You are on page 1of 19

ทฤษฎีควอนตัมเบื้องต้น

จากการศึกษาของนักฟิ สิกส์ยคุ เก่า พบว่าไม่สามารถอธิบายปรากฏการณ์ของ


อนุภาคขนาดเล็กได้ เช่น การแผ่รงั สีของวัตถุดา ปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กตริก
การเกิดสเปกตรัมชนิดเส้น การเกิดรังสีเอ็กซ์ และปรากฏการณ์คอมป์ ตัน ต่อมา
Max Planck ได้เสนอแนวความคิด แบบควอนตัมมาอธิบายการเกิด
สเปกตรัมของการแผ่รงั สีจากวัตถุดาได้ และเป็ นแนวคิดพืน้ ฐานที่นาไปสูท่ ฤษฎี
ควอนตัม
เมือ่ ทำให้วัตถุดำร้อน จนเกิดสมดุลควำมร้อนทีอ่ ุณหภูมคิ ่ำต่ำงๆ
ณ อุณหภูมแิ ต่ละค่ำพบว่ำควำมเข้ม I ของกำรแผ่รังสีทคี่ วำมยำว
คลื่นค่ำต่ำงๆ มีควำมสัมพันธ์เป็ นไปตำมกรำฟ
จากการศึกษาการแผ่รังสี ของวัตถุดาที่อุณหภูมิต่างๆสรุ ปได้ดงั นี้
1. สเปกตรัมของการแผ่รงั สีเป็ นแบบต่อเนื่อง คือมี ทุกความยาวคลื่น
2. พลังงานที่วตั ถุดาแผ่ออกมาเป็ นไปตามกฏของ(stefan-blotzman)
R = T 4
R คืออัตราการแผ่พลังงานต่อหนึ่งหน่วยพืน้ ที่ (W/m2)
 คือ ค่าคงที่สเตฟาน (W/m2.K)
T คือ อุณหภูมิสมั บูรณ์ มีหน่วยเป็ นเคลวิน (K)
3. ความเข้มของพลังงานที่แผ่ออกมา มีคา่ น้อยที่ความยาวคลื่นสัน้ มากและที่ความยาว
คลื่นยาว และมีคา่ สูงสุดที่ความยาวคลื่น โดยที่ จะเลื่อนไปทางความยาวคลื่นสัน้ ลง
เมื่อวัตถุมีอณ
ุ หภูมิสงู ขึน้ เป็ นไปตามกฏการกระจัดของวีน
การแผ่รังสี ของวัตถุดาของ(Lord ray leigh and Sir James Jeans)
ผนังของวัตถุดาประกอบด้วยอะตอมจานวนมาก ซึง่ ทาหน้าที่เป็ นทัง้ ตัวรับและตัวแผ่
รังสี ซึง่ เรียกว่า ออสซิลเลเตอร์ เมื่ออะตอมรับพลังงานจากความร้อนก็จะสั่น การ
สั่นทาให้อะตอมในประจุไฟฟ้ามีความเร่ง ก็จะแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าด้วยความถี่
เท่ากับความถี่ของการสั่น ในขณะเดียวกันก็จะรับพลังงานจากการแผ่รงั สีของ
อะตอมข้างเคียง อะตอมหรือออสซิลเลเตอร์สามารถแผ่หรือดูดกลืนรังสีได้ทกุ
ความถี่
T
ความเข้มของการแผ่รงั สีคือ I (  , T ) = 2 ck 4

c คืออัตราเร็วของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในสุญญากาศ c = 3  10 8 m / s
k เป็ นค่าคงตัวโบลต์ซมันน์ k = 1.381  10 −23 J / K
ให้ผลขัดกับการทดลองเพราะที่ความยาวคลื่นสัน้ ความเข้มกลับเพิ่มขึน้
การแผ่รังสี ของวัตถุดาและสมมุติฐานของ Planck
อะตอมทีม่ ีควำมถี่ f
จะมีพลังงำน
การแผ่รังสี ของวัตถุดาและสมมุติฐานของ Planck
การแผ่รังสี ของวัตถุดาและสมมุติฐานของ Planck

กฎกำรแผ่รังสีของพลังค์ 2hc 2
I ( , T ) = 5 hc / kT
(Planck’s radiation law)  (e − 1)
Photoelectric effect
เมื่อฉายแสงที่มีความถี่สงู ไปบนโลหะพบว่ามีอิเล็กตรอนหลุดจากผิวโลหะนัน้
ปรากฏการณ์ท่ีแสงทาให้อิเล็กตรอนหลุดออกมา เรียกว่า ปรากฏการณ์โฟโตอิเล็ก
ตริก( Photoelectric effect) และเรียกอิเล็กตรอนที่หลุดออกมาว่า โฟโตอิเล็กตรอน
(Photoelectrons)
Photoelectric effect
• จากรูปเมื่อทดลองปรับความต่างศักย์ ระหว่างขัว้ C กับ A แล้วอ่านค่ากระแส
พบว่าที่ความต่างศักย์ต่า กระแสในวงจรจะน้อย แต่เมื่อเพิ่มความต่างศักย์
กระแสจะมากขึน้ แสดงว่าโฟโตอิเล็กตรอนทุกตัวมีพลังงานมากพอที่จะวิ่งไปถึง
A ได้
• ถ้าเราลองสลับขัว้ ให้ A เป็ นลบ C เป็ นบวกกระแสในวงจรค่อยน้อยลง เพราะ
อิเล็กตรอนบางตัวมีพลังงานมากพอที่จะเคลื่อนที่ไปที่ A ได้ ถึงแม้จะลดความ
ต่างศักย์ลงจนเป็ นศูนย์ ก็ยงั คงมีกรแสในวงจรอยู่ เมื่อปรับจนค่าศักย์ท่ี A เป็ น
ค่าลบค่าหนึ่ง เทียบกับ C คือ vsพบว่าไม่มีกระแสในวงจรเลย ความต่างศักย์
ที่ทาให้ไม่มีกระแสไฟฟ้าในวงจรเรียกว่า ศักย์หยุดยัง้
• เราสามารถหาพลังงานจลน์สงู สุด (Ek)max ของโฟโตอิเล็กตรอนได้ จากสมการ
1 2
( E k ) max = mv max = eVs
2
Photoelectric effect
สรุปแนวคิดของEinstein สามารถอธิบายปรากฏการณ์ ต่างๆได้ อย่ างถูกต้ องดังนีค้ ือ
Compton effect
จำกทฤษฎีสัมพัทธภำพของไอน์สไตน์จะหำ โมเมนตัมของโฟตอน ได้จำก E = mc 2
สำหรับโฟตอนควำมถี่ f มีพลังงำน E = hf จะได้ hf = mc 2

โมเมนตัมของโฟตอนทีม่ คี วำมเร็ว c f h
นั่นคือ = mc = h =
c 
h
P=

You might also like