You are on page 1of 15

Physics IV (SCI30204)

แสงและฟิ สิกส์ยุคใหม่

Atomic Physics :Heisenberg

ผู้สอน นายพิชญุตม์ กันทะกะ


ฟิสิกส์อะตอม : Atomic Physics
Uncertainty Principle หลักความไม่แน่นอน

ค้นพบโดย Werner Heisenberg ซึ่งกล่าวว่า

เป็ นไปไม่ได้ที่จะวัดตำแหน่งที่แม่นยำ
ไปพร้อมกับวัด momentum ณ เวลาเดียวกัน
ฟิสิกส์อะตอม : Atomic Physics
Uncertainty Principle หลักความไม่แน่นอน

(a) ถ้าน้อย,มีค่ามาก

(b) wave group ที่กว้าง แต่ความยาวคลื่น


ถูกหาได้ว่าแม่นยำ แต่ตำแหน่งหาไม่ได้อย่าง
แม่นยำ
ฟิสิกส์อะตอม : Atomic Physics
Uncertainty Principle หลักความไม่แน่นอน

สมการนี้บอกแก่เราว่า ผลคูณของความไม่แน่นอนในตำแหน่ง () กับ


ความไม่แน่นอนในโมเมนตัม () มีค่าเท่ากับหรือมากกว่า

ถ้าเราจัดการทดลองทำให้ มีค่าน้อยๆ ซึ่งทำให้ wave group มี


ความแคบ จะมีค่ามาก

แต่ถ้าเราลดค่า ด้วยวิธีอย่างไรก็ตาม, wave group จะมีความกว้าง


ขึ้นมาเองอย่างหลีกเหลี่ยงไม่ได้
ฟิสิกส์อะตอม : Atomic Physics
Uncertainty Principle หลักความไม่แน่นอน

ความไม่แน่นอนนี้ ไม่ได้มาจากว่า เครื่องมือไม่ดีพอ แต่เป็ นเพราะ


ลักษณะของธรรมชาติที่เรากำลังเกี่ยวในสเกลขนาดเล็ก

ความที่เราบอกตำแหน่งของอนุภาคอย่างแน่นอนไม่ได้ เราจึงกล่าวได้ว่า
เราไม่รู้อนาคตของอนุภาคว่าจะไปทางไหน

แต่เราก็ยังพอจะกล่าวได้ว่า อนุภาคมีแนวโน้มที่จะไปแห่งใดมากกว่าจะไปอยู่
อีก แห่งใด หรือโมเมนตัมค่าใดที่น่าจะมีค่าน่าจะมีมากกว่าอีกค่าหนึ่ง
ฟิสิกส์อะตอม : Atomic Physics
Uncertainty Principle หลักความไม่แน่นอน

H - Bar
ปริมาณ ปรากฏขึ้นบ่อยๆใน modern physics เนื่องจากมันจะกลายเป็ นหน่วย
ของ angular momentum
ดังนั้น เราจึงชอบจะเรียก เป็ นสัญลักษณ์ ซึ่งคือ

h −34
ℏ= =1 . 054 ×10 𝐽 ∙𝑠
2𝜋
ฟิสิกส์อะตอม : Atomic Physics
EX หลักความไม่แน่นอน
ในการวัดความเร็วอิเล็กตรอนได้ค่า 5000 m/s มีความไม่แน่นอน 0.003 % จงหาค่า
ความไม่แน่นอนของตำแหน่งของอิเล็กตรอนนี้
ฟิสิกส์อะตอม : Atomic Physics
EX หลักความไม่แน่นอน

อิเล็กตรอนในสภาวะกระตุ้น วัดค่าเวลาที่โคจรในวงโคจรกระตุ้น () = วินาที


จงคำนวณหาความไม่แน่นอนของความถี่ เมื่ออิเล็กตรอนเคลื่อนที่มายังสภาวะพื้นปลดปล่อย
โฟตอนที่ความถี่เฉลี่ย Hz จงหาค่าร้อยละของความคลาดเคลื่อนที่ของความถี่
ฟิสิกส์อะตอม : Atomic Physics
The Laser เลเซอร์
How to produce light waves all in step
สร้างแสงที่ทุก step อย่างไร

Laser เป็ นอุปกรณ์ที่สร้างลำแสง


(light beam) ที่มีคุณสมบัติ

แสงมีความถี่เดียว (monochromatic light)


เกือบ 100 %

แสงเป็ นแสง coherent โดยที่คลื่นแสงทั้งหมด


มี phase ที่ in phase ด้วยกันทั้งหมด
ฟิสิกส์อะตอม : Atomic Physics
The Laser เลเซอร์

แสง laser กระจายตัวยากมาก


ขนาดว่า ยิงแสงจากโลกไปที่กระจกที่ยาน Apollo 11
ทิ้งไว้ที่ดวงจันทร์ ก็ยังสะท้อนกลับมายังโลกได้

ลำแสง (beam) มีความเข้มมาก


ถ้าวัตถุไหนมี energy density เท่ากับ laser beam
วัตถุร้อนนั้นควรมีอุณหภูมิ K
ฟิสิกส์อะตอม : Atomic Physics
The Laser เลเซอร์

LASER ย่อมาจาก light amplication by stimulated emission of radiation

laser มาจากการที่หลาย atoms มี electrons อยู่ในระดับชั้นพลังงาน excited state ซึ่งมี


lifetime อาจประมาณ s แทนที่จะเป็ น s สถานะที่ electrons อยู่ในช่วงนั้น
อยู่ได้นานกว่า จนเราเรียกว่า metastable
ฟิสิกส์อะตอม : Atomic Physics
The Laser เลเซอร์

อะตอมเริ่มต้นอยู่ในสถานะ แล้วต่อมามีพลังงาน โดยการ absorbing of photon ซึ่งมี


พลังงาน กระบวนการนี้เรียกว่า stimulated absorption

ในปี 1917 Einstein เป็ นคนแรกที่ซื้ออกมาว่า stimulated emission ที่ปล่อยออกมา


สามารถไปเป็ นสาเหตุให้เกิด transition จากพลังงาน มา ได้
ฟิสิกส์อะตอม : Atomic Physics
The Laser เลเซอร์

ในกระบวนการ stimulated emission คลื่นแสงที่ปล่อยออกมา in


phase กัน ทำให้แสงออกมาเป็ นแสง coherent light

photon ที่มีพลังงาน ตกกระทบใส่ atom ที่อยู่ในสถานะ


พลังงาน ก็นมีโอกาสเดียวกันว่า จะเกิด emission ของการปล่อยแสงที่
มีพลังงาน
ฟิสิกส์อะตอม : Atomic Physics
The Laser เลเซอร์

“แสงเลเซอร์เกิดจากการกระตุ้นระดับชั้นพลังงานของ
อิเล็กตรอนในสภาวะพื้นทำให้อิเล็กตรอนที่มีพลังงานสูงขึ้นไปยังชั้น
สภาวะกระตุ้น เมื่อมีจำนวนอิเล็กตรอนอยู่ในสภาวะกระตุ้นพอเหมาะ
จะมีการใส่พลังงานที่เหมาะสมกับระบบทำให้อิเล็กตรอนทั้งหมดใน
สภาวะกระตุ้นคายพลังงานกลับมายังสภาวะพื้นเกิดเป็ นแสงเลเซอร์
ที่มีลักษณะสีเดียว มีความเข้มสูง ลักษณะของลำแสงเล็กและมี
ทิศทางพุ่งตรงไม่กระจายแสง”
ฟิสิกส์อะตอม : Atomic Physics
แถบพลังงาน ตัวนำ กึ่งตัวนำ ฉนวน

You might also like