You are on page 1of 89

อากาศ (Air)

องคประกอบในอากาศ
โครงสร้ างอะตอม
โครงสร้างอะตอม
แบบจําลองอะตอม

ประกอบด้ วย 5 แบบจําลอง ได้ แก่


1.แบบจําลองอะตอมของดอลตัน
2.แบบจําลองอะตอมของทอมสั น
3.แบบจําลองอะตอมของรัทเทอร์ ฟอร์ ด
4.แบบจําลองอะตอมของโบร์
5.แบบจําลองอะตอมแบบกลุ่มหมอก
ดิโมคริต ุส
Democritus
460BC-370 BC
Greek philosopher
นักปราชญ์ ชาวกรีก
ดิโมคริตุส (Demokritos)

อะตอม มาจากภาษากรี กว่า "atomos" ซึ่ งแปลว่า "แบ่งแยกอีกไม่ได้"


อะตอม คือ หน่ วยทีเ่ ล็กทีส่ ุ ดของสาร มาจากภาษากรีก แปลว่ า เล็กทีส่ ุ ด ไม่ สามารถแบ่ งแยกได้ อกี ซึ่ง ดิโมคริตุส นักปราชญ์ ชาวกรีกใช้
เรียกหน่ วยทีเ่ ล็กทีส่ ุ ดของสสาร
แบบจําลองอะตอมของดอลตัน
- ธาตุแต่ละชนิดประกอบด้วยอนุภาคเล็กๆ เรี ยกว่า อะตอม
- อะตอมชนิดหนึ่งจะแปลงเป็ นอะตอมชนิดอื่นไม่ได้
- อะตอมทําให้เกิดและสู ญหายไม่ได้
- อะตอมชนิดเดียวกันจะมีสมบัติเหมือนกัน และแตกต่างจาก
อะตอมของธาตุอื่น
- สารประกอบเกิดจากอะตอมของธาตุต้ งั แต่ 2 ชนิดขึ้นไปมา
รวมตัวกันทางเคมี
แบบจําลองอะตอมของดอลตัน
จอห์ น ดอลตัน
John Dalton (1766-1844)
English chemist and physicist
แบบจําลองอะตอมของทอมสั น
- อะตอมมีลกั ษณะเป็ นทรงกลม ประกอบด้วยโปรตอน (ประจุบวก)
และอิเล็กตรอน (ประจุลบ) กระจายอยูส่ มํ่าเสมอ
เซอร์ โจเซฟ จอห์ น ทอมสั น
( SIR JOSEPH JOHN THOMSON)
(1856 - 1940) ENGLISH PHYSICIST
แบบจําลองอะตอมของรัทเทอร์ ฟ อร์ ด
อะตอมมีลกั ษณะเป็ นทรงกลม มีโปรตอนกับนิวตรอนประกอบกัน
เป็ นนิวเคลียสอยูต่ รงกลางของอะตอม และอิเล็กตรอนวิง่ อยูร่ อบๆ
นิวเคลียส นิวเคลียสมีขนาดเล็กแต่มีมวลมากและมีประจุบวก
ส่ วนอิเล็กตรอนจะมีมวลน้อยมาก และมีประจุลบ
จํานวนอิเล็กตรอนจะมีเท่ากับจํานวนโปรตอน
แบบจําลองอะตอมของรัทเทอร์ ฟ อร์ ด
ลอร์ ด เออร์ เนสต์ รัทเทอร์ ฟ อร์ ด
Lord Ernest Rutherford
(1871-1937)
English phycisist
แบบจําลองอะตอมของโบร์
- อะตอมประกอบด้วยโปรตอนและนิวตรอนรวมตัวกันอยูเ่ ป็ น
นิวเคลียส และมีอิเล็กตรอนโคจรอยูใ่ นวงโคจรรอบนิวเคลียสเป็ น
ชั้นๆ
- วงโคจรของอิเล็กตรอนที่อยูใ่ กล้นิวเคลียสที่สุด มีพลังงานตํ่าสุ ด
ชื่อ ชั้น K (n = 1)
- วงโคจรถัดออกมา มีพลังงานสู งขึ้น ชื่อ L (n = 2), M (n = 3),
O (n = 4), …
แบบจําลองอะตอมของโบร์
แบบจําลองอะตอมของโบร์
นีลส์ โบร์
Niels Bohr
(1885-1962)
Danish phycisist
แบบจําลองอะตอมแบบกลุ่มหมอก
ในปั จจุบนั มีการศึกษาการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนในอะตอม พบว่า
อิเล็กตรอนไม่ได้เคลื่อนที่เป็ นวงกลมที่แน่นอน มีแนวการเคลื่อนที่
หลายแบบ ทําให้มีการเสนอแบบจําลองอะตอมขึ้นใหม่เป็ นลักษณะ
กลุ่มหมอก
แบบจําลองอะตอมแบบกลุ่มหมอก
แอร์ วนิ ชเรอดิงเงอร์
Erwin Schrödinger
(1887-1961)
Austrian phycisist
แบบจําลองอะตอมของ
นัก วิท ยาศาสตร์
กลม ตัน แบงแยกไมได

กลม โปรตอน และอิเล็กตรอน กระจายอยูส ม่าํ เสมอ

กลม มีโปรตอนกับนิวตรอนประกอบกันเปนนิวเคลียสอยู
ตรงกลางของอะตอม และอิเล็กตรอนวิ่งอยูร อบๆ นิวเคลียส

กลม มีโปรตอนกับนิวตรอนประกอบกันเปนนิวเคลียสอยูตรงกลางของ
อะตอม และอิเล็กตรอนวิ่งอยูรอบๆ นิวเคลียส เปนชั้นๆ

กลม อิเล็กตรอนไมไดเคลื่อนที่เปนวงกลมที่แนนอน อยูใน


ลักษณะกลุม หมอก
เลขมวล = p + n A
เลขอะตอม = p = e Z
X สัญลักษณ์ธาตุ

ตัวเลขในตําแหน่งล่างซ้าย เรี ยกว่า “เลขอะตอม” (Z)


ตัวเลขในตําแน่งบนซ้าย เรี ยกว่า “เลขมวล” (A)
เลขอะตอม (Atomic Number) ใช้สญ ั ลักษณ์เป็ น Z
คือ ตัวเลขที่แสดงจํานวนโปรตอน (p) สําหรับธาตุชนิดเดียวกัน
จะต้องมีจาํ นวนโปรตอน(p) เท่ากันเสมอ

เลขอะตอม = จํานวนโปรตอน (p) = จํานวนอิเล็กตรอน (e)


เลขมวล (Mass Number) ใช้สญ ั ลักษณ์เป็ น A
คือ ตัวเลขที่แสดงผลรวมจํานวนโปรตอน (p) และ นิวตรอน (n)
ในนิวเคลียสของอะตอม ดังนั้น
เลขมวล = จํานวนโปรตอน (p) + จํานวนนิวตรอน (n)

นัน่ คือ จํานวนนิวตรอน (n) หาได้จาก เลขมวล – เลขอะตอม


เลขมวล = p+n A
เลขอะตอม = p = e Z X สัญลักษณ์ธาตุ

หา p ดูเลขลาง (เลขอะตอม)
หา e- ดูเลขลาง (เลขอะตอม)
หา n เลขบน(เลขมวล) - เลขลาง (เลขอะตอม)
9427
16 23
A
13
42Z8
11

ตารางแสดงสัญลักษณ์นิวเคลียร์และอนุภาคมูลฐานของธาตุบางชนิด
19
9 F
p=9
-
e=9
n = 10
24
12 Mg
p = 12
-
e = 12
n = 12
85
37 Rb
p = 37
-
e = 37
n = 48
27
13 Al
p = 13
-
e = 13
n = 14
126
53 I
p = 53
-
e = 53
n = 73
207
82 Pb
p = 82
-
e = 82
n = 125
40
20 Ca
p = 20
-
e = 20
n = 20
14
7 N
p=7
-
e=7
n=7
127
Te
52
p = 52
-
e = 52
n = 75
28
14 Si
p = 14
-
e = 14
n = 14
87
38 Sr
p = 38
-
e = 38
n = 49
83
36 Kr
p = 36
-
e = 36
n = 47
72
32 Ge
p = 32
-
e = 32
n = 40
35
17 Cl
p = 17
-
e = 17
n = 18
9
4 Be
p=4
-
e=4
n=5
114
49 In
p = 49
-
e = 49
n = 65
208
83 Bi
p = 83
-
e = 83
n = 125
ไอออน (ion) คือ อนุภาคทีม่ ปี ระจุไฟฟ้ าแบ่ งออกเป็ น
ไอออนบวก หรื อ แคตไอออน (cation)
Na+ Mg2+

ไอออนลบ หรื อ แอนไอออน (anion)


Cl - O2-
การเกิดเป็ นไออนของธาตุ (ไอออนบวกและไอออนลบ)
อะตอมของธาตุทุกธาตุพยายามทําให้เวเลนซ์ อเิ ล็กตรอนเป็ นแปด
ดังนั้น ธาตุแต่ละธาตุสามารถจะให้และรับอิเล็กตรอน เพื่อให้เป็ นไป
ตามกฎออกเตต
แก๊สเฉื่ อยมีเวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่ากับ 8 เรี ยกว่า กฎออกเตต หรื อ
กฎเลขแปด (octet rule)
ยกเว้น แก๊สฮีเลียมมีเวเลนซ์อิเล็กตรอนเป็ น 2
ดังนั้นแก๊สเฉื่ อยจึงเสถียร เฉื่ อยต่อการเกิดปฏิกิริยา
ไอออนบวก คือ อะตอมของธาตุที่ให้ เวเลนซ์อิเล็กตรอนออกไปแล้ว
จะมีเวเลนซ์อิเล็กตรอนเป็ น แปด อะตอมดังกล่าวจะเปลี่ยนเป็ น
ไอออนบวก หรื อ แคตไอออน (cation) ได้แก่ธาตุหมู่ 1A 2A 3A
และโลหะทรานซิชนั
11Na จัดเรี ยงอิเล็กตรอนได้ 2,8,1

Na+ จัดเรี ยงอิเล็กตรอนได้ 2,8

11Na Na+ + e-
12Mg จัดเรี ยงอิเล็กตรอนได้ 2,8,2
Mg2+ จัดเรี ยงอิเล็กตรอนได้ 2,8

13Al จัดเรี ยงอิเล็กตรอนได้ 2,8,3


Al3+ จัดเรี ยงอิเล็กตรอนได้ 2,8
ไอออนลบ คือ อะตอมของธาตุที่รับอิเล็กตรอนเข้ามารวมกับ
เวเลนซ์อิเล็กตรอนจนครบแปด อะตอมดังกล่าวจะเปลี่ยนเป็ น
ไอออนลบ หรื อ แอนไอออน (anion) ได้แก่ธาตุหมู่ 5A 6A 7A

17Cl จัดเรี ยงอิเล็กตรอนได้ 2,8,7


จัดเรี ยงอิเล็กตรอนได้ 2,8,8
Cl -

17Cl + e- Cl -
16O จัดเรี ยงอิเล็กตรอนได้ 2,8,6

O 2- จัดเรี ยงอิเล็กตรอนได้ 2,8,8

7N จัดเรี ยงอิเล็กตรอนได้ 2,5

N3- จัดเรี ยงอิเล็กตรอนได้ 2,8


• ธาตุชนิดเดียวกันที่มีเลขอะตอมเท่ากัน แต่มีเลขมวลต่างกัน
หรื อ
• ธาตุชนิดเดียวกันที่มีจาํ นวนโปรตอนเท่ากัน แต่มีจาํ นวน
นิวตรอนต่างกัน
สิ่ งทีเ่ หมือนกันของไอโซโทป สิ่ งทีต่ ่ างกันของไอโซโทป
1. จํานวนโปรตอนเท่ากัน 1. มวลของอะตอมต่างกัน
2. จํานวนอิเล็กตรอนเท่ากัน 2. จํานวนนิวตรอนต่างกัน
3. เลขอะตอมเท่ากัน 3. เลขมวลต่างกัน
ธาตุไฮโดรเจน (H) มี 3 ไอโซโทป
ไอโซโทน (Isotone)
ไอโซโทน ( Isotone ) หมายถึง ธาตุต่างชนิดกันทีม่ ีจาํ นวนนิวตรอนเท่ ากัน
เช่ น
18
8 O กั
บ 19
9 F เป็ นไอโซโทนกั
น มี
น ิ ว ตรอนเท่ ากั
น คื อ n = 10
ไอโซบาร์ (Isobar)
ไอโซบาร์ (Isobar) หมายถึง ธาตุต่างชนิดกันทีม่ เี ลขมวลเท่ ากัน
เช่ น
30
30
15 P กับ 14 Si มีเลขมวลเท่ ากันคือ 30

14
6 C กับ 14
7 N มีเลขมวลเท่ ากันคือ 14
ไอโซอิเ ล็ก ทรอนิก ส์ (Isoelectronic)
ไอโซอิเล็กทรอนิกส์ (Isoelectronic) หมายถึง ธาตุต่างชนิดกันหรื อ
ไอออน ทีม่ จี ํานวนอิเล็กตรอนเท่ ากัน เช่ น
16 2- 20
8 O 10 Ne

ทั้ง 2 ตัวนีม้ จี ํานวนอิเล็กตรอน 10 ตัวเท่ ากัน


ธาตุและสารประกอบ
ชนิดของธาตุ
แบ่ งเป็ น 3 ชนิด คือ

ธาตุโลหะ (Metals) ธาตุอโลหะ (Non-Metal)

ธาตุกงึ่ โลหะ
มีสมบัตกิ าํ้ กึง่ ระหว่ างธาตุโลหะและธาตุอโลหะ
ธาตุโลหะ (Metals)
มีคุณสมบัตดิ งั นี้

ส่ วนมากมีสถานะเป็ นของแข็ง ยกเว้ น มีความโน้ มเอียงทีจ่ ะเสี ย


ปรอทเป็ นของเหลว ณ อุณหภูมปิ กติ อิเล็กตรอน เมื่อรวมตัวกับอโลหะ
เป็ นมันวาว เคาะมีเสี ยงดังกังวาน
ส่ วนใหญ่ มจี ุดเดือด จุดหลอมเหลวสู ง
นําความร้ อนและไฟฟ้ าได้ ดี
มีความหนาแน่ นสู ง
เหนียวดึงเป็ นเส้ นหรื อตีเป็ น แผ่ นได้
Cr

Au
Rare Natural Melting Metal
Ga : Gallium
Malting point 29.76 C
แร่ ไ พไรต์ (Pyrite)

ทองคนโง่ (fool’gold)

แร่ ท องคํา (Gold)


ธาตุอโลหะ (Non-Metal)
มีคุณสมบัตดิ งั นี้

มีท้งั สถานะของแข็ง ของเหลวและ


แก๊ ส ณ อุณหภูมปิ กติ ส่ วนใหญ่ เป็ น
สถานะแก๊ ส
ส่ วนใหญ่ มจี ุดเดือด จุดหลอมเหลวตํา่
เป็ นฉนวนไม่ นําไฟฟ้ า ยกเว้ นแกรไฟต์
มีความหนาแน่ นตํา่
เปาะดึงเป็ นเส้ นหรื อตีเป็ นแผ่ นไม่ ได้
มีความโน้ มเอียงทีจ่ ะรับอิเล็กตรอนเมื่อรวมตัวกับโลหะ
ธาตุกงึ่ โลหะ (Semi Metallics)
มีคุณสมบัตดิ งั นี้
มีสมบัตทิ ้งั ทางเคมีและฟิ สิ กส์ อยู่กงึ่ กลางระหว่ างโลหะและอโลหะ
Boron (B)
Silicon (Si)
Germanium (Ge)
Arsenic (As)
Antimony (Sb)
Tellurium (Te)
Astatine (At)
คือ ตารางที่นกั วิทยาศาสตร์สร้างขึ้นสําหรับจัดหมวดหมู่ของ
ธาตุต่างๆ ที่มีลกั ษณะหรื อสมบัติที่คล้ายคลึงกัน
ตารางธาตุในปั จจุบนั มีธาตุท้ งั หมด 118 ธาตุ เป็ นธาตุที่พบใน
ธรรมชาติ 90 ธาตุ นอกนั้นมนุษย์สงั เคราะห์ข้ ึน
ดมีตรี เมนเดเลเยฟ
Dmitriy Ivanovich Mendeleyev
ธาตุแบ่ งออกเป็ น 2 พวกใหญ่ ๆ คือ
1. ธาตุเรพรี เซนเททีฟ (หมู่ IA-VIIIA)
2. ธาตุแทรนซิชนั (หมู่ IIIB-IIB)
ตารางธาตุในปัจจุบัน
มีลกั ษณะดังนี้
1. การจัดเรี ยงธาตุเรี ยงตามลําดับเลขอะตอมที่เพิม่ ขึ้นจาก
ซ้าย ขวา และบน ล่าง
2. ธาตุเรี ยงกันเป็ นแถวตามแนวนอน เรี ยกว่า คาบ (period) เลขคาบบอก
จํานวนระดับชั้นพลังงาน เช่น
- คาบที่ 1 (เริ่ มจาก H) มี 1 ระดับพลังงาน
- คาบที่ 2 (เริ่ มจาก Li) มี 2 ระดับพลังงาน
คาบ การจัดธาตุในแนวนอนของตารางธาตุ
3. ธาตุเรี ยงในแนวตั้ง เรี ยกว่า หมู่ (group) เลขหมู่บอกจํานวนเวเลนซ์
อิเล็กตรอน หมู่ (เวเลนซ์อิเล็กตรอน)

คาบ (ระดับพลังงาน)
ธาตุเรพรีเซนเททีฟ (หมู่ IA-VIIIA)
ธาตุเรพรี เซนเททีฟ ประกอบด้วยหมู่ 1A ถึง 8A ธาตุกลุ่ม A บางหมู่มี
ชื่อเฉพาะ เช่น
หมู่ 1A มีชื่อว่า โลหะแอลคาไล มีสมบัติเป็ น โลหะ
หมู่ 2A มีชื่อว่า โลหะแอลคาไลน์เอิร์ท มีสมบัติเป็ น โลหะ
หมู่ 7A มีชื่อว่า แฮโลเจน มีสมบัติเป็ น อโลหะ
หมู่ 8A มีชื่อว่า แก๊สเฉื่ อย มีสมบัติเป็ น อโลหะ
หมู่ 3A, 4A , 5A , 6A มีท้ งั ธาตุโลหะ อะโลหะ และกึ่งโลหะ
ตารางธาตุยงั แบ่งเป็ นธาตุที่เป็ นโลหะและอโลหะออกจากันด้วยเส้น
หนักที่เป็ นขั้นบันได ด้านซ้ายของเส้นหนักเป็ นโลหะ ด้านขวาของเส้น
หนักเป็ นอโลหะ ส่ วนธาตุที่ชิดเส้นหนักเป็ นกึ่งโลหะ
ธาตุแทรนซิชัน (หมู่ IIIB-IIB)
ธาตุแทรนซิชนั (หมู่ IIIB-IIB) จะแทรกอยูร่ ะหว่างหมู่ 2A และ 3A
ธาตุกลุ่ม B ประกอบด้วย
หมู่ 1B ถึง 8B แต่มี 10 แถวในแนวตั้ง
แนวโน้ ม ความเป็ นโลหะและอะโลหะของธาตุใ นตาราง
ธาตุ
โลหะมาก โลหะน้ อ ย

โลหะน้ อ ย

โลหะมาก

You might also like