในแนวดิ่ งเดี ยวกัน เรี ย กว่หมู่ ซึ่ งมี อยู่ 2 พวก คือ ธาตุ ห มู่ A มี 8 หมู่
และหมู่ B เรี ยกธำตุแทรนซิชัน
สาหรับธาตุ 2 แถว ซึ่ งแยกไว้ดา้ นล่าง เรี ยกธำตุแทรนซิชันใน
แถวบนเรี ยกกลุ่มธำตุแลนทำไนด์ ซึ่ งจริ งแล้วควรเป็ นธาตุ หมู่ IIIB คาบ 6
แถวล่างเรี ยกกลุ่มธำตุแอกทิไนด์ ซึ่ งจริ งแล้วควรเป็ นธาตุ หมู่ IIIB คาบ 7
ธาตุหมู่ IA เรี ยกโลหะแอลคำไลน์ ธาตุหมู่ IIA เรี ยกโลหะแอลคำไลน์ เอิร์ท
ธาตุหมู่ VIIA เรี ยกแฮโลเจน ธาตุหมู่ VIIIA เรี ยกแก๊สเฉื่ อย
ธาตุที่อยูบ่ ริ เวณเส้นขั้นบันไดเป็ น ธำตุกงึ่ โลหะ หรือเมตัลลอยด์ ซึ่ งได้แก่ โบรอน (B) ,
ซิ ลิกอน (Si) , เจอร์ เมเนี ยม (Ge) , อาร์เซนิก (As) , พลวง (Sb) , เทลลูเรี ยม (Te) , พอโลเนียม (Po)
, แอสทาทีน (As)
ธาตุหมู่ A ซึ่ งอยูใ่ นหมู่เดียวกันจะมีสมบัติคล้ายกัน และมีเวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่ากัน
และเวเลนซ์อิเล็กตรอนจะเท่ากับเลขหมู่ที่ธาตุน้ นั ๆ อยู่ เช่น ธาตุ Li และ Na มีเวเลนซ์-
อิเล็กตรอนเท่ากับ 1 ดังนั้นทั้งสองธาตุน้ ี จะอยูห่ มู่ IA
48
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 อะตอมและตารางธาต ุ
ธาตุ แ ทรนซิ ชัน ส่ ว นใหญ่ จะมี เวเลนซ์ อิ เล็ ก ตรอนเท่ า กับ 2 เว้น บางธาตุ มี เวเลนซ์ -
อิเล็กตรอนเท่ากับ 1 เช่น Cr , Cu เป็ นต้น
ธาตุที่อยูใ่ นคาบเดียวกัน จะมีจานวนระดับพลังงานหลักของอิเล็กตรอนเท่ากัน และจะ
เท่ากับลาดับของคาบที่ธาตุน้ นั ๆ อยู่ เช่น Li และ Be มีจานวนระดับพลังงานของอิเล็กตรอน
เท่ากับ 2 ระดับ คือ K L ดังนั้นทั้งสองธาตุน้ ีจะอยูใ่ นคาบที่ 2 ของตารางธาตุ
กำรเรี ยกชื่ อธำตุทมี่ ีเลขอะตอมตั้งแต่ 100 ขึน้ ไป ตำมระบบ IUPAC
ให้เรี ยกเลขอะตอมเป็ นภาษาละติน แล้วลงท้ายด้วย -ium
จานวนนับในภาษาละตินมีดงั นี้
0 = นิล (nil) 1 = อูน (un) 2 = ไบ (bi) 3 = ไต (tri) 4 = ควอด (quad )
5 = เพนท์ (pent ) 6 = เฮกซ์ (hex) 7 = เซปท์ (sept) 8 = ออกต์ (oct ) 9 = เอนน์ ( enn )
ตัวอย่างการเรี ยกชื่อ
ธาตุที่ 104 เรี ยกชื่อ อูนนิลควอเดียม ใช้สัญลักษณ์ Unq
ธาตุที่ 105 เรี ยกชื่อ อูนนิลเพนเทียม ใช้สัญลักษณ์ Unp
ธาตุที่ 106 เรี ยกชื่อ อูนนิลเฮกเซียม ใช้สัญลักษณ์ Unh
ธาตุที่ 107 เรี ยกชื่อ อูนนิลเซปเทียม ใช้สัญลักษณ์ Uns
กำรบอกตำแหน่ งของธำตุในตำรำงธำตุ
การตรวจสอบว่าธาตุหนึ่งๆ จะอยูห่ มู่ใด คาบใด ในตารางธาตุ ให้ทาดังนี้
ขั้น 1 จัดเรี ยงอิเล็กตรอนแบบระดับพลังงานหลัก
ขั้น 2 จานวนระดับพลังงานของอิเล็กตรอน จะเท่ากับคาบที่ธาตุน้ นั อยู่
ขั้น 3 หากเวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่ากับ 3 ถึง 8 จะเป็ นธาตุหมู่ IIIA ถึงหมู่ VIII A ตามลาดับ
หากเวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่ากับ 1 หรื อ 2
กรณี 1 หากจานวนอิเล็กตรอนชั้นถัดเข้ามามี 8 ตัว จะเป็ นธาตุหมู่ IA , IIA ตามลาดับ
กรณี 2 หากจานวนอิเล็กตรอนชั้นถัดเข้ามาไม่ใช่ 8 ตัว จะเป็ นธาตุแทรนซิชนั
ตัวอย่ ำง ธำตุ กำรจัดอิเล็กตรอน เลขทีข่ องคำบ เลขทีข่ องหมู่
34Se 2 , 8 , 18 , 6 4 6
53I 2 , 8 , 18 , 18 , 7 5 7
83Bi 2 , 8 , 18 , 32 , 18 , 5 6 5
19K 2,8,8,1 4 1
49
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 อะตอมและตารางธาต ุ
38Sr 2 , 8 , 18 , 8 , 2 5 2
21Sc 2,8,9,2 4 แทรนซิชนั
22Ti 2 , 8 , 10 , 2 4 แทรนซิชนั
24Cr 2 , 8 , 13 , 1 4 แทรนซิชนั
29Cu 2 , 8 , 18 , 1 4 แทรนซิชนั
กำรแบ่ งตำรำงธำตุออกเป็ นเขต
หากพิจารณาการจัดเรี ยงอิเล็กตรอนแบบระดับพลังงานย่อย จะสามารถแบ่งธาตุในตาราง
ธาตุออกได้เป็ น 4 เขต ดังนี้

เขต–s คือเขตที่อะตอมของธาตุมีการบรรจุอิเล็กตรอนในระดับพลังงานย่อย s ของระดับ


พลังงานสู งสุ ด
เขต–p คือเขตที่อะตอมของธาตุมีการบรรจุอิเล็กตรอนในระดับพลังงานย่อย p ของระดับ
พลังงานสู งสุ ด
เขต–d คือเขตที่อะตอมของธาตุมีการบรรจุอิเล็กตรอนในระดับพลังงานย่อย d ของระดับ
พลังงานที่ถดั จากระดับพลังงานสู งสุ ด (n – 1) ธาตุในเขตนี้ เรี ยก ธาตุแทรนซิ ชนั
เขต–f คือเขตที่อะตอมของธาตุมีการบรรจุอิเล็กตรอนในระดับพลังงานย่อย d ของระดับ
พลังงานที่ถดั จากระดับพลังงานสู งสุ ดเข้ามา 2 ระดับ (n – 2) ธาตุเขตนี้ เรี ยก ธาตุแทรนซิ ชนั ใน

50
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 อะตอมและตารางธาต ุ
63(แนว En) ธาตุ 7533 X อยูห่ มู่และคาบที่เท่าใดในตารางธาตุ
1. หมู่ 5A คาบ 4 2. หมู่ 4A คาบ 5
3. เป็ นธาตุแทรนซิชนั คาบ 4 4. เป็ นธาตุแทรนซิชนั คาบ 5

64. W, X , Y และ Z มีเลขอะตอมดังนี้ 19 , 20 , 36 และ 37 ธาตุคู่ใดที่มีสมบัติคล้ายคลึงกัน


1. W กับ X 2. W กับ Z 3. X กับ Y 4. Y กับ Z

65. ธาตุ W , X , Y และ Z มีเลขอะตอม 3 , 6 , 7 , 9 ตามลาดับ ธาตุใดมีความเป็ นโลหะ


มากที่สุด
1. W 2. X 3. Y 4. Z

51
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 อะตอมและตารางธาต ุ
66. ธาตุ W , X , Y และ Z มีเลขอะตอม 3 , 6 , 7 , 9 ตามลาดับ ธาตุใดมีความเป็ นอโลหะ
มากที่สุด
1. W 2. X 3. Y 4. Z

67. ถ้า A , B , C และ D มีเลขอะตอม 12 , 17 , 36 และ 55 ตามลาดับ ธาตุใดทาปฏิกิริยา


กับธาตุอื่นได้ยากที่สุด
1. A 2. B 3. C 4. D

52
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 อะตอมและตารางธาต ุ
2.2 สมบัติของธำตุตำมหมู่และตำมคำบ
IE , EN , –EA เพิม่ ขึน้
ขนาดอะตอมเล็ก

IE , EN , –EA
เพิม่ ขึน้

ขนาดอะตอมใหญ่
2.2.1 แนวโน้ มของขนำดอะตอมและขนำดไอออน
ขั้นตอนกำรพิจำรณำแนวโน้ มของขนำดอะตอม
ขั้นที่ 1. พิจารณาจากคาบที่อะตอมนั้นอยู่
ในหมู่เดียวกันขนาดอะตอมจะเล็กลงจากล่างขึ้นบน เพราะอะตอมธาตุดา้ น
บนจะมีระดับพลังงานอิเล็กตรอนน้อยกว่าอะตอมธาตุดา้ นล่าง
ขั้นที่ 2. พิจารณาจากหมู่ที่อะตอมนั้นอยู่
ในคาบเดียวกันขนาดอะตอมจะเล็กลงจากซ้ายไปขวา เพราะอะตอมธาตุดา้ น
ขวาจะมีจานวนโปรตอนมากกว่า จึงมีแรงดึงดูดอิเล็กตรอนรอบนอกให้เข้าใกล้นิวเคลียสมาก
ขึ้น ทาให้ขนาดอะตอมเล็กลง
68(แนว En) อะตอมใดมีขนาดเล็กที่สุด
1. 17Cl 2. 6C 3. 8O 4. 32Ge

53
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 อะตอมและตารางธาต ุ
69. อะตอมของธาตุ A B C และ D สมมุติดงั ในตารางธาตุ
I II III IV V VI VII VIII
D 2
B C 3
A 4
ข้อใดเรี ยงลาดับขนาดของอะตอมจากใหญ่ไปเล็กได้ถูกต้อง
1. A > B > C > D 2. A > B > D > C
3. A > C > B > D 4. A > D > C > B

70(แนว En) กาหนดเลขอะตอมของธาตุดงั นี้ A = 13 , B = 19 , C = 20 , D = 12


การเรี ยงลาดับขนาดอะตอมในข้อใดถูกต้อง
1. D < A < C < B 2. A < D < C < B
3. D < B < A < C 4. D < A < B < C

ขั้นตอนกำรพิจำรณำแนวโน้ มของขนำดไอออน
ขั้นที่ 1. พิจารณาจานวนระดับพลังงานของอิเล็กตรอน
ไอออนที่มีจานวนระดับพลังงานน้อยกว่าจะมีขนาดไอออนเล็กกว่า
ขั้นที่ 2. ถ้าระดับพลังงานของอิเล็กตรอนเท่ากัน ให้พิจารณาจานวนโปรตรอน
ไอออนที่ มี จ านวนโปรตอนมากกว่า จะมี ข นาดไอออนเล็ ก กว่า เพราะเมื่ อ
จานวนโปรตอนในนิ วเคลียสมาก จะมีแรงดึงดูดอิเล็กตรอนรอบนอกให้เข้าใกล้นิวเคลียสมาก
ขึ้น จึงทาให้ไอออนเล็กลง
ขั้นที่ 3. ถ้าระดับพลังงานของอิเล็กตรอน และจานวนโปรตอนเท่ากัน ให้พิจารณา
จานวนอิเล็กตรอน

54
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 อะตอมและตารางธาต ุ
ไอออนที่ มีจานวนอิเล็กตรอนน้อยกว่า จะมี ขนาดไอออนเล็กกว่า เพราะเมื่ อ
จานวนอิเล็กตรอนลดลง นิ วเคลียสจะมีแรงดึงดูดอิเล็กตรอนแต่ละตัวมากขึ้น ทาให้อิเล็กตรอน
เข้าใกล้ นิวเคลียสมากขึ้นขนาดอะตอมหรื อไอออนจะเล็กลง
ควรทรำบ
สำหรับไอออนบวกของอะตอมชนิดเดียวกัน ยิง่ บวกมำกขนำดไอออนจะเล็กลง
( A > A+ > A2+ > A3+ ) ทั้งนี้เพราะไอออนยิง่ บวกจานวนอิเล็กตรอนยิง่ น้อยลงนัน่ เอง
ส ำหรั บ ไอออนลบอะตอมชนิ ด เดี ย วกั น ยิ่ ง ลบ มำกขนำดไอออนยิ่ ง จะใหญ่ ขึ้ น
( B < B– < B2– < B3– ) ทั้งนี้ เพราะไอออนยิ่ง เป็ นลบจานวนอิ เล็ก ตรอนยิ่งมากขึ้ น ขนาด
ไอออนจึงใหญ่ข้ ึนนัน่ เอง
71. จงเรี ยงลาดับขนาดไอออน กับอะตอมต่อไปนี้ จากขนาดเล็กไปหาใญ่
2– – +
7N , 8O , 9F , 19K
1. F– < O2– < N < K+ 2. F– < N < O2– < K+
3. O2– < F– < N < K+ 4. O2– < N < F– < K+

2.2.2 แนวโน้ มของของอิเล็กโทรเนกำติวติ ี ( Electronegativity , EN )


อิเล็กโทรเนกำติวิตี คือค่าที่แสดงถึ งความสามารถในการดึ งดูดอิเล็กตรอนคู ่ร่วมพันธะ
ของอะตอมของธาตุ ต่ างๆ ที่ รวมกัน เป็ นสารประกอบ ธาตุ ที่ มี ค่ าอิ เล็ ก โทรเนกาติ วิตีสู ง จะ
สามารถดึงดูดอิเล็กตรอนได้ดีกว่าธาตุที่มีค่าอิเล็กโทรเนกาติวติ ีต่ากว่า
ค่าอิเล็กโทรเนกาติวติ ีของโลหะจะน้อยกว่าของอโลหะเสมอ
ในหมู่เดียวกันค่าอิเล็กโทรเนกาติวติ ีจะเพิม่ ขึ้นจากล่างขึ้นบน เพราะขนาดของอะตอมเล็ก
ลงจากล่างขึ้นบน แรงดึงดูดระหว่างประจุบวกในนิวเคลียสกับอิเล็กตรอนวงนอกจึงเพิ่ม
ในคาบเดียวกันค่าอิเล็กโทรเนกาติวิตีจะเพิ่มขึ้นจากซ้ายไปขวา เพราะขนาดของอะตอม
เล็ก ลงจากซ้ายไปขวา ท าให้แรงดึ งดู ดระหว่างประจุ บ วกในนิ วเคลี ยสกับ อิ เล็ก ตรอนวงนอก

55
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 อะตอมและตารางธาต ุ
เพิ่มขึ้น ดังนั้นในคาบเดียวกัน ธาตุหมู่ IA มีคา่ อิเล็กโทรเนกาติวติ ีต่าสุ ด ส่ วนธาตุหมู่ VII A มี
ค่าสู งสุ ด He , Ne , Ar ไม่มีค่าอิเล็กโทรเนกาติวติ ี ส่ วน Kr , Xe มีค่าอิเล็กโทรเนกาติวติ ีต่าๆ
ธาตุที่มีค่า EN สู งสุ ดตามลาดับที่ควรจา คือ F > O > Cl  N > Br > I  S  C > H
2.2.3 แนวโน้ มของสั มพรรคภำพอิเล็กตรอน ( Electron affinity , EA )
สั ม พรรคภำพอิเล็กตรอนหรื อ อิเล็ก ตรอนอัฟ ฟิ นิ ตี หมายถึ งพลังงานที่ คายออกมาเมื่ อ
อะตอมในสถานะแก๊สรับอิเล็กตรอนแล้วกลายเป็ นไอออนลบ
เช่น Cl(g) + e  Cl(g) Ea = – 347 kJ/mol
ค่าสัมพรรคภาพอิเล็กตรอนจะมีค่าเป็ นลบเพราะเป็ นพลังงานที่คายออกมา (ยกเว้นธาตุหมู่
2A และ 8A ) เป็ นค่าที่บอกความสามารถในการรับอิเล็กตรอนของอะตอม ธาตุใดมีค ่าค่าสัม-
พรรคภาพอิเล็กตรอนเป็ นลบมาก อะตอมของธาตุ น้ ันก็จะเกิ ดไอออนลบได้ง่าย และค่าสัม -
พรรคภาพอิเล็กตรอนของอโลหะจะมีค่าเป็ นลบมากกว่าโลหะเสมอ
ในคาบเดี ยวกันค่าสัมพรรคภาพอิเล็กตรอนจะเพิ่มขึ้นจากซ้ายไปขวา เพราะขนาดของ
อะตอมเล็กลงจากซ้ายไปขวานิวเคลียสจึงดึงดูดอิเล็กตรอนที่เข้ามาใหม่ได้ดีข้ ึนตามลาดับด้วย
ในหมู่เดียวกันค่าสัมพรรคภาพอิเล็กตรอนมีค่าเพิ่มจากล่างขึ้นบน เพราะจานวนชั้นของ
อิเล็กตรอนลดลงทาให้ขนาดของอะตอมเล็กลง เช่นกัน
2.2.3 แนวโน้ มของพลังงำนไอออไนเซชัน ( Ionization Energy , IE )
พลังงำนไอออไนเซชั น คือพลังงานที่ใส่ เข้าไปเพื่อให้อิเล็กตรอนของอะตอมในสภาวะ
แก๊ส หลุดออกมาจากอะตอม
ข้ อควรรู้ เกีย่ วกับพลังงำนไอออไนเซชั น
1. พลังงานไอออไนซ์ของธาตุอโลหะ จะมากกว่าของธาตุโลหะเสมอ และพลังงานไอ
ออ-ไนซ์ของแก๊สเฉื่ อย (หมู่ 8A ) จะมีค่าสู งสุ ด
2. โดยทัว่ ไปแล้ว เมื่ออะตอมมีขนาดเล็กลง แรงดึงดูดระหว่างนิวเคลียสกับเวเลนซ์-
อิเล็กตรอนสู งขึ้น ทาให้พลังงานไอออไนซ์มีค่ามากขึ้นด้วย
ดังนั้น ธาตุในหมู่เดียวกัน ค่าพลังงานไอออไนซ์เพิ่มขึ้นจากล่างขึ้นบน
ธาตุในคาบเดียวกัน พลังงานไอออไนซ์จะเพิ่มขึ้นจากซ้ายไปขวา
และสาหรับธาตุแทรนซิชนั พลังงานไอออไนซ์ไม่แตกต่างกันมากนัก

56
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 อะตอมและตารางธาต ุ

แต่ IE ของธาตุ หมู่ IIA และหมู่ VA ในคาบเดี ยวกัน จะมีค่าสู งผิดปกติท้ งั นี้ เพราะ
เพราะธาตุ 2 หมู่น้ ีมีการจัดเรี ยงอิเล็กตรอนแบบบรรจุเต็ม และแบบบรรจุครึ่ งซึ่ งเสถียรกว่า
1s2 2s2 2p 1s2 2s2 2p3
7N
4 Be
บรรจุเต็ม(เสถียร) บรรจุครึ่ ง(เสถียร)
3. พลังงานไอออไนซ์ที่ใช้ดึงอิเล็กตรอนตัวที่ 1 ออกมา เรี ยกพลังงานไอออไนซ์ลาดับ 1
(IE1) พลังงานไอออไนซ์ที่ใช้ดึงอิเล็กตรอนตัวต่อๆ ไปออกจากอะตอม เรี ยกพลังงานไอออไนซ์
ลาดับ 2 , 3 , 4 , ...... ( IE2 , IE3 , IE4 , …… ) ตามลาดับ
ตัวอย่างการเขียน IE แต่ละลาดับ
Be(g)  Be+(g) + e IE1 = 906 kJ/mol
Be+ (g)  Be2+(g) + e IE2 = 1763 kJ/mol
Be2+ (g)  Be3+(g) + e IE3 = 14855 kJ/mol
Be3+ (g)  Be4+(g) + e IE4 = 21013 kJ/mol
4. ค่า IE1 < IE2 < IE3 < IE4 ….. เสมอ
ในกรณี ตวั อย่าง พลังงานไอออไนซ์ของ Be ด้านบนนี้ จะเห็ นว่า IE2 และ IE3 มี
ค่าแตกต่างกันมากอย่างชัดเจน ทั้งนี้ เป็ นเพราะอิเล็กตรอนตัวที่ 2 และ 3 ของ Be อยูใ่ นคนละ
ระดับพลังงานนัน่ เอง

57
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 อะตอมและตารางธาต ุ
5. เราสามารถใช้พลังงานไอออไนซ์บอกได้วา่ ธาตุน้ นั ๆ เป็ นธาตุหมู่อะไร
เช่ น

พิจารณาธาตุ A ค่า IE3 และ IE4 แตกต่างกันมาก แสดงว่าอิเล็กตรอนตัวที่ 3 กับ 4 อยูค่ น


ละระดับพลังงาน และระดับพลังงานนอกสุ ดมีเวเลนซ์อิเล็กตรอน 3 ตัว ดังนั้น A จึงอยูห่ มู่ 3A
พิจารณาธาตุ B ค่า IE1 และ IE2 แตกต่างกันมาก แสดงว่าอิเล็กตรอนตัวที่ 1 กับ 2 อยูค่ น
ละระดับพลังงาน และระดับพลังงานนอกสุ ดมีเวเลนซ์อิเล็กตรอน 1 ตัว ดังนั้น B จึงอยูห่ มู่ 1A
พิจารณาธาตุ C ค่า IE2 และ IE3 แตกต่างกันมาก แสดงว่าอิเล็กตรอนตัวที่ 2 กับ 3 อยูค่ น
ละระดับพลังงาน และระดับพลังงานนอกสุ ดมีเวเลนซ์อิเล็กตรอน 2 ตัว ดังนั้น C จึงอยูห่ มู่ 2A
พิจารณาธาตุ D ค่า IE1 และ IE2 แตกต่างกันมาก แสดงว่าอิเล็กตรอนตัวที่ 1 กับ 2 อยูค่ น
ละระดับพลังงาน และระดับพลังงานนอกสุ ดมีเวเลนซ์อิเล็กตรอน 1 ตัว ดังนั้น D จึงอยูห่ มู่ 1A
72. อะตอมของธาตุ A B C และ D สมมุติดงั ในตารางธาตุ
I II III IV V VI VII VIII
B D 2
C 3
A 4
ข้อใดเรี ยงลาดับค่า IE1 จากต่าไปสู งได้ถูกต้อง
1. A < B < C < D 2. D < C < A < B 3. D < C < B < A 4. B < C < D < A

58
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 อะตอมและตารางธาต ุ
73(แนว En) พิจารณาหมู่และคาบของธาตุ A , B , C และ D ต่อไปนี้
ธำตุ หมู่ คำบ
A 1 2
B 5 3
C 1 4
D 4 4
พลังงานไอออไนเซชันลาดับที่ 1 ของธาตุท้ งั สี่ เรี ยงจากน้อยไปมาก ข้อใดถูกต้อง
1. A  C  B  D 2. C  A  B  D
3. A  C  D  B 4. C  A  D  B

74. ข้อใดแสดงการเกิดพลังงานไอออไนเซชันลาดับที่สองของแก๊ส X 1 โมล


1. X (s)  X (g) 2. X+ (g)  X2+ (g) + e–
3. X (g)  X+(g) + e– 4. X (g)  X2+(g) + 2e–

59
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 อะตอมและตารางธาต ุ
75. พลังงานไอออไนเซชันลาดับที่ 3 (IE3) ของธาตุอะลูมิเนียมมีค่าเท่ากับพลังงานที่เกี่ยวข้อง
ในการเปลี่ยนแปลงในข้อใด
1. Al (g)  Al+(g) + 3e– 2. Al (s)  Al3+(g) + 3e–
3. Al2+ (g)  Al3+ (g) + e– 4. Al+ (s)  Al3+(g) + 2e–

76. พลังงานไอออไนเซชัน IE1 , IE2 และ IE3 ของ 73 X เท่ากับ 0.50 , 7.30 และ 11.80
MJ mol–1 ตามลาดับ ถ้าต้องการทาให้เกิด 73 X 3  (g) จะต้องใช้พลังงานเท่าใด
1. 7.30 MJ mol–1 2. 7.80 MJ mol–1
3. 11.80 MJ mol–1 4. 19.60 MJ mol–1

77(แนว En) ธาตุ A , B , C , D มีเลขอะตอม 3 , 9 , 12 และ 20 ตามลาดับ ธาตุใดมีค่า


IE2 ต่าที่สุด
1. A 2. B 3. C 4. D

60
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 อะตอมและตารางธาต ุ
78(แนว มช) ค่าพลังงานไอออไนเซชันตั้งแต่ลาดับที่หนึ่งถึงลาดับที่เจ็ดของธาตุ A มีค่าดังนี้
1400 , 2900 , 4600 , 7500 , 9500 , 53000 , 64000 kJ mol–1
ธาตุ A ควรจัดอยูใ่ นหมู่ใดในตารางธาตุ

79(แนว มช) กาหนดค่าไอออไนเซซัน ( IE ) ของธาตุ เป็ น kJ/mol ดังนี้


ธำตุ IE1 IE2 IE3 IE4
A 807 2433 3665 25033
B 850 1760 14855 21013
C 584 1820 2751 11584
D 700 1457 7739 10547
E 502 4569 6919 9550
ธาตุคู่ใดที่อยูใ่ นหมู่ที่ 3 และธาตุคู่ใดที่อยูใ่ นหมู่ที่ 2 ตามลาดับ
1. AB และ CD 2. AC และ DE
3. AC และ BD 4. AD และ BE

61
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 อะตอมและตารางธาต ุ

2.2.4 เลขออกซิเดชัน
เลขออกซิ เดชั น คื อตัวเลขที่แสดงถึ งประจุไฟฟ้ าจริ งหรื อประจุเสมื อนของอะตอม
เช่น NaCl เมื่อแตกตัวจะได้ Na+ และ Cl– จะมีเลขออกซิเดชันเป็ น +1 และ –1 ตามลาดับ
หลักเกณฑ์ ในกำรกำหนดเลขออกซิเดชัน
1. ธาตุอิสระทุกตัว ไม่วา่ ในหนึ่งโมเลกุลจะมีกี่อะตอมก็ตาม จะมีเลขออกซิ เดชันเท่ากับ 0
เช่น Ca , H2 , P4 , S8 , Na ทุกตัวมีเลขออกซิเดชันเป็ น 0
2. ธาตุไฮโดรเจนส่ วนมากมีเลขออกซิเดชันเป็ น +1
3. ธาตุออกซิ เจนส่ วนมากมีเลขออกซิ เดชันเป็ น –2
4. เลขออกซิ เดชันของไอออนใด ๆ ปกติจะมีค่าเท่ากับประจุของไอออนนั้น ๆ
เช่น Na+ มีเลขออกซิเดชัน เป็ น +1
Cl– มีเลขออกซิเดชัน เป็ น –1
Al3+ มีเลขออกซิเดชัน เป็ น +3
5. สารประกอบใดๆ ผลรวมของเลขออกซิเดชันจะต้องเป็ นศูนย์เสมอ
เช่น H2O มีเลขออกซิเดชัน = (+1 x 2) + (–2) = 0
แต่หมู่ไอออนใดๆ ผลรวมของเลขออกซิเดชันจะเท่ากับประจุของไอออนนั้น
เช่น CrO24 มีเลขออกซิเดชัน = (+6) + (–2 x 4) = +6 – 8 = –2
6. ธาตุหมู่ IA , IIA และหมู่ IIIA จะมีเลขออกซิเดชัน = +1 , +2 , +3 ตามลาดับ
7. ธาตุอโลหะในสารประกอบต่าง ๆ ส่ วนมากมักมีเลขออกซิ เดชันหลายค่า
เช่น พิจารณาจากธาตุ Cl สารประกอบต่อไปนี้
HCl ในนี้ Cl มีเลขออกซิ เดชัน เท่ากับ –1
HClO ในนี้ Cl มีเลขออกซิ เดชัน เท่ากับ +1
HClO2 ในนี้ Cl มีเลขออกซิ เดชัน เท่ากับ +3
HClO3 ในนี้ Cl มีเลขออกซิ เดชัน เท่ากับ +5
8. ธาตุทรานสิ ชนั ส่ วนใหญ่มีเลขออกซิ เดชันได้มากกว่า 1 ค่าเช่น
FeO ในนี้ Fe มีเลขออกซิ เดชัน เท่ากับ +2
Fe2O3 ในนี้ Fe มีเลขออกซิ เดชัน เท่ากับ +3

62
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 อะตอมและตารางธาต ุ
80. จงหาค่าเลขออกซิ เดชันของ O และ S ใน O2 และ S8 (ตอบตามลาดับ)
1. –2 , –2 2. –2 , –1 3. –1 , –2 4. 0 , 0

81. จงหาค่าเลขออกซิ เดชันของ Cu


1. –2 2. –1 3. +2 4. 0

82. จงหาค่าเลขออกซิ เดชันของ H , C และ O ใน H2CO3 (ตอบตามลาดับ)


1. +2 , +4 , –6 2. +1 , +4 , –2
3. +2 , +14 , –6 4. +1 , +8 , –2

63
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 อะตอมและตารางธาต ุ
83. จงหาค่าเลขออกซิ เดชันของ H , S และ O ใน H2SO4 (ตอบตามลาดับ)
1. +2 , +3 , –6 2. +1 , +3 , –2
3. +2 , +8 , –6 4. +1 , +6 , –2

84. จงหาค่าเลขออกซิ เดชันของ Na , S และ O ใน Na2SO4 (ตอบตามลาดับ)


1. +2 , +3 , –6 2. +1 , +3 , –2
3. +2 , +8 , –6 4. +1 , +6 , –2

85. จงหาค่าเลขออกซิเดชันของ Mn และ O ใน MnO2 (ตอบตามลาดับ)


1. +2 , –1 2. +4 , –2 3. +2 , –1 4. 0 , 0

64
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 อะตอมและตารางธาต ุ
86. จงหาค่าเลขออกซิ เดชันของ Mn และ O ใน Mn2O3 (ตอบตามลาดับ)
1. +3 , –2 2. +4 , –2 3. +2 , –1 4. 0 , 0

87. จงหาค่าเลขออกซิ เดชันของ K , Cr และ O ใน K2Cr2O7 (ตอบตามลาดับ)


1. +2 , +3 , –6 2. +1 , +3 , –2
3. +2 , +8 , –6 4. +1 , +6 , –2

88. จงหาค่าเลขออกซิ เดชันของ Mn และ O ใน Mn O4 (ตอบตามลาดับ)


1. +7 , –2 2. +14 , –4 3. +3.5 , –1 4. 0 , 0

89. จงหาค่าเลขออกซิ เดชันของ S และ O ใน S O42 (ตอบตามลาดับ)


1. +6 , –2 2. +12 , –4 3. +3 , –1 4. –2 , 0

65
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 อะตอมและตารางธาต ุ
90. จงหาค่าเลขออกซิ เดชันของ H , C และ O ใน HC O3
(ตอบตามลาดับ)
1. +2 , +3 , –6 2. +1 , +4 , –2
3. +2 , +8 , –6 4. +1 , +3 , –2

91. จงหาค่าเลขออกซิ เดชันของ Cr และ O ใน Cr2 O72 (ตอบตามลาดับ)


1. +3 , –1 2. +6 , –2 3. +4 , –2 4. +8 , –4

ประจุของไอออนต่ อไปนีม้ ีประโยชน์ ในกำรหำเลขออกซิเดชั่ น


S O32 , S O42 , P O 33  , P O 43  , Cl O  , Cl O 2 , Cl O 3 , Cl O 4 , N O 2 , N O 3 , CN
SCN– , CO32  , C 2 O42 , CO , NH4+ , NH3 , H2O

92. จงหาค่าเลขออกซิ เดชันของธาตุแทรนซิ ชนั ในสารต่อไปนี้


Cu(OH)2 , PbSO4 , Cr2(SO4)3 , CuSO4 .5H2O ( ตอบตามลาดับ )
1. +2 , +1 , +3 , +1 2. +1 , +1 , +3 , +1
3. +1 , +1 , +2 , +1 4. +2 , +2 , +3 , +2



66
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 อะตอมและตารางธาต ุ
แผนภาพสรุ ป บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
1. แบบจำลองอะตอม
1.1 แบบจำลองอะตอมของดอลตัน

1.2 แบบจำลองอะตอมของทอมสั น

67
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 อะตอมและตารางธาต ุ
กำรค้ นพบโปรตอนโดยโกลด์ สไตน์

1.3 แบบจำลองอะตอมของรัทเทอร์ ฟอร์ ด

กำรค้ นพบนิวตรอนโดยโบเทกับเบเกอร์

68
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 อะตอมและตารางธาต ุ
1.4 อนุภำคมูลฐำนของอะตอม

สั ญลักษณ์นิวเคลียร์

กำรหำจำนวนโปรตอน นิวตรอน อิเล็กตรอน จำกสั ญลักษณ์นิวเคลียร์

69
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 อะตอมและตารางธาต ุ
1.5 ไอโซโทป ไอโซบำร์ ไอโซโทน และไอโซอิเล็กทรอนิก

1.6 แบบจำลองอะตอมของโบร์
1.6.1 คลืน่ แม่ เหล็กไฟฟ้ำ

70
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 อะตอมและตารางธาต ุ
1.6.2 สเปกตรัมของธำตุ และแบบจำลองอะตอมของโบร์

71
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 อะตอมและตารางธาต ุ
1.6.3 กำรจัดเรียงอิเล็กตรอนในอะตอม
1.6.3.1 กำรจัดเรียงอิเล็กตรอนในอะตอมในระดับพลังงำนหลัก

เทคนิคกำรจัดเรียงอิเล็กตรอนในระดับพลังงำนหลัก (เบือ้ งต้ น)

72
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 อะตอมและตารางธาต ุ
1.6.3.2 กำรจัดเรียงอิเล็กตรอนในอะตอมในระดับพลังงำนย่อย

วิธีกำรเรียงลำดับชั้นของระดับพลังงำนย่อย

วิธีกำรจัดเรียงอิเล็กตรอนในอะตอมในระดับพลังงำนย่อย

73
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 อะตอมและตารางธาต ุ
1.6.3.3 กำรจัดเรียงอิเล็กตรอนในอะตอมในออร์ บิทลั

ข้ อควรทรำบเพิม่ เติมเกีย่ วกับกำรจัดเรียงอิเล็กตรอน

74
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 อะตอมและตารางธาต ุ
2. ตำรำงธำตุ
2.1 ลักษณะของตำรำงธำตุปัจจุบัน

กำรบอกตำแหน่ งของธำตุในตำรำงธำตุ

ตัวอย่ำง

75
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 อะตอมและตารางธาต ุ
2.2.1 วิธีกำรพิจำรณำแนวโน้ มของขนำดอะตอม

วิธีกำรพิจำรณำแนวโน้ มของขนำดไอออน

76
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 อะตอมและตารางธาต ุ
2.2.2 แนวโน้ มของของอิเล็กโทรเนกำติวติ ี ( Electronegativity , EN )
2.2.3 แนวโน้ มของพลังงำนไอออไนเซชัน ( Ionization Energy , IE )

ลักษณะคล้ายกันของค่ า EN , IE , EA

77
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 อะตอมและตารางธาต ุ
ข้ อควรทราบเพิม่ เติมเกีย่ วกับค่ า IE

78
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 อะตอมและตารางธาต ุ
2.2.4 เลขออกซิเดชัน

79
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 อะตอมและตารางธาต ุ
เฉลยบทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
1. ตอบข้ อ 1. 2. ตอบข้ อ 4. 3. ตอบข้ อ 2. 4. ตอบข้ อ 1.
5. ตอบข้ อ 1. 6. ตอบข้ อ 4. 7. ตอบข้ อ 4. 8. ตอบข้ อ 2.
9. ตอบข้ อ 3. 10. ตอบข้ อ 1. 11. ตอบข้ อ 1. 12. ตอบข้ อ 2.
13. ตอบข้ อ 3. 14. ตอบข้ อ 3. 15. ตอบข้ อ 1. 16. ตอบข้ อ 2.
17. ตอบข้ อ 2. 18. ตอบข้ อ 4. 19. ตอบข้ อ 2. 20. ตอบข้ อ 4.
21. ตอบข้ อ 3. 22. ตอบข้ อ 3. 23. ตอบข้ อ 3. 24. ตอบข้ อ 4.
25. ตอบข้ อ 4. 26. ตอบข้ อ 3. 27. ตอบข้ อ 1. 28. ตอบข้ อ 4.
29. ตอบข้ อ 2. 30. ตอบข้ อ 2. 31. ตอบข้ อ 3. 32. ตอบข้ อ 2.
33. ตอบข้ อ 1. 34. ตอบข้ อ 3. 35. ตอบข้ อ 1. 36. ตอบข้ อ 2.
37. ตอบข้ อ 1. 38. ตอบข้ อ 2. 39. ตอบข้ อ 1. 40. ตอบข้ อ 2.
41. ตอบข้ อ 2. 42. ตอบข้ อ 1. 43. ตอบข้ อ 2. 44. ตอบข้ อ 1.
45. ตอบข้ อ 1. 46. ตอบข้ อ 2. 47. ตอบข้ อ 1. 48. ตอบข้ อ 4.
49. ตอบข้ อ 4. 50. ตอบข้ อ 3. 51. ตอบข้ อ 3. 52. ตอบข้ อ 4.
53. ตอบข้ อ 3. 54. ตอบข้ อ 1. 55. ตอบข้ อ 2. 56. ตอบข้ อ 1.
57. ตอบข้ อ 2. 58. ตอบข้ อ 4. 59. ตอบข้ อ 2. 60. ตอบข้ อ 2.
61. ตอบข้ อ 1. 62. ตอบข้ อ 4. 63. ตอบข้ อ 1. 64. ตอบข้ อ 2.
65. ตอบข้ อ 1. 66. ตอบข้ อ 4. 67. ตอบข้ อ 3. 68. ตอบข้ อ 4.
69. ตอบข้ อ 1. 70. ตอบข้ อ 2. 71. ตอบข้ อ 1. 72. ตอบข้ อ 1.
73. ตอบข้ อ 4. 74. ตอบข้ อ 2. 75. ตอบข้ อ 3. 76. ตอบข้ อ 4.
77. ตอบข้ อ 4. 78. ตอบ 5 79. ตอบข้ อ 3. 80. ตอบข้ อ 4.
81. ตอบข้ อ 4. 82. ตอบข้ อ 2. 83. ตอบข้ อ 4. 84. ตอบข้ อ 4.
85. ตอบข้ อ 2. 86. ตอบข้ อ 1. 87. ตอบข้ อ 4. 88. ตอบข้ อ 1.
89. ตอบข้ อ 1. 90. ตอบข้ อ 2. 91. ตอบข้ อ 2. 92. ตอบข้ อ 4.

80
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 พันธะเคมี
บ ท ที่ 2 พั น ธ ะ เ ค มี
ทบทวนก่อนเรียน1
อิเล็กโทรเนกาติวิตี (EN) คือค่าที่แสดงถึ งความสามารถในการดึงดูดอิเล็กตรอนคู ่ร่วมพันธะ
ของอะตอมของธาตุ ต่างๆ ที่รวมกันเป็ นสารประกอบ ธาตุที่มีค่าอิเล็กโทรเนกาติวิตีสูงจะสามารถ
ดึงดูดอิเล็กตรอนได้ดีกว่าธาตุที่มีค่าอิเล็กโทรเนกาติวติ ีต่ากว่า
จากความรู ้เรื่ องของการจัดเรี ยงอิเล็กตรอนนั้น อิเล็กตรอนในระดับพลังงานนอกสุ ด
( เวเลนซ์อิเล็กตรอน ) จะมีจานวนได้สูงสุ ดเท่ากับ 8 ตัว แต่อะตอมของธาตุหมู่ 1A ถึง 7A นั้น
จะมีเวเลนซ์อิเล็กตรอนเพียง 1 ถึง 7 ตัวตามลาดับ อะตอมของธาตุเหล่านี้ จะมีความพยายามทาให้
เวเลนซ์อิเล็กตรอนมี 8 ตัว โดย
อะตอมธาตุอโลหะหมู่ 7A เดิมมีเวเลนซ์อิเล็กตรอน 7 ตัว จะพยายามรับอิเล็กตรอนเข้าอีก 1 ตัว
อะตอมธาตุอโลหะหมู่ 6A เดิมมีเวเลนซ์อิเล็กตรอน 6 ตัว จะพยายามรับอิเล็กตรอนเข้าอีก 2 ตัว
อะตอมธาตุอโลหะหมู่ 5A เดิมมีเวเลนซ์อิเล็กตรอน 5 ตัว จะพยายามรับอิเล็กตรอนเข้าอีก 3 ตัว
อะตอมธาตุอโลหะหมู่ 4A เดิมมีเวเลนซ์อิเล็กตรอน 4 ตัว จะพยายามรับอิเล็กตรอนเข้าอีก 4 ตัว
จะเห็ นว่าธาตุ อโลหะจะมีความพยายามดึ งดู ดอิ เล็กตรอนเข้าตัวสู ง ธาตุ อโลหะจึ งมีค ่าอิเล็ก
โทรเนกาติวติ ีสูงด้วย
อะตอมของธาตุโลหะหมู่ 1A เช่น 11Na มีการจัดเรี ยงอิเล็กตรอนเป็ น 2 , 8 , 1 มีเวเลนซ์
อิเล็กตรอน 1 ตัว อะตอมนี้ จะไม่พยายามรับอิเล็กตรอนเข้ามาอีก 7 ตัว เพราะทาได้ยาก อะตอมนี้
จะจ่ายอิเล็กตรอนนอกสุ ดออกไป 1 ตัว แล้วจัดเรี ยงอิเล็กตรอนใหม่เป็ น 2 , 8 ซึ่ งจะทาให้เวเลนซ์
อิเล็กตรอนกลายเป็ น 8 ตัวได้เช่นกัน
ทานองเดียวกันอะตอมธาตุโลหะหมู่ 2A เช่น 12Mg มีการจัดเรี ยงอิเล็กตรอนเป็ น 2 , 8 , 2
อะตอมนี้จะพยายามจ่ายอิเล็กตรอนนอกสุ ดออกไป 2 ตัว
อะตอมของธาตุโลหะหมู่ 3A เช่น 13Al มีการจัดเรี ยงอิเล็กตรอนเป็ น 2 , 8 , 3 อะตอมนี้ จะ
พยายามจ่ายอิเล็กตรอนนอกสุ ดออกไป 3 ตัว เพื่อให้เวเลนซ์อิเล็กตรอนกลายเป็ น 8 ตัว เช่นกัน
จะเห็นว่าธาตุโลหะมีแนวโน้มที่จะจ่ายอิเล็ก-
ตรอนออกไป ความพยายามดึงดูดอิเล็กตรอนเข้ามีนอ้ ย
ธาตุโลหะจึงมีค่าอิเล็กโทรเนกาติวติ ีต่ากว่าธาตุอโลหะ
ธาตุที่มีค่า EN สู งสุ ดตามลาดับที่ควรจาคือ
F > O > Cl  N > Br > I  S  C > H

1
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 พันธะเคมี
ฝึ กทา อะตอมของธาตุหมู่ A ต่อไปนี้ มีแนวโน้มจะรับหรื อจ่ายอิเล็กตรอนกี่ตวั
1. หมู่ 1A …….... 2. หมู่ 2A …….... 3. หมู่ 3A …….... 4. หมู่ 4A ……....
5. หมู่ 5A …….... 6. หมู่ 6A …….... 7. หมู่ 7A …….... 8. หมู่ 8A ……....

ความเป็ นโลหะและอโลหะ
ธาตุในหมู่เดียวกัน ความเป็ นโลหะจะเพิม่ ขึ้นจากบนลงล่าง เพราะอะตอมใหญ่ข้ ึ น แรงที่
นิวเคลียสดึงดูดอิเล็กตรอนจะน้อยลง จึงจ่ายอิเล็กตรอนได้ง่าย
ธาตุในคาบเดียวกัน ความเป็ นโลหะจะเพิ่มขึ้นจากขวาไปซ้าย เพราะอะตอมใหญ่ข้ ึน แรงที่
นิวเคลียสดึงดูดอิเล็กตรอนจะน้อยลง จึงจ่ายอิเล็กตรอนได้ง่ายเช่นกัน
สาหรับความเป็ นอโลหะจะมีแนวโน้มตรงกันข้ามกับความเป็ นโลหะ กล่าวคือ
ธาตุในหมู่เดียวกัน ความเป็ นอโลหะจะเพิ่มขึ้นจากล่างขึ้นบน
ธาตุในคาบเดียวกัน ความเป็ นอโลหะจะเพิ่มขึ้นจากซ้ายไปขวา
ความเป็ นอโลหะเพิ่มขึ ้น

ความเป็ นอโลหะเพิ่มขึ ้น
ความเป็ นโลหะเพิ่มขึ ้น

ความเป็ นโลหะเพิ่มขึ ้น
พันธะเคมี คือแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอะตอมกับอะตอม หรื อไอออนกับไอออน ภายในสสาร
พันธะเคมีมี 3 ประเภทได้แก่ H
O พันธะเคมี O
H H
1. พันธะไอออนิก H

แรงยึดเหนี่ยวโมเลกุล
2. พันธะโคเวเลนต์ O
H
3. พันธะโลหะ H

แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลกับโมเลกุลในสสาร
ไม่ถือว่าเป็ นพันธะเคมี
แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุล มี 2 ประเภทได้แก่
1. พันธะไฮโดรเจน 2. แรงแวนเดอร์วาลส์

2
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 พันธะเคมี
1. จากรู ปภาพที่กาหนด หมายเลขใดแสดงถึง
(1) O
พันธะเคมี และหมายเลขใดแสดงถึงแรงดึง H
H O
ดูดระหว่างโมเลกุล (2) H
H
1. (1) พันธะเคมี (2) พันธะเคมี O
H
2. (1) พันธะเคมี (2) แรงดึงดูดระหว่างโมเลกุล H

3. (1) แรงดึงดูดระหว่างโมเลกุล (2) พันธะเคมี


4. (1) แรงดึงดูดระหว่างโมเลกุล (2) แรงดึงดูดระหว่างโมเลกุล

2. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่พนั ธะเคมี
1. พันธะไอออนิก 2. พันธะโคเวเลนต์ 3. พันธะโลหะ 4. พันธะไฮโดรเจน

2.1 พันธะโคเวเลนต์
2.1.1 การเกิดพันธะโคเวเลนต์
พันธะโคเวเลนต์ คื อแรงยึดเหนี่ ย วระหว่างอะตอมที่ เกิ ดจากอะตอมใช้เวเลนซ์ อิเล็ ก ตรอน
ร่ วมกันเป็ นคู่ๆ ดังตัวอย่างต่อไปนี้
ตัวอย่าง การเกิดพันธะของคลอรี น ( Cl ) กับฟลูออรี น ( F )
ทั้งคลอรี น ( Cl ) และฟลูออรี น ( F ) ล้วนเป็ นอโลหะ
หมู่ 7A เหมือนกัน อะตอมของธาตุท้ งั สองต่างต้องการอิเล็ก- ** . .
* Cl * F ..
ตรอนอีก 1 ตัวเหมือนกัน แต่เนื่องจากธาตุท้ งั สองล้วนมีค่า * .
อิเล็กโทรเนกาติวติ ี (EN) สู ง อะตอมทั้งสองจึงไม่ยอมจ่าย ** ..
อิเล็กตรอนให้แก่กนั จึงต้องมีการนาเอาเวเลนซ์อิเล็กตรอน
มาใช้ร่วมกัน 1 คู่ ดังรู ป เพื่อให้อะตอมทั้งสองเสมือนมีเวเลนซ์อิเล็กตรอน 8 ตัวเหมือนกันทั้งคู่
อิเล็กตรอนที่ใช้ร่วมกันนี้ จะเรี ยก อิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะ และอิเล็กตรอนที่ใช้ร่วมกันนี้จะมีแรง
ดึงดูดกับนิวเคลียสของอะตอมที่เข้ามาร่ วมพันธะกันแรงดึงดูดตรงนี้ จะเรี ยกเป็ นพันธะโคเวเลนต์ และ
โมเลกุลที่เกิดขึ้นจะเรี ยก โมเลกุลโคเวเลนต์ สารประกอบที่มีโมเลกุลโคเวเลนต์จะเรี ยก สาร ประกอบ
โคเวเลนต์

3
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 พันธะเคมี
ตัวอย่าง การเกิดพันธะของไฮโดนเจน ( H ) กับฟลูออรี น ( F )
ฟลูออรี น ( F ) เป็ นอโลหะหมู่ 7A อะตอมฟลูออรี น
จะมีความต้องการอิเล็กตรอนอีก 1 ตัว ส่ วนอะตอมไฮโดร- . .
H *
เจน( H ) มีอิเล็กตรอน 1 ตัว อยูใ่ นระดับพลังงาน K ซึ่งมี .
อิเล็กตรอนได้สูงสุ ด 2 ตัว ดังนั้นอะตอมไฮโดรเจนจะต้อง . F .
การอิเล็กตรอนอีก 1 ตัวเช่นกัน ดังนั้นอะตอมทั้งสองจะมี
..
การนาเวเลนซ์อิเล็กตรอนเข้ามาใช้ร่วมกัน 1 คู่แล้วเกิดเป็ นพันธะโคเวเลนต์ ดังรู ป
ตัวอย่าง การเกิดพันธะของไฮโดนเจน ( H ) กับออกซิเจน ( O )
ออกซิเจน ( O ) เป็ นอโลหะหมู่ 6A อะตอมออกซิ -
. .
เจนจะมีความต้องการอิเล็กตรอนอีก 2 ตัว ส่ วนอะตอม . .
ไฮโดรเจน( H ) จะต้องการอิเล็กตรอนอีกเพียง 1 ตัว ดัง . O
* H
นั้นอะตอมออกซิ เจน 1 อะตอม จะต้องเข้ามารวมตัวกับ * .
อะตอมไฮโดรเจน 2 อะตอม แล้วนาเวเลนซ์อิเล็กตรอน H

เข้ามาใช้ร่วมกันดังรู ป เพื่อให้อะตอมออกซิเจนเสมือนมี
เวเลนซ์อิเล็กตรอน 8 ตัว ส่ วนไฮโดรเจนแต่ละอะตอมจะเสมือนมีเวเลนซ์อิเล็กตรอน 2 ตัว
ตัวอย่าง การเกิดพันธะของไฮโดรเจน ( H ) กับไนโตรเจน ( N )
ไนโตรเจน ( N ) เป็ นอโลหะหมู่ 5A อะตอมไนโตร- . .
เจนจะมีความต้องการอิเล็กตรอนอีก 3 ตัว ส่ วนอะตอม .
H *.
ไฮโดรเจน( H ) จะต้องการอิเล็กตรอนอีกเพียง 1 ตัว ดัง
N
* H
นั้นอะตอมไนโตรเจน 1 อะตอม จะต้องเข้ามารวมตัวกับ * .
อะตอมไฮโดรเจน 3 อะตอม แล้วนาเวเลนซ์อิเล็กตรอน H

เข้ามาใช้ร่วมกันดังรู ป เพื่อให้อะตอมไนโตรเจนเสมือนมี
เวเลนซ์อิเล็กตรอน 8 ตัว ส่ วนไฮโดรเจนแต่ละอะตอมจะเสมือนมีเวเลนซ์อิเล็กตรอน 2 ตัว

4
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 พันธะเคมี
ตัวอย่าง การเกิดพันธะของไฮโดรเจน ( H ) กับคาร์ บอน ( C )
H
คาร์บอน ( C ) เป็ นอโลหะหมู่ 4A อะตอมคาร์ - . *
บอนจะมีความต้องการอิเล็กตรอนอีก 4 ตัว ส่ วนอะตอม * C *. H
H .
ไฮโดรเจน( H ) จะต้องการอิเล็กตรอนอีกเพียง 1 ตัว ดัง
นั้นอะตอมคาร์บอน 1 อะตอม จะต้องเข้ามารวมตัวกับ * .
อะตอมไฮโดรเจน 4 อะตอม แล้วนาเวเลนซ์อิเล็กตรอน H

เข้ามาใช้ร่วมกันดังรู ป เพื่อให้อะตอมคาร์บอนเสมือนมีเว-
เลนซ์อิเล็กตรอน 8 ตัว ส่ วนไฮโดรเจนแต่ละอะตอมจะเสมือนมีเวเลนซ์อิเล็กตรอน 2 ตัว
ตัวอย่าง การเกิดพันธะของออกซิ เจน ( O ) กับออกซิเจน ( O )
ออกซิเจน ( O ) เป็ นอโลหะหมู่ 6A อะตอมออกซิ -
เจนจะมีความต้องการอิเล็กตรอนอีก 2 ตัว ดังนั้นเมื่อ
. . * *
. . * *
ออกซิเจน 2 อะตอมเข้ามารวมตัวกัน จะมีการใช้เวเลนซ์- O O
. . * *
อิเล็กตรอนร่ วมกัน 2 คู่ เพื่อให้แต่ละอะตอมเสมือนมี
เวเลนซ์อิเล็กตรอน 8 ตัวดังรู ป
ตัวอย่าง การเกิดพันธะของไนโตรเจน ( N ) กับไนโตรเจน ( N )
ไนโตรเจน ( N ) เป็ นอโลหะหมู่ 5A อะตอมไน-
โตรเจนจะมีความต้องการอิเล็กตรอนอีก 3 ตัว ดังนั้น . . *
เมื่ออะไนโตรเจน 2 อะตอมเข้ามารวมตัวกัน จะมีการใช้ . * N *
. N . *
เวเลนซ์อิเล็กตรอนร่ วมกัน 3 คู่ เพื่อให้แต่ละอะตอม
*
เสมือนกับมีเวเลนซ์อิเล็กตรอน 8 ตัวดังรู ป

3. เหตุที่อะตอมของธาตุต่างๆ ต้องเข้ามารวมตัวกันสร้างพันธะเคมีคือข้อใดต่อไปนี้
1. เพื่อรวมกันเป็ นกลุ่มก้อนที่ใหญ่ข้ ึน
2. เพื่อป้ องกันการสู ญเสี ยพลังงาน
3. เพื่อให้เวเลนส์อิเล็กตรอนของแต่ละอะตอมครบ 8 ตัว
4. ถูกทุกข้อ

5
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 พันธะเคมี
โดยทัว่ ไปแล้วพันธะโคเวเลนต์จะเกิดจากการรวมตัวของ ธาตุอโลหะรวมตัวกับอโลหะ หรื อ
ธาตุกึ่งโลหะรวมตัวกับอโลหะ หรื อโลหะบางชนิด (Be , Sn ) รวมตัวกับอโลหะ ทั้งนี้ เพราะอะตอม
ของธาตุพวกนี้จะมีค่าอิเล็กโทรเนกาติวิต้ ี (EN) สู งเหมือนๆ กัน เมื่อมารวมกันจะไม่มีอะตอมใดยอม
จ่ายอิเล็กตรอนให้แก่กนั จึงต้องมีการนาอิเล็กตรอนมาใช้ร่วมกันเกิดเป็ นพันธะโคเว-เลนต์นนั่ เอง
หมายเหตุ ไอออนเชิงซ้อนที่ประกอบด้วยโลหะแทรนซิ ชนั กับอโลหะ โลหะแทรนซิ ชนั กับอโลหะ จะ
เกิดพันธะชนิดโคเวเลนต์กนั เช่น MnO 4 , CrO24  , Fe(CN)34 เป็ นต้น
(ไอออนเชิงซ้อนคือไอออนที่ประกอบด้วยธาตุมากกว่า 1 ชนิด)
4. อะตอมคู่ใดในข้อใดต่อไปนี้ที่รวมตัวด้วยพันธะโคเวเลนต์
1. คาร์ บอนกับซัลเฟอร์ 2. แคลเซี ยมกับออกซิ เจน
3. เหล็กกับคลอรี น 4. คลอรี นกับโซเดียม

5. ถ้าธาตุ X , Y และ Z มีเลขอะตอมเป็ น 7 , 11 และ 30 ตามลาดับ สารประกอบในข้อ


ใด จัดเป็ นสารโคเวเลนต์
1. XCl3 2. YCl 3. ZCl2 4. ถูกทุกข้อ

6. จงพิจารณาว่าสารประกอบในข้อใดเป็ นสารประกอบโคเวเลนต์ลว้ นๆ
1. K2O , Al2O3 2. BeCl2 , SnCl4 3. MgBr2 , NaCl2 4. CsCl , MgCl2

2.1.2 ชนิดของพันธะโคเวเลนต์
พันธะโคเวเลนต์มี 3 ชนิด ได้แก่ ..
**
1) พันธะเดี่ยว คือพันธะมีการใช้เวเลนซ์อิเล็กตรอน *
* Cl *. F ..
ร่ วมกัน 1 คู่ เช่น พันธะใน Cl F ** ..
..
* ..
** ..
2) พันธะคู่ คือพันธะมีการใช้เวเลนซ์อิเล็กตรอน * O
* O
*
ร่ วมกัน 2 คู่ เช่น พันธะใน O2

* ** .. ..
*.
3) พันธะสาม คือพันธะมีการใช้เวเลนซ์อิเล็กตรอน N N
ร่ วมกัน 3 คู่ เช่น พันธะใน N2
*
6
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 พันธะเคมี
พลังงานพันธะ คือพลังงานที่ ใช้ไปเพื่อสลายพันธะระหว่างอะตอมภายในโมเลกุลซึ่ งอยู่ใน
สถานะแก๊สให้แยกออกจากกันเป็ นอะตอมในสถานะแก๊ส
โดยทัว่ ไปแล้ว พันธะสามจะมีพลังงานพันธะมากที่สุดทั้งนี้ เพราะมีการใช้เวเลนซ์อิเล็กตรอน
ร่ วมพันธะกันถึง 3 คู่ ส่ วนพันธะเดี่ยวจะมีพลังงานพันธะน้อยที่สุด เมื่อเรี ยงลาดับพลังงานพันธะ
จากมากไปหาน้อยจึงได้วา่ พลังงานพันธะของ
พันธะสาม > พันธะคู่ > พันธะเดี่ยว
ความยาวพันธะ คือระยะห่ างระหว่างนิ วเคลียสของอะตอมสองอะตอมที่เข้าร่ วมพันธะกันใน
โมเลกุล
โดยทัว่ ไปแล้วพันธะสามจะมีความยาวพันธะสามจะมีความยาวพันธะน้อยที่สุด เพราะมีการใช้
เวเลนซ์อิเล็กตรอนร่ วมกันถึง 3 คู่ จึงทาให้มีแรงดึงดูดนิ วเคลียสมากทาให้นิวเคลียสขยับเข้าใกล้ก นั
ทาให้ความยาวพันธะน้อยนัน่ เอง ส่ วนพันธะเดี่ยวจะมีความยาวพันธะมากที่สุด เมื่อเรี ยงลาดับความ
ยาวพันธะจากมากไปหาน้อยจึงได้วา่ ความยาวพันธะของ
พันธะสาม  พันธะคู่  พันธะเดี่ยว
7(มช 38) ความยาวพันธะใดต่อไปนี้ ยาวที่สุด
1. C – H 2. C – C 3. C = C 4. C º C

8. จงเรี ยงพลังงานของพันธะต่อไปนี้ จากพลังงานต่าสุ ดไปหาพลังงานสู งสุ ด


ก. H – F ข. H – Cl ค. H – Br
1. ก , ค , ข 2. ค , ก , ข 3. ค , ข , ก 4. ข , ก , ค

2.1.3 การเขียนสู ตร และการเรียกชื่อของสารโคเวเลนต์


2.1.3.1 การเขียนสู ตรสารโคเวเลนต์
สู ตรของสารโคเวเลนต์สามารถที่สาคัญได้แก่สูตรโมเลกุล สู ตรโครงสร้างแบบเส้น และ
สู ตรโครงสร้างลิวอิส ( สู ตรแบบจุด )
ก) การเขียนสู ตรโมเลกุลของสารโคเวเลนต์
ขั้นที่ 1 ต้องเรี ยงลาดับธาตุที่เข้ามารวมตัวกันตามลาดับ ตามหลักสากลดังนี้
B Bi C Sb As P N H Te Se S At I Br Cl O F ตามลาดับ
7
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 พันธะเคมี
ขั้นที่ 2 หาจานวนอิเล็กตรอนที่แต่ละธาตุตอ้ งการ แล้วนาจานวนอิเล็กตรอนนั้นไขว้สลับไป
เขียนห้อยไว้หลังแต่ธาตุแต่ละตัว
ตัวอย่าง จงเขียนสู ตรโมเลกุลของสารโคเวเลนต์ที่เกิดจากการรวมตัวของธาตุออกซิ เจน ( O ) กับ
ไฮโดรเจน ( H )
แนวคิด ขั้นที่ 1 ต้องเขียนธาตุ H ก่อน O ตามหลักสากล
ขั้นที่ 2 หาจานวนอิเล็กตรอนที่แต่ละธาตุตอ้ งการ แล้วไขว้สลับห้อยไว้หลังธาตุแต่ละตัว
H รับอิเล็กตรอน 1 ตัว ส่ วน O อยูห่ มู่ 6A รับอิเล็กตรอน 2 ตัว
รับ 1e รับ 2e
H + O = H2 O
สุ ดท้ายจะได้สูตรโมเลกุลเป็ น H2O
ตัวอย่าง จงเขียนสู ตรโมเลกุลของสารโคเวเลนต์ที่เกิดจากการรวมตัวของธาตุไฮโดรเจน ( H ) กับ
ไนโตรเจน ( N )
แนวคิด ขั้นที่ 1 ต้องเขียนธาตุ N ก่อน H ตามหลักสากล
ขั้นที่ 2 หาจานวนอิเล็กตรอนที่แต่ละธาตุตอ้ งการ แล้วไขว้สลับห้อยไว้หลังธาตุแต่ละตัว
N อยูห่ มู่ 5A รับอิเล็กตรอน 3 ตัว ส่ วน H รับอิเล็กตรอน 1 ตัว
รับ 3e รับ 1e
N + H = N H3
สุ ดท้ายจะได้สูตรโมเลกุลเป็ น N H3
ตัวอย่าง จงเขียนสู ตรโมเลกุลของสารโคเวเลนต์ที่เกิดจากการรวมตัวของธาตุซิลิกอน ( Si ) กับ
ออกซิเจน ( O )
แนวคิด ขั้นที่ 1 ต้องเขียนธาตุ C ก่อน O ตามหลักสากล
ขั้นที่ 2 หาจานวนอิเล็กตรอนที่แต่ละธาตุตอ้ งการ แล้วไขว้สลับห้อยไว้หลังธาตุแต่ละตัว
C อยูห่ มู่ 4A รับอิเล็กตรอน 4 ตัว ส่ วน O อยูห่ มู่ 6A รับอิเล็กตรอน 2 ตัว
รับ 4e รับ 2e
C + O = C2 O4 ทาอัตราส่ วนอย่างต่าได้ C O2
สุ ดท้ายจะได้สูตรโมเลกุลเป็ น CO2

8
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 พันธะเคมี
9. เมื่อธาตุ C รวมตัวกับ Cl และ N รวมตัวกับ O และ C รวมตัวกับ O จะได้สารโคเว-
เลนต์ที่มีสูตรดังข้อใดตามลาดับ
1. CCl4 , N2O , CO2 2. CCl2 , NO2 , CO
3. CCl4 , N2O3 , CO2 4. CCl2 , N2O5 , CO

10. ธาตุ X อยูห่ มู่ 4 เมื่อรวมตัวกับธาตุ Y อยูห่ มู่ 6 สู ตรของสารประกอบที่ได้คือข้อใด


1. XY 2. XY2 3. X2Y 4. X2Y3

11(แนว En) ธาตุ P และ Q จัดอิเล็กตรอนเป็ น P = 2 , 8 , 18 , 5 ; Q = 2 , 8 , 18 , 32 , 18 , 6


สารประกอบระหว่าง P และ Q ควรมีสูตรดังข้อใด
1. PQ2 2. P2 Q 3. P2 Q3 4. P3 Q2

ข) การเขียนสู ตรโครงสร้ างแบบเส้ นจากสู ตรโมเลกุล


เมื่อเราเขียนสู ตรโมเลกุลของสารโคเวเลนต์ได้แล้ว เราสามารถเปลี่ยนให้เป็ นสู ตรโครงสร้ าง
แบบเส้นได้ โดยทาตามขั้นตอนดังนี้
ขั้นที่ 1 หาอะตอมกลาง คืออะตอมที่มีอะตอมเดียว และต้องการเวเลนซ์อิเล็กตรอนมากที่สุด
หรื อมีแขนมากที่สุด โดยจานวนแขนของอะตอมต่างๆ ที่ควรรู ้ได้แก่
H และธาตุหมู่ 7A ( F , Cl , Br , I ) มี 1 แขน ( เพราะต้องการ e 1 ตัว )
O , S ( หมู่ 6A ) มี 2 แขน ( เพราะต้องการ e 2 ตัว )
N ( หมู่ 5A ) มี 3 แขน ( เพราะต้องการ e 3 ตัว )
C , Si ( หมู่ 4A ) มี 4 แขน ( เพราะต้องการ e 4 ตัว )
ขั้นที่ 2 วางตาแหน่งอะตอมกลาง แล้วเอาอะตอมอื่นล้อมรอบ
ขั้นที่ 3 ใส่ แขนของแต่ละอะตอม โดยนาแขนของอะตอมที่ติดกันมาเชื่อมต่อเป็ นเส้นเดียวกัน
9
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 พันธะเคมี
ตัวอย่าง จงเขียนสู ตรโครงสร้างแบบเส้นของ CH4
แนวคิด ขั้นที่ 1 หาอะตอมกลาง ข้อนี้ คือ C เพราะ C มีอะตอมเดียวและมีแขนมากที่สุดคือ 4 แขน
H
ขั้นที่ 2 นาอะตอม C วางไว้ตรงกลาง แล้ววาง
H C H
H 4 อะตอม ล้อมรอบ C
H
ขั้นที่ 3 เขียนแขนของ แต่ละอะตอม โดย C มี H
4 แขน และ H มี 1 แขน และ C กับ H ที่อยู่ H C H

ติดกันให้นาแขนมาต่อกันดังรู ป H

ตัวอย่าง จงเขียนสู ตรโครงสร้างแบบเส้นของ CO2


แนวคิด ขั้นที่ 1 หาอะตอมกลาง ข้อนี้ คือ C เพราะ C มีอะตอมเดียวและมีแขนมากที่สุดคือ 4 แขน
ขั้นที่ 2 นาอะตอม C วางไว้ตรงกลาง แล้ววาง
O C O
O 2 อะตอม ล้อมรอบ C
ขั้นที่ 3 เขียนแขนของ แต่ละอะตอม โดย C มี
O C O
4 แขน และ O แต่ละอะตอม มี 2 แขน และ C
กับ O ที่อยูต่ ิดกันให้นาแขนมาต่อกันดังรู ป
ฝึ กทา จงเขียนสู ตรโครงสร้างแบบเส้นของสารโคเวเลนต์ต่อไปนี้
SiH4 CHCl3 NH3 H2O HClO COCl2 CS2

เฉลย SiH4 CHCl3 NH3 H2O HClO COCl2 CS2


H H
H Si H Cl C Cl H N H H O H H O Cl Cl C Cl S C S
H Cl H O

ค) การเขียนสู ตรโครงสร้ างลิวอิสของโมเลกุลโคเวเลนต์ ( สู ตรแบบจุด )


เมื่อเราเขียนสู ตรโครงสร้างแบบเส้นได้แล้ว เราสามารถเปลี่ยนให้เป็ นสู ตรโครงสร้างลิวอิส
( แบบจุด ) ได้ โดยทาตามขั้นตอนดังนี้
ขั้นที่ 1 เปลี่ยนเส้นพันธะ 1 เส้น เป็ นจุด 2 จุด
ขั้นที่ 2 หากอะตอมกลางยังเหลืออิเล็กตรอนซึ่ งไม่ได้ใช้สร้างพันธะ อาจเขียนด้วยก็ได้
10
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 พันธะเคมี
ตัวอย่าง จงเขียนสู ตรโครงสร้างลิวอิสของ H N H
H
แนวคิด ขั้นที่ 1 เปลี่ยนเส้นพันธะ 1 เส้นเป็ น 2 จุด
ขั้นที่ 2 เนื่องจาก N มีเวเลนซ์อิเล็กตรอน 5 ตัว ..
ใช้สร้างพันธะกับ H ไป 3 ตัว ดังนั้น N จึงเหลือ
H ..
: N :H
H
อิเล็กตรอนที่ไม่ได้ใช้สร้างพันธะอีก 2 ตัวดังรู ป
หมายเหตุ ; เวเลนซ์อิเล็กตรอนที่ใช้สร้างพันธะโคเวเลนต์เรี ยกอิเล็กตรอนคู ่รวมพันธะ ในตัวอย่าง
นี้อิเล็กตรอนคู่รวมพันธะระหว่าง N กับ H มี 3 คู่
ส่ วนเวเลนซ์อิเล็กตรอนที่ไม่ได้ใช้สร้างพันธะเรี ยกอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว ในตัวอย่างนี้
อิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยวมี 1 คู่ อยูท่ ี่ N
ตัวอย่าง จงเขียนสู ตรโครงสร้างลิวอิสของ H O H
แนวคิด ขั้นที่ 1 เปลี่ยนเส้นพันธะ 1 เส้นเป็ น 2 จุด
ขั้นที่ 2 เนื่องจาก O มีเวเลนซ์อิเล็กตรอน 6 ตัว ..
ใช้สร้างพันธะกับ H ไป 2 ตัว ดังนั้น O จึงเหลือ ..
H : O :H

อิเล็กตรอนที่ไม่ได้ใช้สร้างพันธะอีก 4 ตัวดังรู ป
โครงสร้างนี้มีอิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะ 2 คู่ อะตอมกลาง ( O ) มีอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว 2 คู่

ตัวอย่าง จงเขียนสู ตรโครงสร้างลิวอิสของ H


H C H
H
แนวคิด ขั้นที่ 1 เปลี่ยนเส้นพันธะ 1 เส้นเป็ น 2 จุด
ขั้นที่ 2 เนื่องจาก C มีเวเลนซ์อิเล็กตรอน 4 ตัว H
..
ใช้สร้างพันธะกับ H ทั้งหมด 4 ตัว ดังนั้น C จึง
H :C :H
H
..
ไม่เหลืออิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว
โครงสร้างนี้มีอิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะ 4 คู่ อะตอมกลาง ( C ) ไม่มีอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว

ฝึ กทา จงเขียนสู ตรโครงสร้างลิวอิสของโมเลกุลโคเวเลนต์ต่อไปนี้


H P H H S H H O Cl Cl C Cl S C S
H O

11
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 พันธะเคมี
เฉลย .. .. ..
H ..
: P :H
H
H : .. :
S H H
..
: O :Cl : : Cl
Cl C
:O:
S :: C ::S

การหาจานวนพันธะโคเวเลนต์และจานวนอิเล็กตรอนคู ่โดดเดี่ยว สามารถหาจากสู ตรต่อไปนี้


สู ตรการหาจานวนอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยวรอบอะตอมกลาง
จานวนอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยวรอบอะตอมกลาง
  จ.น.อิเล็กตรอนที่รบั หรือ 
จ.น.เวเลน ต์อิเล็กตร อนอะตอมกลา ง  จ.น.แขนอะตอมที่เกาะอะตอมกลาง   
  จ.น.อิเล็กตรอนที่เสี ย 
=  
2
หลักการหาจานวนพันธะ ( จานวนอิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะ )
1) สาหรับสารประกอบโคเวเลนต์แท้ ( ในโมเลกุลมีเฉพาะพันธะโคเวเลนต์ )
จานวนพันธะโคเวเลนต์ = จานวนอะตอมอโลหะ – 1
2) สาหรับสารประกอบโคเวเลนต์ที่มีโครงสร้างเป็ นแบบวง 1 วง
จานวนพันธะโคเวเลนต์ = จานวนอะตอมอโลหะทั้งหมด
เช่น C6H6 มี 12 พันธะ , S8 มี 8 พันธะ , C6H5COOH มี 15 พันธะ
3) สาหรับสารประกอบไอออนิกผสมโคเวเลนต์ ให้พิจารณาเฉพาะส่ วนของโคเวเลนต์
จานวนพันธะโคเวเลนต์ = จานวนอะตอมอโลหะ – 1
เช่น NaClO3 แตกตัวจะได้ Na+ และ ClO3– พิจารณาเฉพาะ ClO3– จะได้วา่
จานวนพันธะโคเวเลนต์ = จานวนอะตอมอโลหะ – 1 = 4 – 1 = 3 พันธะ
หรื อ Mg(NO3)2 แตกตัวจะได้ Mg2+ และ NO3– 2 หมู่ พิจารณา NO3– จะได้
จานวนพันธะโคเวเลนต์ = จานวนอะตอมอโลหะ – 1 = 4 – 1 = 3 พันธะ
ดังนั้น NO3– 2 หมู่ จะมีพนั ธะโคเวเลนต์รวม 6 พันธะ
4) สาหรับสารประกอบ NH4+ ให้แยกคิดส่ วน NH4+ และส่ วนอื่นๆ แล้วนามารวมกันทีหลัง
เช่น NH4ClO3
พิจารณาส่ วน NH4+
จานวนพันธะโคเวเลนต์ = จานวนอะตอมอโลหะ – 1 = 5 – 1 = 4 พันธะ
ส่ วนของ ClO3–
จานวนพันธะโคเวเลนต์ = จานวนอะตอมอโลหะ – 1 = 4 – 1 = 3 พันธะ
รวมแล้วจานวนพันธะโคเวเลนต์ = 4 + 3 = 7 พันธะ

12
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 พันธะเคมี
ตัวอย่าง จงหาจานวนพันธะโคเวเลนต์ และจานวนอิเล็กตรอนคู ่โดดเดี่ยวรอบอะตอมกลางของ
โมเลกุล CH2O
แนวคิด โมเลกุล CH2O
จะได้วา่ จานวนพันธะโคเวเลนต์ = จานวนอะตอมอโลหะ – 1 = 4 – 1 = 3 พันธะ
และ อะตอมกลางคือ C มีจานวนเวเลนซ์อิเล็กตรอนก่อนเกิดพันธะ 4 ตัว
อะตอมที่เกาะอะตอมกลางคือ H 2 อะตอม มีแขนอะตอมละ 1 แขน และ O มี 2
แขน รวมแล้วมี 4 แขน จึงได้วา่

จานวนอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยวรอบอะตอมกลาง
  จ.น.อิเล็กตรอนที่รบั หรือ 
จ.น.เวเลน ต์อิเล็กตร อนอะตอมกลา ง  จ.น.แขนอะตอมที่เกาะอะตอมกลาง   
  จ.น.อิเล็กตรอนที่เสี ย 
=  
2
= 4240
= 0 คู่

ตัวอย่าง จงหาจานวนพันธะโคเวเลนต์ และจานวนอิเล็กตรอนคู ่โดดเดี่ยวรอบอะตอมกลางของ


โมเลกุล SO42–
แนวคิด โมเลกุล SO42–
จะได้วา่ จานวนพันธะโคเวเลนต์ = จานวนอะตอมอโลหะ – 1 = 5 – 1 = 4 พันธะ
และ อะตอมกลางคือ S มีจานวนเวเลนซ์อิเล็กตรอนก่อนเกิดพันธะ 6 ตัว
อะตอมที่เกาะอะตอมกลางคือ O 4 อะตอม มีแขนอะตอมละ 2 แขน รวมเป็ น 8 แขน
โมเลกุลนี้มีประจุ –2 แสดงว่ารับอิเล็กตรอนเพิ่ม 2 ตัว
จึงได้วา่
จานวนอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยวรอบอะตอมกลาง
  จ.น.อิเล็กตรอนที่รบั หรือ 
จ.น.เวเลน ต์อิเล็กตร อนอะตอมกลา ง  จ.น.แขนอะตอมที่เกาะอะตอมกลาง   
  จ.น.อิเล็กตรอนที่เสี ย 
=  
2
= 6  82  2
= 0 คู่

13
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 พันธะเคมี
ตัวอย่าง จงหาจานวนพันธะโคเวเลนต์ และจานวนอิเล็กตรอนคู ่โดดเดี่ยวรอบอะตอมกลางของ
โมเลกุล H3O+
แนวคิด โมเลกุล H3O+
จะได้วา่ จานวนพันธะโคเวเลนต์ = จานวนอะตอมอโลหะ – 1 = 4 – 1 = 3 พันธะ
และ อะตอมกลางคือ O มีจานวนเวเลนซ์อิเล็กตรอนก่อนเกิดพันธะ 6 ตัว
อะตอมที่เกาะอะตอมกลางคือ H 3 อะตอม มีแขนอะตอมละ 1 แขน รวมเป็ น 3 แขน
โมเลกุลนี้มีประจุ +1 แสดงว่าเสี ยอิเล็กตรอนไป 1 ตัว
จึงได้วา่
จานวนอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยวรอบอะตอมกลาง
  จ.น.อิเล็กตรอนที่รบั หรือ 
จ.น.เวเลน ต์อิเล็กตร อนอะตอมกลา ง  จ.น.แขนอะตอมที่เกาะอะตอมกลาง   
  จ.น.อิเล็กตรอนที่เสี ย 
=  
2
= 6  23  1
= 1 คู่
ฝึ กทา จงหาอะตอมกลาง จานวนอิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะ และอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยวรอบอะตอม
กลางของโมเลกุลโคเวเลนต์ต่อไปนี้
โมเลกุล อะตอมกลาง จานวนพันธะ จ.น.อิเล็กตรอนคู่โดดเดีย่ วรอบอะตอมกลาง ( คู่ )
PCl3
BF3
H2O
CO2
CH2O
SO3
เฉลย ใช้สูตร จานวนพันธะโคเวเลนต์ = จานวนอะตอมอโลหะ – 1
และ
จานวนอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยวรอบอะตอมกลาง
  จ.น.อิเล็กตรอนที่รบั หรือ 
จ.น.เวเลน ต์อิเล็กตร อนอะตอมกลา ง  จ.น.แขนอะตอมที่เกาะอะตอมกลาง   
  จ.น.อิเล็กตรอนที่เสี ย 
=  
2

14
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 พันธะเคมี

โมเลกุล อะตอมกลาง จานวนพันธะ จ.น.อิเล็กตรอนคู่โดดเดีย่ วรอบอะตอมกลาง ( คู่ )


PCl3 P 3 = 5320 = 1
BF3 B 3 = 3320 = 0
H2O O 2 = 6220 = 2
CO2 C 2 = 4240 = 0
CH2O C 3 = 4240 = 0
SO3 S 3 = 6620 = 0

ฝึ กทา จงหาอะตอมกลาง จานวนอิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะ และอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยวรอบอะตอม


กลางของโมเลกุลโคเวเลนต์ต่อไปนี้
โมเลกุล อะตอมกลาง จานวนพันธะ จ.น.อิเล็กตรอนคู่โดดเดีย่ วรอบอะตอมกลาง ( คู่ )
NO3
CO32–
SO42–
PO43–
OCN–
NH4+
H3O+
I3–
O3

เฉลย ใช้สูตร จานวนพันธะโคเวเลนต์ = จานวนอะตอมอโลหะ – 1


และ
จานวนอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยวรอบอะตอมกลาง
  จ.น.อิเล็กตรอนที่รบั หรือ 
จ.น.เวเลน ต์อิเล็กตร อนอะตอมกลา ง  จ.น.แขนอะตอมที่เกาะอะตอมกลาง   
  จ.น.อิเล็กตรอนที่เสี ย 
=  
2

15
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 พันธะเคมี
โมเลกุล อะตอมกลาง จานวนพันธะ จ.น.อิเล็กตรอนคู่โดดเดีย่ วรอบอะตอมกลาง ( คู่ )
NO3 N 3 = 56  1
2 = 0
CO32– C 3 = 46  2 =0
2
SO42– S 4 = 68  2 =0
2
PO43– P 4 = 58  3
2 =0
OCN– C 2 = 45  1 =0
2
NH4+ N 4 = 54  1 =0
2
H3O+ O 3 = 63  1
2 =1
I3– I 2 = 72  1
2 =3
O3 O 2 = 64 0 =1
2

12(แนว En) กาหนดธาตุ X , Y และ Z มีเลขอะตอม 9 , 17 และ 18 ตามลาดับ


จงพิจารณาสารประกอบต่อไปนี้
ก. XF3 ข. YF5 ค. ZF2
สารประกอบในข้อใดบ้างที่อะตอมกลางมีจานวนอิเล็กตรอนคู ่โดดเดี่ยว 2 คู่
1. ก. เท่านั้น 2. ค. เท่านั้น 3. ก. และ ข. 4. ก. และ ค.

2.1.3.2 การเรียกชื่อสารประกอบโคเวเลนต์
การเรี ยกชื่อสารประกอบโคเวเลนต์ให้ใช้อหลักการดังนี้
1) ให้อ่านชื่อธาตุที่อยูข่ า้ งหน้าก่อนแล้วตามด้วยชื่อของอีกธาตุหนึ่งโดยเปลี่ยนเสี ยง
พยางค์ทา้ ยเป็ นไอด์ (ide)
2) ให้บอกจานวนอะตอมของธาตุแต่ละธาตุดว้ ยจานวนในภาษากรี ก ได้แก่
หนึ่ง = โมโน (mono) สอง = ได (di) สาม = ไตร (tri)
สี่ = เตตระ (tetra) ห้า = เพนตะ (penta) หก = เฮกซะ (hexa)
เจ็ด = เฮปตะ (hepta) แปด = ออกตะ (octa) เก้า = โนนะ (nona)
สิ บ = เดคะ (deca)

16
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 พันธะเคมี
3) ในกรณี ของธาตุที่นาหน้า หากมีจานวนอะตอมเพียงหนึ่งอะตอม ไม่ตอ้ งบอก
จานวนอะตอมธาตุน้ นั แต่สาหรับธาตุที่ตามหลังแม้วา่ จะมีเพียงหนึ่งอะตอมจะต้องบอกด้วย
ตัวอย่างการอ่านชื่อสารประกอบโคเวเลนต์
สู ตร ชื่อ
BF3 โบรอนไตรฟูออไรด์
OF2 ออกซิเจนไดฟูออไรด์
NI3 ไนโตรเจนไตรไอโอไดด์
CO2 คาร์บอนไดออกไซด์
CO คาร์บอนมอนอกไซด์
N2O ไดไนโตรเจนมอนอกไซด์
P4O10 เตตระฟอสฟอรัสเดคะออกไซด์

2.1.4 พันธะโคออร์ ดิเนตโคเวเลนต์ และแนวคิดเกีย่ วกับเรโซแนนท์


พันธะโคออร์ ดิเนตโคเวเลนต์ คือพันธะที่เกิดจากการใช้อิเล็กตรอนร่ วมกัน แต่อิเล็กตรอนคู่ที่
ใช้ร่วมกันเป็ นอิเล็กตรอนของอะตอมใดอะตอมหนึ่งเพียงฝ่ ายเดียว
ตัวอย่างเช่นการเกิดพันธะโคออร์ ดิเนตโคเวเลนต์ของซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ( SO2 ) เมื่อ
พิจารณาส่ วนของ SO จะพบว่า S กับ O จะสร้างพันธะคู่ต่อกัน
โดย S จะเหลืออิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว 2 คู่ เมื่อ O อีกตัวหนึ่ง O S:
..
เข้ามารวมตัวด้วย O ตัวนี้ จะเข้ามาใช้อิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยวของ S O

ร่ วมกับ S 1 คู่ โดยไม่มีการนาอิเล็กตรอนของตัว O เองมาร่ วม


ด้วยตรงนี้จะเกิดเป็ นพันธะโคออร์ดิเนตโคเวเลนต์ เช่นกัน
ฝึ กทา จงเขียนสู ตรโครงสร้างของสารต่อไปนี้
SO3 N2O O3 NH3BF3

เฉลย O
..:
S O N N :O O O :O
H N
H
:B
F
F
O
H F
17
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 พันธะเคมี
ฝึ กทา จงเขียนสู ตรโครงสร้างของสารต่อไปนี้
HClO4 H2SO4 HNO3 H2CO3

เฉลย
.. :
O
.. :
O O
:
H O Cl
.. O H O S
O
O H O N O H O C O
O
O H
H

หมายเหตุ : การเขียนสู ตรโครงสร้างของสารประกอบออกซิเจน ให้เอาอะตอมออกซิเจนไป ล้ อ มรอบ


อะตอมกลางแล้วใส่ แขนที่อะตอมกลางจับกับ O ทีละตัวจนกระทัง่ เวเลนซ์อิเล็กตรอน อะตอมกลาง
ครบ 8 หากยังเหลือ O ที่ยงั ไม่ได้ใส่ แขน O เหล่านั้นจะเกิดพันธะโคออร์ ดิเนต โคเวเลนต์ และหาก
เป็ นกรดออกซี ( กรดที่มี O อยูใ่ นโมเลกุล ) ให้นาแขนข้างหนึ่งของ O จับ อะตอมกลาง ส่ วนแขนอีก
ข้างให้นาไปจับกับ H

ฝึ กทา จงเขียนสู ตรโครงสร้างของสารต่อไปนี้


S22 CO CO32 NO 3

เฉลย
.. ..
:..: ..:
S S :C .. O :
O
C
O
N
– O O – – O O

รีโซแนนซ์ คือปรากฏการณ์ที่ไม่สามารถเขียนสู ตรโครงสร้างเพียงสู ตรหนึ่งสู ตรใดแทนสมบัติ


ของโมเลกุลสารบางชนิด
ตัวอย่างเช่ น การเขียนสู ตรโครงสร้างของ SO2 อาจเขียนได้ 2 รู ปแบบ ได้แก่
รู ปแบบที่ 1 S รู ปแบบที่ 2 S
O O O O

18
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 พันธะเคมี
โครงสร้างทั้งสองรู ปแบบนี้ จะประกอบไปด้วยพันธะเดี่ยว และพันธะคู่อย่างละ 1 พันธะ ซึ่ ง
ตามปกติแล้วนั้นพันธะคู่จะมีพลังงานพันธะมากกว่า และความยาวพันธะน้อยกว่าพันธะเดี่ยว แต่จาก
การทดลองพบว่าพันธะทั้งสองของ SO2 จะมีพลังงานและความ S
ยาวพันธะเท่ากัน ทั้งนี้เป็ นเพราะมีอิเล็กตรอน 1 คู่ในพันธะคู่ จะวิง่ O O
ไปมาระหว่างทั้งสองข้าง จึงทาให้ท้ งั สองข้างเสมือนมีพนั ธะอยู่ 1.5
พันธะเท่ากันจึงมีสมบัติเหมือนกัน การเขียนสู ตรโครงสร้างของ SO2 จึงไม่อาจเขียนรู ปแบบหนึ่ ง
แบบใดเพียงแบบเดียวดังที่ได้กล่าวมาแล้วนั้น แต่อาจเขียนเป็ น
S S S
O O
หรื อ O O
O O

โครงสร้างแบบนี้ เรี ยกโครงสร้างแบบเรโซแนนซ์ ซึ่ งเป็ นโครงสร้างที่มีเสถียรภาพเพิ ม่ ขึ้น


ตัวอย่างโครงสร้างเรโซแนนซ์ในโมเลกุลหรื อไอออนอื่นๆ เช่น
ไนโตรเจนไดออกไซด์ ( NO2 )

N N N
O O O O O O

ไนเตรตไอออน ( NO 3 )
– – – –
O O O O
N N N หรื อ N
O O O O O O O O

เบนซีน ( C6H6 )
H H
H C H H C H
C C C C หรื อ
C C C C
H C H H C H

H H

19
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 พันธะเคมี
13. ความยาวพันธะของ S กับ O ในโมเลกุล SO กับ SO2 อย่างไหนมีความยาวมากกว่ากัน
1. SO > SO2 2. SO2 > SO 3. SO = SO2 4. เปรี ยบเทียบกันไม่ได้

2.1.5 กฏออกเตต
กฎออกเตต กล่าวว่า “ อะตอมของธาตุต่างๆ ที่เข้าทาปฏิกิริยากัน จะมีการเปลี่ยนแปลงจานวน
อิเล็กตรอนเพื่อที่จะให้มีการจัดเรี ยงอิเล็กตรอนแบบเดียวกับแก๊สเฉื่อย คือมีเวเลนซ์อิเล็กตรอน ครบ 8
( ยกเว้น H ครบ 2 ) ”
อย่างไรก็ตามโมเลกุลบางอย่างเวเลนซ์อิเล็กตรอนของอะตอมกลางอาจมากกว่าหรื อน้อยกว่า 8
ก็ได้ ซึ่ งได้แก่
1. ธาตุ ที่มีวาเลนส์ อิเล็ก ตรอนน้อยกว่า 4 คือ Be และ B เมื่ อเกิ ดพันธะอาจจะมี เวเลนซ์
อิเล็กตรอนน้อยกว่า 8
เช่น BeCl2 ( Cl :Be : Cl ) จะเห็นว่า Be มีเวเลนซ์อิเล็กตรอน 4 ตัว

.. F
หรื อ
..
BF3 ( : B
F
F ) จะเห็นว่า B มีเวเลนซ์อิเล็กตรอน 6 ตัว

2. ธาตุที่มีวาเลนซ์อิเล็กตรอนมากกว่า 4 และอยูใ่ นคาบที่ 3 ขึ้นไปในตารางธาตุ เมื่อเกิดพันธะ


อาจมีวาเลนซ์อิเล็กตรอนมากกว่า 8
เช่น PCl5 SF6
Cl F
Cl Cl F F
P S
Cl Cl F F
F
P มีเวเลนซ์อิเล็กตรอน 10 ตัว F มีเวเลนซ์อิเล็กตรอน 12 ตัว
ควรทราบเพิม่ เติม
1. สารประกอบไฮโดรคาร์บอน ( สารประกอบของ C กับ H ) และโมเลกุลกรดออกซี อะตอม
กลางจะมีจานวนอิเล็กตรอนเป็ นไปตามกฏออกเตตเสมอ
2. อะตอม Be , B , P , S , ธาตุหมู่ 8A เมื่อเป็ นอะตอมกลางมักไม่เป็ นไปตามกฏออกเตต
เช่น BeCl2 , BF3 , PCl5 , SF6 , XeF4 เป็ นต้น
20
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 พันธะเคมี
14. สารประกอบในข้อใดที่มีการจัดเรี ยงตัวของอิเล็กตรอนเป็ นไปตามกฏออกเตตทั้งหมด
1. H2 , BF3 , CS2 2. N2 , Br2 , PCl5
3. PBr3 , CH2O , OF2 4. H2O , O2 , BeH2

2.1.6 พลังงานพันธะ
ในการเกิดปฏิกิริยาเคมีหนึ่งๆ นั้น ปกติแล้วจะต้องมีการสลายพันธะของสารตั้งต้นแล้วจึงมีการ
สร้างพันธะของผลิตภัณฑ์ การสลายพันธะจะเป็ นกระบวนการที่มีการดูดพลังงานเข้าไปเพื่อใช้ทาลาย
แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคให้แตกออกจากกัน ส่ วนการสร้างพันธะจะเป็ นกระบวน การที่มีการคาย
พลังงานออกมา
สาหรับพลังงานรวมของปฏิกิริยาอาจเป็ นแบบดูดพลังงานเข้า หรื อคายพลังงานออกก็ได้ ขึ้นอยู่
กับว่าพลังงานที่ดูดหรื อคาย อย่างไหนจะมากกว่ากัน เราสามารถหาพลังงานรวมของปฏิกริ ยาได้ดงั
ตัวอย่างต่อไปนี้
ตัวอย่าง กาหนดพลังงานพันธะดังนี้
H–H = 436 kJ/mol I–I = 151 kJ/mol H–I = 298 kJ/mol
จงหาว่าการเปลี่ยนแปลงต่อไปนี้ ดูดหรื อคายพลังงานเท่าใด
H2(g) + I2(g)  2 HI (g)
แนวคิด
ขั้น 1 เขียนสู ตรโครงสร้างของสารแต่ละตัว H2(g) + I2(g)  2 H I (g)
แล้วหาจานวนพันธะในแต่ละโมเลกุล ( H–H ) + ( I–I ) 2 ( H–I )
ขั้น 2 แทนค่าพลังงานพันธะแต่ละพันธะ
โดยพลังงานที่ดูดไปใช้สลายสารตั้งต้นเป็ น +
+ 436 + 151 2 ( –298 )
พลังงานที่คายเพื่อสร้างพันธะในผลิตภัณฑ์เป็ น –

ขั้น 3 หาพลังงานรวมของปฏิกริ ยา โดยนาค่า H = +436 + 151 + 2 ( –298 )


พลังงานทั้งหมดมาบวกกัน = +436 + 151 – 596
H = – 9 กิโลจูล

พลังงานรวมของปฏิกิริยา ( H ) มีค่าเป็ นลบแสดงว่าเป็ นการคายพลังงาน


นัน่ คือปฏิกิริยานี้จะมีการคายพลังงาน 9 กิโลจูล
( คือการสลาย H2 1 โมล I2 1 โมล แล้วสร้าง HI 2 โมล รวมแล้วคายพลังงาน 9 กิโลจูล )
21
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 พันธะเคมี
15. กาหนดพลังงานพันธะให้ดงั นี้
H – H = 436 kJ / mol F – F = 159 kJ/mol H – Fl = 567 kJ / mol
จงหาว่าการเปลี่ยนแปลงต่อไปนี้ ดูดหรื อคายพลังงานเท่าใด
H2(g) + F2(g)  2 HF (g)
1. ดูดพลังงานเท่ากับ 539 kJ 2. คายพลังงานเท่ากับ 539 kJ
3. ดูดพลังงานเท่ากับ 629 kJ 4. คายพลังงานเท่ากับ 629 kJ

16. กาหนด พลังงานพันธะดังนี้


H–H = 436 kJ/mol NºN = 945 kJ/mol N–H = 391 kJ/mol
จงหาว่าการเปลี่ยนแปลงต่อไปนี้ดูดหรื อคายพลังงานเท่าใด
2 NH3  N2 + 3 H2 ในสภาวะแก๊ส
1. ดูดพลังงาน 93 kJ 2. คายพลังงาน 93 kJ
3. ดูดพลังงาน 186 kJ 4. คายพลังงาน 186 kJ

22
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 พันธะเคมี
17. จงหาพลังงานในหน่วยกิโลจูล ที่ใช้ในการเผาไหม้แก๊สมีเทน ( CH4 ) 1 โมล ตามสมการ
CH4(g) + 2 O2(g)  CO2(g) + 2 H2O(g)
กาหนด พลังงานพันธะ
C–H = 413 kJ/mol , OO = 498 kJ/mol , CO = 804 kJ/mol , H–O = 463 kJ/mol
1. ดูดพลังงาน 406 kJ 2. คายพลังงาน 406 kJ
3. ดูดพลังงาน 812 kJ 4. คายพลังงาน 812 kJ

18. ปฏิกิริยาต่อไปนี้จะมีการดูดหรื อคายพลังงานกี่กิโลจูล


CH4(g) + Cl2(g)  CH3Cl (g) + HCl (g)
กาหนด พลังงานพันธะ
C–H = 413 kJ/mol , Cl–Cl = 243 kJ/mol , C–Cl = 327 kJ/mol , H–Cl = 431 kJ/mol
1. ดูดพลังงาน 102 kJ 2. คายพลังงาน 102 kJ
3. ดูดพลังงาน 204 kJ 4. คายพลังงาน 204 kJ

23
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 พันธะเคมี
19. การสลายพันธะในโมเลกุล CCl4 1 โมล ออกเป็ นอะตอมเดี่ยว ต้องใช้พลังงานกี่กิโลจูล
กาหนด พลังงานพันธะ C–Cl = 327 kJ/mol

20(แนว มช) กาหนด ค่าพลังงานพันธะเฉลี่ยระหว่างอะตอมคู่ต่าง ๆ ดังตาราง


พันธะ พลังงานพันธะ(kJ/mol)
C–H 413
H–O 463
C=O 804
ถ้าต้องการสลายโมเลกุลของฟอร์มาลดีไฮด์ (CH2O) 2 โมล ออกเป็ นอะตอมอย่างสมบูรณ์ จะต้อง
ใช้พลังงานกี่กิโลจูล

21. ปฏิกิริยา HF (g) + Cl2 (g)  HCl (g) + ClF (g) เป็ นปฏิกิริยาดูดความร้อน 120 กิโลจูล
กาหนดให้ พลังงานที่สลายพันธะ และที่ได้จากการเกิดพันธะของอะตอมคู่ต่าง ๆ เป็ นดังนี้
HF = 567 kJ/mol HCl = 431 kJ/mol ClCl = 242 kJ/mol
จงคานวณพลังงานพันธะของ Cl–F เป็ น กิโลจูล/โมล

24
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 พันธะเคมี
2.1.7 รู ปร่ างของโมเลกุล
การทานายรู ปร่ างโมเลกุลโคเวเลนต์เราอาจใช้แบบจาลองการผลักกันระหว่างคู่อิเล็กตรอนที่อยู่
ในวงเวเลนซ์ ( Valence Shell Electron Pair Repulsion model เขียนย่อเป็ น VSEPR ) โดยพิจารณาจาก
จานวนเวเลนซ์อิเล็กตรอนของอะตอมกลาง ซึ่ งอิเล็กตรอนเหล่านี้จะอยูห่ ่ างกันให้มากที่สุดเพื่อลดแรง
ผลักกันระหว่างคู่อิเล็กตรอน รู ปร่ างของโมเลกุลอาจแบ่งพิจารณาได้ดงั นี้
จานวนเวเลนซ์ จานวน จานวน
อิเล็กตรอนรอบ อิเล็กตรอน อิเล็กตรอน สู ตร มุมระหว่าง
รู ปร่ างโมเลกุล
อะตอมกลาง คู่ร่วมพันธะ คูโ่ ดดเดี่ยว ทัว่ ไป พันธะ
ทั้งหมด (คู)่ (คู่) (คู่)
2 2 0 AX2 เส้นตรง 180o
3 3 0 AX3 สามเหลี่ยม แบนราบ
120o

3 2 1 AX2E รู ปมุมงอ
น้อยกว่า 120o
หรื อตัวV
4 4 0 AX4 ทรงสี่ หน้า
109.5o

4 3 1 AX3E พีระมิดฐาน
น้อยกว่า 109.5o
สามเหลี่ยม
4 2 2 AX2E2 รู ปมุมงอ น้อยกว่า 109.5o
หรื อตัวV
5 5 0 AX5 พีระมิดคู่ฐาน
90o และ 120o
สามเหลี่ยม
5 4 1 AX4E Irregular 90o
Tetrahedral และน้อยกว่า 120o
5 3 2 AX3E2 รู ปตัว T 90o และ 180o

5 2 3 AX2E3 เส้นตรง 180o

25
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 พันธะเคมี
6 6 0 AX6 ทรง แปดหน้า
90o

6 5 1 AX5E พีระมิด
ฐานสี่ เหลี่ยม

6 4 2 AX4E2 สี่ เหลี่ยม


แบนราบ
22. โมเลกุลโคเวเลนต์ที่มีรูปร่ างเป็ นรู ปสามเหลี่ยมแบนราบ (Trigonal plane) คือ
1. BeF2 2. PH3 3. BCl3 4. CH4

23. สารในข้อใดมีรูปร่ างโมเลกุลเป็ นรู ปทรงสี่ หน้า


1. BF3 2. SO3 3. NO3 4. POCl3

24. โมเลกุลโคเวเลนต์ของสารในข้อใดต่อไปนี้มีรูปร่ างเป็ นรู ปพีระมิดฐานสามเหลี่ยม


1. BrF4 2. ICl 4 3. XeF4 4. ClO 3

25. สารคู่ใดมีรูปร่ างเป็ นรู ปมุมงอ


1. ICl2 2. H2S 3. CO2 4. BeCl2

26. สารคู่ใดมีรูปร่ างเป็ นรู ปเส้นตรง


1. ICl2 2. XeF4 3. CCl4 4. H2O

27(แนว มช) โมเลกุลข้อใดมีรูปร่ างต่างไปจากโมเลกุลอื่น


1. BCl3 2. NCl3 3. HCHO 4. SO3

26
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 พันธะเคมี
28. จงเรี ยงมุมของพันธะไฮโดรเจนกับอะตอมกลาง จากน้อยไปมาก
1. CH4 < NH3 < H2O 2. H2O < CH4 < NH3
3. NH3 < CH4 < H2O 4. H2O < NH3 < CH4

29. มุมระหว่างพันธะในโมเลกุลใดมีค่ามากที่สุด
1. H2S 2. NH3 3. CH4 4. BF3

2.1.8 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์
เมื่ออะตอมของธาตุต่างชนิ ดซึ่ งมีค่าอิเล็กโทรเนกาติวิตี (EN) ต่างกันเข้ามาสร้ างพันธะโคเว-
เลนต์กนั อะตอมที่มีค่าอิเล็กโทรเนกาติวิตี (EN) สู งกว่าจะดึงดูดอิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะเข้าใกล้ตวั ทา
ให้อะตอมนี้ มีสภาพเป็ นลบน้อยๆ ส่ วนอะตอมที่มีค่าอิเล็กโทรเนกาติวิตี (EN) ต่ากว่าจะถูกดึ งอิล็ก-
ตรอนคู่ร่วมพันธะออกห่างตัวทาให้อะตอมนี้ มีสภาพเป็ นบวกน้อยๆ พันธะแบบนี้ เรี ยกเป็ นพันธะโคเว
เลนต์มีข้ วั เช่นในพันธะของ H – F เนื่องจากอะตอม F
r+ r–
มีค่าอิเล็กโทรเนกาติวติ ี (EN) สู งกว่าอะตอม H ดังนั้น F H F
จะดึงอิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะเข้าใกล้ตวั จึงทาให้อะตอม F มี
สภาพเป็ นลบน้อยๆ ส่ วนอะตอม H จะมีสภาพเป็ นบวกน้อยๆ เราอาจใช้ลูกศรเป็ นสัญลักษณ์แทน
พันธะโคเวเลนต์มีข้ วั โดยใช้จุดเริ่ มต้นลูกศรแทนขั้วบวกและปลายลูกศรแทนขั้วลบดังรู ป ส่ วน
ความแรงของขั้วจะขึ้นกับความแตกต่างของค่าอิเล็กโทรเนกาติวิตี (EN) ของอะตอมคู่ร่วมพันธะ ถ้า
แตกต่างกันมากขั้วจะแรง ถ้าแตกต่างกันน้อยขั้วจะน้อยด้วย
30. กาหนดค่าอิเล็กโทรเนกาติวติ ี (EN) ของธาตุต่างๆ ดังนี้
H = 2.2 , C = 2.5 , S = 2.6 , N = 3.1 , Cl = 3.2 , O = 3.5 , F = 4.0
ข้อใดแสดงเครื ่ องหมายแสดงขั้วบนพันธะได้ถูกต้อง
+ – + – + – + –
1. F Cl 2. C H 3. S H 4. C Cl

27
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 พันธะเคมี
31. กาหนดค่าอิเล็กโทรเนกาติวติ ี (EN) ของธาตุต่างๆ ดังนี้
B = 2.0 , C = 2.5 , N = 3.1 , Cl = 3.2 , O = 3.5 , F = 4.0
โมเลกุลใดประกอบด้วยพันธะที่มีข้ วั แรงที่สุด
1. OF2 2. NF3 3. BF3 4. O2

หลักการพิจารณาความมีข้วั โดยรวมของโมเลกุลโคเวเลนต์
กรณีที่ 1 โมเลกุลมีพนั ธะเดียว
ถ้าอะตอมที่ร่วมพันธะเป็ นอะตอมชนิดเดียวกัน พันธะจะไม่มีข้ วั โมเลกุลจะไม่มีข้ วั ด้วย
ถ้าอะตอมที่ร่วมพันธะเป็ นอะตอมต่างกัน พันธะจะมีข้ วั และโมเลกุลจะมีข้ วั ด้วย
เช่น H  H = พันธะไม่มีข้ วั โมเลกุลไม่มีข้ วั ด้วย
H  F = พันธะมีข้ วั โมเลกุลมีข้ วั ด้วย
กรณีที่ 2 โมเลกุลมีหลายพันธะ
เบื้องต้นให้พิจารณาตามขั้นตอนต่อไปนี้
ขั้นที่ 1 พิจารณาอะตอมที่ลอ้ มรอบอะตอมกลาง ถ้าอะตอมที่ลอ้ มรอบนั้นแตกต่างกัน
โมเลกุลพวกนี้มกั จะมีข้ วั เช่น COCl2 อะตอมกลางคือ C อะตอมรอบข้างมี O กับ Cl ซึ่ง
แตกต่างกัน โมเลกุลจึงมีข้ วั
ขั้นที่ 2 ถ้าอะตอมที่ลอ้ มรอบนั้นเหมือนกันหมด ให้ดูจานวนพันธะและอิเล็กตรอนคู่โดด
เดี่ยว ถ้าไม่มีอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว หรื อ 2 พันธะกับ 3 คู่โดดเดี่ยว หรื อ 4 พันธะกับ 2 คู่โดด
เดี่ยว ( *  0 หรื อ 2  3 หรื อ 4  2 ) โมเลกุลพวกนี้จะไม่มีข้ วั นอกเหนือจากนี้ โมเลกุลมักจะ
มีข้ วั เช่น
PH3 อะตอมกลางคือ P อะตอมรอบข้างมี H เหมือนกันหมด
และมี 3 พันธะ 1 อิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว โมเลกุลจึงมีข้ วั
XeCl2 อะตอมกลางคือ Xe อะตอมรอบข้างมี Cl เหมือนกันหมด
และมี 2 พันธะ 3 อิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว โมเลกุลจึงไม่มีข้ วั
XeCl4 อะตอมกลางคือ Xe อะตอมรอบข้างมี Cl เหมือนกันหมด
และมี 4 พันธะ 2 อิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว โมเลกุลจึงไม่มีข้ วั
CH4 อะตอมกลางคือ C อะตอมรอบข้างมี H เหมือนกันหมด
และเนื่องจากไม่มีอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว โมเลกุลจึงไม่มีข้ วั
28
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 พันธะเคมี
เหตุที่บางโมเลกุลที่มีหลายพันธะแต่โมเลกุลไม่มีข้ วั นั้น เป็ นเพราะขั้วของพันธะจะหักล้าง
กันหมดพอดี เช่น

r– r+ r+ r–
BeCl2 Cl Be Cl พันธะย่อยมีข้ วั แต่โมเลกุลไม่มีข้ วั เพราะขั้วหักล้างกันหมด

BF3 B พันธะย่อยมีข้ วั แต่โมเลกุลไม่มีข้ วั เพราะขั้วหักล้างกันหมด


F F

หากอะตอมรอบอะตอมกลางไม่เหมือนกัน หรื อจานวนพันธะและจานวนอิเล็กตรอนคู่โดด


เดี่ยวแตกต่างจากที่กล่าวมาข้างต้น และขั้วของพันธะย่อยไม่สามารถหักล้างกันหมดได้ โมเลกุลจะมี
ขั้ว เช่น
O
OF2 พันธะย่อยมีข้ วั และโมเลกุลมีข้ วั
F F

ฝึ กทา โมเลกุลสารต่อไปนี้เป็ นโมเลกุลที่มีข้ วั หรื อไม่


CH3Cl , CH2O , COCl2 , CHN , CH4 , BeCl2 , BF3 , XeF2 , XeF4 , NH3 , PCl3

เฉลย CH3Cl อะตอมกลางคือ C อะตอมรอบข้างมี H กับ Cl ซึ่ งแตกต่างกัน โมเลกุลจึงมีข้ วั


CH3O อะตอมกลางคือ C อะตอมรอบข้างมี H กับ O ซึ่งแตกต่างกัน โมเลกุลจึงมีข้ วั
COCl2 อะตอมกลางคือ C อะตอมรอบข้างมี O กับ Cl ซึ่ งแตกต่างกัน โมเลกุลจึงมีข้ วั
CHN อะตอมกลางคือ C อะตอมรอบข้างมี H กับ N ซึ่ งแตกต่างกัน โมเลกุลจึงมีข้ วั
NH3 อะตอมกลางคือ N อะตอมรอบข้างมี H เหมือนกันหมด
และมี 3 พันธะ 1 อิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว โมเลกุลจึงมีข้ วั
PCl3 อะตอมกลางคือ P อะตอมรอบข้างมี Cl เหมือนกันหมด
และมี 3 พันธะ 1 อิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว โมเลกุลจึงมีข้ วั
XeF2 อะตอมกลางคือ Xe อะตอมรอบข้างมี F เหมือนกันหมด
และมี 2 พันธะ 3 อิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว โมเลกุลจึงไม่มีข้ วั
XeF4 อะตอมกลางคือ Xe อะตอมรอบข้างมี F เหมือนกันหมด
และมี 4 พันธะ 2 อิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว โมเลกุลจึงไม่มีข้ วั
29
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 พันธะเคมี
CH4 อะตอมกลางคือ C อะตอมรอบข้างมี H เหมือนกันหมด
และเนื่องจากไม่มีอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว โมเลกุลจึงไม่มีข้ วั
BeCl2 อะตอมกลางคือ Be อะตอมรอบข้างมี Cl เหมือนกันหมด
และเนื่องจากไม่มีอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว โมเลกุลจึงไม่มีข้ วั
BF3 อะตอมกลางคือ B อะตอมรอบข้างมี F เหมือนกันหมด
และเนื่องจากไม่มีอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว โมเลกุลจึงไม่มีข้ วั
32. จากโมเลกุลสารต่อไปนี้ : H2 , O2 , F2 , HF , CHCl3 , CO2 , SiH4 , PCl5 , SF6 , H2O
สารข้อใดมีโมเลกุลไม่มีข้ วั ทั้งหมด
1. HF , SiH4 , PCl5 , SF6 2. CO2 , SiH4 , PCl5 , H2O
3. H2 , O2 , F2 , CHCl3 4. H2 , O2 , F2 , CO2

33. ความเป็ นขั้วของสารประกอบ CH3F , NF3 , BCl3 และ BrCl เรี ยงลาดับดังนี้
1. ไม่มีข้ วั , มีข้ วั , มีข้ วั , ไม่มีข้ วั 2. มีข้ วั , มีข้ วั , ไม่มีข้ วั , ไม่มีข้ วั
3. มีข้ วั , มีข้ วั , ไม่มีข้ วั , มีข้ วั 4. มีข้ วั หมดทุกตัว

34. โมเลกุลในข้อใดต่อไปนี้ เป็ นโมเลกุลมีข้ วั


1. XeF2 2. XeF4 3. I3– 4. SF4

35. โมเลกุลโคเวเลนต์ในข้อใดเป็ นโมเลกุลมีข้ วั ทุกชนิด


1. CO2 , H2O 2. BF3 , HF 3. H2O , CaCl2 4. NH3 , CHCl3

36(แนว En) ข้อใดเป็ นโมเลกุลไม่มีข้ วั


1. CCl4 และ CH3Cl 2. SF6 และ BCl3
3. BCl3 และ NCl3 4. HCN และ CO2

30
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 พันธะเคมี
2.1.9 แรงยึดเหนี่ยวระหว่ างโมเลกุลโคเวเลนต์
แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลโคเวเลนต์มี 2 ประเภท ได้แก่
1. แรงแวนเดอร์วาลส์ 2. พันธะไฮโดรเจน
1. แรงแวนเดอร์ วาลส์
แรงแวนเดอร์วาลส์มี 3 ประเภทย่อย ได้แก่
1.1 แรงดึงดูดระหว่ างโมเลกุลมีข้ วั
เมื่อโมเลกุลมีข้ วั หลายๆ โมเลกุลมาอยูร่ วมกัน + –
+ –
แต่ละโมเลกุลจะมีการจัดเรี ยงตัวโดยโมเลกุลหนึ่งจะหันขั้ว –
บวกของตัวเองเข้าหาขั้วลบของโมเลกุลอื่น ทั้งนี้เพราะขั้ว +
ไฟฟ้ าต่างกันจะมีแรงดึงดูดซึ่ งกันและกัน แรงดึงดูดระหว่างขั้วไฟฟ้ าตรงนี้จะกลายเป็ นแรงยึดเหนี่ยว
ระหว่างโมเลกุลที่มีข้ วั เรี ยกแรงนี้อีกอย่างว่า แรงไดโพล-ไดโพล
1.2 แรงดึงดูดระหว่ างโมเลกุลมีข้ วั กับโมเลกุลไม่ มีข้ วั
เมื่ อ โมเลกุ ล ที่ มี ข้ ัวมารวมตัว อยู่ก ับ โมเลกุ ล ที่ ไ ม่ มี ข้ ัว โมเลกุ ล มี ข้ ัว จะเหนี่ ย วน าให้
โมเลกุลไม่มีข้ วั กลับกลายเป็ นมามีข้ วั น้อยๆ ทาให้เกิ ดแรงดึงดูดได้ แรงดึ งดูดตรงนี้ จะกลายเป็ นแรง
ดึงดูดระหว่างโมเลกุลอีกแบบหนึ่ ง เรี ยกชื่ อแรงนี้ อีกอย่างว่า แรงไดโพล-นอนไดโพล ตัวอย่างเช่ น
แรงดึงดูดระหว่างโมเลกุล O2 กับ H2O ซึ่งจะเป็ นแรงที่ทาให้ O2 ละลายลงไปในน้ าได้
1.3 แรงดึงดูดระหว่ างโมเลกุลไม่ มีข้วั
ปกติแล้วอิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะในโมเลกุลที่ไม่มีข้ วั จะมีการสั่นสะเทือนอยูต่ ลอดเวลา
และบางครั้งอิเล็กตรอนนั้นอาจโน้มเอียงเข้าใกล้อะตอมหนึ่งอะตอมใด ทาให้โมเลกุลนั้นกลายเป็ นมี
ขั้วชัว่ คราว จากนั้นโมเลกุลดังกล่าวจะเหนี่ยวนาทาให้โมเลกุลใกล้เคียงมีข้ วั ชัว่ คราวตามกันไป และ
ก่อให้เกิดแรงดึงดูดระหว่างโมเลกุล เรี ยกแรงนี้ อีกอย่างว่า แรงลอนดอน
2. พันธะไฮโดรเจน
พันธะไฮโดรเจนเป็ นแรงยึดเหนี่ ยวระหว่างโมเลกุลซึ่ งเกิ ดกับโมเลกุลที่มีพนั ธะโคเวเลนต์
ของอะตอม H–O หรื อ H–F หรื อ H–N อยูภ่ ายในโมเลกุล ทั้งนี้ เพราะอะตอม H กับ O หรื อ F
หรื อ N มีค่าอิเล็กโทรเนกาติวิตีแตกต่างกันมากจึงทาให้มีความเป็ นขั้วอย่างแรง เมื่อโมเลกุลที่มี
พันธะเหล่านี้อยูภ่ ายในมาอยูร่ วมกัน จะมีการหันขั้วบวกของโมเลกุลหนึ่ งไปหาขั้วลบของอีกโมเลกุล
หนึ่ งแล้วเกิ ดเป็ นแรงดึ งดูดระหว่างโมเลกุลอย่างแรงกว่าแรงแวนเดอร์ วาลส์ เรี ยกแรงดึงดูดระหว่าง
โมเลกุลเช่นนี้วา่ พันธะไฮโดรเจน

31
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 พันธะเคมี
โปรดระวังว่าแรงดึงดูดระหว่างอะตอม H กับ O หรื อ F หรื อ N ในโมเลกุลจะเป็ น
พันธะโคเวเลนต์ ไม่ใช่พนั ธะไฮโดรเจน แต่แรงดึงดูดระหว่าง H กับโมเลกุลอื่นภายนอกโมเลกุลถึง
จะเรี ยกเป็ นพันธะไฮโดรเจน
F
H
F H
H
F

O พันธะโคเวเลนต์ O
H H
H H N
H H
พันธะไฮโดรเจน H
( แรงยึดเหนี่ยวโมเลกุล ) พันธะไฮโดรเจน H
O N
H H
H N
H H
H
H

รู ปพันธะไฮโดรเจนในโมเลกุล HF H2O และ NH3


ตัวอย่างสารที่เกิดพันธะไฮโดรเจนได้ เช่น HF , H2O , NH3 , CH3OH , HCOOC
สารที่มีพนั ธะไฮโดรเจนจะมีจุดหลอมเหลวและจุดเดือดสู งกว่าสารอื่นๆ ที่มวลโมเลกุล
เท่ากันหรื อใกล้เคียงกันมาก
H2O
100
H2te
HF
SbH3
0 H2Se

H2S AsH3 HI
NH3
HCl
HBr SnH4
–100 PH3 GeH4
SiH4

CH4
–200
เลขที่คาบ
23 4 5
เปรียบเทียบแรงดึงดูด แรงวันเดอร์ วาส์ ล : พันธะไฮโดรเจน : พันธะโควาเลนท์
1 : 10 : 100
32
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 พันธะเคมี
37. สารประกอบต่อไปนี้ ข้อใดที่โมเลกุลยึดเหนี่ยวกันด้วยแรงยึดเหนี่ยวอย่างเดียวกัน
1. H2S , NO และ CHCl3 2. O2 , N2 และ CHCl3
3. CH4 , HF และ NH3 4. Ne , CCl4 และ H2S

38. แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลของสารใดเป็ นชนิดแรงลอนดอน


1. H2O 2. HCN 3. N2 4. NaCl

39. สารใดไม่มีพนั ธะไฮโดรเจน


1. H2S 2. NH3 3. CH3COOH 4. CH3OH

40(แนว En) สารประกอบ 2 ชนิดในข้อใด ที่แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลมีค่ามากที่สุด


1. HI , CCl4 2. HCl , SiH4 3. CH4 , PH3 4. H2O , HF

41(แนว มช) สารประกอบของคาร์ บอนต่อไปนี้ สารใดมีจุดเดือดต่าสุ ด


1. HCOOH 2. CH3CH2OH 3. CH3CH2COOH 4. CH3CH2CH3

42(แนว มช) A , B , C และ D เป็ นสารที่มีมวลโมเลกุลใกล้เคียงกัน จุดหลอมเหลว และจุดเดือด


ของ A , B , C ใกล้เคียงกัน แต่ D มีค่าสู งกว่าทุกตัว D ควรจะเป็ นสารตัวใด
1. CH4 2. HF 3. N2 4. Ne

33
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 พันธะเคมี
2.1.10 สมบัติของสารประกอบโคเวเลนต์
1. มี จุดหลอมเหลว จุ ดเดื อดต่ า เพราะการหลอมเหลวและการเดื อดท าลายเฉพาะแรงยึด
เหนี่ยวระหว่างโมเลกุลและแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลมีค่าน้อย
2. ไม่ น าไฟฟ้ าทั้ง ในสถานะของแข็ ง ของเหลวและแก๊ ส หรื อ เมื่ อ ละลายน้ า อยู่ใ นสภาพ
สารละลายส่ วนใหญ่ก็ไม่นาไฟฟ้ า เพราะการละลายน้ าของสารโคเวเลนต์ไม่แตกตัวออกเป็ นไอออน
ยกเว้นสารโคเวเลนต์ที่โมเลกุลมีสภาพขั้วแรงมาก เช่น HCl HBr Hi HNO3 HClO4 H2SO4
เมื่อละลายน้ า นาไฟฟ้ าได้
3. โมเลกุลโคเวเลนต์ที่มีข้ วั จะละลายในโมเลกุลโคเวเลนต์ที่มีข้ วั เช่น CH3OH ละลายน้ า ได้
ส่ วนโมเลกุลโคเวเลนต์ที่ไม่มีข้ วั ก็จะละลายในโมเลกุลโคเวเลนต์ที่ไม่มีข้ วั เหมือนกัน เช่น กามะถัน
ละลายได้ใน CS2 เป็ นต้น
43. โมเลกุลโคเวเลนต์มกั มีจุดหลอมเหลวและจุดเดือดต่า แสดงว่า
1. แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอะตอมมีค่าน้อย
2. แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลมีค่าน้อย
3. พลังงานพันธะของโคเวเลนต์มีค่าต่า
4. แรงแวนเดอร์ วาลส์มีค่ามากแต่แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอะตอมมีค่าน้อย

44. สารประกอบที่มีจุดหลอมเหลวและจุดเดือดต่า ไม่นาไฟฟ้ าขณะหลอมเหลวเกิดจากการรวมตัว


ระหว่างธาตุใด
1. ธาตุ X เลขอะตอม = 19 กับธาตุ Y เลขอะตอม = 35
2. ธาตุ A เลขอะตอม = 12 กับธาตุ B เลขอะตอม = 9
3. ธาตุ C เลขอะตอม = 7 กับธาตุ D เลขอะตอม = 17
4. ธาตุ E เลขอะตอม = 20 กับธาตุ F เลขอะตอม = 8

34
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 พันธะเคมี
2.1.11 สารโครงร่ างผลึกตาข่ าย
เพชร โครงสร้างของเพชรนั้น อะตอมคาร์บอน
1 อะตอม จะเกิดพันธะโควาเลนท์กบั อะตอมคาร์ บอน
ข้างๆ 4 อะตอมโดยรอบ การเกิดพันธะของคาร์ บอน
อะตอมรอบๆ จะกระจายออกไปโดยรอบเรื่ อยๆ กลาย
เป็ นครงร่ างผลึกตาข่ายที่มีความแข็งแรงมาก
แกรไฟต์ ในโครงสร้างแกรไฟต์ อะตอมคาร์บอน
1 อะตอม เกิดพันธะโควาเลนท์กบั คาร์ บอนอะตอม
รอบๆ 3 อะตอม ในลักษณะ 2 มิติ สานกันเป็ นแผ่น
โครงร่ างผลึกซ้อนกันหลายๆ แผ่น ทาให้แกรไฟต์มี
ความเปราะบางแตกออกเป็ นแผ่นได้ และ e ที่เหลือ 1
ตัว จะวิง่ อยูร่ ะหว่างแผ่นส่ งผลให้แกรไฟต์สามารถนา
ไฟฟ้ าได้ในแนวระหว่างแผ่นนี้
ซิลคิ อนไดออกไซด์ (SiO2) หรือ ซิลกิ า ซิลิคอน-
ไดออกไซด์เป็ นผลึกโคเวเลนต์มีโครงสร้างเป็ นผลึกร่ าง
ตาข่าย อะตอมของซิ ลิคอนจัดเรี ยงตัวเหมือนกับคาร์
บอนในเพชร แต่มีออกซิ เจนคัน่ อยูร่ ะหว่างอะตอม
ของซิ ลิคอนแต่ละคู่ ผลึกซิ ลิคอนไดออกไซด์จึงมีจุด
หลอมเหลวสู งถึง 1730oC และมีความแข็งสู ง ใน
ธรรมชาติพบซิ ลิคอนไดออกไซด์หลายรู ป เช่น ควอตซ์
ไตรดีไมต์ และคริ สโตบาไลต์ ใช้เป็ นวัตถุดิบในการทา
แก้ว ทาส่ วนประกอบของนาฬิกาควอตซ์ ใยแก้วนาแสง (optical fiber) แบบจาลองโครงสร้าง
ของ SiO2 แสดงได้ดงั รู ปสารประกอบชนิดอื่น ๆ ของซิลิคอนที่มีโครงสร้างเป็ นโครงผลึกร่ างตา
ข่าย ได้แก่ ซิ ลิคอนคาร์ ไบด์ (SiC) หรื อคาร์โบรันดัม มีจุดหลอมเหลวสู งถึง 2700oC และมีความ
แข็งมาก ใช้ทาเครื่ องบด เครื่ องโม่ หิ นลับมีด
45. ในโครงสร้างที่เป็ นผลึกของเพชร อะตอมของคาร์ บอนแต่ละอะตอมถูกล้อมรอบด้วยอะตอม
คาร์บอนอื่นๆ กี่อะตอม
1. 2 2. 4 3. 4 4. 3
35
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 พันธะเคมี

2.2 พันธะไอออนิก
พันธะไอออนิก คือพันธะที่เกิ ดจากแรงดึงดูดทางไฟฟ้ าระหว่างไอออนบวกและไอออนลบที่
เข้ามารวมตัวกัน
2.2.1 การเกิดพันธะไอออนิก
พันธะไออนิ กเกิ ดจากการรวมตัวของธาตุโลหะ (ยกเว้น B , Be ) กับอโลหะซึ่ งมีค่า EN
แตกต่างกันมากกว่า 1.7 โดยโลหะจะเป็ นตัวจ่ายอิเล็กตรอนแล้วกลายเป็ นไอออนบวก อโลหะจะเป็ น
ตัวรับอิเล็กตรอนแล้วกลายเป็ นไอออนลบ แล้วไอออนบวกและไอออนลบจะจะมีแรงดึงดูดซึ่ งกัน
และกันเกิดเป็ นพันธะไอออนิก
ตัวอย่าง การเกิดพันธะของสารประกอบโซเดียมคลอไรด์ ( NaCl )
เมื่อโซเดียม (Na) ซึ่ งเป็ นโลหะหมู่ 1A ทาปฏิกิริยากับคลอรี น (Cl) ซึ่ งเป็ นอโลหะหมู่ 7A
โซเดียม (Na) จะจ่ายอิเล็กตรอนออกไป 1 ตัวแล้วกลายเป็ นโซเดียมไอออน (Na+) ส่ วนคลอรี น (Cl)
จะรับอิเล็กตรอนเข้า 1 ตัวแล้วกลายเป็ นคลอรี นไอออน (Cl–) จากนั้น Na+ กับ Cl– ไอออนซึ่ งมี
ประจุต่างกันจะมีแรงดึ งดูดซึ่ งกันและกันทาให้เข้ามารวมตัวกันกลายเป็ นสารประกอบ NaCl แรง
ดึ ง ดู ด ระหว่ า งไอออนบวกและลบเช่ น นี้ เรี ยกพัน ธะไอออนิ ก สารประกอบที่ ไ ด้จ ะเรี ยกเป็ น
สารประกอบไอออนิก
ตัวอย่าง การเกิดพันธะของสารประกอบแมกนีเซี ยมออกไซด์ ( MgO )
เมื่อแมกนีเซี ยม (Mg) ซึ่ งเป็ นโลหะหมู่ 2A ทาปฏิกิริยากับออกซิ เจน (O) ซึ่ งเป็ นอโลหะหมู่
6A แมกนีเซี ยม (Mg) จะจ่ายอิเล็กตรอนออกไป 2 ตัวแล้วกลายเป็ น Mg2+ ไอออน ส่ วนออกซิ เจน
(O) จะรับอิเล็กตรอนเข้า 2 ตัว แล้วกลายเป็ น O2– จากนั้น Mg2+ กับ O2– ไอออน จะเข้ามา
รวมตัวกันกลายเป็ นสารประกอบ MgO ซึ่งเป็ นสารประกอบไอออนิกเช่นเดียวกับ NaCl
ตัวอย่าง การเกิดพันธะของสารประกอบแคลเซี ยมฟลูออไรด์ ( CaF2 )
เมื่อแคลเซี ยม (Ca) ซึ่ งเป็ นโลหะหมู่ 2A ทาปฏิกิริยากับฟลูออรี น (F) ซึ่ งเป็ นอโลหะหมู่ 7A
แคลเซี ยม (Ca) จะจ่ายอิเล็กตรอนออกไป 2 ตัวแล้วกลายเป็ น Ca2+ ไอออน ส่ วนฟลูออรี น (F) จะ
รับอิเล็กตรอนเข้าได้เพียง 1 ตัวเท่านั้น ดังนั้นจึงต้องใช้ฟลูออรี น 2 อะตอมมารับอิเล็กตรอน 2 ตัว
ของแคลเซี ยมที่จ่ายออกมาแล้วจะได้ F– ไอออน 2 ไอออน จากนั้น Ca2+ กับ F– 2 ไอออน จะ
เข้ามารวมตัวกันกลายเป็ นสารประกอบไอออนิก CaF2

36
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 พันธะเคมี
46. เหตุใดพันธะระหว่างโซเดียมกับคลอรี น จึงเรี ยกพันธะไอออนิก
1. เพราะประกอบไปด้วยไอออนบวกและลบ
2. เพราะเกิดจากแรงดึงดูดระหว่างไอออนบวกและลบ
3. เพราะมีประจุไฟฟ้ าบวกและลบอยูภ่ ายใน
4. ไม่มีขอ้ ใดถูก
47(แนว En) ข้อใดไม่ใช่สารประกอบไอออนิกทั้งหมด
1. NaBr , Li2S 2. SrCl2 , SiC 3. CaO , Na2S 4. MgCl2 , KBr

2.2.2 โครงสร้ างสารประกอบไอออนิก


โครงสร้ างแบบโซเดียมคลอไรด์ ( NaCl )
ในสารประกอบโซเดียมคลอไรด์ Na+ ไอออน
จะถูกล้อมรอบโดย Cl– ไอออน ถึง 6 ไอออน ใน
ลักษณะ 3 มิติ และ Cl– ไอออน ก็จะถูกล้อมรอบ
โดย Na+ ไอออน 6 ไอออนเช่นกัน การล้อมของ
ไอออนจะเรี ยงสลับกันไปอย่างต่อเนื่อง กลายเป็ นโครงสร้างที่มีลกั ษณะเป็ นผลึกอันแข็งแรง
โครงสร้ างแบบซิเซียมคลอไรด์ (CsCl )
ในสารประกอบซิเซียมคลอไรด์ Cs+ ไอออน
จะถูกล้อมรอบโดย Cl– ไอออน ถึง 8 ไอออน และ
Cl– ไอออน ก็จะถูกล้อมรอบโดย Cs+ ไอออน 8
ไอออนเช่นกัน
โครงสร้ างแบบแคลเซียมฟูออไรด์ ( CaF2 )
ในผลึกแคลเซียมฟูออไรด์ Ca2+ ไอออน จะ
ถูกล้อมรอบโดย F– ไอออน 8 ไอออน แต่ F– จะ
ถูกล้อมรอบโดย Ca2+ ไอออน เพียง 4 ไอออนเท่านั้น
เนื่องจากโครงสร้างของสารประกอบไอออนิกประกอบไปด้วยไอออนบวกและลบ จัดเรี ยงตัว
สลับกันไปแบบต่อเนื่องทัว่ ทั้งผลึกไม่สามารถแยกเป็ นโมเลกุลได้ จึงถือว่าสารประกอบไอออนิกเป็ น
สารประกอบที่ไม่มีสูตรโมเลกุล การเขียนสู ตรสารประกอบไอออนิกจะเขียนแสดงอัตราส่ วนอย่างต่า
ของไอออนที่มารวมตัวกันเท่านั้น
เช่น Ca2+ : F– = 4 : 8 = 1 : 2 สู ตรจึงเป็ น Ca F2 เป็ นต้น
37
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 พันธะเคมี
48(แนว มช) พิจารณาโครงสร้างภายในผลึกของโซเดียมคลอไรด์ กรณี เมื่อมี Na + เป็ นศูนย์กลาง
ของผลึกจะมี Cl– ล้อมอยูก่ ี่ ไอออน (กรณี ที่มีระยะห่ างจากจุดศูนย์กลางเท่ากัน) และมี Cl– ที่อยู่
ใกล้ Na+ ศูนย์กลางที่สุดอยูก่ ไี่ อออน
1. 4 และ 4 2. 6 และ 6 3. 8 และ 12 4. 12 และ 6
49. เหตุใดสารประกอบไอออนิกจึงถือว่าเป็ นสารที่ไม่มีสูตรโมเลกุล
1. เพราะอัตราส่ วนของอะตอมที่มารวมตัวกันมีค่าไม่แน่นอน
2. เพราะสารประกอบไอออนิกมีโครงสร้างเป็ นผลึกตาข่าย
3. เพราะระหว่างไอออนบวกและลบไม่มีการสร้างพันธะเคมี
4. เพราะจานวนชนิดอะตอมที่เข้ามารวมตัวกันเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา

2.2.3 การเขียนสู ตร และการเรียกชื่อสารประกอบไอออนิก


2.2.3.1 การเขียนสู ตรสารประกอบไอออนิก
วิธีการเขียนสู ตรของสารประกอบไอออนิก ให้ศึกษาจากตัวอย่างต่อไปนี้
ตัวอย่าง จงเขียนสู ตรของสารประกอบไอออนิกที่เกิดจากการรวมตัวของธาตุโซเดียม (Na) กับธาตุ
ซัลเฟอร์ (S)
แนวคิด ขั้นที่ 1 ต้องเขียนธาตุโลหะก่อนอโลหะเสมอ
ขั้นที่ 2 หาจานวนอิเล็กตรอนที่แต่ละธาตุจะรับและจ่าย แล้วไขว้สลับห้อยไว้หลังธาตุแต่ละตัว
Na จะจ่ายอิเล็กตรอน 1 ตัว ส่ วน S จะรับอิเล็กตรอน 2 ตัว
จ่าย 1 e รับ 2 e
Na + S สู ตรคือ Na2S

สุ ดท้ายจะได้สูตรสารประกอบไอออนิกเป็ น Na2S
ตัวอย่าง จงเขียนสู ตรของสารประกอบไอออนิกที่เกิดจากการรวมตัวของธาตุแคลเซียม (Ca) กับธาตุ
คลอรี น (Cl)
แนวคิด ขั้นที่ 1 ต้องเขียนธาตุโลหะก่อนอโลหะเสมอ
ขั้นที่ 2 หาจานวนอิเล็กตรอนที่แต่ละธาตุจะรับและจ่าย แล้วไขว้สลับห้อยไว้หลังธาตุแต่ละตัว
Ca จะจ่ายอิเล็กตรอน 2 ตัว ส่ วน Cl จะรับอิเล็กตรอน 1 ตัว
จ่าย 2e รับ 1 e
Ca + Cl สู ตรคือ CaCl2
สุ ดท้ายจะได้สูตรสารประกอบไอออนิกเป็ น CaCl2
38
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 พันธะเคมี
ตัวอย่าง จงเขียนสู ตรของสารประกอบไอออนิกที่เกิดจากการรวมตัวของธาตุแมกนีเซี ยม (Mg) กับ
ธาตุออกซิเจน (O)
แนวคิด ขั้นที่ 1 ต้องเขียนธาตุโลหะก่อนอโลหะเสมอ
ขั้นที่ 2 หาจานวนอิเล็กตรอนที่แต่ละธาตุจะรับและจ่าย แล้วไขว้สลับห้อยไว้หลังธาตุแต่ละตัว
Mg จะจ่ายอิเล็กตรอน 2 ตัว ส่ วน O จะรับอิเล็กตรอน 2 ตัว
จ่าย 2e รับ 2e
Mg + O สู ตรคือ Mg2O2 ทาอัตราส่ วนอย่างต่าจะได้ MgO
สุ ดท้ายจะได้สูตรสารประกอบไอออนิกเป็ น MgO
เพิม่ เติม กลุ่มอะตอมต่อไปนี้ ทาหน้าที่รับจ่ายอิเล็กตรอนแล้วกลายเป็ นไอออนได้ดงั นี้
ไอออน อ่านว่า ไอออน อ่านว่า
NH 4 แอมโมเนียมไอออน ClO 3 คลอเรตไอออน
OH– ไฮดรอกไซด์ไอออน ClO 4 เปอร์คลอเรตไอออน
NO3 ไนเตรตไอออน Cr2 O 72  ไดโครเมตไอออน
NO 2 ไนไตรต์ไอออน CrO24  โครเมตไอออน
SO 32  ซัลไฟด์ไอออน MnO 24  แมงกาเนตไอออน
SO 24  ซัลเฟตไอออน MnO 4 เปอร์แมงกาเนตไอออน
CO 32  คาร์บอเนตไอออน CN– ไซยาไนด์ไอออน
PO 34 ฟอสเฟตไอออน HSO3 ไฮโดรเจนซัลไฟต์ไอออน
SCN– ไทโอไซยาเนตไอออน HSO 4 ไฮโดรเจนซัลเฟตไอออน
HCO3 ไฮโดรเจนคาร์บอเนตไอออน S2 O 32  ไทโอซัลเฟตไอออน
HPO 24  ไฮโดรเจนฟอสเฟตไอออน CH3COO– แอซีเตตไอออน
H2 PO 4 ไดไฮโดรเจนฟอสเฟตไอออน PO 33 ฟอสไฟต์ไอออน
BO 32  โบเรตไอออน Fe (CN)36 เฮกซะไซยาโนเฟอเรต(III)
ตัวอย่าง จงเขียนสู ตรของสารประกอบไอออนิกที่เกิดจากการรวมตัวของ Ca กับ OH
แนวคิด ขั้นที่ 1 ต้องเขียนธาตุโลหะก่อนอโลหะเสมอ
ขั้นที่ 2 หาจานวนอิเล็กตรอนที่แต่ละธาตุจะรับและจ่าย แล้วไขว้สลับห้อยไว้หลังธาตุแต่ละตัว
Ca จะจ่ายอิเล็กตรอน 2 ตัว ส่ วน OH จะรับอิเล็กตรอน 1 ตัว

39
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 พันธะเคมี

จ่าย 2 e รับ 1 e
Ca + OH สู ตรคือ Ca (OH)2
สุ ดท้ายจะได้สูตรสารประกอบไอออนิกเป็ น MgO
ตัวอย่าง จงเขียนสู ตรของสารประกอบไอออนิกที่เกิดจากการรวมตัวของ Na กับ PO4
แนวคิด ขั้นที่ 1 ต้องเขียนธาตุโลหะก่อนอโลหะเสมอ
ขั้นที่ 2 หาจานวนอิเล็กตรอนที่แต่ละธาตุจะรับและจ่าย แล้วไขว้สลับห้อยไว้หลังธาตุแต่ละตัว
Na จะจ่ายอิเล็กตรอน 1 ตัว ส่ วน PO4 จะรับอิเล็กตรอน 3 ตัว
จ่าย 1 e รับ 3 e
Na + PO4 สู ตรคือ Na3PO4
สุ ดท้ายจะได้สูตรสารประกอบไอออนิกเป็ น Na3PO4
50. สู ตรที่ถูกต้องของสารประกอบที่เกิ ดจากการรวมตัวของธาตุ แบเรี ยมกับออกซิ เจน และอลูมิ -
เนียมกับออกซิ เจน คือข้อใดต่อไปนี้
1. BaO , AlO 2. BaO , Al2O3 3. Ba2O , AlO 4. Ba2O , Al2O3

51. สู ตรที่ถูกต้องของสารประกอบ ที่เกิดจากอะลูมิเนียมรวมตัวกับหมู่ซลั เฟต และโพแทสเซียม


รวมตัวกับหมูเ่ ปอร์ คลอเรต ได้แก่
1. Al(SO4)3 , KClO4 2. Al2(SO4)3 , KClO4
3. Al(SO4)2 , KClO4 4. Al2(SO4)3 , KClO3

52(แนว En) ธาตุ 40 35


20 A สามารถเกิดสารประกอบธาตุ 17 B สารประกอบที่เกิดขึ้นควรมีสูตร
เคมีเป็ นดังข้อใด
1. AB 2. AB2 3. A2B 4. A3B2

53(แนว En) กาหนดธาตุ 3X 7Y และ 17Z สู ตรของสารประกอบธาตุคู่ที่เกิดจากธาตุท้ งั สาม


ข้อใดเป็ นไปได้
1. X3Y , YZ3 , XZ 2. X3Y , YZ3 , XZ2
3. XY3 , YZ3 , XZ 4. X3Y , YZ5 , X2Z
40
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 พันธะเคมี
54(แนว En) ถ้าธาตุ X , Y และ Z มีสูตรสารประกอบออกไซด์เป็ น X2O3 , YO และ Z2O
X , Y และ Z ควรเป็ นธาตุโลหะหมู่ใดตามลาดับ
1. I , II , III 2. III , II , I 3. II , III , I 4. III , I , II

2.2.3.2 การเรียกชื่อสารประกอบไอออนิก
1) กรณีทโี่ ลหะมีประจุบวกได้ ค่าเดียว ( เช่น โลหะหมู่ 1A , 2A และ 3A )
ให้อ่านชื่อโลหะ หรื อ ไอออนบวกก่อน แล้วตามด้วยชื่ออโลหะหรื อไอออนลบ โดย
เปลี่ยนพยางค์ทา้ ยเป็ นไอด์ (ide) ยกเว้นถ้าธาตุต่อไปนี้อยูท่ ี่ทา้ ยให้อ่านดังนี้
ไฮโดรเจน ให้อ่านเป็ น ไฮไดรด์ (ไม่ใช่ ไฮโดรไจด์)
ไนโตรเจน ให้อ่านเป็ น ไนไตรด์ (ไม่ใช่ ไนโตรไจด์)
ออกซิเจน ให้อ่านเป็ น ออกไซด์ (ไม่ใช่ ออกซิ ไจด์)
ฟอสฟอรัส ให้อ่านเป็ น ฟอสไฟด์ (ไม่ใช่ ฟอสฟอไรด์) เป็ นต้น
ในกรณี ที่สารประกอบไอออนิกประกอบด้วยไอออนเชิ งซ้อนให้อ่านชื่ อไอออนเชิ งซ้อนนั้น
ตรงๆ ดังตัวอย่าง
สู ตร อ่ านว่ า
NaCl โซเดียมคลอไรด์
KBr โพแทสเซียมโบรไมด์
MgBr2 แมกนีเซียมโบร์ไมด์
LiH ลิเทียมไฮไดรด์
MgO แมกนีเซียมออกไซด์
KF โพแทสเซียมฟูออไรด์
KNO3 โพแทสเซียมไนเตรต
Ca(PO4)2 แคลเซียมฟอสเฟต
Na2CO3 โซเดียมคาร์บอเนต
NaNO3 โซเดียมไนเตรต
NaH2PO4 โซเดียมไดไฮโดรเจนฟอสเฟต
NaSCN โซเดียมไธโอไซยาเนต
KClO3 โพแทสเซียมคลอเรต
KMnO4 โพแทสเซียมเปอร์มงั กาเนต

41
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 พันธะเคมี
2) กรณีทโี่ ลหะมีประจุบวกได้ หลายค่ า ให้อ่านชื่อโดยถือหลักการณ์เดียวกับข้อที่ 1 แต่
ต้องระบุค่าประจุบวกของโลหะเป็ นตัวเลขโรมันในวงเล็บไว้ทา้ ยชื่อโลหะนั้นด้วย เช่น
สู ตร ชื่อ หมายเหตุ
FeCl2 ไอร์ออน (II) คลอไรด์ Fe นี้มีประจุ + 2
FeCl3 ไอร์ออน (III) คลอไรด์ Fe นี้มีประจุ + 3
CuO คอปเปอร์ (II) คลอไรด์ Cu นี้มีประจุ + 2
Cu2O คอปเปอร์ (I) คลอไรด์ Cu นี้มีประจุ + 1
สาหรับสารประกอบไอออนิกที่มีผลึกของน้ าอยูด่ ว้ ย ให้เรี ยกน้ าผลึกว่า ไฮเดรต และจานวน
น้ าผลึกให้บอกด้วยจานวนนับในภาษากรี ก เช่น
CuSO4 . 5 H2O เรี ยกว่า คอปเปอร์ (II) ซัลเฟต เพนตะไฮเดรต
Na2CO3 . 10 H2O เรี ยกว่า โซเดียมคาร์ บอเนต เดคะไฮเดรต
2.2.4 พลังงานกับการเกิดพันธะไอออนิก
พิจารณาตัวอย่างการเกิด โซเดียมคลอไรด์ ( NaCl ) 1 โมล ขั้นตอนการเกิดเป็ นดังนี้
ขั้น 1 โซเดียม ( Na ) ของแข็ง เกิดการระเหิ ดกลายเป็ นไอ
 Na (s)  Na (g) Hs = S = +109 kJ
ขั้นตอนนี้จะมีการดูดพลังงาน +109 กิโลจูล ( พลังงานที่ดูด จะใช้ค่าเป็ น + )
พลังงานที่ดูดนี้ เรี ยก พลังงานการระเหิด ( Heat of sublimation , Hs , S )
ขั้น 2 โซเดียมแก๊สจะจ่าย เวเลนซ์อิเล็กตรอนออกมา 1 ตัว
 Na (g)  Na+ (g) + e IE = I = +502 kJ
ขั้นตอนนี้จะมีการดูดพลังงาน +502 กิโลจูล
พลังงานที่ดูดนี้ เรี ยก พลังงานไอออไนเซชั่น ( Ionization energy , IE , I )
ขั้น 3 สลายพันธะโมเลกุลคลอรี น ( Cl2 ) ให้แตกเป็ นอะตอมย่อย
Cl2 (g)  2Cl (g) Hdis = D = +242 kJ
ขั้นตอนนี้จะมีการดูดพลังงาน +242 กิโลจูล
พลังงานที่ดูดนี้ เรี ยก พลังงานสลายพันธะ หรือ พลังงานการแตกตัว
( Dissociation energy , Hdis , D )
จริ งๆ แล้วเราต้องการคลอรี นเพียง 1 อะตอมเท่านั้น จึงต้องเอา 12 คูณตลอด
 12 Cl2 (g)  Cl (g) 2 Hdis = 2 D = +121 kJ
1 1

42
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 พันธะเคมี
ขั้น 4 อะตอมคลอรี นรับ e เข้ามา
 Cl (g) + e  Cl– (g) EA = –349 kJ
ขั้นตอนนี้จะมีการคายพลังงาน –349 กิโลจูล ( พลังงานที่คายจะใช้ค่าเป็ นลบ )
พลังงานที่คายนี้ เรี ยก สั มพรรคภาพอิเล็กตรอน หรือ พลังงานอิเล็กตรอนอัฟฟิ นิตี้
( Electron affinity , EA )
ขั้น 5 Na+ กับ Cl– เข้ามารวมตัวกัน
 Na+(g) + Cl–(g)  NaCl (s) U = Ec = –787 kJ
ขั้นตอนนี้จะมีการคายพลังงาน –787 กิโลจูล
พลังงานที่คายนี้ เรี ยก พลังงานโครงผลึก ( Lattic energy , Ec , U )
เมื่อนาสมการ  +  +  +  +  จะได้
Na (s) + 12 Cl2 (g)  NaCl (s)
พลังงานรวม = H = S + IE + D + EA + U = 109 + 502 + 121 + (–349) + (–787) = –404 kJ
แสดงว่า ปฏิกริ ยารวมจะมีการคายพลังงานออกมา 404 กิโลจูล ต่อการเกิด NaCl 1 โมล
( หาก พลังงานรวม , H มีค่าเป็ นลบ แสดงว่า เป็ นการคายพลังงาน )
( หาก พลังงานรวม , H มีค่าเป็ นบวก แสดงว่า เป็ นการดูดพลังงาน )

ฝึ กทา. การเกิดสารประกอบโซเดียมคลอไรด์ ในแต่ละขั้นตอนต่อไปนี้ จะดูดหรื อคายพลังงาน


และพลังงานนั้นเรี ยกว่าพลังงานอะไร พร้อมทั้งหาพลังงานรวมของการเกิด NaCl 1 โมล
ขั้นที่ การเปลีย่ นแปลงทีเ่ กิดขึน้ ดูด / คาย พลังงานนั้นเรียก
1 Na(s)  Na(g)
2 Na(g)  Na+(g) + e
2 Cl2(g)  Cl(g)
3 1

4 Cl(g) + e  Cl (g)


5 Na+(g)+Cl (g)  NaCl(s)

43
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 พันธะเคมี
เฉลย
ขั้นที่ การเปลีย่ นแปลงทีเ่ กิดขึน้ ดูด / คาย พลังงานนั้นเรียก
1 Na(s)  Na(g) ดูด (+109 kJ ) พลังงานการระเหิด
2 Na(g)  Na+(g) + e ดูด (+502 kJ ) พลังงานไอออไนซ์
3 12 Cl2(g)  Cl(g) ดูด (+121 kJ ) พลังงานการแตกตัว
4 Cl(g) + e  Cl (g) คาย (–349 kJ ) พลังงานอิเล็กตรอนอัฟฟิ นิตี
5 Na+(g)+Cl (g)  NaCl(s) คาย (–787 kJ ) พลังงานโครงผลึก
พลังงานรวม (H ) = 109 + 502 + 121 + (–349) + (–787) = –404 kJ
แสดงว่าปฏิกริ ยารวมจะมีการคายพลังงานออกมา 404 กิโลจูล ต่อการเกิด NaCl 1 โมล
55. การเกิดสารประกอบโซเดียมคลอไรด์ จากการทาปฏิกิริยาระหว่างโลหะโซเดียมกับแก๊ส
คลอรี นได้สารประกอบโซเดียมคลอไรด์ ประกอบด้วยขั้นตอนย่อยๆ ดังนี้
ขั้นที่ การเปลีย่ นแปลงทีเ่ กิดขึน้ พลังงานทีใ่ ช้ หรือให้ ออกมา (kJ/mol)
1 Na(s)  Na(g) 109
2 Na(g)  Na+(g) + e 494
3 Cl2(g)  2 Cl(g) 242
4 Cl(g) + e  Cl (g) 355
5 Na+(g) + Cl (g)  NaCl(s) 797
จากข้อมูลที่ให้มา พลังงานของปฏิกิริยาระหว่างโลหะโซเดียม ทาปฏิกิริยากับแก๊สคลอรี น
ได้สารประกอบโซเดียมคลอไรด์จานวนหนึ่งโมล จะมีค่าเป็ นกี่กิโลจูล

44
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 พันธะเคมี
56(แนว มช) ปฏิกิริยา Na(s) + 12 Br2(g)  NaBr(s) มีการคายพลังงานออกมา 359.5 kJ/mol
และกาหนดข้อมูลของขั้นต่างๆ ให้ ดังนี้
เมื่อ Na(s)  Na(g) H1 +125.5 kJ/mol
Br2(g)  2Br(g) H2 +194 kJ/mol
Na(g)  Na+(g) + e H3 y kJ/mol
Br(g) + e  Br– (g) H4 –343 kJ/mol
Na+(g) + Br–(g)  NaBr(s) H5 –732 kJ/mol
จงหาค่าของ y ในหน่วย kJ/mol

57(แนว มช) การเกิดสารประกอบโซเดียมฟลูออไรด์จากปฏิกิริยาระหว่างโลหะโซเดียมกับแก๊สฟลู-


ออรี นมีการคายพลังงาน 570 kJ/mol จงคานวณพลังงานแลตทิซของโซเดียมฟลูออไรด์ (kJ/mol)
กาหนดให้ พลังงานการระเหิดของโลหะโซเดียม = 107 kJ/mol
พลังงานพันธะของแก๊สฟลูออรี น = 154 kJ/mol
พลังงานไอออไนเซชันของโซเดียม = 495 kJ/mol
สัมพรรคภาพอิเล็กตรอนของฟลูออรี น = 328 kJ/mol

2.2.5 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
2.2.5.1 สมบัติบางประการของสารประกอบไอออนิก
1. สารประกอบไอออนิกทุกชนิดจะมีสถานะเป็ นของแข็งที่อุณหภูมิหอ้ ง และเปราะ
2. พันธะไอออนิกเป็ นพันธะที่มีความแข็งแรงมาก สารประกอบไอออนิกจึงมีจุดเดือดและ
จุดหลอมเหลวสู ง เช่น จุดหลอมเหลวของ อ 801oC และจุดเดือดจะขึ้นกับความแต่ต่างของ
ค่าอิเล็กโทรเนกาติวติ ี ( EN ) ของอะตอมคู่ร่วมพันธะด้วย เช่น
45
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 พันธะเคมี
เมื่อเรี ยงลาดับค่าค่าอิเล็กโทรเนกาติวติ ีจะพบว่า Cl > Br > I
ดังนั้นค่า EN ที่แตกต่างของอะตอมคู่ร่วมพันธะ NaCl > NaBr > NaI
เมื่อเรี ยงลาดับจุดเดือดจึงได้วา่ NaCl > NaBr > NaI
3. ในสถานะของแข็งจะไม่นาไฟฟ้ า แต่ในสถานะของเหลวหรื อสารละลาย จะนาไฟฟ้ าได้
เพราะในสถานะทั้ง 2 นี้ ไอออนบวกและลบสามารถเคลื่อนที่ได้
58. ข้อพิสูจน์ใดที่แสดงว่าโซเดียมคลอไรด์เป็ นสารประกอบไอออนิก
1. ในโมเลกุลของโซเดียมคลอไรด์มีพนั ะที่แข็งแรง
2. เมื่อโซเดียมคลอไรด์ละลายน้ าแล้วดูดความร้อน
3. โซเดียมคลอไรด์เมื่อหลอมเหลวนาไฟฟ้ าได้
4. เมื่อนาโซเดียมคลอไรด์ละลายน้ าสารละลายที่ได้มีจุดเยือกแข็งลดลง

2.2.5.2 การละลายนา้ ของสารประกอบไอออนิก


สารประกอบไอออนิกทีล่ ะลายนา้ ได้ ดี ตัวสาคัญได้แก่
สารประกอบของ โลหะหมู่ 1A , NH4 , NO3 , ClO4 , ClO3 ,
CH3COO– ( ยกเว้น CH3COOAg , KCLO4 )
SO
2
4
( ยกเว้นซัลเฟตของ Pb2+, Ca2+, Sr2+, Ba2+, Ra2+, Ag+)
Cl– , Br– , I– ( ยกเว้นเมื่อรวมตัวกับ Ag+, Pb2+, Hg 22 , Cu2+)
สารประกอบไอออนิกทีไ่ ม่ ละลายนา้ ตัวสาคัญได้แก่
สารประกอบฟลูออไรด์ , คลอไรด์ , โบร์ไมด์ , ไอโอไดด์ของ Ag+ , Cu2+, Hg2+, Pb2+
สารประกอบซัลไฟด์ , ไฮดรอกไซด์ , ออกไซด์ , คาร์บอเนต
( เว้นประกอบกับโลหะหมู่ 1 , NH 4 , Ca2+ , Sr2+ , Ba2+ )
59. สารประกอบต่อไปนี้ กลุ่มใดละลายน้ าได้ท้ งั หมด
1. (NH4)2CO3 , K2HPO4 , BaSO4
2. Ba(NO3)2 , CH3COONa , Na2CO3
3. PbI2 , NaH2PO4 , SrCO3
4. K2SO4 , SrSO4 , ZnO

46
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 พันธะเคมี
ฝึ กทา เมื่อผสมสารละลายต่อไปนี้เข้าด้วยกัน จงหาตะกอนที่เกิดขึ้น
1. KCl + Pb(NO3)2 จะเกิดตะกอนของ .......................................
2. LiS + CuSO4 จะเกิดตะกอนของ .......................................
3. AlCl3 + KOH จะเกิดตะกอนของ .......................................
4. AgNO3 + K2Cr2O7 จะเกิดตะกอนของ .......................................
5. Na2O + Zn(NO3)2 จะเกิดตะกอนของ .......................................
เฉลย 1. PbCl 2. CuS 3. AlOH 4. Ag2Cr2O7 5. ZnO

2.2.5.3 พลังงานกับการละลายนา้ ของสารประกอบไอออนิก


การละลายน้ าของสารประกอบไอออนิก จะประกอบด้วยกระบวนการ 2 ขั้นตอน
ขั้นที่ 1. ของแข็งไอออนิกสลายตัวออกเป็ นไอออนบวกและไอออนลบในภาวะแก๊ส
AB (s)  A+(g) + B–(g) H = + X
ขั้นนี้จะมีการดูดพลังงาน พลังงานที่ดูดเรี ยก พลังงานโครงผลึก (Lattice energy)
ขั้นที่ 2. ไอออนบวก และ ลบ ในภาวะแก๊สรวมตัวโมเลกุลของน้ า ( ถูกน้ าล้อมรอบ )
A+(g) + B–(g) HO A+(aq) + B–(aq) H = –Y
2
ขั้นนี้จะมีการคายพลังงาน พลังงานที่คายเรี ยก พลังงานไฮเดรชัน (Hydration energy)
การละลายน้ าของสารประกอบไอออนิก อาจเป็ นการเปลี่ยนแปลงประเภทดูดความร้อน หรื อ
คายความร้อนก็ได้ ขึ้นอยูก่ บั ค่าพลังงานแลตทิซ ( ดูด ) และพลังงานไฮเดรชัน ( คาย )
1. ถ้า ดูด > คาย รวมแล้วจะเป็ นการเปลี่ยนแปลงแบบ ดูดพลังงาน
2. ถ้า คาย > ดูด รวมแล้วจะเป็ นการเปลี่ยนแปลงแบบ ดูดพลังงาน
3. ถ้า คาย = ดูด รวมแล้วจะเป็ นการเปลี่ยนแปลงแบบไม่ดูด ไม่คาย พลังงาน
4. ถ้า ดูด >>> คาย คือพลังงานที่ดูดมากกว่าที่คายมากๆ สารนั้นจะไม่ละลายน้ า
60. เกลือ MI มีพลังงานโครงผลึก 300 kJ/mol และมีพลังงานไฮเดรชัน 250 kJ/mol ดังนั้น
การละลายน้ าของเกลือ MI จะเป็ นการเปลี่ยนแปลงที่ดูดหรื อคายความร้อนเท่าใด
1. ดูดความร้อน 50 kJ/mol 2. คายความร้อน 50 kJ/mol
3. เกลือนี้จะไม่ละลายน้ า 4. ข้อมูลไม่เพียงพอที่จะหาคาตอบ

47
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 พันธะเคมี
61. เกลือ MI มีพลังงานโครงผลึก 300 kJ/mol และมีพลังงานไฮเดรชัน 450 kJ/mol ดังนั้น
เกี่ยวกับการละลายน้ าของเกลือ MI จะทาให้
1. อุณหภูมิสิ่งแวดล้อมจะสู งขึ้น 2. อุณหภูมิสิ่งแวดล้อมจะต่าลง
3. อุณหภูมิสิ่งแวดล้อมจะคงเดิม 4. ข้อมูลไม่เพียงพอที่จะหาคาตอบ

62. นาอัมโมเนียมคลอไรด์ละลายน้ าในบิกเกอร์ เอามือแตะข้างบิกเกอร์จะรู้สึกเย็น ปฏิกิริยาเกิด


ดังนี้ NH4Cl(s)  NH 4 (g) + Cl(g) ดูดพลังงาน E1
NH 4 (g) + Cl(g)  NH 4 (aq) + Cl(aq) คายพลังงาน E2
 

ข้อความต่อไปนี้ขอ้ ใดถูกต้องที่สุด
1. เป็ นการเปลี่ยนแปลงแบบคายความร้อน และ E2 > E1
2. เป็ นการเปลี่ยนแปลงแบบดูดความร้อน และ E1 > E2
3. เป็ นการเปลี่ยนแปลงแบบคายความร้อน และ E1 > E2
4. เป็ นการเปลี่ยนแปลงแบบดูดความร้อน และ E2 > E1

63(แนว มช) จากรู ปกราฟ ข้อสรุ ปใดถูกต้อง


การละลายของสาร สาร A
(g/100 g H2O)

สาร B
อุณหภูมิ (oC)
1. อุณหภูมิเพิ่ม สาร A ละลายได้ดีข้ ึน แสดงว่าพลังงานแลตทิซน้อยกว่าพลังงานไฮเดรชัน
2. การละลายของสาร A จะคายความร้อน และละลายได้มากขึ้ น แสดงว่าพลังงานแลตทิซมาก
กว่าพลังงานไฮเดรชัน
3. การละลายของสาร B จะคายความร้อน แสดงว่าพลังงานไฮเดรชันมากกว่าพลังงานแลตทิซ
4. การละลายของสาร B จะดูดความร้อน แสดงว่าพลังงานแลตทิซน้อยกว่าพลังงานไฮเดรชัน
48
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 พันธะเคมี
64(แนว มช) เกลือไอออนิกชนิดหนึ่งละลายน้ าได้ที่อุณหภูมิสูงดีกว่าที่อุณหภูมิต่า แสดงว่า
ก. ขบวนการละลายเป็ นแบบคายความร้อน
ข. สารนั้นมีพลังงานโครงร่ างผลึกมากกว่าพลังงานไฮเดรชัน
ค. ความร้อนของการละลายมีค่าเป็ นบวก
ง. สารนั้นมีพลังงานไฮเดรชันมากกว่าพลังงานโครงร่ างผลึก
ข้อที่ถูกต้องมีท้ งั สิ้ นกี่ขอ้
1. 1 ข้อ 2. 2 ข้อ 3. 3 ข้อ 4. 4 ข้อ

2.2.6 ปฏิกริ ิยาของสารประกอบไอออนิก


พิจารณา การเกิดปฏิกริ ยาของ Ca(OH)2 กับ Na2CO3
Ca(OH)2 กับ Na2CO3
แตกตัว
Ca2+(aq) + 2OH–( aq) + 2Na+(aq) + CO32–( aq)  CaCO3(s) + 2OH–( aq) + 2Na+(aq)
จะเห็นว่าปฏิกริ ยานี้ Ca2+ กับ CO32– จะรวมตัวกันเป็ น CaCO3 แล้วตกตะกอนลงมา ส่ วน
OH– กับ Na+ จะละลายน้ าอยูไ่ ม่เกิดการเปลี่ยนแปลงใดๆ เราจึงอาจตัดทิ้งได้ ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น
จริ งๆ จึงมีเพียง
Ca2+(aq) + CO32–( aq)  CaCO3(s)
สมการที่แสดงเฉพาะไอออนสถานะสารละลายหรื อแก๊สที่ทาปฏิกิริยากันแล้วตกตะกอนจริ ง
เช่นนี้ เรี ยกสมการไอออนิกสุ ทธิ
65(แนว มช) การเขียนสมการไอออนิกสุ ทธิ ของสารละลายคู ่ใดถูกต้องที่สุด
1. Ba2+ (aq) + CO32– (aq)  BaCO3 (s)
2. CuSO4 (s)  Cu2+ (g) + SO 32 (g)
3. Ba2+ (aq) + 2Cl – (aq)  BaCl2 (aq)
4. Na2 CO3 (aq) + CaCl2 (aq)  CaCO3 (s) + 2NaCl (aq)

49
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 พันธะเคมี
3. พันธะโลหะ
อะตอมของโลหะมีค่าอิเล็กโทรเนกาติวติ ีต่าจึงไม่หวงแหนอิเล็กตรอน ทาให้อิเล็กตรอนมีความ
เป็ นอิสระสู งและจะวิง่ ไปมาระหว่างอะตอมใกล้เคียง
ได้ อิเล็กตรอนเหล่านี้จะส่ งแรงดึงดูดกับโปรตรอนใกล้
เคียงกลายเป็ นแรงดูดยึดระหว่างอะตอม แรงดูดยึดแบบนี้
เรี ยกว่าพันธะโลหะ ซึ่งมีความแข็งแรงมาก
สมบัติของสารทีม่ ีพนั ธะโลหะ
1) นาไฟฟ้ าได้ ดี เพราะมีอิเล็กตรอนอิสระอยูจ่ ึงทาให้นาไฟฟ้ าได้
2) นาความร้ อนได้ ดี อิเล็กตรอนอิสระที่มีสามารถนาความร้อนได้ดว้ ย
3) โลหะสามารถตีเป็ นแผ่ นหรือดึงให้ หลุดออกจากกันได้ เพราะไอออนบวกสามารถเลื่อนไถล
ผ่านกันได้โดยไม่หลุดจาก กัน เพราะมีอิเล็กตรอนคอยยึดไอออนบวกเหล่านี้ไว้ดว้ ยกัน
4) โลหะมีผวิ มันเป็ นวาว อิเล็กตรอนอิสระสามารถรับ และกระจายแสงมาได้
5) โลหะมีจุดเดือด และจุดหลอมเหลวสู ง เพราะพันธะโลหะมีความแข็งแรงมาก
66(แนว En) เหตุผลเกี่ยวกับสมบัติของธาตุในข้อใดผิด
1. โลหะมีความมันวาว เพราะดูดกลืนคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าไว้ได้มาก
2. โลหะตีแผ่เป็ นแผ่นแบนๆ ได้ เพราะระหว่างอนุภาคของอะตอมโลหะยังมีเวเลนซ์-
อิเล็กตรอนยึดไว้
3. โลหะนาไฟฟ้ าได้เพราะมีอิเล็กตรอนอิสระสามารถเคลื่อนที่ได้
4. อะตอมในโลหะสร้างพันธะโดยใช้เวเลนซ์อิเล็กตรอนร่ วมกัน

50
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 พันธะเคมี
เพิม่ เติม
ก. สมบัติของสารประกอบโคเวเลนต์ ไอออนิก สารโครงผลึกตาข่ าย และโลหะ
ชนิด สารโคเวเลนต์ สาร สารโครงผลึก
สมบัติ โลหะ
ไม่ มีข้วั มีข้วั ไอออนิก ร่ างตาข่ าย
1. สถานะ มีท้ งั แก๊ส ของแข็ง
ที่ภาวะปกติ ของเหลว ของแข็ง ของแข็ง ยกเว้นปรอท
ของแข็ง
2. ความ เปราะ
เปราะ เปราะ เหนียว
เหนียว (ของแข็ง)
3. จุดหลอม
ต่า สูง สูง สูง
เหลว & เดือด
4. การนา ไม่นาไฟฟ้ า ไม่นาไฟฟ้ า นาไฟฟ้ าได้คือ นาไฟฟ้ าได้ เว้น
ไฟฟ้ า แต่เมื่อ แกรไฟต์ นาไฟฟ้ า สถานะแก๊ส (ไอ)
หลอมเหลว ได้บา้ ง เช่น ซิลิคอน
นาไฟฟ้ าได้ ไม่นา เช่น เพชร
5. การละลาย ไม่ละลายน้ า ละลายน้ าได้ มีท้ งั ละลาย& ไม่ละลายน้ า ไม่ละลายน้ า แต่
น้ าและการนา แต่สารละลาย ไม่ละลายน้ า โลหะบางชนิดทา
ไฟฟ้ าของ ส่ วนใหญ่ไม่ สารละลาย ปฏิกิริยากับน้ าได้
สารละลาย นาไฟฟ้ า น้ าไฟฟ้ าได้ เช่นโลหะหมู่ IA

67(แนว มช) พิจารณาข้อมูลในตารางต่อไปนี้


จุดหลอม การนาไฟฟ้ า การ
สาร เหลว (oC) ในสถานะของแข็ง ในสถานะของเหลว ละลายในน้ า
A 681 ไม่นา นา ละลาย
B 1085 นา นา ไม่ละลาย
C 192 ไม่นา ไม่นา ละลาย
สารใดในตารางที่กาหนด ควรเป็ นสารประกอบไอออนิก
1. A 2B 3. C 4. A และ B

51
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 พันธะเคมี
68(แนว มช) จากสมบัติของสารประกอบต่าง ๆ ที่กาหนดให้ สารประกอบใดที่มีโครงสร้างเป็ นแบบ
โครงข่ายโควาเลนต์
สารประกอบ จุดหลอมเหลว (oC) การนาไฟฟ้ า การละลายน้ า
A 3730 นาไฟฟ้ าได้เฉพาะบางทิศทาง ไม่ละลาย
B 838 นาไฟฟ้ า ไม่ละลาย
D 2700 ไม่นาไฟฟ้ า ไม่ละลาย
E 1540 นาไฟฟ้ า ไม่ละลาย
1. A และ E 2. A และ D 3. B และ D 4. B และ E

ข. แนวโน้ มของแรงยึดเหนี่ยวระหว่ างอนุภาค


โดยปกติ แล้ว ธาตุ ที่ มี แรงยึดเหนี่ ย วระหว่า งอะตอมเป็ นพันธะโลหะจะมี แรงยึดเหนี่ ย ว
มากกว่า แรงยึดเหนี่ ยวแบบโครงร่ างผลึ กตาข่ ายของพันธะโคเวเลนต์ และมากกว่า แรงยึดเหนี่ ย ว
ระหว่างโมเลกุลแบบแวนเดอร์ วาลส์ ตามลาดับ
และ ในกลุ่มพันธะโลหะแรงยึดเหนี่ยว จะมากขึ้นเมื่ออะตอมเล็กลง
ในกลุ่มพันธะโควาเลนส์โครงร่ างผลึกจะมีแรงดึงดูดมากขึ้น เมื่อขนาดอะตอมเล็กลง
ในกลุ่มแรงแวนเดอร์ วาลนั้น เมื่ออะตอมใหญ่ข้ ึนมวลมากขึ้น แรงดึงดูดจะเพิม่ มากขึ้น
แนวโน้มแรงแนวโน้มแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคจึงเป็ นดังนี้

52
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 พันธะเคมี
ค. แนวโน้ มของจุดเดือดและจุดหลอมเหลว
โดยทัว่ ไปแล้ว หากแรงดึงดูดระหว่างอนุ ภาคมีค่ามาก ก็จะทาให้จุดเดือดจุดหลอมเหลว มี
ค่าสู งด้วย ดังนั้นแนวโน้มจุดเดือดจุดหลอมเหลวจึงคล้ายแนวโน้มของแรงดึงดูดระหว่างอนุภาค

69. อะตอมของธาตุ A B C และ D สมมุติดงั ในตารางธาตุ


I II III IV V VI VII VIII
B D 2
3
A C 4
ข้อใดเรี ยงลาดับจุดหลอดเหลวจากสู งไปต่าได้ถูกต้อง
1. A > C > B > D 2. A > D > C > B
3. B > A > C > D 4. B > A > D > C

70. เหตุใดธาตุซิลิคอนจึงมีจุดหลอมเหลวสู งเป็ นพิเศษ เมื่อเทียบกับธาตุอื่นในคาบเดียวกัน


1. เพราะขนาดอะตอมซิ ลิกอนมีขนาดเล็กที่สุดในคาบเดียวกัน
2. เพราะแรงดึงดูดระหว่างอะตอมซิ ลิกอนมีขนาดมากที่สุดในคาบเดียวกัน
3. เพราะขนาดอะตอมซิ ลิกอนมีขนาดใหญ่ที่สุดในคาบเดียวกัน
4. เพราะซิ ลิกอนมีโครงสร้างเป็ นผลึกตาข่าย

53
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 พันธะเคมี

แผนภาพสรุ ป บทที่ 2 พัน ธะเคมี


เกริ่นนา

54
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 พันธะเคมี

55
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 พันธะเคมี

2.1 พันธะโคเวเลนต์
2.1.1 การเกิดพันธะโคเวเลนต์

2.1.2 ชนิดของพันธะโคเวเลนต์

56
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 พันธะเคมี
2.1.3 การเขียนสู ตร และการเรียกชื่อของสารโคเวเลนต์
2.1.3.1 การเขียนสู ตรสารโคเวเลนต์

57
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 พันธะเคมี

58
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 พันธะเคมี

59
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 พันธะเคมี
2.1.3.2 การเรียกชื่อสารประกอบโคเวเลนต์

60
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 พันธะเคมี
2.1.4 พันธะโคออร์ ดิเนตโคเวเลนต์ และแนวคิดเกีย่ วกับเรโซแนนท์

2.1.5 กฏออกเตต

61
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 พันธะเคมี
2.1.6 พลังงานพันธะ

2.1.7 รู ปร่ างของโมเลกุล

62
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 พันธะเคมี
2.1.8 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์

63
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 พันธะเคมี
2.1.9 แรงยึดเหนี่ยวระหว่ างโมเลกุลโคเวเลนต์

2.1.10 สมบัติของสารประกอบโคเวเลนต์

2.1.11 สารโครงร่ างผลึกตาข่ าย

64
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 พันธะเคมี
2.2 พันธะไอออนิก
2.2.1 การเกิดพันธะไอออนิก

2.2.2 โครงสร้ างสารประกอบไอออนิก

65
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 พันธะเคมี
2.2.3 การเขียนสู ตร และการเรียกชื่ อสารประกอบไอออนิก
2.2.3.1 การเขียนสู ตรสารประกอบไอออนิก

66
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 พันธะเคมี
2.2.3.2 การเรียกชื่อสารประกอบไอออนิก

2.2.4 พลังงานกับการเกิดพันธะไอออนิก

67
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 พันธะเคมี
2.2.5 สมบัติของสารประกอบไอออนิก

2.2.6 ปฏิกริ ิยาของสารประกอบไอออนิก

3. พันธะโลหะ
สมบัติของสารทีม่ ีพนั ธะโลหะ

68
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 พันธะเคมี
เพิม่ เติม
ก. สมบัติของสารประกอบโคเวเลนต์ ไอออนิก สารโครงผลึกตาข่ าย และโลหะ

ข. แนวโน้ มของแรงยึดเหนี่ยวระหว่ างอนุภาค

69
ติวสบาย เคมี เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 พันธะเคมี

เ ฉ ล ย บ ท ที่ 2 พั น ธ ะ เ ค มี
1. ตอบข้ อ 2. 2. ตอบข้ อ 4. 3. ตอบข้ อ 3. 4. ตอบข้ อ 1.
5. ตอบข้ อ 1. 6. ตอบข้ อ 2. 7. ตอบข้ อ 2. 8. ตอบข้ อ 3.
9. ตอบข้ อ 3. 10. ตอบข้ อ 2. 11. ตอบข้ อ 3. 12. ตอบข้ อ 1.
13. ตอบข้ อ 2. 14. ตอบข้ อ 3. 15. ตอบข้ อ 2. 16. ตอบข้ อ 2.
17. ตอบข้ อ 4. 18. ตอบข้ อ 4. 19. ตอบ 1308 20. ตอบ 3260
21. ตอบ 258 22. ตอบข้ อ 3. 23. ตอบข้ อ 4. 24. ตอบข้ อ 4.
25. ตอบข้ อ 2. 26. ตอบข้ อ 1. 27. ตอบข้ อ 4. 28. ตอบข้ อ 4.
29. ตอบข้ อ 4. 30. ตอบข้ อ 4. 31. ตอบข้ อ 3. 32. ตอบข้ อ 4.
33. ตอบข้ อ 3. 34. ตอบข้ อ 4. 35. ตอบข้ อ 4. 36. ตอบข้ อ 2.
37. ตอบข้ อ 3. 38. ตอบข้ อ 1. 39. ตอบข้ อ 1. 40. ตอบข้ อ 4.
41. ตอบข้ อ 1. 42. ตอบข้ อ 2. 43. ตอบข้ อ 2. 44. ตอบข้ อ 3.
45. ตอบข้ อ 2. 46. ตอบข้ อ 2. 47. ตอบข้ อ 2. 48. ตอบข้ อ 2.
49. ตอบข้ อ 2. 50. ตอบข้ อ 2. 51. ตอบข้ อ 2. 52. ตอบข้ อ 2.
53. ตอบข้ อ 1. 54. ตอบข้ อ 2. 55. ตอบ 428 56. ตอบ 493
57. ตอบ 921 58. ตอบข้ อ 3. 59. ตอบข้ อ 2. 60. ตอบข้ อ 1.
61. ตอบข้ อ 1. 62. ตอบข้ อ 2. 63. ตอบข้ อ 3. 64. ตอบข้ อ 2.
65. ตอบข้ อ 1. 66. ตอบข้ อ 1. 67. ตอบข้ อ 1. 68. ตอบข้ อ 2.
69. ตอบข้ อ 3. 70. ตอบข้ อ 4.



70
ติวสบายเคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์

บทที่ 4 ปริ ม าณสัม พัน ธ์


4.1 มวลอะตอม
1
จากการทดลองพบว่า He 1 อะตอม มีมวลเป็ น 4 เท่าของ ( 12 ของมวล C–12 1 อะตอม)
จึงถือกันว่า He มีมวลอะตอม = 4 หรื อ 4 a.m.u.
โดย 1 a.m.u. = 1.66 x 10–24 กรัม
มวลของอะตอมที่มีหน่วยเป็ น a.m.u. ( หรื อไม่มีหน่วย ) เราจะเรี ยกว่ามวลอะตอมของ
ธาตุ ส่ วนมวลของอะตอมที่มีหน่วยเป็ นกรัมจะเรี ยกว่า มวลธาตุ 1 อะตอม ซึ่ งหาค่าได้จาก
มวลธาตุ 1 อะตอม = มวลอะตอมของธาตุ x 1.66 x 10–24
เมื่อ มวลธาตุ 1 อะตอม คือมวลทีม่ ีหน่ วยเป็ นกรัม
มวลอะตอมของธาตุ คือมวลทีม่ ีหน่ วยเป็ น a.m.u. หรื อไม่ มีหน่ วย
ตัวอย่าง. ธาตุ Be มีมวลอะตอมเท่ากับ 9 ถามว่า Be 1 อะตอม จะมีมวลกี่กรัม
1. 1.66 x 10–24 2. 1.66 x 10–23 3. 1.49 x 10–24 4. 1.49 x 10–23
ตอบข้ อ 4.
วิธีทำ โจทย์บอก มวลอะตอมของ Be = 9 a.m.u.
มวล Be 1 อะตอม = ?
จาก มวลธาตุ 1 อะตอม = มวลอะตอมของธาตุ x 1.66 x 10–24
จะได้ มวล Be 1 อะตอม = 9 x 1.66 x 10–24
มวล Be 1 อะตอม = 14.9 x 10–24 กรัม
มวล Be 1 อะตอม = 1.49 x 10–23 กรัม
นัน่ คือธาตุ Be 1 อะตอม จะมีมวล 1.49 x 10–23 กรัม
1. โซเดียม (Na) มีมวลอะตอมเท่ากับ 23 เพราะอะตอมโซเดียมมีมวลเป็ น 23 เท่าของมวล
ของข้อใดต่อไปนี้
1 1
1. C12 2. 12 ของ C12 3. Na23 4. 23 ของ Na23

1
ติวสบายเคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
2. ธาตุ B มีมวลอะตอมเท่ากับ 7 ถามว่า B 1 อะตอม จะมีมวลกี่กรัม
1. 1.66 x 10–24 2. 1.66 x 10–23 3. 1.16 x 10–24 4. 1.16 x 10–23

3. ธาตุไนโตรเจนมีมวลอะตอม 14 ดังนั้นไนโตรเจน 2 อะตอม จะมีมวลกี่กรัม


1. 3.320 x 10–24 2. 3.320 x 10–23 3. 4.648 x 10–24 4. 4.648 x 10–23

4. ธาตุ D 2 อะตอมมีมวล 36.52 x 10–24 กรัม ถามว่าธาตุ D จะมีมวลอะตอมเท่าใด


1. 10 2. 11 3. 20 4. 22

2
ติวสบายเคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
เนื่ องจากธาตุ บ างชนิ ดจะมีหลายไอโซโทปท าให้ม วลของแต่ล ะอะตอมมี ค่าไม่เท่ ากัน
ดังนั้นเมื่อจะกล่าวถึงมวลอะตอมของธาตุเหล่านี้จึงต้องหามวลอะตอมเฉลี่ยมาใช้อา้ งอิง
มวลอะตอมเฉลี่ยของธาตุใดๆ สามารถหาค่าได้จากสมการ
(% x M)
มวลอะตอมเฉลี่ย = 100
เมื่อ M คือมวลอะตอมของแต่ละไอโซโทป
% คือเปอร์ เซ็นต์ของแต่ละไอโซโทปที่มีในธรรมชาติ
5. สมมติธาตุ M มี 3 ไอโซโทปคือ
เปอร์ เซ็นต์ ในธรรมชาติ มวล
ไอโซโทปที่ 1 80 1
ไอโซโทปที่ 2 15 2
ไอโซโทปที่ 3 5 3
จงหามวลอะตอมเฉลี่ยของธาตุ M
1. 1.25 2. 1.73 3. 1.88 4. 2.01

6. สมมติธาตุ X ในธรรมชาติมี 2 ไอโซโทปคือ


เปอร์ เซ็นต์ ในธรรมชาติ มวล
ไอโซโทปที่ 1 10 9
ไอโซโทปที่ 2 90 10
จงหามวลอะตอมเฉลี่ยของธาตุ X
1. 9.15 2. 9.38 3. 9.75 4. 9.90

3
ติวสบายเคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
7. สมมติธาตุ X มี 3 ไอโซโทปในธรรมชาติคือ
เปอร์ เซ็นต์ ในธรรมชาติ มวล
ไอโซโทปที่ 1 80 12
ไอโซโทปที่ 2 15 13
ไอโซโทปที่ 3 5 14
จงหามวลอะตอมเฉลี่ยของธาตุ X
1. 12.15 2. 12.25 3. 12.75 4. 12.90

8. จงหามวลอะตอมเฉลี่ยของธาตุ M ซึ่งมี 2 ไอโซโทปคือ


เปอร์ เซ็นต์ ในธรรมชาติ มวล
ไอโซโทปที่ 1 92 14
ไอโซโทปที่ 2 8 15
1. 14.08 2. 14.55 3. 14.69 4. 14.86

9. ธาตุ X มี 2 ไอโซโทป คือ X10 ( มีมวลไอโซโทป = 10.3 ) ในปริ ม าณ 80% และอีก


ไอโซโทปหนึ่ งในปริ ม าณ 20% หากมวลอะตอมเฉลี่ ย ของธาตุ X เท่ า กับ 10.6 มวล
ไอโซโทปของไอโซโทปอีกตัวจะเท่ากับ
1. 11.2 2. 11.4 3. 11.6 4. 11.8

4
ติวสบายเคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
10. ธาตุ D ประกอบด้วยไอโซโทป 2 ชนิ ด ที่มี มวลอะตอม 10.00 และ 11.00 ตามลาดับ
หากมวลอะตอมของธาตุ D เท่ ากับ 10.20 ปริ ม าณในธรรมชาติ ข อง D ที่ มี ม วลอะตอม
11.00 จะเท่ากับกี่เปอร์เซ็นต์

4.2 มวลโมเลกุล
เนื่ องจากโมเลกุลเกิ ดจากการรวมตัวกันของอะตอม ดังนั้นการหามวลโมเลกุลจึงหาได้
จากการนาเอามวลอะตอมของอะตอมที่เข้ามารวมกันนั้นมาบวกกัน
เช่น NO มีมวลโมเลกุล = มวลอะตอมของ N + มวลอะตอมของ O
= 14 + 16
= 30
หรื อ H2O มีมวลโมเลกุล = ( มวลอะตอมของ H x 2 ) + มวลอะตอมของ O
= ( 1 x 2 ) + 16
= 18

ฝึ กทำ. จงหามวลโมเลกุลของสารต่อไปนี้
1) HCN 2) CO2 3) H2O 4) H2 SO4 5) CH3 COOH

5
ติวสบายเคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
11. ถ้ามวลสู ตร KMO4 = 158 จงคานวณหามวลอะตอมของ M ( K = 39 , O = 16 )
1. 55 2. 45 3. 40 4. 35

12. ถ้านาสารประกอบ C3H8 มา 22 กรัม วิเคราะห์หา C จะได้ C กี่กรัม


1. 9 2. 12 3. 16 4. 18

13. สารประกอบชนิดหนึ่งจากการวิเคราะห์พบว่าประกอบด้วย Zn , Al และ O โดยมีสัดส่ วน


จานวนอะตอมเป็ น 1 : 2 : 4 ตามลาดับ ถ้านาสารดังกล่าวมา 18.3 กรัม มาวิเคราะห์หา
Zn จะได้ Zn หนักกี่กรัม ( Zn = 65 , Al = 27 )
1. 0.47 2. 0.92 3. 1.17 4. 6.5

6
ติวสบายเคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์

4.3 โมล
ปริ มาณ 1 โมลของสารใดๆ มีความหมายได้ 3 แบบ ได้แก่
1) หมายถึงปริ มาณสารที่มีจานวนอนุภาค 6.02 x 1023 อนุภาค ( เลขอาโวกาโดร )
เช่น อะตอม H 1 โมลของอะตอม = 6.02 x 1023 อะตอม
โมเลกุล NO 1 โมลของโมเลกุล = 6.02 x 1023 โมเลกุล
ไอออน Cl– 1 โมลของอิออน = 6.02 x 1023 ไอออน
2) หมายถึงสารใดๆ ซึ่ งมีมวลเท่ากับมวลโมเลกุลหรื อมวลอะตอมแต่มีหน่วยเป็ นกรัม
เช่น H2O 1 โมเลกุล จะมีมวลเท่ากับ 18 ( เรี ยกมวลโมเลกุล )
ดังนั้น H2O 1 โมล ( 6.02 x 1023 โมเลกุล )
จะมีมวลเท่ากับ 18 กรัม
( คือเท่ากับมวลโมเลกุลแต่มีหน่วยเป็ นกรัม )
3) หมายถึงแก๊สหรื อไอใดๆ ที่มีปริ มาตร 22.4 ลูกบาศก์เดซิ เมตร ( ลิตร ) ที่ STP

1 โมล ( 1 atm , 0oC )

จานวนอนุภาค มีมวลเท่ากับมวลโมเลกุลหรื อ แก๊สหรื อไอปริ มาตร 22.4 Lit(dm3)


6.02x1023 อนุภาค มวลอะตอม แต่มีหน่วยเป็ นกรัม ที่ STP (1 atm , 0oC)
สู ตรทีใ่ ช้ คานวณเกี่ยวกับโมล
g N V จานวนอนุภาค ย่อย
แก๊ส
n = M = 6.02  10 = 22.4 = k ( 6.02 x 1023 )
23
เมื่อ n คือจานวนโมลตัวถูกละลาย
g คือมวลตัวถูกละลายที่มีอยู่ (กรัม)
M คือมวลโมเลกุล หรื อมวลอะตอมตัวถูกละลาย
N คือจานวนโมเลกุล
V คือปริ มาตรแก๊สซึ่ งเป็ นตัวถูกละลาย ( ลิตร , dm3 )
แก๊ส
k คือจานวนอนุภาคย่อยนั้นๆ ในหนึ่งโมเลกุลสารนั้น
7
ติวสบายเคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
14. แก๊สคาร์ บอนไดออกไซด์ (CO2) จานวน 22 กรัม ที่ STP จะมีปริ มาตรกี่ลิตร
1. 11.2 2. 22.4 3. 44.8 4. 67.2

15. แก๊สโพรเพน (C3H8) จานวน 88 กรัม ที่ STP จะมีปริ มาตรกี่ลิตร


1. 11.2 2. 22.4 3. 44.8 4. 67.2

16. แก๊สชนิดหนึ่งมีปริ มาตร 67.2 ลิตร ที่ STP จะมีจานวนโมเลกุลกี่โมเลกุล


1. 3.01 x 1023 2. 12.04 x 1023 3. 15.05 x 1023 4. 18.06 x 1023

17. แก๊สไนโตรเจนไดออกไซด์ปริ มาตร 56000 cm3 ที่ STP จะมีจานวนโมเลกุลกี่โมเลกุล

1. 3.01 x 1023 2. 12.04 x 1023 3. 15.05 x 1023 4. 18.06 x 1023

8
ติวสบายเคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์

18. แก๊สชนิดหนึ่งหนัก 0.2 กรัม มีปริ มาตร 400 cm3 ที่ STP แก๊สชนิดนี้มีมวลโมเลกุล
เท่าไร
1. 11.2 2. 16.0 3. 18.0 4. 20.5

19(แนว มช) สารประกอบชนิดหนึ่งประกอบด้วย H 1 อะตอม N 1 อะตอม และ O


3 อะตอม สารนี้มวล 31.5 กรัม จะมีกี่โมเลกุล
1. 3.01 x 1023 2. 4.05 x 1023 3. 5.12 x 1023 4. 7.02 x 1023

20(แนว มช) แก๊สชนิ ดหนึ่งมีปริ มาณ 448 cm3 ที่ STP มีมวล 0.60 กรัม แก๊สนี้น่าจะได้แก่
1. NH3 2. CH4 3. C2 H6 4. CO2

9
ติวสบายเคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
21. แก๊สชนิดหนึ่งมีความหนาแน่น 3 กรัม/ ลิตร ที่ STP แก๊สนี้มีมวลโมเลกุลเท่าใด
1. 12.0 2. 24.6 3. 44.8 4. 67.2

22. แก๊ส CO2 มีความหนาแน่นกี่ กรัม/ลูกบาศก์เซนติเมตร ที่ STP


1. 1.96 2. 1.96 x 10–3 3. 3.92 4. 3.92 x 10–3

23(แนว มช) ถ้านักเรี ยนดักน้ าบริ สุทธิ์ มา 2 cm3 น้ านั้นจะมีจานวนโมเลกุลเท่าใด


กาหนดให้ : ความหนาแน่นของน้ าเท่ากับ 1.0 g/cm3
1. 0.11 2. 36 3. 6.69 x 1022 4. 1.20 x 1024

10
ติวสบายเคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
24. กรดแอซีติก ( CH3COOH ) 15 กรัม จะมีจานวนออกซิเจนอยูก่ ี่อะตอม
( C = 12 , H = 1 , O = 16 )
1. 6.02 x 1023 2. 3.01 x 1023 3. 2.41 x 1023 4. 1.20 x 1023

25. น้ า 4.5 กรัม ประกอบด้วยไฮโดรเจนกี่อะตอม


1. 3.01 x 1023 อะตอม 2. 1.66 x 1023 อะตอม
3. 1.20 x 1024 อะตอม 4. 2.40 x 1023 อะตอม

26. Fe4 [ Fe (CN)6 ]3 1.2 x 10–6 โมล จะมี Fe กี่อะตอม


1. 2.5 x 1015 2. 5.1 x 1015 3. 5.1 x 1018 4. 2.5 x 1018

11
ติวสบายเคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
27. ออกซิเจน ( O2 ) ปริ มาตร 11.2 ลิตร ที่ STP มีจานวนอิเล็กตรอนกี่ตวั
( ออกซิเจน 1 อะตอม มีอิเล็กตรอน 8 ตัว )
1. 16 2. 6.02 x 1023 3. 9.6 x 1024 4. 4.8 x 1024

28. กรดซัลฟุริก ( H2SO4 ) จานวนหนึ่ งประกอบด้วยไฮโดรเจน ( H ) 2.01 x 1023 อะตอม


กรดซัลฟุริกจานวนนี้ มีกี่โมล
1. 0.55 2. 0.23 3. 0.195 4. 0.167

29. แก๊ส A4B6 ซึ่งมีจานวนอะตอมทั้งหมด 6.02 x 1023 อะตอม จะมีปริ มาตรเท่าใด


1. 22.4 dm3 2. 224 dm3 3. 2400 cm3 4. 2240 cm3

12
ติวสบายเคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
30. แก๊ส X2O3 5.6 dm3 ที่ STP มีมวลเท่ากับมีเทน ( CH4 ) 2 โมล จงหามวลอะตอม
ของ X
1. 10 2. 20 3. 30 4. 40

31. S8 กี่กรัมจึงจะมีจานวนโมเลกุลเท่ากับ SO2 6.4 กรัม


1. 2.56 2. 25.60 3. 256.00 4. 2560.00

32. ถ้าไนโตรเจน ( N2 ) 4 กรัม มีจานวนโมเลกุลเท่ากับ X โมเลกุล แอมโมเนีย ( NH3 )


4 กรัม จะมีกี่โมเลกุล
17 X 28 X
1. 28 2. 17 3. 4 X 4. X

13
ติวสบายเคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์

4.4 สารละลาย
4.4.1 ความเข้ มข้ นของสารละลาย
การบอกความเข้มข้นของสารละลายสามารถบอกได้หลายวิธีดงั นี้
1) โมลำริตี หรื อโมลำร์ หรื อโมลต่ อลิตร ( mol/dm3 หรื อ M )
หมายถึงจานวนโมลของตัวละลายที่มีในสารละลาย 1 ลูกบาศก์เดซิ เมตร ( ลิตร )
เช่ นสารละลาย NaOH เข้มข้น 5 โมล/ลิ ตร หมายความว่ามี NaOH 5 โมล ละลายอยู่ใน
สารละลายนี้ 1 ลิตร
สู ตรการคานวณความเข้ มข้ นแบบโมลาร์
สู ตรที่ 1 ใช้ สาหรับการเตรียมสารละลายโดยใส่ ตัวถูกละลายลงในตัวทาละลาย
c v จานวนอนุภาค ย่อย
g Vแก๊ส cสารละลาย v อนุภาคย่อย
n = M = 22.4 = 1000 = 1000 k = k ( 6.02 x 1023 )
เมื่อ n คือจานวนโมลตัวถูกละลาย
g คือมวลตัวถูกละลายที่มีอยู่ (กรัม)
M คือมวลโมเลกุลตัวถูกละลาย
Vแก๊ส คือปริ มาตรแก๊สซึ่ งเป็ นตัวถูกละลาย ( ลิตร , dm3 )
cสารละลาย คือความเข้มข้นของสารละลาย ( โมล/ลิตร )
cอนุภาคย่อย คือความเข้มข้นของอนุภาคย่อยในสารละลาย ( โมล/ลิตร )
v คือปริ มาตรของสารละลาย ( cm3 )
k คือจานวนอนุภาคย่อยนั้นๆ ในหนึ่งโมเลกุลสารนั้น
สู ตร 2 ใช้ เมื่อนำสำรละลำยเดิมมำทำกำรปรับเปลีย่ นควำมเข้ มข้ นหรื อปริมำตร
c 1 v1 = c 2 v2 
เมื่อ c1 , c2 คือความเข้มข้นของสารละลายตอนแรกและตอนหลังตามลาดับ  
(โมล/ลิตร ) 
v1 , v2 คือปริ มาตรของสารละลายตอนแรก และ ตอนหลัง ตามลาดับ

14
ติวสบายเคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
สู ตร 3 ใช้ เมื่อผสมสำรละลำยหลำยตัวเข้ ำด้ วยกัน
cรวม vรวม = c1 v1 + c2 v2 + …  
เมื่อ c1 , c2 , cรวม คือความเข้มข้นของสารละลายที่ 1 , ที่ 2 และสารละลายรวม
ตามลาดับ 
v1 , v2 , vรวม คือปริ มาตรของสารละลายที่ 1 , ที่ 2 และสารละลายรวม
ตามลาดับ 
สู ตร 4 ใช้ หำควำมเข้ มข้ นอนุภำคย่ อยบำงตัวในสำรละลำยผสม
cไอออนรวม vรวม = k1 c1 v1 + k2 c2 v2 + …
เมื่อ cไอออนรวม คือความเข้มข้นรวมของอนุภาคย่อยนั้นๆ ในสารละลายผสม
c1 , c2 คือความเข้มข้นของสารละลายที่ 1 และ 2 ตามลาดับ
v1 , v2 , vรวม คือปริ มาตรของสารละลายที่ 1 , ที่ 2 และสารละลายรวม
ตามลาดับ 
k1 , k2 คือจานวนอนุภาคย่อยนั้นๆ ในหนึ่งโมเลกุลสารที่ 1 และ 2 
ตามลาดับ
33. นากลูโคส (C6H12O6) 90 กรัม มาละลายน้ าจนได้สารละลายอันมีปริ มาตร 500 cm3
จงหาว่าสารละลายนี้มีความเข้มข้นกี่โมล/ลิตร
1. 1.0 2. 1.8 3. 3.0 4. 3.5

15
ติวสบายเคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์

34. ในการเตรี ยมสารละลาย NaOH เข้มข้น 0.1 mol / dm3 จานวน 5 ลิตร ต้องใช้ NaOH
กี่กรัม ( Na = 23 , O = 16 , H = 1 )
1. 1.0 2. 2.0 3. 10.0 4. 20.0

35. เมื่อผ่านแก๊สไฮโดรเจนคลอไรด์ (HCl) 5.6 dm3 ที่ STP ลงในน้ ากลัน่ เป็ นสารละลาย
300 cm3 ถ้าแก๊สไฮโดรเจนคลอไรด์ละลายทั้งหมด จะได้สารละลายเข้มข้นกี่ โมล/ลิ ตร

1. 0.83 2. 1.03 3. 2.44 4. 3.50

36. สารละลาย CuSO4 15.95 g / dm3 เข้มข้นเป็ นกี่ mol/dm3 ( Cu = 63.5 , S = 32 )


1. 0.10 2. 0.88 3. 2.00 4. 5.00

16
ติวสบายเคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
37. นาโซเดียมซัลเฟต ( Na2SO4 ) 71 กรัม มาละลายน้ า เป็ นสารละลาย 500 cm3 สารละ
ลายที่ได้จะมีความเข้มข้นของ Na+ ไอออนกี่โมลต่อลิตร
1. 0.10 2. 0.88 3. 2.00 4. 5.00

38. Sr(OH)2 เป็ นเบสแก่เมื่อนา Sr(OH)2 61 กรัม มาละลายในน้ า 200 ลูกบาศก์เซนติเมตร


สารละลายที่ได้จะมีความเข้มข้น OH– ไอออนกี่โมลต่อลิตร ( Sr = 88 , O = 16 , H = 1)
1. 0.10 2. 0.88 3. 2.00 4. 5.00

39. สารละลายชนิดหนึ่งเข้มข้น 5 mol/dm3 ปริ มาตร 1 dm3 เมื่อเติมน้ าลงไปจนปริ มาตรสุ ด


ท้ายรวมเป็ น 10 dm3 ความเข้มข้นจะเปลี่ยนเป็ นเท่าใด
1. 0.40 2. 0.50 3. 4.00 4. 5.00

17
ติวสบายเคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์

40. สารละลายชนิดหนึ่ง 100 cm3 เข้มข้น 3 mol/dm3 ต้องการเตรี ยมให้ความเข้มข้นเป็ น


2 mol/dm3 จะต้องเติมน้ าจนมีปริ มาตรเป็ นกี่ cm3
1. 50 2. 100 3. 150 4. 200

41. มี NaOH 1 mol/dm3 อยู่ 500 cm3 แบ่งมา 100 cm3 ทาให้เจือจางเป็ น 1 ลิตร สาร
ละลายนี้เข้มข้นเท่าใด
1. 0.10 2. 0.70 3. 2.00 4. 5.00

42. สารละลายชนิ ดหนึ่ งเข้มข้น 2 mol/dm3 ปริ มาตร 1 dm3 เมื่ อเติมน้ าลงไปอีก 4 dm 3
ความเข้มข้นจะเปลี่ยนเป็ นเท่าใด
1. 0.40 2. 0.50 3. 4.00 4. 5.00

18
ติวสบายเคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์

43. สารละลายเข้มข้น 3 M 100 cm3 จะทาให้มีความเข้มข้น 2 M ต้องเติมน้ าเย็นกี่ cm3


1. 50 2. 100 3. 150 4. 200

44. ถ้าต้องการเตรี ยมสารละลายกรด HCl เข้มข้น 1 mol/dm3 จานวน 50 cm3 จาก HCl
เข้มข้น 4 mol/dm3 จะต้องเติมน้ าอีกกี่ cm3
1. 12.5 2. 25.0 3. 37.5 4. 50.0

45. ผสมสาระลายกรด HCl ขวดที่ 1 ซึ่ งมีความเข้มข้น 1 mol/ dm3 จานวน 300 cm3 กับ
HCl ขวดที่ 2 ซึ่ งมีความเข้มข้น 2 mol/ dm3 จานวน 200 cm3 แล้วเติมน้ าลงไปอีก 500
cm3 ถามว่าสารละลายผสมที่ได้จะมีความเข้มข้นกี่ mol/ dm3
1. 0.10 2. 0.70 3. 2.00 4. 5.00

19
ติวสบายเคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์

46. เมื่อผสม NaOH 1 mol/dm3 จานวน 100 cm3 กับ NaOH 2 mol/dm3 จานวน 50 cm3
และ NaOH 4 mol/dm3 200 cm3 แล้วเติมน้ าลงไป 100 cm3 จงหาความเข้มข้นใหม่
1. 1.10 2. 2.20 3. 3.00 4. 3.50

47. ผสมสารละลาย NaOH เข้มข้น 0.4 โมล/ลิตร จานวน 30 cm3 กับสารละลาย NaOH
เข้มข้น 0.3 โมล/ลิตร จานวน 20 cm3 แล้วเติมน้ ากลัน่ ลงไปจนมีปริ มาตรเป็ น 180 cm3
จะได้สารละลาย NaOH เข้มข้นกี่โมล/ลิตร
1. 0.10 2. 1.00 3. 1.50 4. 1.80

48. ถ้านาสารละลาย NaCl ที่มีความเข้มข้น 3 M จานวน 200 cm3 มาผสมกับสารละลาย


NaCl ที่มีความเข้มข้น 1.5 M จานวนหนึ่ ง สารละลายผสม NaCl ที่ได้มีความเข้มข้น
2.1 M สารละลาย NaCl ที่มีความเข้มข้น 1.5 M ที่ใช้ผสมมีปริ มาตรเท่าใด
1. 150 2. 250 3. 300 4. 350

20
ติวสบายเคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์

49. เมื่อผสม NaCl 2 mol/dm3 จานวน 10 cm3 กับสารละลาย NaCl 4 mol/dm3 จานวน
100 cm3 จาก นั้นเติ ม NaCl อีก 175.5 กรัม แล้วเติมน้ าจนมี ปริ มาตร 500 cm3 จงหา
ความเข้มข้นสาร ผสมในหน่วย mol/dm3
1. 3.42 2. 6.84 3. 4.42 4. 8.84

50. ผสม NaCl เข้มข้น 2 mol/dm3 จานวน 100 cm3 กับ MgCl2 3 mol/dm3 จานวน
100 cm3 และ AlCl3 1 mol/dm3 จ านวน 50 cm3 จงหาความเข้ม ข้น ของ Cl– ใน
หน่วย mol/dm3
1. 3.80 2. 4.40 3. 6.20 4. 8.80

21
ติวสบายเคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
2) โมลแลลิตี หรื อโมแลล ( m )
หมายถึงจานวนโมลของตัวละลายที่ละลายในตัวทาละลาย 1 กิ โลกรัม มีหน่ วย
เป็ นโมล/กิโลกรัม เช่นสารละลายยูเรี ยเข้มข้น 3 โมแลล หมายความว่ามียเู รี ย 3 โมล ละลาย
ในตัวทาละลาย 1 กิโลกรัม เป็ นต้น
สมกำรใช้ หำควำมเข้ มข้ นแบบโมลแลลิตี หรื อโมแลล ( m )
m = จานวนโมลตัวถูกละลาย
มวลตัวทาละลาย ในหน่วยกิโลกรั ม
เมื่อ m คือความเข้มข้นแบบโมแลล ( โมล/กิโลกรัม )

สมการใช้ หาความเข้ มข้ นแบบโมแลลจากความเข้ มข้ นแบบโมลาร์ ( โมล/ลิตร )


D = c ( 1000 M + m1 )
เมื่อ D คือความหนาแน่นของตัวถูกละลาย(ตัวละลาย) ( g/cm3 )
c คือความเข้มข้นแบบโมลาร์ ( โมล/ลิตร )
M คือมวลโมเลกุลตัวถูกละลาย
m คือความเข้มข้นแบบโมแลล ( โมล/กิโลกรัม )

51. เมื่อละลายน้ าตาลทราย (C12H22O11) 34.2 กรัม ในน้ า 500 กรัม สารละลายจะมีความ
เข้มข้นเท่าใดในหน่วยโมแลล (m)
1. 0.1 2. 0.2 3. 0.4 4. 0.8

22
ติวสบายเคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์

52. สารละลาย A มีความเข้มข้น 5 mol/kg จงหาความเข้มข้นเป็ น mol/dm3 กาหนดให้มวล


โมเลกุลของสาร A เท่ากับ 120 ความหนาแน่นของสาร A 1.2 g/cm3
1. 3.75 2. 4.81 3. 5.33 4. 6.25

53. กรดเปอร์ คลอริ ก (HClO4) มีความเข้มข้น 5 mol/dm3 มีความหนาแน่ น 1.54 g/cm3 จง


หาความเข้มข้นเป็ น mol / kg
1. 3.75 2. 4.81 3. 5.33 4. 6.25

3) เศษส่ วนโมล หมายถึงอัตราส่ วนจานวนโมลของสารนั้นต่อจานวนโมลของสารทั้งหมด


ในสารละลาย ใช้สัญลักษณ์แทนด้วย X
เช่นถ้าสารละลายประกอบด้วยสาร A 2 โมล B 5 โมล และ C 3 โมล
จะได้วา่ เศษส่ วนโมลของ A ( XA ) = 2  25  3 = 102 = 0.2
เศษส่ วนโมลของ B ( XB ) = 2  55  3 = 105 = 0.5
เศษส่ วนโมลของ C ( XC ) = 2  35  3 = 103 = 0.3

ถ้านาเศษส่ วนโมลของสารคูณด้วย 100 ผลที่ได้เรี ยกว่าร้อยละโดยโมล จากตัวอย่าง


นี้จะได้วา่ ร้อยละโดยโมลของ A = 0.2 x 100 = 20
ร้อยละโดยโมลของ A = 0.5 x 100 = 50
ร้อยละโดยโมลของ A = 0.3 x 100 = 30

23
ติวสบายเคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
54. สารละลายหนึ่ งประกอบด้วยสาร A 2 โมล B 1 โมล และ C 2 โมล เศษส่ วนโมล
ของสารแต่ละชนิดคือข้อใดต่อไปนี้ ( ตอบตามลาดับ )
1. 0.2 , 0.1 , 0.2 2. 0.4 , 0.2 , 0.4
3. 2.0 , 1.0 , 2.0 4. 4.0 , 1.0 , 2.0

55. สารละลายชนิดหนึ่ งเกิดจากการผสมสาร A ซึ่งมีมวลโมเลกุล 40 และไม่แตกตัว จานวน


20 กรัม ลงในน้ า 180 กรัม จงหาร้อยละโดยโมลของสาร A ในสารละลายนี้
1. 0.0476 2. 0.476 3. 4.76 4. 47.6

4) ร้ อยละ หรื อส่ วนในร้ อยส่ วน (parts per hundred , pph )


การบอกความเข้มข้นแบบนี้ จาแนกได้เป็ น 3 แบบย่อย ได้แก่
ก. ร้ อยละโดยมวลต่ อมวล ( ร้ อยละโดยมวล ) หมายถึงมวลตัวละลายที่มีสารละลาย
100 หน่วยมวลเดียวกัน เช่นสารละลาย NaCl เข้มข้นร้อยละ 15 โดยมวล หมายความว่า
มี NaCl 15 กรัม ละลายในสารละลาย 100 กรัม
หรื อ มี NaCl 15 กิโลกรัม ละลายในสารละลาย 100 กิโลกรัม
ข. ร้ อ ยละโดยปริ ม าตรต่ อ ปริ ม าตร ( ร้ อ ยละโดยปริ ม าตร ) หมายถึ ง ปริ ม าตรตัว
ละลายที่มีสารละลาย 100 หน่วยปริ มาตรเดียวกัน เช่นสารละลาย HCl เข้มข้นร้อยละ 3 โดย
ปริ มาตร หมายความว่า

24
ติวสบายเคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์

มี HCl 3 cm3 ละลายในสารละลาย 100 cm3


หรื อ มี HCl 3 ลิตร ละลายในสารละลาย 100 ลิตร
ค. ร้ อยละโดยมวลต่ อปริ มำตร หมายถึ งมวลตัวละลายที่มีส ารละลาย 100 หน่ วย
ปริ มาตรที่สอดคล้องกัน
ถ้าใช้หน่วยมวลเป็ นกรัม (g) ต้องใช้หน่วยปริ มาตรเป็ นลูกบาศก์เซนติเมตร (cm3)
ถ้าใช้หน่วยมวลเป็ นกิโลกรัม (kg) ต้องใช้หน่วยปริ มาตรเป็ นลิตร (dm3)
เช่นสารละลายกลูโคส 20% โดยมวลต่อปริ มาตร หมายความว่า
มีกลูโคส 20 กรัม ละลายในสารละลาย 100 cm3
หรื อ มีกลูโคส 20 กิโลกรัม ละลายในสารละลาย 100 ลิตร
สู ตรคานวณเกีย่ วกับความเข้ มข้ นแบบร้ อยละ

ร้อยละโดยมวลต่อมวล = มวลตัวถูกละลาย x 100


มวลสารละลาย
ร้อยละโดยปริ มาตรต่อปริ มาตร = ปริ มาตรตัว ถูกละลาย x 100
ปริ มาตรสาร ละลาย
ร้อยละโดยมวลต่อปริ มาตร = มวลตัวถูกล ะลาย (กรั ม)3 x 100
ปริ มาตรสาร ละลาย (cm )
56. เมื่อละลายกลูโคส 30 กรัม ในน้ ากลัน่ 120 กรัม จงหาว่าสารละลายนี้มีความเข้มข้นร้อย
ละโดยมวลเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 10 2. 15 3. 18 4. 20

25
ติวสบายเคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์

57. สารละลาย HCl เข้ม ข้น 2% โดยปริ ม าตร/ปริ ม าตร จานวน 200 cm3 จะมี HCl
ปริ มาตรกี่ cm3
1. 2.00 2. 2.80 3. 4.00 4. 4.80

58. เมื่อใช้ NaOH 0.5 โมล เตรี ยมสารละลายให้มีความเข้มข้น 30% โดยมวล/ปริ มาตร จะ
ได้สารละลายกี่ cm3
1. 33.33 2. 40.00 3. 66.67 4. 80.00

สมการทีใ่ ช้ เปลี่ยนความเข้ มข้ นจากแบบร้ อยละไปเป็ นโมล/ลิตร


กรณีที่ 1 เปลี่ยนจากร้อยละโดยมวลต่อมวล หรื อโดยปริ มาตรต่อปริ มาตร
เป็ นโมล/ลิตร ใช้สมการ
c = 10 M %D

เมื่อ c คือความเข้มข้นเป็ นโมล/ลิตร 


% คือความเข้มข้นแบบร้อยละโดยมวล หรื อโดยปริ มาตร
D คือความหนาแน่นสารละลาย (g/cm3)
M คือมวลโมเลกุลตัวถูกละลาย 

26
ติวสบายเคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
กรณีที่ 2 เปลี่ยนจากร้อยละโดยมวล/ปริ มาตร เป็ นโมล/ลิตร ใช้สมการ
c = 10M%  
เมื่อ c คือความเข้มข้นเป็ นโมล/ลิตร 
% คือความเข้มข้นแบบร้อยละโดยมวลต่อปริ มาตร
M คือมวลโมเลกุลตัวถูกละลาย
59. สารละลายกลูโคส (C6H12O6) เข้มข้น 30 % โดยมวลต่อมวล มีความหนาแน่น 9 g/cm3
จะมีความเข้มข้นกี่โมล/ลิตร
1. 5 2. 10 3. 15 4. 20

60. NaOH เข้มข้น 20 % โดยมวล/ปริ มาตร จงหาความเข้มข้นเป็ นโมล/ลิตร


1. 5 2. 10 3. 15 4. 20

61. ต้องการสารละลาย H2SO4 0.1 mol/dm3 จานวน 100 cm3 จากสารละลาย H2SO4
ในขวดที่ มี ค วามเข้ม ข้น 49% โดยมวล ถ้าสารละลายในขวดนี้ มี ค วามหนาแน่ น 1.25
g/cm3 ต้องดูดสาร H2SO4 ในขวดมากี่ cm3 แล้วเติมน้ าให้ได้ปริ มาตรทั้งหมด 100 cm3
1. 0.80 2. 1.60 3. 6.25 4. 12.50

27
ติวสบายเคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์

62. มีสารละลายอยู่ 3 บีกเกอร์ บีกเกอร์ที่ 1 จานวน 200 cm3 มีสาร A เข้มข้นร้อยละ 8


โดยมวล มี ความหนาแน่ น 1.2 g/cm3 บีกเกอร์ ที่ 2 จานวน 400 cm3 มีสาร A เข้มข้น
0.2 mol/dm3 บี กเกอร์ ที่ 3 มี ส าร A 12 กรัม เมื่ อนาสารละลายในบี ก เกอร์ ท้ ัง 3 มาเท
รวมกันแล้วเติมน้ าอีก 100 cm3 สารละลายผสมเข้มข้นกี่ mol/dm3
( A มีมวลโมเลกุล = 48 )
1. 1.04 2. 1.25 3. 1.49 4. 1.72

5) ส่ วนในล้ำนส่ วน (parts per million , ppm )


หมายถึ ง มวลหรื อ ปริ ม าตรตัว ละลายที่ มี ส ารละลาย 1 ล้านส่ วนของมวลหรื อ
ปริ ม าตรหน่ วยเดี ยวกัน เช่ นสารตะกัว่ ปนเปื้ อนในน้ าเข้ม ข้น 0.1 ส่ วนในล้านส่ วนโดยมวล
หมายความว่ามีตะกัว่ อยู่ 0.1 กรัมอยูใ่ นสารละลาย 1 ล้านกรัม เป็ นต้น
สู ตรคานวณเกีย่ วกับความเข้ มข้ นแบบส่ วนในล้ำนส่ วน
ppm ( มวล ) = มวลตั วถูกละลาย x 106
มวลสารละลาย
ppm ( ปริ มาตร ) = ปริ มาตรตัว ถูกละลาย x 106
ปริ มาตรสาร ละลาย
เนื่องจากมวลสารละลายจะมีค่าใกล้เคียงกับมวลตัวทาละลาย ดังนั้นมวลทั้งสองตัว
นี้ จึงใช้คานวณแทนกันได้ และปริ มาตรสารละลายจะมี ค่าใกล้เคี ยงกับปริ มาตรตัวทาละลาย
ดังนั้นปริ มาตรทั้งสองตัวนี้จึงใช้คานวณแทนกันได้เช่นกัน
28
ติวสบายเคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
6) ส่ วนในพันล้ำนส่ วน (parts per billion , ppb )
หมายถึงมวลหรื อปริ มาตรตัวละลายที่มีสารละลาย 1 พันล้านส่ วนของมวลหรื อ
ปริ มาตรหน่วยเดียวกัน เช่นสารปรอทปนเปื้ อนในน้ าเข้มข้น 0.8 ส่ วนในพันล้านส่ วนโดยมวล
หมายความว่ามีปรอทอยู่ 0.8 กรัมอยูใ่ นสารละลาย 1 พันล้านกรัม เป็ นต้น
สู ตรคานวณเกีย่ วกับความเข้ มข้ นแบบส่ วนในพันล้ำนส่ วน
ppb ( มวล ) = มวลตั วถูกละลาย x 109
มวลสารละลาย
ppb ( ปริ มาตร ) = ปริ มาตรตัว ถูกละลาย x 109
ปริ มาตรสาร ละลาย
63. เมอร์ คิวรี (II) ไนเตรต ( Hg (NO3)2 ) 0.1 กรัม ละลายในน้ า 100 กรัม สารละลายนี้ จะมี
ความเข้มข้นกี่ส่วนในล้านส่ วนโดยมวล
1. 10 2. 100 3. 1000 4. 10000

64. ถ้าในอากาศ 100 cm3 มีไดไนโตรเจนมอนอกไซด์ 3 x 10–5 cm3 จงหาความเข้ม ข้น


ของไดไนโตรเจนมอนอกไซด์ในหน่วยส่ วนในพันล้านส่ วนโดยปริ มาตร
1. 30 2. 300 3. 3000 4. 30000

29
ติวสบายเคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
4.4.2 สมบัติบางประการของสารละลาย
เมื่อนาสารใดๆ ไปละลายในตัวทาละลาย สาร
ละลายที่ได้จะมีจุดเดือดสู งขึ้ น และจุดเยือกแข็งต่าลง
กว่าจุดเดือดและจุดเยือกแข็งของตัวทาละลายนั้น เช่น
น้ าบริ สุทธิ์ จะมีจุดเดือดที่ 100oC จุดเยือกแข็งที่ 0oC
ถ้านาสารใดๆ ไปละลายในน้ า สารละลายที่ได้จะมี สารละลาย
จุดเดือดสู งกว่า 100oC และมีจุดเยือกแข็งต่ากว่า 0oC ในน้ า
เสมอ คุณสมบัติของสารละลายข้อนี้ เรี ยกคุณสมบัติ
คอลลิเกทีฟ ( colligative )
ข้อต้องทราบเกี่ยวกับคุณสมบัติคอลลิเกทีฟ
1) จุดเดือดที่เพิ่ม และจุดเยือกแข็งที่ลด จะขึ้นกับชนิดของตัวทาละลาย ไม่ข้ ึนกับ
ชนิดของตัวถูกละลาย
2) จุดเดือดที่เพิม่ และจุดเยือกแข็งที่ลด จะแปรผันตรงกับความเข้มข้นของสารละลาย
สมการที่ใช้คานวณเกี่ยวกับสมบัติคอลลิเกทีฟ
w x 1000
Tจุดเดือดสารละลาย – Tจุดเดือดตัวทาละลาย = Kb m = Kb ( w1 x M )
2
w1 x 1000
Tจุดเยือกแข็งตัวทาละลาย – Tจุดเยือกแข็งสารละลาย = Kf m = Kf ( w x M )
2
เมื่อ Kb คือค่าคงที่การเพิ่มขึ้นของจุดเดือด ( oC / m )
Kf คือค่าคงที่การลดลงของจุดเยือกแข็ง ( oC / m ) 
m คือความเข้มข้นของสารละลายแบบโมแลล ( โมล/กิโลกรัม )
w1 คือมวลตัวถูกละลาย
w2 คือมวลตัวทาละลาย
M คือมวลโมเลกุลตัวถูกละลาย

30
ติวสบายเคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
65(แนว En) เมื่อเติม NaCl จานวนหนึ่ งลงในน้ า จุดเดื อดและจุดเยือกแข็งของสารละลายจะ
เป็ นเช่นใด
จุดเดือด จุดเยือกแข็ง
1. เพิ่มขึ้น เพิ่มขึ้น
2. ลดลง ลดลง
3. เพิ่มขึ้น ลดลง
4. ลดลง เพิ่มขึ้น

66(แนว En) สาร X 5 กรัม ละลายในเบนซิ น 20 กรัม สารละลายเดือดที่อุณหภูมิ 83.3oC


จุดเดือดของ X และเบนซิ นเท่ากับ 300 และ 80.1oC ตามลาดับ ถ้า Kb ของเบนซิ นเท่า
กับ 2.53oC/m สาร X มีมวลโมเลกุลเท่าไร
1. 20 2. 198 3. 316 4. 396

31
ติวสบายเคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
67(แนว มช) เมื่ อ ละลายสาร A 2.76 กรั ม ในเอทานอล 10 กรั ม พบว่าสารละลายมี จุด
เดือด 82.16oC จงหามวลโมเลกุลของสาร A ( กาหนดให้ จุดเดือดของเอทานอลเท่ากับ
78.52oC , ค่าคงที่ของการเพิ่มของจุดเดือด ( Kb ) ของเอทานอลเป็ น 1.22oC/m )
1. 92 2. 184 3. 316 4. 396

68(แนว En) สาร A มีมวลโมเลกุล 100 g/mol สามารถละลายน้ าได้แต่ไม่แตกตัว ถ้าต้องการ


ให้สารละลาย A ในน้ ามีจุดเยือกแข็งที่ –7.44oC จะต้องใช้สาร A กี่กรัม ละลายในน้ าครึ่ ง
กิโลกรัม ( กาหนดค่า Kf ของน้ าเท่ากับ 1.86o C . mol–1. kg–1 )
1. 20 2. 40 3. 200 4. 400

69. สารละลายชนิดหนึ่งประกอบด้วยตัวถูกละลาย 100 กรัม ละลายในน้ า 1000 กรัม สาร


ละลายนี้จะมีจุดเดือดเท่าใด
ให้ มวลโมเลกุลตัวถูกละลาย = 50 , Kb ของน้ า = 0.5oC/m , จุดเดือดปกติของน้ า = 100oC
1. 100.5oC 2. 101.0oC 3. 101.5oC 4. 102.0oC

32
ติวสบายเคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
70. สารละลายชนิ ดหนึ่ งประกอบด้วยตัวถูกละลาย 100 กรัม ละลายในน้ า 1000 กรัม สาร
ละลายนี้จะมีจุดเยือกแข็งเท่าใด กำหนด มวลโมเลกุลตัวถูกละลาย = 50 ,
ค่า Kf ของน้ า = 1.86oC/m , จุดเยือกแข็งปกติของน้ า = 0oC
1. –0.93oC 2. –1.86oC 3. –3.72oC 4. –4.65oC

71(แนว มช) สารละลายชนิดหนึ่งประกอบด้วยตัวถูกละลาย 20 กรัม ละลายในน้ า 1000 กรัม


จะมีจุดเยือกแข็งเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
( กาหนดให้ ตัวถูกละลายมีมวลโมเลกุลเท่ากับ 40 และน้ ามีค่า Kf เท่ากับ 1.8oC/m )
1. –0.9oC 2. –1.8oC 3. –3.6oC 4. –4.5oC

72. สารละลายของตัวถูกละลายชนิ ดใดจะมีจุดเดือดสู งที่ สุด ถ้าสารละลายเหล่านั้นมีความ


เข้มข้น 1.0 โมล/กิโลกรัม และมีน้ าเป็ นตัวทาละลายเหมือนกัน
( K = 39 , S = 32 , O = 15 , Na = 23 , P = 31 , Cl = 35.5 , Ca = 40 )
1. K2SO4 2. Na3PO4 3. CaCl2 4. C6H12O6

33
ติวสบายเคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
4.5 การคานวณเกีย่ วกับสู ตรเคมี
4.5.1 การคานวณหาสู ตรเอมพิริคัลและสู ตรโมเลกุล
สู ตรโมเลกุล เป็ นสู ตรที่บอกให้เรารู ้ วา่ ในหนึ่ งโมเลกุลของสารใดๆ ประกอบไปด้วย
อะตอมของธาตุอะไรบ้าง และอย่างละกี่อะตอม
สู ตรอย่างง่าย (สู ตรเอมพิริคลั ) เป็ นสู ตรที่แสดงอัตราส่ วนอย่างต่าของแต่ละธาตุที่เข้า
มารวมตัวกัน
ตัวอย่างเช่ น สู ตรโมเลกุลของกลูโคสคือ C6 H12 O6
จากสู ตรจะเห็ นว่าในหนึ่ งโมเลกุลของกลูโคสจะประกอบด้วย คาร์ บอน ( C) 6
อะตอม ไฮโดรเจน (H) 12 อะตอม และออกซิเจน (O) 6 อะตอม
จากสู ตรโมเลกุล หากดึงตัวร่ วมจะได้
(C6 H12 O6) = ( CH2O )6
สู ต รที่ เหลื อ ในวงเล็ บ ( คื อ CH2O ) จะเป็ นสู ต รที่ แ สดงอัต ราส่ วนอย่า งต่ า ของ
จานวนอะตอม เรี ยกสู ตรในวงเล็บนี้ วา่ สู ตรอย่ างง่ าย
โปรดสั งเกตว่า
(สู ตรอย่างง่าย) n = สู ตรโมเลกุล
และ (มวลจากสู ตรอย่างง่าย) n = มวลโมเลกุล
73. นาสารประกอบชนิดหนึ่งมาแยกสลายจนหมด จะได้คาร์บอน( C ) 1.2 กรัม ไฮโดรเจน(H)
0.2 กรั ม และออกซิ เจน (O) 1.6 กรั ม เท่ านั้น ถ้าสารมี ม วลโมเลกุ ล 60 จงหาสู ต ร
โมเลกุลของสารนี้
1. CH2O 2. C2H4O2 3. C3H6O3 4. C4H8O4

34
ติวสบายเคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
74. ออกไซด์ชนิดหนึ่งมี As 65.2% และ O 34.8% โดยมวลออกไซด์น้ี มีมวลโมเลกุลเท่ากับ
230 สู ตรของออกไซด์เป็ นอย่างไร ( As = 75 , O = 16 )
1. AsO2 2. As2 O3 3. As2 O4 4. As2 O5

75. สาร A ประกอบด้ ว ยธาตุ N , H , O เมื่ อ สาร A 64 กรั ม สลายตัว จะได้ แ ก๊ ส


ไนโตรเจน 28 กรัม และไอน้ า 36 กรัม ถ้ามวลโมเลกุลของสาร A เท่ากับ 64 จงหา
สู ตรโมเลกุลของ สาร A นี้
1. NH2O 2. NHO3 3. N2H4O2 4. N3H6O3

4.5.2 การคานวณมวลเป็ นร้ อยละจากสู ตร


การหามวลร้อยละของสารจากสู ตรโมเลกุลสามารถหาได้จากสมการ
ร้อยละของธาตุ A ในสารประกอบ = มวลธาตุ A x 100
มวลของสารประกอบ
76. มวลร้อยละของธาตุ C ใน CO2 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 13.33 2. 20.00 3. 27.27 4. 33.33

35
ติวสบายเคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
77. มวลร้อยละของธาตุ O ใน CuSO4 . 5 H2O มีคา่ เท่ากับข้อใด ( Cu = 63.5 , S = 32 )
1. 36.07 2. 45.50 3. 57.72 4. 63.33

78. จากข้อที่ผา่ นมา มวลร้อยละของน้ ามีค่าเท่ากับข้อใด


1. 36.07 2. 45.50 3. 57.72 4. 63.33

79(แนว มช) สาร A เป็ นสารบริ สุทธิ์ โดยใน 1 โมเลกุลของสารนี้ ประกอบด้วยคาร์ บอน 27
อะตอม คิดเป็ นร้ อยละโดยมวลของคาร์ บอนเท่ากับ 80.50 อยากทราบว่าสาร A มีมวล
โมเลกุลเท่าไร
1. 348.3 2. 402.5 3. 430.3 4. 490.8

36
ติวสบายเคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์

4.6 การคานวณปริมาณสารในปฏิกริ ิยาเคมี


4.6.1 ระบบ กับ สิ่ งแวดล้อม
ระบบ คือส่ วนที่อยูภ่ ายในขอบเขตของการศึกษาทั้งก่อนและหลังการเปลี่ยนแปลง
( คือสิ่ งที่เราต้องการศึกษานัน่ เอง )
สิ่ งแวดล้อม คือส่ วนที่อยูภ่ ายนอกขอบเขตของการศึกษาทั้งหมด
ตัวอย่างเช่นหากเราต้องการศึกษาการแยกน้ าด้วยกระแสไฟฟ้ าเพื่อให้ได้แก๊สไฮโดรเจน
และออกซิ เจน ระบบ ( คือสิ่ งที่เราต้องการศึกษา ) ซึ่ งได้แก่น้ าก่อนการทดลอง และแก๊สไฮ-
โดรเจนกับออกซิ เจนกับน้ าที่เหลื อหลังการทดลองเท่านั้น นอกนั้นถื อว่าเป็ นสิ่ งแวดล้อมหมด
รวมไปถึงเครื่ องมือ อุปกรณ์ ภาชนะที่ใช้ทาการทดลองก็ถือเป็ นสิ่ งแวดล้อมเช่นกัน
ประเภทของระบบ
1. ระบบปิ ด คือระบบที่ไม่มีการถ่ายเทมวลระหว่างระบบกับสิ่ งแวดล้อม
2. ระบบเปิ ด คือระบบที่มีการถ่ายเทมวลระหว่างระบบกับสิ่ งแวดล้อม
ตัวอย่าง 1. ใส่ ผงสังกะสี ลงในกรด HCl ในภาชนะเปิ ดฝา เกิดปฏิกิริยาตามสมการ
Zn(s) + 2 HCl(aq)  ZnCl2(s) + H2(g)
ปฏิกิริยานี้จะเกิดแก๊ส H2 ซึ่งจะหนีหายไป ทาให้เกิดการถ่ายเทมวลออกไป
สู่ สิ่งแวดล้อม จึงเป็ นระบบเปิ ด
2. เผาหิ นปูนในภาชนะปิ ดฝาสนิท เกิดปฏิกิริยาตามสมการ
CaCO3(s)  CaO(s) + CO2(g)
ปฏิกิริยานี้จะเกิดแก๊ส CO2 แต่เนื่ องจากอยูใ่ นภาชนะปิ ดจึงถ่ายเทมวลไป
ไหนไม่ได้ จึงเป็ นระบบเปิ ด
3. เติมสังกะสี ลงในสารละลายคอปเปอร์ (II) ซัลเฟต
Zn(s) + CuSO4(aq)  ZnSO4(aq) + Cu(s)
ระบบนี้ไม่เกิดแก๊สใดๆ ดังนั้นไม่วา่ จะอยูใ่ นภาชนะเปิ ดหรื อปิ ดฝา ก็จะไม่
เกิดการถ่ายเทมวล จึงเป็ นระบบปิ ด

37
ติวสบายเคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
4.6.2 กฎทรงมวล
กฎทรงมวลกล่าวว่า “ มวลรวมของสารก่อนเกิดปฏิกิริยาจะเท่ากับมวลรวมของสาร
หลังเกิดปฏิกิริยา ”
ตัวอย่าง ในปฏิกริ ยา A + B  C + D
มวลรวมของ A กับ Bก่อนปฏิกิริยา = มวลรวมของ C กับ D หลังปฏิกิริยา
80. นาโซดาซักผ้ามา 2.86 กรัม ทาปฏิกิริยากับกรดเกลือ 0.73 กรัม จะเกิดเกลือแกง 1.17
กรัม น้ า 1.98 กรัม ถ้าการทดลองนี้ เป็ นไปตามกฏทรงมวลเกิดแก๊สคาร์ บอนไดออกไซด์
กี่กรัม
1. 0.22 กรัม 2. 0.36 กรัม 3. 0.44 กรัม 4. 4.4 กรัม

81. นาโซเดียมซัลเฟต (Na2SO4) 142 กรัม มาทาปฏิกิริยากับแบเรี ยมคลอไรด์ (BaCl2)


208 กรัม เกิดโซเดียมคลอไรด์ (NaCl) 117 กรัม ถ้าการทดลองนี้ เป็ นไปตามกฎทรง มวล
ปฏิกิริยาดังกล่าวจะเกิดแบเรี ยมซัลเฟต (BaSO4) กี่กรัม

38
ติวสบายเคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
4.6.3 กฎสั ดส่ วนคงที่
กล่ าวว่ า “ เมื่อธาตุต้ งั แต่ 2 ชนิ ดขึ้นไปมารวมตัวกันเกิดเป็ นสารประกอบชนิ ดหนึ่ งๆ
อัตราส่ วนโดยมวลของธาตุที่เป็ นองค์ประกอบนั้น ย่อมมีค่าคงที่เสมอ ไม่วา่ สารประกอบนั้นจะ
เตรี ยมขึ้นโดยวิธีใด หรื อจะเตรี ยมกี่ครั้งก็ตาม ”
ตัวอย่าง หากน าธาตุ ไ ฮโดรเจนมาท าปฏิ กิ ริย ากับ ธาตุ ออกซิ เจนเพื่ อ ให้ เกิ ด น้ า จะ
พบว่าต้องใช้อตั ราส่ วนโดยมวลของธาตุไฮโดรเจนต่อธาตุออกซิ เจนเท่ากับ 1 : 8 เสมอ ไม่ว่า
จะเตรี ยมน้ าด้วยวิธีใดๆ ก็ตาม
มวลธาตุไฮโดรเจน มวลธาตุออกซิเจน
1 8
2 16
3 24
4 32
5 40

82. สมมุ ติ คาร์ บ อน( C ) 3 กรั ม สามารถรวมตัว กับ ออกซิ เจน (O) 8 กรั ม แล้ว เกิ ด เป็ น
สารประกอบชนิ ดหนึ่ ง หากต้องการสารประกอบชนิ ดเดี ยวกันนี้ โดยเตรี ยมจากคาร์ บอน
15 กรัม ต้องใช้ออกซิ เจนกี่กรัมจึงจะทาปฏิ กริ ยากันพอดี และสารประกอบที่เกิดจะมีมวล
กี่กรัม ( ตอบตามลาดับ )
1. 40 , 55 2. 20 , 35 3. 30 , 45 4. 50 , 65

83. เมื่อเผาลวดแมกนี เซี ยมในออกซิ เจน พบว่าแมกนี เซี ยม 1.52 กรัม รวมตัวพอดี กบั ออกซิ -
เจน 1.00 กรัม ถ้าเผาไหม้ลวดแมกนีเซี ยม 7.60 กรัม จะได้แมกนีเซี ยมออกไซด์ ( MgO )
กี่กรัม
1. 5 2. 10.60 3. 12.60 4. 14.60

39
ติวสบายเคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
84. สารประกอบชนิดหนึ่งประกอบด้วย S 40% O 60% โดยมวล ถ้านา S 16 กรัม
และ O 20 กรัม มาทาปฏิกิริยากันจะได้สารประกอบนี้ อย่างมากที่สุดกี่กรัม
1. 16.67 2. 33.34 3. 38.80 4. 42.50

4.7 สมการเคมี
4.7.1 การเขียนสมการเคมี
สมการเคมี คือกลุ่มสู ตรทางเคมีของสารที่เขียนขึ้ นเพื่ออธิ บายหรื อแทนการเปลี่ยนแปลง
ทางเคมี ( ปฏิกิริยา ) ของสารในอัตราส่ วนต่าสุ ดของจานวนโมลของสารเหล่านั้น โดยเขียนสาร
ที่เข้าทาปฏิกิริยากันซึ่ งเรี ยกว่าสารตั้งต้ น (Reactants) ไว้ทางด้านซ้าย และสารที่เกิดขึ้นใหม่ซ่ ึ ง
เรี ยกว่าสารผลิตภัณฑ์ (Products) ไว้ทางด้านขวา ใช้เครื่ องหมาย + คัน่ ระหว่างสารแต่ละชนิ ด
และเขียน  ไว้ระหว่างสารตั้งต้นและสารผลิตภัณฑ์
เช่ น สั ง กะสี ( Zn ) ท าปฏิ กิ ริ ย ากับ กรดซั ล ฟิ วริ ก ( H2SO4 ) แล้ว ได้สั ง กะสี ซั ล เฟต
(ZnSO4) กับแก๊สไฮโดรเจน ( H2 ) เขียนสมการได้ดงั นี้
Zn + H2SO4  ZnSO4 + H2
หลักในกำรเขียนสมกำรเคมี
1. ให้เขียนสู ตรเคมีของสารตั้งต้นไว้ขา้ งซ้าย เขียนสู ตรเคมีของผลิตภัณฑ์ไว้ขา้ งขวา
แล้วเขียนเครื่ องหมาย  ไว้ตรงกลาง
2. เมื่อเขียนสมการแสดงปฏิกิริยาแล้วให้ทาสมการเคมีให้สมดุลด้วย คือทาให้จานวน
อะตอมของธาตุทุกชนิดทางซ้ายเท่ากับทางขวา โดยเติมตัวเลขข้างหน้าสู ตรเคมีของสารนั้นๆ
เช่น N2 + H2  NH3 ไม่ถูกต้อง เพราะสมการนี้ ไม่ดุล
N2 + 3 H2  2 NH3 ถูกต้อง เพราะสมการนี้ ดุลแล้ว

40
ติวสบายเคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
3. ในการเขียนสมการเคมี ให้สมบูรณ์ ยิ่งขึ้น ควรบอกสถานะของสารแต่ละชนิ ดด้วยคือ
ถ้าเป็ นของแข็ง (Solid) ใช้อกั ษรย่อว่า “ s ” ถ้าเป็ นของเหลว (liquid) ใช้อกั ษรย่อว่า “ l ” ถ้า
เป็ นแก๊ส (gas) ใช้อกั ษรย่อ “ g ” และถ้าเป็ นสารละลายในน้ า (aqueous) ใช้อกั ษรย่อ “ aq ”
เช่น CaC2(s) + 2 H2O(g)  Ca(OH)2(aq) + C2H2(g)
4. การเขียนสมการเคมีบางครั้ง อาจแสดงพลังงานของปฏิกิริยาเคมีดว้ ย เช่น
2 NH3(g) + 93(g)  N2(g) + 3 H2(g)
เป็ นปฏิกริ ยาดูดพลังงาน = 93 kJ
CH4(g) + 2 O2(g)  CO2(g) + 2 H2O(l) + 889.5 kJ
เป็ นปฏิกิริยาคายพลังงาน = 889.5 kJ
ขั้นตอนกำรดุลสมกำรเคมีโดยวิธีตรวจพินิจ
1. ให้ดุลจานวนอะตอมของธาตุในโมเลกุลใหญ่ที่สุดก่อนแล้วจึงค่อยดุ ลจานวนอะตอม
ในโมเลกุลที่เล็กลงตามลาดับ และให้ดุลโลหะก่อนอโลหะ
2. ถ้าในสมการใดมีธาตุอิสระอยูด่ ว้ ยให้ดุลเป็ นอันดับสุ ดท้าย
3. ถ้าสมการที่ดุลแล้วตัวเลขที่แสดงจานวนโมลของสารต่างๆ ยังไม่เป็ นอัตราส่ วนอย่าง
ต่าหรื อเป็ นเศษส่ วนก็ให้ทาเป็ นเลขจานวนเต็มในอัตราส่ วนต่างอย่างต่าด้วย
85. สมการเคมีต่อไปนี้ เมื่อดุลเสร็ จแล้วสัมประสิ ทธิ์ หน้าสารแต่ละตัวจะมีค่าเท่าใดตามลาดับ
Fe2O3 + H2  Fe + H2O
1. 5 , 3 , 1 , 3 2. 1 , 3 , 2 , 3 3. 2 , 3 , 1 , 2 4. 2 , 3 , 4 , 3

41
ติวสบายเคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
86. สมการเคมีต่อไปนี้ เมื่อดุลเสร็ จแล้วสัมประสิ ทธิ์ หน้าสารแต่ละตัวจะมีค่าเท่าใดตามลาดับ
PCl5(l) + H2O(l)  H3PO4(aq) + HCl(aq)
1. 2 , 3 , 1 , 3 2. 1 , 3 , 2 , 3 3. 1 , 4 , 1 , 5 4. 1 , 3 , 4 , 3

87. สมการเคมีต่อไปนี้ เมื่อดุลเสร็ จแล้วสัมประสิ ทธิ์ หน้าสารแต่ละตัวจะมีค่าเท่าใดตามลาดับ


P4O10 + H2O  H3PO4
1. 2 , 3 , 1 2. 1 , 6 , 4 3. 4 , 1 , 5 4. 3 , 4 , 3

88. สมการเคมีต่อไปนี้ เมื่อดุลเสร็ จแล้วสัมประสิ ทธิ์ หน้าสารแต่ละตัวจะมีค่าเท่าใดตามลาดับ


Fe2O3 + C  Fe + CO2
1. 5 , 3 , 1 , 3 2. 1 , 3 , 2 , 3 3. 2 , 3 , 1 , 2 4. 2 , 3 , 4 , 3

42
ติวสบายเคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
4.7.2 ความสั มพันธ์ ระหว่างปริมาณของสารในสมการเคมี
ในสมการเคมี ที่ดุลแล้วนั้น ตัวเลขสัมประสิ ทธิ์ หน้าสารแต่ละตัวจะบอกอัตราส่ วนของ
จานวนโมล หรื อของจานวนโมเลกุล หรื อของจานวนปริ มาตร ( หากเป็ นแก๊ส ) ของสารที่เข้ามา
ทาปฏิกิริยากันและผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้นเสมอ
เช่นจากสมการเคมี
2 H2(g) + O2(g)  2 H2 O(g)
เราจะรู ้ ว่าอัตราส่ วนของจานวนโมล หรื อของจานวนโมเลกุล หรื อของจานวนปริ มาตร
ของสาร H2 : O2 : H2O = 2 : 1 : 2

89. จากปฏิกิริยา C3H8(g) + 5 O2(g)  3 CO2(g) + 4 H2O(g) หากต้องการ CO2 44


กรัม ต้องใช้ C3H8 กี่ลิตร
1. 6.0 2. 6.8 3. 7.5 4. 8.8

90. จากโจทย์ที่ผา่ นมา หากใช้ O2 64 กรัม จะได้ไอน้ ากี่โมเลกุล


1. 3.01 x 1023 2. 6.02 x 1023 3. 9.632 x 1023 4. 12.04 x 1023

43
ติวสบายเคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
91. ในการเผา KClO3 จะเกิดปฎิกิริยาดังนี้
2 KClO3  2 KCl + 3 O2 ( K = 39.1 , Cl = 35.5 , O = 16 )
ถ้าเผา KClO3 จานวน 12.26 กรัม จะได้แก๊ส O2 กี่ลิตรที่ STP
1. 1.12 2. 2.24 3. 3.36 4. 4.48

92(แนว En) ถ้าต้องการกาจัดซัลเฟอร์ไดออกไซด์ในอากาศด้วยปฏิกิริยาดังต่อไปนี้


2 CaCO3(s) + 2 SO2(g) + O2(g)  2 CaSO4(s) + 2 CO2(g)
จะต้องใช้ CaCO3 กี่กรัมที่จะกาจัด SO2 1120 cm3 ที่ STP ( Ca = 40 , S = 32 )
1. 0.05 2. 5 3. 50 4. 5000

93. แก๊สมีเทน ( CH4 ) ทาปฏิ กิริยาเผาไหม้กบั ออกซิ เจน ( O2 ) ถามว่าหากใช้มีเทน 24 กรัม


จะต้องใช้แก๊สออกซิ เจนกี่ลิตร
1. 11.2 2. 22.4 3. 44.8 4. 67.2

44
ติวสบายเคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
94(แนว มช) ถ้าใช้ O2 6.4 กรัม ทาปฏิ กิริยาอย่างสมบูรณ์ กบั แก๊ส H2 จะได้ไอน้ าปริ มาตร
กี่ dm3 ที่ STP ( สมมุติวา่ ไอน้ ามีพฤติกรรมเช่นเดียวกับแก๊สสมบูรณ์ , H = 1 , O = 16 )
1. 1.12 2. 4.48 3. 6.62 4. 8.96

95(แนว En) แร่ ชนิ ดหนึ่ งประกอบด้วย FeS และสิ่ งอื่นๆ ที่ไม่ทาปฏิ กิริยากับกรด เมื่อนาแร่
นี้ มา 20 กรัม ต้มกับกรด H2SO4 ซึ่ งมีปริ มาตรมากเกินพอปฏิกิริยาสิ้ นสุ ด ปรากฏว่าได้
แก๊ส H2S ทั้งหมด 3.4 กรัม จงคานวณหาว่าแร่ น้ นั ประกอบด้วย FeS ร้อยละเท่าใด
ถ้าสมการของปฏิกิริยาคือ FeS + H2SO4  FeSO4 + H2S

4.7.3 การคานวณจากสมการเคมีทเี่ กีย่ วข้ องมากกว่าหนึ่งสมการ


96(แนว En) 2 Pb(NO3)2  2 PbO + 4 NO2 + O2
NO2 + 2 KI  K2O + NO + I2 ( K = 40 , Pb = 207 , I = 127 )

จากสมการต้องเผา Pb(NO3)2 กี่กรัมจึงจะได้ I2 1.21 x 1022 โมเลกุล

45
ติวสบายเคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
97. จงคานวณหามวลของแก๊สคลอรี น (Cl2) ในหน่วยกิโลกรัม ที่ตอ้ งการใช้ในการเกิดคาร์ -
บอนเตตระคลอไรด์ (CCl4) 5.00 กิโลกรัม จากการเปลี่ยนแปลงดังสมการนี้
CS2(l) + 3 Cl2(g)  S2Cl2 (l) + CCl4 (l)
8 S2Cl2 (l) + 4 CS2 (l)  3 S8 (s) + 4 CCl4 (l)
1. 2.31 2. 4.61 3. 7.21 4. 9.22

98. ถ้าให้แก๊ส มี เทน ( CH4 ) 8.00 กรั ม เผาไหม้ในบรรยากาศของแก๊สออกซิ เจน ( O2 ) 48


กรัม จงหาว่าจะเกิดแก๊สคาร์ บอนไดออกไซด์ ( CO2 ) กี่กรัม ถ้าปฏิกิริยาที่เกิดคือ
CH4 (g) + 2 O2 (g)  CO2 (g) + 2 H2O (l)
1. 19.5 2. 22.0 3. 22.5 4. 23.8

4.7.4 สารกาหนดปริมาณ
สำรกำหนดปริ ม ำณ คื อ สารตั้ง ต้น ที่ ท าปฏิ กิ ริย าหมดก่ อนสารอื่ น เมื่ อสารนี้ หมดไป
ปฏิกิริยาจะหยุด การคานวณเกี่ยวกับสมการเคมีตอ้ งใช้สารกาหนดปริ มาณนี้เป็ นตัวคานวณ

46
ติวสบายเคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์

99(แนว En) เมื่อนา NaCl 5.85 กรัม ละลายในน้ า 100 cm3 แล้วนาสารละลายที่ ได้ผสม
กับ สารละลาย AgNO3 เข้ม ข้น 0.2 mol/dm3 ปริ ม าตร 100 cm3 จะเกิ ด ตะกอนของ
AgCl กี่กรัม
1. 1.17 2. 2.87 3. 5.58 4. 14.85

4.7.5 ผลได้ ร้อยละ


ปริ มาณผลิตภัณฑ์ที่คานวณได้จากสมการเคมีน้ ันจะเป็ นปริ มาณที่เกิดตามทฤษฏี เรี ยกว่า
ผลได้ ต ามทฤษฏี ซึ่ งในธรรมชาติ จ ริ ง นั้ น ปริ ม าณผลิ ต ภัณ ฑ์ ที่ เกิ ด จะน้ อ ยกว่า ทฤษฏี เสมอ
ปริ มาณที่เกิดจริ งจะเรี ยกผลได้ จริง
หากต้องการหาว่าผลได้จริ งมีค่าเป็ นกี่เปอร์ เซ็นต์ของผลได้ตามทฤษฏี สามารถหาได้จาก
ผลได้ร้อยละ = ผลได้จริ ง x 100
ผลได้ตามทฤ ษฏี
100. ถ้านาเบนซีน (C6H6) 15.6 กรัม มาทาปฏิกิริยากับกรดไนตริ ก (HNO3) จานวนมากเกิน
พอ พบว่าเกิดไนโตรเบนซี น (C6H5NO2) 18.0 กรัม ดังสมการ จงหาผลได้ร้อยละ
C6H6(l) + HNO3(aq)  C6H5NO2(l) + H2O(l)
1. 50.0 2. 62.5 3. 73.2 4. 78.3

47
ติวสบายเคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
4.7.6 ปริมาตรของแก๊สในปฏิกริ ิยาเคมี
จากหัวข้อที่ผา่ นมาเราทราบว่าในสมการเคมีที่ดุลแล้ว ตัวเลขสัมประสิ ทธิ์ หน้าสารแต่
ละตัวจะบอกอัตราส่ วนจานวนโมลหรื อจานวนโมเลกุลของสารตั้งต้นและผลิตภัณฑ์ และจาก
กฏของอาโวกาโดซึ่ งกล่าวว่า “ ที่อุณหภูมิและความดันเดียวกัน แก๊ สใดๆ ที่มีปริ มาตรเท่ ากันจะ
มีจานวนโมเลกุลเท่ ากัน ” ดังนั้นตัวเลขสัมประสิ ทธิ์ หน้าสารแต่ละตัวนอกจากจะบอกอัตราส่ วน
จานวนโมเลกุลแล้ว ยังบอกอัตราส่ วนของจานวนปริ มาตรของสารตั้งต้นและผลิตภัณฑ์ที่เป็ น
แก๊สอีกด้วย
ตัวอย่างเช่นจากสมการเคมี
2 H2 (g) + O2 (g)  2 H2O(g)
จะได้วา่ อัตราส่ วนปริ มาตรของ H2 : O2 : H2O = 2 : 1 : 2
จากตัวอย่างที่ ผ่านมาจะได้ว่า “ ที่ อุ ณ หภู มิ และความดั นคงที่ อัต ราส่ วนระหว่ าง
ปริ ม าตรของแก๊ ส ที่ทาปฏิ กิริยาพอดี กับ ปริ ม าตรของแก๊ ส ที่เกิด ขึ้น จะเป็ นจ านวนเต็ ม ลงตั ว
น้ อยๆ” ข้อความนี้เรี ยกกฎของเกย์ –ลูสแซก

101. กาหนดปฏิกิริยา 4 X2(g) + 7 Y2(g)  2 X4Y7 (g) ถ้าใช้ Y2 28 ลูกบาศก์-


เซนติเมตร ทาปฏิ กิ ริยากับ X2 ปริ มาณมากเกิ นพอที่อุณหภู มิและความดันเดี ยวกัน จะเกิ ด
แก๊ส X4Y7 กี่ลูกบาศก์เซนติเมตร
1. 2 2. 4 3. 8 4. 10

48
ติวสบายเคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
102. นาแก๊สชนิ ดหนึ่ งซึ่ งมีสูตรโมเลกุล A2 ทาปฏิกิริยากับแก๊สอีกชนิ ดหนึ่ งซึ่ งมีสูตรโมเลกุล
B2 ได้แก๊สที่มีสูตรโมเลกุล AB3 ดังสมการ
A2 + 3 B2  2 AB3
ถ้าใช้ B2 60 ลูกบาศก์เซนติเมตร ทาปฏิกิริยากับ A2 ปริ มาณมากเกินพอที่อุณหภูมิและ
ความดันเดียวกันจะเกิดแก๊ส AB3 กี่ลูกบาศก์เซนติเมตร
1. 10 2. 20 3. 30 4. 40

103. นาแก๊สชนิดหนึ่งซึ่งมีสูตรโมเลกุล A2 ทาปฏิกิริยากับแก๊สอีกชนิ ดหนึ่งซึ่งมีสูตรโมเลกุล B2


ได้แก๊ ส ที่ มี สู ตรโมเลกุ ล AB3 ดังสมการ A2 + 3 B2  2 AB3 ถ้าใช้แก๊ ส A2 35
ลู กบาศก์เซนติ เมตร ทาปฏิ กิ ริยากับ B2 81 ลู กบาศก์เซนติ เมตร ถามว่าแก๊ส A2 กับ B2
แก๊สไหนจะถูกใช้หมดก่อนกัน
1. A2 2. B2 3. หมดพร้อมกัน 4. ไม่มีตวั ใดหมด

49
ติวสบายเคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
104. จากข้อที่ผา่ นมา จะเกิดแก๊ส AB3 กี่ลูกบาศก์เซนติเมตร
1. 27 2. 36 3. 48 4. 54

105. จากข้อที่ผา่ นมา จะเหลือแก๊ส A2 กี่ลูกบาศก์เซนติเมตร


1. 2 2. 4 3. 8 4. 10

106. สุ ดท้ายจะแก๊สผสมกี่ลูกบาศก์เซนติเมตร
1. 31 2. 62 3. 76 4. 93

50
ติวสบายเคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์

107. นา H2 4 dm3 และ O2 3 dm3 มาทาปฏิกิริยากันที่อุณหภูมิ 100oC ดังสมการ


2 H2 (g) + O2 (g)  2 H2O(g)
เมื่อปฏิกิริยาเกิดอย่างสมบูรณ์จะมีแก๊สในระบบกี่ dm3
1. 4 2. 5 3. 6 4. 8

108(แนว En) แก๊ส X2 50 ลู กบาศก์เซนติเมตร ทาปฏิ กิริยาพอดี กบั แก๊ส O2 125 ลู กบาศก์-
เซนติเมตร ได้ผลิตภัณฑ์เป็ นแก๊ส G เพียงอย่างเดียว 50 ลูกบาศก์เซนติเมตร ถ้าการทดลอง
นี้ทาที่อุณหภูมิหอ้ งและความดันคงที่ สู ตรของแก๊ส G จะเป็ นอย่างไร
1. XO 2. XO2 3. X2O 4. X2O5

109. ที่ อุณ หภู มิและความดันเดี ยวกัน แก๊สไนโตรเจน ( N2) 3.0 cm3 ท าปฏิ กิริยาพอดี ก ับ
แก๊สออกซิ เจน ( O2) 1.5 cm3 ได้แก๊ส X จานวน 3.0 cm3 แก๊ส X คือ แก๊สอะไร
1. NO 2. NO2 3. N2O 4. N2O5

51
ติวสบายเคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์

110. ที่อุณหภูมิ 30oC ความดัน 1 บรรยากาศ แก๊ส N2 และไอน้ า (H2O) อย่างละ 1 dm3
มีอะไรเท่ากัน
1. จานวนโมเลกุล 2. มวล
3. จานวนอะตอม 4. จุดเดือด

111. แก๊สออกซิ เจน 5 ลิตร มี n โมเลกุล แก๊สคาร์ บอนไดออกไซด์ 1 ลิตร ที่อุณหภูมิและ


ความดันเดียวกัน จะมีกี่โมเลกุล
1. 5n โมเลกุล 2. n โมเลกุล 3. n5 โมเลกุล 4. 32n
44 โมเลกุล

52
ติวสบายเคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์

แผนภาพสรุ ป บทที่ 4 ปริ ม าณสัม พัน ธ์


4.1 มวลอะตอม

53
ติวสบายเคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์

4.2 มวลโมเลกุล

4.3 โมล

54
ติวสบายเคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์

4.4 สารละลาย
4.4.1 ความเข้ มข้ นของสารละลาย
4.4.1.1 โมลำริตี หรื อโมลำร์ หรื อโมลต่ อลิตร ( mol/dm3 หรื อ M )

55
ติวสบายเคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
4.4.1.2 โมลแลลิตี หรื อโมแลล ( m )

4.4.1.3 เศษส่ วนโมล

56
ติวสบายเคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
4.4.1.4 ร้ อยละ หรื อส่ วนในร้ อยส่ วน (parts per hundred , pph )

57
ติวสบายเคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
4.4.1.5 ส่ วนในล้ำนส่ วน (parts per million , ppm )
4.4.1.6 ส่ วนในพันล้ำนส่ วน (parts per billion , ppb )

58
ติวสบายเคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
4.4.2 สมบัติบางประการของสารละลาย

59
ติวสบายเคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
4.5 การคานวณเกีย่ วกับสู ตรเคมี
4.5.1 การคานวณหาสู ตรเอมพิริคัลและสู ตรโมเลกุล

4.5.2 การคานวณมวลเป็ นร้ อยละจากสู ตร

60
ติวสบายเคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์

4.6 การคานวณปริมาณสารในปฏิกริ ิยาเคมี


4.6.1 ระบบ กับ สิ่ งแวดล้อม

4.6.2 กฎทรงมวล

4.6.3 กฎสั ดส่ วนคงที่

61
ติวสบายเคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
4.7 สมการเคมี

62
ติวสบายเคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์

เฉลย บทที่ 4 ปริ ม าณสัม พัน ธ์


1. ตอบข้ อ 2. 2. ตอบข้ อ 4. 3. ตอบข้ อ 4. 4. ตอบข้ อ 2.
5. ตอบข้ อ 1. 6. ตอบข้ อ 4. 7. ตอบข้ อ 2. 8. ตอบข้ อ 1.
9. ตอบข้ อ 4. 10. ตอบ 20 11. ตอบข้ อ 1. 12. ตอบข้ อ 4.
13. ตอบข้ อ 4. 14. ตอบข้ อ 1. 15. ตอบข้ อ 3. 16. ตอบข้ อ 4.
17. ตอบข้ อ 3. 18. ตอบข้ อ 1. 19. ตอบข้ อ 1. 20. ตอบข้ อ 3.
21. ตอบข้ อ 4. 22. ตอบข้ อ 2. 23. ตอบข้ อ 3. 24. ตอบข้ อ 2.
25. ตอบข้ อ 1. 26. ตอบข้ อ 3. 27. ตอบข้ อ 4. 28. ตอบข้ อ 4.
29. ตอบข้ อ 4. 30. ตอบข้ อ 4. 31. ตอบข้ อ 2. 32. ตอบข้ อ 2.
33. ตอบข้ อ 1. 34. ตอบข้ อ 4. 35. ตอบข้ อ 1. 36. ตอบข้ อ 1.
37. ตอบข้ อ 3. 38. ตอบข้ อ 4. 39. ตอบข้ อ 2. 40. ตอบข้ อ 3.
41. ตอบข้ อ 1. 42. ตอบข้ อ 1. 43. ตอบข้ อ 1. 44. ตอบข้ อ 3.
45. ตอบข้ อ 2. 46. ตอบข้ อ 2. 47. ตอบข้ อ 1. 48. ตอบข้ อ 3.
49. ตอบข้ อ 2. 50. ตอบข้ อ 1. 51. ตอบข้ อ 2. 52. ตอบข้ อ 1.
53. ตอบข้ อ 2. 54. ตอบข้ อ 2. 55. ตอบข้ อ 3. 56. ตอบข้ อ 4.
57. ตอบข้ อ 3. 58. ตอบข้ อ 3. 59. ตอบข้ อ 3. 60. ตอบข้ อ 1.
61. ตอบข้ อ 2. 62. ตอบข้ อ 1. 63. ตอบข้ อ 3. 64. ตอบข้ อ 2.
65. ตอบข้ อ 3. 66. ตอบข้ อ 2. 67. ตอบข้ อ 1. 68. ตอบข้ อ 3.
69. ตอบข้ อ 2. 70. ตอบข้ อ 2. 71. ตอบข้ อ 1. 72. ตอบข้ อ 2.
73. ตอบข้ อ 2. 74. ตอบข้ อ 4. 75. ตอบข้ อ 3. 76. ตอบข้ อ 3.
77. ตอบข้ อ 3. 78. ตอบข้ อ 1. 79. ตอบข้ อ 2. 80. ตอบข้ อ 3.
81. ตอบ 233 82. ตอบข้ อ 1. 83. ตอบข้ อ 3. 84. ตอบข้ อ 2.
85. ตอบข้ อ 2. 87. ตอบข้ อ 2. 88. ตอบข้ อ 4. 89. ตอบข้ อ 3.
90. ตอบข้ อ 3. 91. ตอบข้ อ 3. 92. ตอบข้ อ 2. 93. ตอบข้ อ 4.
94. ตอบข้ อ 4. 95. ตอบ 44 96. ตอบ 3.31 97. ตอบข้ อ 2.
98. ตอบข้ อ 2. 99. ตอบข้ อ 2. 100. ตอบข้ อ 3. 101.ตอบข้ อ .3

63
ติวสบายเคมี เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
102. ตอบข้ อ 4. 103. ตอบข้ อ 2. 104. ตอบข้ อ 4. 105. ตอบข้ อ 3.
106. ตอบข้ อ 2. 107. ตอบข้ อ 2. 108. ตอบข้ อ 4. 109.ตอบข้ อ 3.
110. ตอบข้ อ 1. 111. ตอบข้ อ 3.



64

You might also like