You are on page 1of 13

1

2302127 GEN CHEM (เคมีทั่วไป)


หัวข้อที่ 2.1 : แบบจำลองอะตอมในช่วงของฟิสิกส์ยคุ เก่ำ
- เส้นเวลำกำรค้นพบแบบจำลองอะตอม
- โครงสร้ำงอะตอมและอนุภำคมูลฐำน
2
Chemistry: The Molecular Nature of Matter and Change
by Martin Silberberg (7th ed.)

§2.2 The Observations That Led to an Atomic §2.4 The Observations That Led to the Nuclear
View of Matter Atom Model
• Mass Conversion • Discovery of the Electron and Its Properties
• Definite Composition • Discovery of the Atomic Nucleus
• Multiple Proportions
§2.3 Dalton's Atomic Theory
• Postulates of the Atomic Theory
• How the Theory Explains the Mass Laws
3
กฎทรงมวล (Law of Mass Conservation):
สสำรไม่สำมำรถถูกสร้ำงขึ้นหรือทำลำยลงได้

The total mass of substances does not change a chemical reaction.


The energy changes of chemical reactions are so small, for all practical purposes, mass is conserved.
กฎสัดส่วนคงที่ (Law of Definite Composition): 4
สำรประกอบชนิดหนึ่ง ๆ ประกอบด้วยธำตุชนิดเดียวในสัดส่วนโดยมวลคงที่ ไม่ว่ำจะนำสำรนั้น
มำจำกแหล่งใด

Mass percent = Mass fraction × 100


แคลเซียม องค์ประกอบโดยมวล สัดส่วนมวล ร้อยละโดยมวล
คาร์บอเนต (กรัม / 20.0 กรัม) (ส่วน / 1.00 ส่วน) (ส่วน / 100 ส่วน)
แคลเซียม 8.0 g 0.40 40%
คาร์บอน 2.4 g 0.12 12%
ออกซิเจน 9.6 g 0.48 48%
20.0 g 1.00 ส่วน โดยมวล 100% โดยมวล
Mass of Element X in Compound A
Mass fraction =
Mass of Compound A
กฎสัดส่วนพหุคูณ (Law of Multiple Proportions): 5
เมื่อธำตุ A และ B ทำปฏิกิริยำกันเกิดเป็นสำรประกอบได้สองชนิด มวลของ B ที่ใช้ในกำรรวม
กับ A ปริมำณหนึ่ง ๆ จะสำมำรถเขียนให้อยู่ในรูปอัตรำส่วนของเลขจำนวนเต็มน้อย ๆ ได้

ออกไซด์ของคาร์บอน I ออกไซด์ของคาร์บอน II
ควำมหนำแน่น 1.25 g/L 1.98 g/L
สมบัติเฉพำะ เป็นพิษและติดไฟง่ำย ไม่เป็นพิษหรือติดไฟง่ำย
จากการวิเคราะห์มวล ... 57.1 มวล % ออกซิเจน 72.7 มวล % ออกซิเจน
42.9 มวล % คาร์บอน 27.3 มวล % คาร์บอน
g ออกซิเจน / g คำร์บอน 57.1
= 1.33
72.7
= 2.66
42.9 27.3
อัตราส่วนของปริมาณออกซิเจน 1.33 g ออกซิเจนΤg คำร์บอน ในสำรประกอบ I 1
=
2.66 g ออกซิเจนΤg คำร์บอน ในสำรประกอบ II 2
6
สมมติฐำนของทฤษฎีอะตอม [ค.ศ. 1808] … John Dalton

1. สสำรทุกชนิดประกอบด้วย “อะตอม” ซึ่งเป็นหน่วยเล็ก ๆ ที่ย่อยที่สุดของธำตุ ไม่สำมำรถสร้ำง


ขึ้นหรือทำลำยลงได้
2. อะตอมของธำตุชนิดหนึ่งไม่สามารถเปลี่ยนเป็นอะตอมของธำตุอีกชนิดได้
ในกำรเกิดปฏิกิริยำเคมี อะตอมของธำตุในสำรเดิมเพียงแค่รวมตัวกันใหม่เกิดเป็นสำรต่ำงชนิด
3. อะตอมของธำตุชนิดหนึ่ง ๆ จะมีมวลและสมบัติอื่น ๆ ที่เหมือนกันทุกประการ แต่สมบัตินี้จะ
แตกต่ำงออกไปจำกอะตอมของธำตุชนิดอื่น
4. สำรประกอบเกิดจำกกำรรวมตัวกันทำงเคมีของอะตอมของธำตุต่ำงชนิดในอัตราส่วนที่แน่นอน

Dalton’s “billiard-ball” model


Sample Problem 2.3 Visualizing the Mass Laws
7
The following scene represents an atomic-scale view of a chemical reaction.
Which of the mass laws (mass conservation, definite composition, or multiple
proportions) is (are) illustrated?
8
กำรทดลองหลอดรังสีแคโทด [ค.ศ. 1897] ... J. J. Thomson

สิ่งที่สังเกตเห็น ข้อสรุป
รังสีโค้งงอใน ประกอบด้วย
สนำมแม่เหล็ก อนุภำคที่มีประจุ
รังสีโค้งไปทำงขั้วบวก ประกอบด้วย
ของสนำมไฟฟ้ำ อนุภำคที่มีประจุลบ
รังสีนี้เหมือนกัน พบอนุภำคนี้
สำหรับทุกแคโทด ในสสำรทุกชนิด

ค่าอัตราส่วนระหว่างประจุต่อมวล = –1.76 × 1011 C kg–1

Cathode rays consist of negatively charged particles found in all matter.


9
กำรทดลองหยดน้ำมัน [ค.ศ. 1909] … Robert Millikan

 ประจุที่น้อยที่สุด คือ ประจุของอิเล็กตรอน


 ค่ำประจุของอิเล็กตรอน = –1.602 × 10–19 C
 ค่ำมวลของอิเล็กตรอน = 9.109 × 10–31 kg

Thomson’s “plum-pudding” model

The total charge of the various droplets was always some whole-number multiple of a minimum charge.
10
กำรทดลองแผ่นฟอยล์ทองคำ [ค.ศ. 1910] … Ernest Rutherford
Rutherford’s nuclear model 11
รัทเทอร์ฟอร์ด สรุปว่ำ
 อนุภำคแอลฟำจำนวนไม่มำกที่สะท้อนกลับ ต้องถูกผลักด้วยบำงอย่ำงซึ่งมีขนาดเล็ก ความ
หนาแน่นสูง และมีประจุบวก ภำยในอะตอมของทองคำ
 คำนวณจำก มวล ประจุ ควำมเร็วของอนุภำคแอลฟำ และปริมำณอนุภำคที่สะท้อนกลับ
 พื้นที่ส่วนใหญ่ในอะตอมเป็นพื้นที่ที่อยู่ของอิเล็กตรอน
 พื้นที่เล็ก ๆ ตรงใจกลำงอะตอม เรียกว่ำ “นิวเคลียส” (nucleus) ประกอบไปด้วยประจุบวก
ทั้งหมดและมวลเกือบทั้งหมดของอะตอม
 เรียกอนุภำคประจุบวกที่อยู่ในนิวเคลียสว่ำ “โปรตอน” (proton)

Rutherford’s model explained the charged nature of matter, but it could not account for all the atom’s mass.
12
โครงสร้ำงของอะตอมและอนุภำคมูลฐำน

mass / kg charge / C
โปรตอน p 1.673 × 10–27 + 1.602 × 10–19
นิวตรอน n 1.675 × 10–27 0
อิเล็กตรอน e 9.109 × 10–31 – 1.602 × 10–19
1 amu = 1.66054 x 10–24 g e = 1.60218 x 10–19 C
mass / amu charge / e
โปรตอน p 1.007 +1
นิวตรอน n 1.009 0
1
อิเล็กตรอน e –1
1823
13
Atomic Structure: Discovery Timeline
3 Mass Laws

“Billiard-ball”
Dalton
1808 indivisible nucleus Rutherford
Nuclear model
atom proton 1911
Ancient
Greek e– mass
1897 1909 e– charge 1932
electron “Plum-pudding” Millikan neutron
Thomson Chadwick

Cathode Ray Tube Oil Drop

You might also like