You are on page 1of 35

https://chem.sci.ku.ac.

th/labchem

การทดลอง เ อง
รื่
กฎของแก๊ ส
2

กฎของแก๊ ส
แก๊ สชนิ ดต่ างๆ จะมี สมบั ติทางกายภาพ คล้ ายคลึ งกั น
โดยสมบั ติทางกายภาพของแก๊ สจะ นกั บ 4 ตั วแปร ส คั ญ คื อ
• ความดั น (Pressure, P)
• อุ ณหภู มิ (Temperature, T)
• ปริ มาตร (Volume, V )
• จ นวนโมล (number of moles, n)

โดยความสั มพั นธ์ ของตั วแปรเหล่ า จะพิ จารณาเ น “กฎของแก๊ ส ”


แก๊ ส มี สมบั ติเ นไปตามกฎของแก๊ ส เรี ยกว่ า “แก๊ สอุ ดมคติ (ideal gas)”
ขึ้

ที่
ป็

นี้
ที่
ป็
ที่


“เ อ อุ ณหภู มิ และ จ นวนโมล คง


  ปริ มาตรของแก๊ สจะแปรผกผั นกั บ ความดั น”

V = ปริ มาตร
1 P = ความดั น
V ∝ P T = อุ ณหภู มิสมบู รณ์
n = จ นวนโมล

PV = k (ค่ าคง )
P1V1 = P2V2 = PjVj = k (ค่ าคง )

มื่

ที่

ที่

ที่
4

“เ อ ความดั น และ จ นวนโมล คง


  ปริ มาตรของแก๊ สจะแปรผั นกั บ อุ ณหภู มิสมบู รณ์ ”

V = ปริ มาตร
V ∝T P = ความดั น
T = อุ ณหภู มิสมบู รณ์
V = k (ค่ าคง ) n = จ นวนโมล
T
V1 V2 Vj
T1 = T2 = Tj = k (ค่ า คง )

มื่

ที่


ที่
ที่

กฎรวมของแก๊ ส (Combined gas law)

P1V1 P2V2 V = ปริ มาตร


=
T1 T2 P = ความดั น
T = อุ ณหภู มิสมบู รณ์
สภาวะ 1 สภาวะ 2 n = จ นวนโมล

สภาวะ STP
อุ ณหภู มิและความดั นมาตรฐาน (Standard Temperature and Pressure, STP)
อุ ณหภู มิเท่ ากั บ 273.15 K และ ความดั นเท่ ากั บห งบรรยากาศ (1 atm)
นึ่

ที่
ที่

ที่

“เ อ อุ ณหภู มิ และ ความดั น คง


  ปริ มาตรของแก๊ สจะแปรผั นกั บ จ นวนโมลของแก๊ ส”

V = ปริ มาตร
V ∝n P = ความดั น
T = อุ ณหภู มิสมบู รณ์
V = k (ค่ าคง ) n = จ นวนโมล
n
V1 V2 Vj
n1 = n2 = nj = k (ค่ า คง )

มื่

ที่

ที่
ที่

ปริมาตรโมลาร์ (Molar Volume)


“แก๊ สใดๆ ห งโมล จะมี ปริ มาตรเท่ ากั น
ภายใต้ สภาวะ อุ ณหภู มิ และ ความดั น เดี ยวกั น”

V1 V2 Vj
=
n1 n2 = nj = k (ค่ า คง )

สภาวะ STP
ปริ มาตรโมลาร์ หมายถึ ง ปริ มาตรของแก๊ ส 1 โมล งมี ปริ มาตร 22.4132 ลิ ตร
อุ ณหภู มิเท่ ากั บ 273.15 K และ ความดั น 760 มม.ปรอท (1 atm)
นึ่
ซึ่
ที่
ที่

ที่

ที่

กฎของแก๊ สอุ ดมคติ (Ideal-gas law)

PV = nRT V = ปริ มาตร


P = ความดั น
PV
R = T = อุ ณหภู มิสมบู รณ์
nT n = จ นวนโมล

“สมการสถานะของแก๊ สในอุ ดมคติ ”

กฎของแก๊ สอุ ดมคติ (Ideal-gas law)

PV
R = V = ปริ มาตร
nT P = ความดั น
T = อุ ณหภู มิสมบู รณ์
STP: n = จ นวนโมล
P = 1 atm, T = 273K,
V = 22.4 L, n = 1 mol

PV (1 atm)(22.4 L)
R = =
nT (1 mol)(273 K)
R = 0.0821 atm L mol -1 K -1
ที่

10

กฎของแก๊ สอุ ดมคติ (Ideal-gas law)

PV
R =
nT
R = 0.0821 atm L mol -1 K -1

R = 62.36 torr L mol-1 K-1


R = 1.987 cal mol-1 K -1

V = ปริ มาตร
P = ความดั น
R = 8.314 J mol-1 K-1
T = อุ ณหภู มิสมบู รณ์
n = จ นวนโมล
R = ค่ าคง ของแก๊ ส

ที่

11

กฎความดั นย่อยของดาลตั น (Dalton’s law)


“ความดั นไอรวมของแก๊ สผสม
จะเท่ ากั บ ผลบวกความดั นย่ อยของแก๊ สแต่ ละชนิ ดในแก๊ สผสม น” 

P (ภายนอก)   =     P (ภายใน)      


Patm     =     PH2 (g)  +  PH2O (g)  +  PH2O (l)      
∴   PH2 (g)    =     Patm     -   PH2O (g)  -  PH2O (l)

PH2O (l)  =   h / 1033 มี หน่ วยเ น atm


ป็

นั้
นตอนการทดลอง
ขั้
13

อุ ปกรณ์ การทดลอง
1. เทอร์ มอมิ เตอร์
2. ขวดทดลองพร้ อมฝา มี สายยางเสี ยบอยู่
3. ส ลี
4. กระบอกตวงขนาด 10 cm3 และ 100 cm3
5. อ่ างส หรั บบรรจุ
6. ขา งพร้ อม ยึ ดอุ ปกรณ์
7. ไม้ บรรทั ด

สารเคมี ใช้
• โลหะแมกนี เซี ยม                      
• 6M HCl (hydrochloric acid)
น้

ตั้


ที่
ที่

ที่

14

วิ ธีทดลอง
1. เติ ม ลงในอ่ าง ให้ ได้ ระดั บ 3/4 ของอ่ าง
น้
น้
น้



15

วิ ธีทดลอง
2. น กระบอกตวงขนาด 100 cm3 มาเติ ม ให้ เต็ ม
   พร้ อมน ปลายสายยางใส่ เข้ าไปในกระบอกตวง

น้



16

วิ ธีทดลอง
3. ค กระบอกตวง มี อยู่ เต็ มแล้ วลงในอ่ าง
     พร้ อม งติ ด งกระบอกตวงเข้ ากั บขา ง
ว่
น้
น้

ทั้
ตั้
ที่

ตั้

17

วิ ธีทดลอง
4. ตวง 6M HCl ปริ มาตร 5 cm3 ใส่ ขวดทดลอง

18

วิ ธีทดลอง
5. ใช้ ส ลี ห่อโลหะแมกนี เซี ยม และน ไปใส่ ให้ อยู่ บริ เวณคอขวดทดลอง
พร้ อม ดฝาให้ แน่ น

*ระวั งอย่ าให้ โลหะแมกนี เซี ยมท ปกิ กิริยากั บกรด HCl

ปิ


19

วิ ธีทดลอง
6. เอี ยงขวดทดลองให้ กรด HCl ท ปฏิ กิริยากั บโลหะแมกนี เซี ยม
แก๊ ส H2 เกิ ด นในระบบจะเข้ าไปแทน ในกระบอกตวง
ปฏิ กิริยาจะเสร็ จ นเ อไม่ มีฟองแก๊ สในขวดทดลอง
ขึ้
น้
ที่
สิ้
มื่

ที่



20

วิ ธีทดลอง
7. บั นทึ กปริ มาตร ถู กแทน ด้ วยแก๊ ส H2 8. ท การทดลอง อี ก 1-2 ค ง
    บั นทึ กความสู งของ ในกระบอกตวง และ
     บั นทึ กอุ ณหภู มิของ
ซ้
น้
น้
น้



ที่


ที่
รั้

ผลการทดลอง
22

การทดลองเ องกฎของแก๊ ส
ในการทดลอง เ นการศึ กษากฎของแก๊ สเ อหาค่ า   

ปริ มาตรโมลาร์   STP  และ ค่ าคง ของแก๊ ส (R)

โดยการเตรี ยมแก๊ สไฮโดรเจนจากปฏิ กิริยาระหว่ างแมกนี เซี ยมและกรดเกลื อ


ภายใต้ สภาวะในห้ องปฏิ บัติการ  

ปฏิ กิริยา เกิ ด นเ นดั งสมการ

Mg   +   2HCl             ⟶               MgCl2   +   H2  


ขึ้
ที่
นี้
รื่
ที่
ป็
ป็

ที่
พื่


23

ผลการทดลอง
ปริ มาตร ถู กแทน ด้ วยแก๊ ส H2 → ปริ มาตรแก๊ ส H2
ความสู งของ ในกระบอกตวง → PH2O (l)  =   h / 1033 atm

อุ ณหภู มิของ → PH2O (g) จากตาราง 10.1  


น้
น้
น้

ที่


ที่
24

รายงานการทดลอง เ องกฎของแก๊ ส

ผลการทดลอง ค ง 1 ค ง 2

1.  หนั กแมกนี เซี ยม (กรั ม) จากซองกระดาษ

2.  ปริ มาตร ถู กแทน ด้ วยแก๊ ส H2 (ลิ ตร)

3.  อุ ณหภู มิของ (K) จากผลการทดลอง

4.  ความสู งของ ในกระบอกตวง, h (cm)

5.  ความดั นของ ในกระบอกตวง (atm) ค นวณจาก h ในข้ อ 4.*

6.  ความดั นไอ มตั ว อุ ณหภู มิการทดลอง (atm) ตาราง 10.1

7.  ความดั นบรรยากาศ (atm) 1 atm 1 atm

*ดู ตัวอย่ างการค นวณในหน้ าถั ดไป


น้
น้
น้
น้
น้
น้

รั้
รั้
ที่
ที่


ที่





อิ่

ที่
ที่
รื่
25

ความดั นของ ในกระบอกตวง (atm)

จาก PH2O (l)  =   h / 1033 atm

สมมติ ว่า h = 20 cm
ดั ง น
PH2O (l)  =   20 / 1033 atm
h
PH2O (l)  =   0.019 atm
น้
นั้

26

ตาราง 10.1  ความดั นไอ มตั ว อุ ณหภู มิต่างๆ


อุ ณหภู มิ ความดั น อุ ณหภู มิ ความดั น อุ ณหภู มิ ความดั น
(ºC) (มม.ปรอท) (ºC) (มม.ปรอท) (ºC) (มม.ปรอท)

26 25.2 30 31.8 34 39.9


27 26.7 31 33.7 35 42.2
28 28.3 32 35.7 36 44.6
29 30.0 33 37.7 37 47.1

สมมติ ว่าวั ดอุ ณหภู มิของ ได้ เ น 27 ˚C


ดั ง น ความดั นไอ มตั ว = 26.7 mmHg
= 26.7 mmHg
760 mmHg/atm
PH2O (g) = 0.035 atm
น้
น้
น้
นั้


อิ่

ป็

อิ่

ที่

27

สมการแสดงการเตรียมแก๊ สไฮโดรเจน  ......................................................................................................


งตั วเลข
แสดงวิ ธีค นวณ ค ง 1 ค ง 2
การทดลองค ง 1

1.  ความดั นของแก๊ สไฮโดรเจน (atm) PH2 (g)   =     Patm     -   PH2O (g)  -  PH2O (l)

2.  จ นวนโมลของแมกนี เซี ยม (โมล)


โมล = มวล / มวลอะตอม
     มวลอะตอม Mg  =  24.31 g/mol
3.  จ นวนโมลของแก๊ สไฮโดรเจน
      (โมล) ดู สมการเคมี **

4.  ปริ มาตรของแก๊ สไฮโดรเจน


     อุ ณหภู มิห้อง  (ลิ ตร) ดู ผลการทดลอง

**ดู ตัวอย่ างการค นวณในหน้ าถั ดไป


ตั้
รั้
รั้


ที่
ที่


รั้
ที่

ที่

28

จ นวนโมลของแมกนี เซียม และ แก๊ ส H2


ในการทดลองแก๊ ส H2 จะเกิ ด นตามปริ มาณ Mg ใช้

Mg   +   2HCl             ⟶               MgCl2   +   H2  

เช่ น ถ้ าใช้ Mg มวล 0.030 g

(0.030 g)
จะได้ ว่า mol Mg = = 1.23 × 10-3 โมล
(24.30 g/mol)

mol H2 mol Mg
จากสมการเคมี จะได้ ความสั มพั นธ์ =
1 1
∴ จ นวนโมลของแก๊ ส H2 คื อ 1.23 × 10-3 โมล
ขึ้


ที่

29

งตั วเลข
แสดงวิ ธีค นวณ ค ง 1 ค ง 2
การทดลองค ง 1
5.  ปริ มาตรของแก๊ สไฮโดรเจน STP
ค นวณจากกฎของแก๊ ส เ อมโยง “สภาวะ”
(ลิ ตร)  (ค นวณจากข้ อ 4)
6. ปริ มาตรโมลาร์ STP เที ยบว่ าแก๊ ส H2 ปริ มาณ 1 โมล
จากผลการทดลอง (ลิ ตร) มี ปริ มาตรเท่ าไหร่ ?
7.  ปริ มาตรโมลาร์   (เฉ ย)
      (ลิ ตร)

8.  ความผิ ดพลาดสั มพั ทธ์ ค่ าทดลอง - ค่ าจริ ง × 100


      (%)
ค่ าจริ ง
ตั้

รั้
รั้
ที่
ที่



รั้
ที่
ที่

ลี่
ที่

ชื่

ที่


30

งตั วเลข
แสดงวิ ธีค นวณ ค ง 1 ค ง 2
การทดลองค ง 1
9.  R
ค นวณจากกฎของแก๊ ส มี ค่า R ***
      (L atm mol–1K–1)
10.  R (เฉ ย)
        (L atm mol–1K–1)

11.  ความผิ ดพลาดสั มพั ทธ์ ค่ าทดลอง - ค่ าจริ ง × 100


      (%)
ค่ าจริ ง

***ดู ตัวอย่ างการค นวณในหน้ าถั ดไป


ตั้

รั้
รั้
ที่
ที่

ลี่

รั้
ที่


ที่

31
ตั วเลขสมมติ

ตั วอย่ างการหาค่าคง ของแก๊ ส, R


PV
R =
nT
n = 1.23 × 10-3 โมล

สภาวะทดลอง:
T = 300 K (0.965 atm)(0.030 L)
R = = 0.078 atm L mol-1 K-1
P = 0.965 atm (1.23 × 10-3 mol)(300 K)
V = 0.030 L
ที่

ที่
32
ตั วเลขสมมติ

ตั วอย่ างการหาค่าคง ของแก๊ ส, R


PV
R =
nT
n = 1.23 × 10-3 โมล

สภาวะ STP:
T = 273 K (1 atm)(0.0263 L)
R = = 0.078 atm L mol-1 K-1
P = 1 atm (1.23 × 10-3 mol)(273 K)
V = 0.0263 L

V = 21.38 L (1 atm)(21.38 L)
R = = 0.078 atm L mol-1 K-1
(1 mol)(273 K)
ที่

ที่
33

ค ถาม
1.   จงหา หนั กของแก๊ สต่ อไป มี ปริ มาตร 1 ลิ ตร สภาวะมาตรฐาน
      (ใช้ มวลอะตอมและปริ มาตรโมลาร์ ในการค นวณเท่ า น)
       1.1  หนั กแก๊ ส  Br2     =  ……………………………….……. = ………………….. กรั ม
       1.2  หนั กแก๊ ส  O2      =  ……………………………….……. = ………………….. กรั ม
       1.3  หนั กแก๊ ส  CO2   =  ………………………………….…. = ………………….. กรั ม
                                                       ( งตั วเลขแสดงวิ ธีค นวณ)              (ผลลั พธ์ )
น้
น้
น้
น้





นี้
ที่
ตั้

ที่

นั้

34

ค ถาม
2.  10 กรั ม ระเหยกลายเ นไอได้ อุ ณหภู มิ  100 ℃  และความดั น  700  มม. ปรอท 
จงหา
2.1  จ นวนโมลของ  

2.2  ปริ มาตรของไอ  (ลิ ตร)


น้
น้
น้





ป็

ที่

© 2022 ปฏิ บัติการเคมี
ภาควิ ชาเคมี คณะวิ ทยาศาสตร์ มหาวิ ทยาลั ยเกษตรศาสตร์

You might also like