You are on page 1of 23

เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาเคมี 1 ว30221 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง พันธะเคมี 1

พันธะเคมี ( chemical bond )

การเกิดพันธะเคมี
ธาตุในธรรมชาติจะไม่พบในรูปอะตอมเดี่ยว (ยกเว้น ธาตุในหมู่ 8A จะพบในรูป อะตอมเดี่ยว เพราะมีความ
เสถียรมาก) อะตอมหรือไอออนของธาตุจะมารวมตัวกันเกิดเป็นสารประกอบ เพื่อ เกิดความเสถียร ดังนั้น การที่
อะตอมหรือไอออนจะมารวมกันได้ต้องมี แรงยึดเหนี่ยว

แรงยึดเหนี่ยว

แรงยึดเหนี่ยว

แรงยึดเหนี่ยวภายนอก
แรงยึดเหนี่ยวภายใน
(แรงระหว่างโมเลกุล)

Dipole-dipole forces
แรงดึงดูดระกว่างขั้ว

Dipole-induced dipole

Ion-dipole forces

สอนโดยครูนาราวินท์ วิชชากรทวีรัตน์ โรงเรียนเทพศิรินทร์


เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาเคมี 1 ว30221 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง พันธะเคมี 2

ความหมายพันธะเคมี
พันธะเคมี หมายถึง แรงยึดเหนี่ยว ระหว่าง 1. อะตอม กับ อะตอม ในโมเลกุล
2. ไอออนบวก กับ ไอออนลบ ในสารประกอบ
3. ไอออนบวก กับ กลุ่มอิเล็กตรอน ในก้อนโลหะ
ตัวอย่าง 1
1. ข้อใดต่อไปนี้ ไม่ใช่ พันธะเคมี
ก. พันธะไอออนิก ข. พันธะโคเวเลนต์
ค. พันธะโลหะ ง. พันธะไฮโดรเจน

2. “น้้ามีจุดเดือดเท่ากับ 100 °C” ประโยคดังกล่าว


เกี่ยวข้องกับข้อใดมากที่สุด
ก. พันธะไฮโดรเจน ข. พันธะโคเวเลนต์
ค. พันธะโลหะ ง. พันธะไอออนิก

ประเภทของพันธะเคมี
ผลต่างของค่า EN (∆EN) มีผลต่อประเภทของพันธะ

สอนโดยครูนาราวินท์ วิชชากรทวีรัตน์ โรงเรียนเทพศิรินทร์


เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาเคมี 1 ว30221 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง พันธะเคมี 3

ประเภทของพันธะเคมี พันธะเคมี หมายถึง แรงยึดเหนี่ยว ระหว่าง

1. พันธะโคเวเลนต์ อะตอม.......................กับ อะตอม....................


ผลต่างค่า EN น้อย (น้อยกว่า 2.0)
โลหะ กึ่งโลหะ อโลหะ

H
Be B C N O F
Si P S Cl
Ge As Se Br *Kr
Te I *Xe
Po At
I2 : ∆EN = 2.5 - 2.5 = 0 CO : ∆EN = 3.5 - 2.5 = 1.0
HF : ∆EN = 4.0 - 2.1 = 1.9 BCl3 : ∆EN = 2.0 - 1.5 = 0.5
BeCl2 : ∆EN = 3.0 - 1.5 = 1.5 PCl3 : ∆EN = 3.0 – 2.1 = 0.9

2. พันธะไอออนิก อะตอม ......................กับ อะตอม............................


ผลต่างค่า EN มาก (มากกว่า 2.0)

ไอออนบวกโลหะ ไอออนลบอโลหะ

NaCl : ∆EN = 3.0 - 0.9 = 2.1

281 287 28 288

สอนโดยครูนาราวินท์ วิชชากรทวีรัตน์ โรงเรียนเทพศิรินทร์


เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาเคมี 1 ว30221 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง พันธะเคมี 4

ประเภทของพันธะเคมี พันธะเคมี หมายถึง แรงยึดเหนี่ยว ระหว่าง

3. พันธะโลหะ อะตอม ............................

ไอออนบวกโลหะ กลุ่มอิเล็กตรอน

โลหะ Al : Al → Al3+ + 3e-

ไอออนิกแท้ ? ไอออนิกผสมโคเวเลนต์ ?
สารประกอบไอออนิกแท้ สารประกอบไอออนิกผสมโคเวเลนต์
เกิดจากไอออนบวกของโลหะกับไอออนลบของอโลหะ เกิดจากไอออนบวกของโลหะกับกลุ่มไอออนลบ
ที่ยึดเหนี่ยวกันด้วยพันธะโคเวเลนต์
NaCl , MgO , KCl , CaCl2 NaOH , MgSO4 , KCN , NH4Cl

สมบัติของสารประกอบต่างๆ
พันธะโคเวเลนต์ พันธะไอออนิก พันธะโลหะ
 จุดเดือด จุดหลอมเหลวต่้า  จุดเดือด จุดหลอมเหลวสูง  จุดเดือด จุดหลอมเหลวสูง
 ส่วนใหญ่ไม่น้าไฟฟ้า แต่จะน้า  น้าไฟฟ้าเมื่อหลอมเหลว หรือ  น้าไฟฟ้าได้ดีมาก
ได้ถ้ามีขั้วและโมเลกุลนั้น ละลายน้้า  โลหะตีให้เป็นแผ่นบางๆ ได้
สามารถแตกตัวเป็นไอออนได้  หน่วยที่เล็กที่สุดเรียกว่า  โลหะสะท้อนแสงได้
 หน่วยที่เล็กที่สุด เรียกว่า “ไอออน”  หน่วยที่เล็กที่สุดเรียกว่า
“โมเลกุล” “อะตอม”

สอนโดยครูนาราวินท์ วิชชากรทวีรัตน์ โรงเรียนเทพศิรินทร์


เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาเคมี 1 ว30221 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง พันธะเคมี 5

ตัวอย่าง 2
1. สาร 3 ชนิดมีสมบัติดังตาราง จงระบุชนิดพันธะเคมีของสารทั้ง 3 ชนิด
ชนิด การน้าไฟฟ้า การน้าไฟฟ้าเมื่อหลอมเหลว จุดหลอมเหลว จุดเดือด ชนิดพันธะ
P ไม่น้า น้า 890 900
Q ไม่น้า ไม่น้า 89 210
R น้า (ไม่ได้ทดสอบ) 1,400 2,850

พันธะโคเวเลนต์ (Covalent bond)

ความหมายของพันธะโคเวเลนต์
พันธะโคเวเลนต์ หมายถึง พันธะที่เกิดจากคู่อะตอมของธาตุที่ไม่ใช่โลหะ น้าเวเลนซ์อเล็กตรอนของแต่ละ
อะตอมมาใช้ร่วมกันเป็นคู่ๆ โดยที่
1. อาจจะเป็นอะตอมชนิดเดียวกัน เช่น ............................หรืออะตอมต่างชนิดกัน เช่น .........................
2. ต้องมีค่า IE..................... (ไม่ชอบจ่าย e-) , EA..................... (ชอบรับ e-) , EN..........................
3. และต้องมีค่า EN............................. (ผลต่างค่า EN น้อย)
4. การเกิดพันธะโคเวเลนต์จะเกิดเฉพาะ...............................................................
หมู่ 1A 2A 3A 4A 5A 6A 7A 8A
เวเลนต์อิเล็กตรอน 1 2 3 4 5 6 7 8
5. การใช้เวเลนซ์อิเล็กตรอนร่วมกันต้องเป็นไปตาม .....................................................................

กฎออกเตต (Octet rule) : อะตอมของธาตุต่างๆ ที่มีเวเลนซ์อิเล็กตรอนไม่เท่ากับ 8 จะไม่เสถียร


จึงมีแนวโน้มที่จะปรับตัว (การจ่ายอิเล็กตรอน หรือ การรับอิเล็กตรอน หรือ การใช้อิเล็กตรอนร่วมกัน)
ให้มีเวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่ากับ 8 หรือ มีจานวนอิเล็กตรอนเท่ากับแก็สเฉื่อย (He=2) เพื่อให้เสถียรมากขึ้น

การจ่ายอิเล็กตรอน : 11Na 281 → 11Na 28


+

การรับอิเล็กตรอน : 17Cl 2 8 7 → 17Cl 2 8 8


-

สอนโดยครูนาราวินท์ วิชชากรทวีรัตน์ โรงเรียนเทพศิรินทร์


เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาเคมี 1 ว30221 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง พันธะเคมี 6

การใช้อิเล็กตรอนร่วมกัน :
งั้นเรามา
แชร์กัน F
H
คนละ 1e-
แล้วใช้ด้วยกัน
1H 1 9F 27
ค่า IE1 สูง (จ่าย e- ยาก) ค่า IE1 สูง (จ่าย e- ยาก)
ค่า EA สูง (รับ 1e- จะเสถียร) ค่า EA สูง (รับ 1e- จะเสถียร)
ค่า EN = 2.1 ค่า EN = 4.0

ครบออกเตต 1H 2 9F 2 8 ครบออกเตต

วาดการ์ตูนพันธะโคเวเลนต์

ทาไมต้องอโลหะ ? ทาไมต้องแชร์
ธาตุอโลหะมีค่า IE สูง (จ่ายอิเล็กตรอนไม่ดี ไม่เกิดไอออนบวก) เมื่อมาสร้างพันธะกับ ธาตุอโลหะที่มีค่า IE สูงเหมือนกัน ทาให้
ไม่มีธาตุใดเกิดเป็นไอออนบวกหรือไอออนลบ
ประกอบกับ ค่า EN ใกล้เคียงกัน (ความสามารถในการดึงดูดอิเล็กตรอนเท่ากัน/ใกล้เคียงกัน) จึงเกิดการแชร์อิเล็กตรอนและใช้
อิเล็กตรอนร่วมกัน เกิดเป็น “พันธะโคเวเลนต์”

สอนโดยครูนาราวินท์ วิชชากรทวีรัตน์ โรงเรียนเทพศิรินทร์


เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาเคมี 1 ว30221 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง พันธะเคมี 7

การเกิดพันธะโควาเลนต์

1 1
1H 1H

แรงดึงดูด

แรงผลัก
แรงผลัก

แรงดึงดูด

อะตอมของธาตุ H ประกอบไปด้วย 1 โปรตอน และ 1 อิเล็กตรอน เคลื่อนที่รอบๆ นิวเคลียส


อะตอมของธาตุไฮโดรเจนมีค่า IE สูงจึงจ่ายอิเล็กตรอนได้ยาก
เมื่ออะตอมของไฮโดรเจน 2 อะตอมเคลื่อนที่เข้ามาใกล้กัน ท้าให้เกิดแรงกระท้า 3 แรง ดังนี้

 ...............................................................................................................
 ..............................................................................................................
 .............................................................................................................

แรงผลักและแรงดึงดูดจะบอก พลังงานศักย์ ของทั้ง 2 อะตอม โดย

แรงผลัก น้อยกว่า แรงดึงดูด พลังงานศักย์...........................................


แรงผลัก เท่ากับ แรงดึงดูด พลังงานศักย์...........................................
แรงผลัก มากกว่า แรงดึงดูด พลังงานศักย์............................................

ระยะห่างระหว่างนิวเคลียสทั้ง 2 อะตอม จะบอก ความยาวพันธะ (หน่วย pm)

สอนโดยครูนาราวินท์ วิชชากรทวีรัตน์ โรงเรียนเทพศิรินทร์


เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาเคมี 1 ว30221 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง พันธะเคมี 8

กราฟแสดงการเปลี่ยนแปลงพลังงานและความยาวพันธะในการเกิดโมเลกุลแก๊สไฮโดรเจน

จุด A อะตอม H อยู่อย่างอิสระ ค่าพลังงานศักย์ = ………………………………………………………

จุด B เมื่อ H 2 อะตอมเข้าใกล้กัน เพื่อจะใช้อิเล็กตรอนร่วมกัน


แรงดึงดูด………………………แรงผลัก โมเลกุลไม่เสถียร พลังงานศักย์………………………..
จุด C อะตอมทั้ง 2 เข้าใกล้กันในระยะห่างที่เหมาะสมที่สุด
แรงดึงดูด……………………….แรงผลัก โมเลกุลเสถียร พลังงานศักย์…………………………
พลังงานศักย์ ⇒ พลังงานพันธะ = ………………………..(คายพลังงาน 436 kJ/mol)
ระยะห่างระหว่างนิวเคลียส ⇒ ความยาวพันธะ =………………………………………………..
อะตอมทั้ง 2 เกิดพันธะโคเวเลนต์ ใช้อิเล็กตรอนร่วมกันตามกฎออกเตต
จะได้ 1. อิเล็กตรอนที่ใช้ร่วมกันเป็นคู่ เรียกว่า…………………………………….
2. แรงยึดเหนี่ยวระหว่าง 2 อะตอม เรียกว่า……………………………….
3. โมเลกุลสารที่ยึดเหนี่ยวด้วยพันธะโคเวเลนต์ เรียกว่า………………………………
4. สารประกอบโมเลกุลโคเวเลนต์ เรียกว่า………………………………………………..
จุด D อะตอมทั้ง 2 เข้าใกล้กันมากขึ้น
แรงผลัก……………………….แรงดึงดูด โมเลกุลไม่เสถียร พลังงานศักย์........................

สอนโดยครูนาราวินท์ วิชชากรทวีรัตน์ โรงเรียนเทพศิรินทร์


เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาเคมี 1 ว30221 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง พันธะเคมี 9

ตัวอย่างที่ 3 กราฟแสดงการเปลี่ยนแปลงพลังงานในการเกิดโมเลกุลของไฮโดรเจน

พิจารณาข้อความต่อไปนี้
ก. ความยาวพันธะ H-H เท่ากับ a pm
ข. พลังงานพันธะ H-H เท่ากับ b kJ/mol
ค. ที่จุด e ไม่มีแรงดึงดูด มีแต่แรงผลักอย่างเดียว
ง. พลังงานศักย์ที่จุด c และ d เท่ากัน เนื่องจากมีแรงดึงดูดและแรงผลักเท่ากัน
ข้อใดถูกต้อง
1. ก และ ข 2. ค และ ข 3. ก,ค และ ง 4. ข,ค และ ง 5.ไม่มีค้าตอบ

ตัวอย่างที่ 4 ข้อความเกี่ยวกับพันธะเคมี ข้อใด ถูกต้อง


1. พันธะเคมีเกิดขึ้นเมื่อแต่ละอะตอมมีอิเล็กตรอนเป็นจ้านวนคี่เท่านั้น
2. พลังงานของพันธะเคมีจะเพิ่มขึ้นตามความยาวพันธะเคมี
3. พันธะเคมีเกิดจากแรงกระท้าระหว่างอิเล็กตรอนกันอิเล็กตรอน
4. พันธะเคมีเกิดขึ้นจากแรงดึงดูดระหว่างนิวเคลียสกับอิเล็กตรอน
ตัวอย่างที่ 5 ข้อใดถูกต้อง
ก. การเกิดพันธะเคมีเป็นกระบวนการคายพลังงาน
ข. โมเลกุลเกิดขึ้นเมื่ออะตอมอยู่ใกล้กันที่สุด
ค. ในการเกิดพันธะเคมีจะมีการถ่ายโอนอิเล็กตรอนจากอะตอมหนึ่งไปอีกอะตอมหนึ่งเสมอ
ง. เมื่ออะตอมเข้าใกล้กันมากขึ้น พลังงานศักย์พันธะเคมีจะมีค่าลดลง
ข้อใดถูกต้อง
1. ก และ ค 2. ก และ ง 3. ข และ ค 4. ข และ ง

สอนโดยครูนาราวินท์ วิชชากรทวีรัตน์ โรงเรียนเทพศิรินทร์


เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาเคมี 1 ว30221 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง พันธะเคมี 10

สัญลักษณ์แบบจุดลิวอิส
เนื่องจากการเกิดพันธะโคเวเลนต์เกี่ยวกับเวเลนซ์อิเล็กตรอนหรืออิเล็กตรอนวงนอกสุด
ดังนั้น เพื่อให้เข้าใจง่ายขึ้น ลิวอิส นักวิทยาศาสตร์ชาวอเมริกัน ได้เสนอการเขียนสัญลักษณ์
ที่แสดงจ้านวนเวเลนซ์อิเล็กตรอนด้วยจุด เรียกว่า สัญลักษณ์แบบจุดของลิวอิส
หลักการ : เขียนจุดล้อมรอบอะตอมของธาตุ 1 จุด แทน 1 เวเลนซ์อิเล็กตรอน
Lewis

1A 2A 3A 4A 5A 6A 7A 8A
1 2 ← เวเลนซ์อิเล็กตรอน → 3 4 5 6 7 8

H He

Li Be B C N O F Ne

Na Mg Al Si P S Cl Ar

K Ca Ga Ge As Se Br Kr

Rb Sr In Sn Sb Te I Xe
Transition
Cs Ba Tl Pb Bi Po At Rn

Fr Ra

สอนโดยครูนาราวินท์ วิชชากรทวีรัตน์ โรงเรียนเทพศิรินทร์


เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาเคมี 1 ว30221 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง พันธะเคมี 11

ชนิดของพันธะโคเวเลนต์
 พันธะเดี่ยว (single bond) ⟹ อิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะ 1 คู่ (แชร์อะตอมละ 1 e-)
⟹ สัญลักษณ์พันธะ −
H2 Cl2

จ้านวนอิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะ จ้านวนอิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะ
จ้านวนอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว จ้านวนอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว

 พันธะคู่ (double bond) ⟹ อิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะ 2 คู่ (แชร์อะตอมละ 2 e-)


⟹ สัญลักษณ์พันธะ =
O2 CO2

จ้านวนอิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะ จ้านวนอิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะอะตอมกลาง
จ้านวนอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว จ้านวนอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยวอะตอมกลาง

สอนโดยครูนาราวินท์ วิชชากรทวีรัตน์ โรงเรียนเทพศิรินทร์


เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาเคมี 1 ว30221 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง พันธะเคมี 12

 พันธะสาม (triple bond) ⟹ อิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะ 3 คู่ (แชร์อะตอมละ 3 e-)


⟹ สัญลักษณ์พันธะ ≡
N2 HCN

จ้านวนอิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะ จ้านวนอิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะอะตอมกลาง
จ้านวนอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว จ้านวนอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยวอะตอมกลาง

 พันธะโคออร์ดิเนตโคเวเลนต์ (Coordinate covalent bond)


พันธะโคออร์ดิเนตโคเวเลนต์ หมายถึง พันธะโคเวเลนต์ที่เกิดจากอะตอมใดอะตอมหนึ่งให้อิเล็กตรอนคู่
(2 อิเล็กตรอน) ไป ให้ธาตุตัวใดตัวหนึ่ง เพื่อให้มีเวเลนซ์อิเล็กตรอนครบ
8 โดยไม่ใช้อิเล็กตรอนจากธาตุตัวนั้นกลับมา (ไม่มีการแชร์หรือใช้
อิเล็กตรอนร่วมกัน)
สัญลักษณ์พันธะ :

A → B หมายความว่า A ให้คู่อิเล็กตรอนแก่ B แต่ B ไม่ให้คู่อิเล็กตรอนแก่ A

วาดการ์ตูนพันธะโคออร์ดเิ นตโคเวเลนต์

สอนโดยครูนาราวินท์ วิชชากรทวีรัตน์ โรงเรียนเทพศิรินทร์


เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาเคมี 1 ว30221 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง พันธะเคมี 13

ตัวอย่าง 6 SO2

ตัวอย่าง 7 NH4+
NH3 + H+ → NH4+
แอมโมเนีย ไฮโดรเจนไอออน แอมโมเนียมไอออน

ตัวอย่าง 8 H3O+
H 2O + H+ → H 3O +
น้้า ไฮโดรเจนไอออน ไฮโดรเนียมไอออน

สอนโดยครูนาราวินท์ วิชชากรทวีรัตน์ โรงเรียนเทพศิรินทร์


เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาเคมี 1 ว30221 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง พันธะเคมี 14

การเขียนสูตรของสารประกอบโคเวเลนต์
 การเขียนสูตรโมเลกุล
นิยมเรียงล้าดับจากธาตที่มี EN ต่า้ ไปหา EN สูง เช่น B C N O F แล้วเขียนเลข
บอกจ้านวนอะตอมของธาตุทุกชนิดใน 1 โมเลกุล ห้อยไว้ใต้สัญลักษณ์ของธาตุนั้น
เช่น B และ Cl BCl3
B และ S B2S3

การหาเขียนสูตรโมเลกุลแบบใช้วิธี ค.ร.น.
โดยการน้าเวเลนซ์อิเล็กตรอนมาหา ค.ร.น. และน้าค.ร.น. ทีไ่ ด้มาหาร เวเลนซ์
อิเล็กตรอนที่ต้องการให้ครบ 8 หรือมีเวเลนซ์อิเล็กตรอนเหมือนหมู่ 8 ของแต่ละธาตุ ก็จะได้ตัว
เลขที่แสดงจ้านวนอะตอมของธาตุนั้น
หมูท่ ี่ธาตุ จานวนเวเลนซ์ จานวนเวเลนซ์ อัตตราส่วนที่
ค.ร.น. ตัวอย่าง
รวมตัวกัน อิเล็กตรอน อิเล็กตรอนที่ต้องการ รวมตัวกัน

IV + VII

IV + VI

V + VII

V +VI

VI + VII

การเขียนสูตรของสารประกอบโคเวเลนต์ นอกจากใช้วิธีการหา ค.ร.น. ดังกล่าวมาข้างต้นแล้ว


ยังสามารถท้าได้ง่ายๆ ดังนี้

สอนโดยครูนาราวินท์ วิชชากรทวีรัตน์ โรงเรียนเทพศิรินทร์


เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาเคมี 1 ว30221 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง พันธะเคมี 15

หมู่ ตัวอย่างธาตุ เวเลนซ์อิเล็กตรอน จานวนอิเล็กตรอนที่ต้องการ ครบออกเตต


H 1 1 2
2A Be 2 - -
3A B 3 - -
4A C 4 4 8
5A N 5 3 8
6A O 6 2 8
7A F 7 1 8

ตัวอย่างที่ 9

1. Cl + O

2. Be + Cl

3. Si + O

4. C + F

5. S + Br

6. Br + Cl

สอนโดยครูนาราวินท์ วิชชากรทวีรัตน์ โรงเรียนเทพศิรินทร์


เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาเคมี 1 ว30221 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง พันธะเคมี 16

7. P + O

8. C + O

กรณีนี้นักเรียนจะต้องทราบว่าธาตุแต่ละชนิดมีเวเลนซ์อิเล็กตรอนจ้านวนเท่าใด และต้องการอีก
เท่าใดจึงจะครบ Octet และสูตรที่ได้ทั้ง 2 วิธี เป็นสูตรที่เป็นสูตรที่เป็นไปตามกฎ Octet เท่านั้น
แต่การเขียนสูตรแบบนี้ไม่สามารถใช้ได้กับ SO2 SO3 SF4

 การเขียนสูตรโครงสร้าง
การเขียนสูตรโครงสร้างของสารโควาเลนต์ สามารถเขียนได้ 2 แบบ คือ
1. สูตรแบบจุด (Electron dot formular)
การเขียนสูตรแบบจุดของลิวอิส จะใช้จุดแทนจ้านวนเวเลนซ์อิเล็กตรอนซึ่งเป็น
อิเล็กตรอนที่อยู่วงนอกสุด โดยให้ 1 จุดแทน 1 เวเลนซ์อิเล็กตรอน เขียนไว้ระหว่าสัญลักษณ์
ของธาตุแทนอิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะ

IA IIA IIA IVA VA VIA VIIA VIIIA

2. สูตรแบบเส้น (Graphic formular)


แทนอิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะ 1 คู่ โดยมาจากอะตอมละ 1 อิเล็กตรอน
แทนอิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะ 1 คู่ โดยมาจากอะตอมละ 1 อิเล็กตรอน
แทนอิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะ 1 คู่ โดยมาจากอะตอมละ 1 อิเล็กตรอน
แทนอิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะ 1 คู่ โดยมาจากอะตอมใดอะตอมหนึ่งเท่านั้น
เช่น H2O

สอนโดยครูนาราวินท์ วิชชากรทวีรัตน์ โรงเรียนเทพศิรินทร์


เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาเคมี 1 ว30221 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง พันธะเคมี 17

 การเขียนโครงสร้างลิวอิสสารประกอบที่เป็นไปตามกฎออกเตต
 หาอะตอมกลาง
อะตอมกลางมีเพียงอะตอมเดียวเป็นอะตอมที่มี EN ต่า สุด
เช่น H2O อะตอมกลางคือ.....................................
COCl2 อะตอมกลางคือ.....................................
SOCl2 อะตอมกลางคือ.....................................

 การวางตาแหน่งของธาตุทั้งหมด
โดยให้อะตอมกลางอยู่ตรงกลางอะตอมที่เหลืออยู่ล้อมรอบ
เช่น CHCl3

COCl2

 เขียนสูตรแบบเส้นและแบบจุดตามล้าดับ
หมู่ ตัวอย่างธาตุ เวเลนซ์ e- จานวน e- ที่ต้องการ จานวนพันธะที่เกิด
1 พันธะ
H 1 e- 1 e-
H−
1 พันธะ
7A F Cl Br I At 7 e- 1 e-
2 พันธะ
6A O S Se Te Po 6 e- 2 e-

3 พันธะ
5A N P As 5 e- 3 e-

4 พันธะ
4A C Si Ge 4 e- 4 e-

สอนโดยครูนาราวินท์ วิชชากรทวีรัตน์ โรงเรียนเทพศิรินทร์


เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาเคมี 1 ว30221 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง พันธะเคมี 18

ตัวอย่างที่ 10 จงเขียนโครงสร้างลิวอิส พร้อมระบุอิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะ อิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยวของอะตอมกลาง

โครงสร้างลิวอิส คู่ร่วม คู่โดด


สาร
โครงสร้างแบบจุด โครงสร้างแบบเส้น พันธะ เดี่ยว

H 2O

COCl2

H 2O 2

N 2H 4

CH3OH

สอนโดยครูนาราวินท์ วิชชากรทวีรัตน์ โรงเรียนเทพศิรินทร์


เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาเคมี 1 ว30221 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง พันธะเคมี 19

 สารประกอบไฮโดรคาร์บอน (ประกอบด้วยธาตุ C กับ H)


หลักการ : 1. เขียนธาตุ C ต่อกันไว้ตรงกลาง ธาตุ H ล้อมรอบ
2. จ้านวนพันธะต้องครบตามกฎออกเตต C 4 พันธะ H 1 พันธะ

จงเขียนโครงสร้างลิวอิส พร้อมระบุอิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะ อิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยวของอะตอมกลาง


โครงสร้างลิวอิส คู่ร่วม คู่โดด
สาร
โครงสร้างแบบจุด โครงสร้างแบบเส้น พันธะ เดี่ยว

C2 H 6

C2 H 4

C2 H 2

C5H12

สอนโดยครูนาราวินท์ วิชชากรทวีรัตน์ โรงเรียนเทพศิรินทร์


เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาเคมี 1 ว30221 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง พันธะเคมี 20

 กรดออกซี (HnAOm โดย A เป็นธาตุอโลหะหรือกึ่งโลหะ)


หลักการ : 1. H สร้างพันธะ − กับ O ให้ครบ และ O ก็สร้างพันธะ − ต่อกับอะตอมกลางที่เป็นอโลหะ
2. อะตอมกลางที่เป็นอโลหะสร้างพันธะ = หรือ พันธะโคออร์นิเนต → กับ O ที่เหลือ

จงเขียนโครงสร้างลิวอิส พร้อมระบุอิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะ อิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยวของอะตอมกลาง


โครงสร้างลิวอิส คู่ร่วม คู่โดด
สาร
โครงสร้างแบบจุด โครงสร้างแบบเส้น พันธะ เดี่ยว

HClO

HClO2

HClO3

HClO4

สอนโดยครูนาราวินท์ วิชชากรทวีรัตน์ โรงเรียนเทพศิรินทร์


เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาเคมี 1 ว30221 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง พันธะเคมี 21

โครงสร้างลิวอิส คู่ร่วม คู่โดด


สาร
โครงสร้างแบบจุด โครงสร้างแบบเส้น พันธะ เดี่ยว

H2SO3

H2SO4

HNO2

HNO3

H2CO3

สอนโดยครูนาราวินท์ วิชชากรทวีรัตน์ โรงเรียนเทพศิรินทร์


เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาเคมี 1 ว30221 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง พันธะเคมี 22

 การเขียนโครงสร้างลิวอิสสารประกอบทีไ่ ม่เป็นไปตามกฎออกเตต
 น้อยกว่ากฎออกเตต
หลักการ : 1. ส่วนใหญ่จะเป็น B กับ Be

จงเขียนโครงสร้างลิวอิส พร้อมระบุอิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะ อิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยวของอะตอมกลาง


โครงสร้างลิวอิส e- รอบอะตอม
สาร
โครงสร้างแบบจุด โครงสร้างแบบเส้น กลาง

BF3

BeCl2

NO2

NO

สอนโดยครูนาราวินท์ วิชชากรทวีรัตน์ โรงเรียนเทพศิรินทร์


เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาเคมี 1 ว30221 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง พันธะเคมี 23

 เกินกฎออกเตต
หลักการ : 1. ส่วนใหญ่จะเป็น P S I และธาตุหมู่ 8A

จงเขียนโครงสร้างลิวอิส พร้อมระบุอิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะ อิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยวของอะตอมกลาง


โครงสร้างลิวอิส e- รอบอะตอม
สาร
โครงสร้างแบบจุด โครงสร้างแบบเส้น กลาง

PCl5

SF6

IF7

XeF4

สอนโดยครูนาราวินท์ วิชชากรทวีรัตน์ โรงเรียนเทพศิรินทร์

You might also like