You are on page 1of 24

แบบขออนุญาตก่อสร้าง

บ้านพักอาศัย คสล. 1 ชั้น พื้นที่ใช้สอย 48 ตร.ม


เจ้าของ
..............................................................
สถานที่ก่อสร้าง
...................................................................................
รายการประกอบแบบ ( GENERAL NOTES )
งานทาสี สารบัญแบบ
วัตถุประสงค์ งานก่อสร้างกำหนดให้ผู้รับจ้างดำเนินการดังนี้ - ให้ใช้สีตามมาตรฐานทั่วไป ทั้งสีจริงและสีรองพื้น
งานโครงสร้างหลักเป็น คสล. ตามที่ระบุในแบบ หากมีข้อสงสัยให้สอบถามวิศวกร ลำดับ รายการ เลขแผ่น
- การทาสีให้ทาสีรองพื้นก่อน 1 ครั้ง ทาสีผิว 3 ครั้ง
งานระบบไฟฟ้าให้ปฏิบัติตามข้อบังคับของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค และมาตรฐานที่กำหนดในแบบ แบบสถาปัตยกรรม
- สีและเบอร์สีกำหนดภายหลัง ( ตามเจ้าของบ้าน ) 1 รายการประกอบแบบ,สารบัญแบบ A-01
งานขุด ถม บดอัด และปรับระดับ - ส่วนที่เป็นไม้ ใช้สีน้ำมัน, ส่วนที่เป็นเหล็กจะต้องทาสีกันสนิมรองพื้นก่อนทาสีจริง 2 สัญลักษณ์ประกอบแบบ A-02
งานในหมวดนี้ต้องทำด้วยความปราณีต ก่อนลงมือต้องตรวจระดับและรูปแบบให้ถูกต้องตามแบบ และไม่ - ส่วนของโครงสร้างที่ปรากฏเป็นไม้ถ้าไม่มีการทาสีน้ำมันทับ ให้ทาด้วยน้ำยากันปลวกเสียก่อน 3 ผังแสดงแนวรั้วชั่วคราว A-03
ก่อความเสียหายในงานก่อสร้าง สิ่งปลูกสร้างใดๆทั้งภายในและภายนอกโครงการ ต้องมีการเตรียมการ - พื้นผิวภายใน ใช้สีน้ำพลาสติกสำหรับทาภายใน 4 A-04
แปลนพื้น , แปลนหลังคา
ป้องกันความเสียหาย - พื้นผิวภายนอก ใช้สีน้ำพลาสติกสำหรับทาภายนอก 5 รูปด้าน 1 , รูปด้าน 2 A-05
ให้ถือเอาระดับ CL. ของถนนในโครงการ เป็น Elev. + 0.000 ระบบไฟฟ้า 6 รูปด้าน 3 , รูปด้าน 4 A-06
งานวางผัง 1. เดินระบบไฟฟ้าแบบร้อยท่อฝังผนังโดยเดินระบบ Ground 7 รูปตัด A - A , รูปตัด B - B A-07
การดำเนินการวางผังให้ตรงกับแบบ และมีการตรวจสอบตามหลักวิชาการเพื่อป้องกันการหนีศูนย์ของ และใช้ท่อร้อยสายไฟฟ้าสีเหลืองหรือสีเทาตาม Spec ของการไฟฟ้า หลอดไฟฟ้าและอุปกรณ์ 8 แบบขยายประตู , แบบขยายหน้าต่าง A-08
งานโครงสร้าง และระยะต่างๆในงาน หลอดยี่ห้อฟิลลิปส์ หรือเทียบเท่า 9 มาตราฐานการติดตั้งสุขภัณฑ์ - อุปกรณ์ทั่วไป A-09
งานแบบหล่อ 2. ในกรณีของมิเตอร์ 15(47) 1เฟส เดินร้อยท่อฝังผนัง สายเมนเดินร้อยท่อฝังดิน ใช้สายไฟฟ้า NYY 16 ทองแดง 10 แบบขยายห้องน้ำ A-10
งานแบบหล่อต้องเป็นไปตามแบบ ไม้แบบที่ใช้แบบหล่อโครงสร้างทั้งหมด ให้ใช้ไม้กระดานหรือไม้อัด, และทิ้งสายไฟไว้ที่หัวงูเห่าเท่านั้น
หรือจะใช้แบบเหล็กก็ได้ แต่ต้องหาวิธีฉาบปูน ให้ปูนฉาบเกาะยึดได้สนิท ไม่หลุดกร่อน 3. กรณีของมิเตอร์ 30(100) 1เฟส เดินร้อยท่อฝังผนัง สายเมนเดินร้อยท่อฝังดิน ใช้สายไฟฟ้า NYY 35 ทองแดง แบบโครงสร้างวิศวกรรม
ระยะเวลาในการถอดแบบโครงสร้าง ให้เป็นไปตามข้อกำหนดของ ว.ส.ท. และทิ้งสายไฟไว้ที่หัวงูเห่าเท่านั้น 11 รายการประกอบแบบวิศวกรรม S-01
4. สายโทรทัศน์ใช้สาย RG6 เท่านั้น 12 รายการประกอบแบบวิศวกรรม S-02
การถอดแบบหล่อด้านข้างของคาน,เสา,พื้น,กำแพง อายุคอนกรีตอย่างน้อย 2 วัน, การถอดแบบหล่อท้องพื้น
5. ลักษณะของการเดินสายไฟฟ้าร้อยท่อเหนือฝ้าต้องเดินแนบท้องพื้นหรือข้างคาน 13 แปลนฐานราก , แปลนคานและพื้น S-03
อายุคอนกรีตอย่างน้อย 14 วัน ,ถอดแบบท้องคานอายุคอนกรีตอย่างน้อย 21 วัน โดยใช้ Camp รัดในลักษณะที่เรียบร้อย 14 แปลนคานอะเส , แปลนโครงหลังคา S-04
งานคอนกรีตเสริมเหล็ก ระบบประปา 15 แบบมาตราฐานการเสริมเหล็กคาน S-05
1. ระบบประปาใช้ท่อของยี่ห้อ ท่อน้ำไทยหรือตราช้าง หรือ Poly ข้อต่อข้องอใช้ของท่อน้ำไทย 16 แบบขยายฐานราก , เสา , คาน ,พื้น คสล. S-06
งานเหล็กเสริม
2. น้ำยาประสานท่อใช้ของท่อน้ำไทย
เหล็กเส้นกลมธรรมดา ให้ใช้เหล็กที่มาตรฐานตาม SR24 3. ท่อเมนประปาใช้ Class13.5 ขนาด 3/4" แบบไฟฟ้า
เหล็กเส้นข้ออ้อย 12 - 28 mm ให้ใช้เหล็กที่มาตรฐานตาม SD30 4. ท่อประปาทั่วไปใช้ Class 13.5 ขนาด 1/2" 17 มาตรฐานและกฎข้อบังคับงานไฟฟ้า E-01
การต่อเหล็กเสริมเมนล่าง ตรงกลางพื้น,คาน ห้ามต่อ(ถ้าต่อต้องเชื่อม) เหล็กบนต่อได้ตามข้อกำหนดของ 5. ท่อน้ำทิ้ง Flow Drain ใช้ Class 5.5 ขนาด 2" ลาดเอียง 1:1000 ปลายท่อลงบ่อพัก 18 แปลนงานระบบไฟฟ้า E-02
6. ท่อส้วมใช้ Class 5.5 ขนาด 4" ลาดเอียง 1:1000
ว.ส.ท. ส่วนบริเวณคอม้าและหัวเสาเหล็กบนห้ามต่อ (ถ้าต่อต้องเชื่อม) ส่วนเหล็กเสริมล่างต่อได้ตาม ว.ส.ท. 7. ท่อระบายอากาศใช้ท่อ Class 5.5 ขนาด 1" ติดโดยใช้ Camp รัดไว้กับผนังรั้วด้านหลังบ้าน
งานคอนกรีต 8. ท่อระบายระหว่างบ่อพักให้ใช้ท่อใยหินขนาด 6" แบบสุขาภิบาล
คอนกรีตทั่วไปให้ใช้ 1 : 2 : 4 คอนกรีตหยาบให้ใช้ 1 : 3 : 5 9. ข้อต่อที่จะต่อเข้ากับก๊อกน้ำให้ใช้ข้อต่อเหล็ก หรือข้อต่อพีวีซีชนิดเกลียวในเป็นทองเหลืองฝังเตรียมไว้ในผนัง 19 รายการประกอบสัญลักษณ์สุขาภิบาล SN-01
10. กรณีติดตั้งถังเก็บน้ำใต้ดินให้ดูแบบที่แนบมาด้วย ใช้สำหรับการทำฐานรองรับถังและคอนกรีตรัดฝาถัง 20 รายการประกอบสัญลักษณ์สุขาภิบาล SN-02
ซีเมนต์สำหรับโครงสร้าง ให้ใช้ซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ประเภท 1 เช่นปูนซีเมนต์ตราช้าง หรือเทียบเท่า
11. กรณีติดตั้งถังเก็บน้ำใต้ดินจะต้องทำการติดตั้งปั๊มน้ำให้ใช้ได้ทั้ง 2 ระบบ โดยดูแบบที่แนบมาด้วย 21 รายการประกอบสัญลักษณ์สุขาภิบาล SN-03
คอนกรีตผสมเสร็จ (ASTM C 94) ส่วนผสมตามที่กำหนด แรงอัดประลัยต่ำสุดของลูกบาศก์ 15x15x15 cm 22 แปลนประปาและสุขาภิบาล SN-04
= 210 ksc ( ส่วนเสาต้อง 240 ksc ) ที่ 28 วัน ก่อนการเท ต้องมีการตรวจสอบ แบบหล่อ,เหล็กเสริม 12. ก๊อกน้ำสนามใช้ของยี่ห้อ Sanwa หรือเทียบเท่า ชนิดเสียบสายยางเท่านั้น
23 แบบขยายบ่อเกรอะ - บ่อซึม SN-05
และสิ่งที่ฝังในคอนกรีต 13. สำหรับท่อที่เดินใต้ฝ้าต้องทำการรัดและแขวนด้วย Hanger ปรับระดับโดยตัวแรกห่างจากข้อต่อ
0.30 เมตร ตัวต่อไปให้ห่าง 1.5 เมตร
การเทคอนกรีต ถ้ามีการเทคอนกรีตในแต่ละวัน ต้องหยุดที่แนวกึ่งกลางคานและพื้น หยุดในแนวดิ่ง
14. ต้องมีการทดสอบรอยต่อของท่อ โดยใช้การอัดความดัน 100 psi ในระยะเวลา 1 ชั่วโมง
ห้ามให้คอนกรีตลาด และก่อนเทครั้งต่อไปต้องราดน้ำปูน และทำความสะอาดแบบทุกครั้ง ขณะเทคอนกรีต หมวดงานฉาบ
ต้องมีการจี้คอนกรีตตลอดทุก 0.47 - 0.75 m 1. ก่อนทำการฉาบต้องทำการจับเฟี้ยมในลักษณะดิ่งและฉากที่ถูกต้อง
ลูกปูนหนุน คสล. ใต้ดินให้ใช้ขนาด 4 - 5 cm และส่วนที่หนุน คสล. เหนือดินให้ใช้ขนาด 2 - 2.5 cm
รายละเอียดพื้น บริเวณติดตั้ง
2. ให้ติดตะแกรงลวดที่มุมวงกบและมุมประตูทุกวง โดยใช้ตะแกรงลวดขนาด 0.03x0.30 เมตร 1 พื้น คสล. วัสดุผิวพื้นปูกระเบื้องแกรนิตโต้ขนาด 24"x24" โถงนั่งเล่น , ห้องนอน
งานฐานราก 3. ในกรณีเดินท่อฝังผนังให้ทำการอุดช่วงที่สกัดหลังฝังท่อในผนังให้เต็มก่อน
ฐานรากทุกหลุมเป็นฐานราก คสล.รายละเอียดและขนาดดูตามแบบขยายฐานรากในแบบวิศวกรรมโครงสร้าง 2 พื้น คสล. วัสดุผิวพื้นปูกระเบื้องเซรามิค 12"x12" ชนิดกันลื่น ห้องน้ำ
แล้วติดตะแกรงลวดขนาด 0.15 เมตร ตลอดความยาวท่อ
พื้นอาคาร 3 พื้น คสล. วัสดุผิวพื้นปูกระเบื้องแกรนิตโต้ขนาด 24"x24" ชนิดกันลื่น เฉลียง
4. ทำการติดปุ่มที่ผนังกรณีสามเหลี่ยมไปไม่ถึง
- ตามกำหนดในแบบแปลนชั้นต่างๆ และตามสัญลักษณ์ที่กำหนด 5. กรณีเป็นวงกบพีวีซีต้องหุ้มด้วยกระดาษกาวหนังไก่ ที่ขอบวงกบก่อนทำการฉาบทุกวง
- พื้นห้องน้ำ และส่วนงานคอนกรีตในภายนอกต้องมีการผสมน้ำยากันซึม งานโครงสร้าง รายละเอียดผนัง บริเวณติดตั้ง
การยึดระหว่างกำแพงและเสา คสล. 1. งานโครงสร้างปูนซีเมนต์สำเร็จรูปใช้ปูน C-pac หรือเทียบเท่า แต่ต้องมีผลการ Test คอนกรีตด้วย ผนังก่ออิฐบล็อค ฉาบปูนเรียบ ทาสี ขนาดความหนาของผนังตามสัญลักษณ์แปลนพื้น ผนังทั่วไป
ผนังก่ออิฐส่วนที่ติดเสา,วงกบ,ช่วงแขวนกลางกำแพงระหว่างเสาต้องมีเอ็น คสล. ความหนาเท่ากับอิฐก่อทุกแห่ง 1.1 งานคานคอดิน คานชั้น2 คานหลังคา เสา พื้นห้องน้ำใช้ Strength 240 ksc. ขึ้นไป ผนัง กรุกระเบื้องขนาด 20x30 ซม. ( ความสูงดูในแบบขยายห้องน้ำ ) ผนังห้องน้ำ
และในกำแพงที่มีความสูง 2.00 เมตร ต้องมีทับหลัง คสล. เป็นระยะไม่เกิน 2.00 เมตร โดยต้องทำการแจ้งวิศวกร ผู้ควบคุมงานก่อนการจองคอนกรีตทุกครั้ง ผนังก่ออิฐบล็อค ฉาบปูนเรียบ กรุกระเบื้องลายหิน ผนังตกแต่ง
งานผนังอาคาร 1.2งานพื้นสำเร็จรูปใช้ Strength 210 ksc.
ผนังก่ออิฐบล็อค ฉาบปูนเซาะร่อง PVC กว้าง 1 cm.@0.30 cm. ผนังตกแต่ง
ผนังอาคารโดยรอบส่วนใหญ่ใช้อิฐมอญฉาบเรียบทาสี และเป็นไปตามสัญลักษณ์แบบ - ห้ามใช้คอนกรีตผสมเอง กรณีงานคอนกรีตตั้งแต่ 2 cu. ขึ้นไป
- กรณีเทคอนกรีตในปริมาณน้อยกว่า 2 cu. และจำเป็นที่ต้องผสมเทเองให้ใช้ปูนถุงตราช้าง หรือเทียบเท่า
ปูนสำหรับก่อ,ฉาบ ให้ใช้ซิลิก้าซีเมนต์ เช่น ปูนตราเสือ,หรือตรานกอินทรีย์ หรือเทียบเท่า
ตราเพชรเท่านั้น โดยใช้อัตราส่วนผสมที่วิศวกรกำหนด รายการฝ้าเพดาน บริเวณติดตั้ง
งานโครงหลังคาเหล็ก
งานโครงหลังคาเหล็กรูปพรรณตามแบบ งานติดตั้งและกรณีการเกิดปัญหาให้ปรึกษาวิศวกรที่ควบคุม
2. งานก่ออิฐฉาบปูนใช้ปูนซีเมนต์ ปูนตราเสือ หรือเทียบเท่า ผสมน้ำยาปูนฉาบ เทTopping ผิวหน้าพื้นชั้น1 1 ฝ้าเพดานยิบซั่มบอร์ดหนา 9 มม. ฉาบเรียบ โครงเคร่าเหล็กชุบสังกะสี ทาสีพลาสติก โถงนั่งเล่น , ห้องนอน
ใช้คอนกรีตสำเร็จรูป C-pac หรือเทียบเท่าปูนซีเมนต์ปอตแลนด์ประเภทที่1 ปูนตราช้าง หรือเทียบเท่าสำหรับงานโครงสร้าง 2 ฝ้าเพดานยิบซั่มบอร์ดหนา 9 มม. ฉาบเรียบ โครงเคร่าเหล็กชุบสังกะสี ชนิดกันชื้น ทาสีพลาสติก ห้องน้ำ ,เฉลียง
- การเชื่อมเหล็กให้ยึดตามมาตรฐานวิศวกรรม
3. เหล็กให้ใช้เหล็กเส้น บลส. หรือ BSI เท่านั้น หรือเทียบเท่าแต่ต้องมีผลการ Test รับรองด้วยทุกครั้ง 3 ฝ้าเพดานสมาร์ทบอร์ด ขอบเรียบ มีช่องระบายอากาศ ทาสีพลาสติก ชายคา
- ก่อนการติดตั้งโครงหลังคาต้องทาสีกันสนิมให้ทั่วผิวเหล็ก และทาอีกรอบตรงรอยเชื่อมต่อ
4. เหล็กรูปพรรณที่จะนำมาทำโครงหลังคาต้องแจ้งวิศวกรผู้ควบคุมงานตรวจสอบก่อนทำการพ่นสีหรือทาสีกันสนิม
งานสุขภัณฑ์
5. สำหรับเสาต้องทำการบ่มด้วยการใช้พลาสติกพันโดยรอบ หรือใช้น้ำยาบ่มคอนกรีต
- สุขภัณฑ์ให้ใช้ของ AMERICAN STANDARD หรือเทียบเท่า สีตามเจ้าของบ้าน (ระบุในแบบขยายห้องน้ำ)
6. งานเทพื้น สำเร็จรูปต้องทำการเชื่อมกลาง และร้อยเหล็กในลักษณะที่ถูกต้อง แข็งแรงโดยการเชื่อม
งานประปา - สุขาภิบาล 7. ทำการวาง SLEEV ท่อในตำแหน่งที่ถูกต้องตามแบบ หรือตามรายการแก้ไขใหม่
- การเดินท่อประปา ให้ผู้รับเหมาดำเนินตามแบบสุขาภิบาล
- การเดินท่อประปา เดินรอบอาคารใช้ท่อ PVC เส้นผ่านศูนย์กลาง 1 นิ้ว ต่อเข้าสุขภัณฑ์ใช้ท่อ PVC
เส้นผ่านศูนย์กลาง 1/2 นิ้ว ฝังในผนัง

สัญลักษณ์ประกอบแบบ
รายการประกอบแบบ
บ้านพักอาศัย คสล 1.ชั้น 01/23
A-01
ให้ใช้ค่าตัวเลขที่กำหนดไว้เท่านั้น ห้ามวัดจากแบบ 23
สัญลักษณ์ประกอบแบบสถาปัตยกรรม สัญลักษณ์ประกอบแบบไฟฟ้า สัญลักษณ์ประกอบแบบสุขาภิบาล
สัญลักษณ์ ความหมาย สัญลักษณ์ ความหมาย สัญลักษณ์ ความหมาย
แสดงทิศเหนือ TELEPHONE OUT LET WASTE OR RAIN LEADER
เหนือ
TV. OUT LET SOIL LEADER
1 = แบบรูปด้าน 0.30 DOUBLE RECEPTACLE OUTLET DISTANCE COLD WATER
0.30=
A -01 = แผ่นที่รูปด้านปรากฏ 0.30 SINGLE RECEPTACLE OUTLET FROM FLOOR HOT WATER SUPPLY
HOT WATER RETURN
EMERGENCY LIGHT VENT LINE
A= แบบรูปตัด END OF LINE RESISTANE ELBOW TURNED DOWN
A
A-01 A-01 = แผ่นที่รูปตัดปรากฎ HEAT DETECTOR CONNECTION , TCP
A-01 = แผ่นที่รูปตัดปรากฎ SMOKE DETECTOR CONNECTION , BOTTOM
A A= แบบขยาย BELL ELBOW 90'
A-01
MANUAL STATION ELBOW 40'
แนวเสาอาคาร DOMN LIGHT IN WALL TEE
ระยะศูนย์กลาง ถึง ศูนย์กลาง DOWN LIGHT 1 x 60 W LATERAL
ระยะศูนย์กลาง ถึง ริม 6 LAMPS x 60 W. FLOOR DRAIN
ระยะริม ถึง ริม FLUORESCENT 3 x 36 W. ACP ON END OF PIPE
FLUORESCENT 2 x 36 W. AIR CHAMBER
แนวเขตที่ดินแสดงหมุดที่ดินของสิ่งปลูกสร้าง FLUORESCENT 1 x 36 W. AIR VENT.CAP
บอกขนาดมุม CONSUMER UNIT AIR VENT.CAP TOP
MDB GATE VALVE
บอกรัศมีความโค้ง LOAD CENTER ( APX , LPX ) ( X = 1,2,3,4) CHECK VALVE
SWITCH OVERLOW DRAIN
SWITCH TWO WAY FLOOR DRAIN , ISOMETRIC
บอกทิศทางการเคลื่อนที่ขณะใช้งาน FAN COIL WATER CLOSET , ISOMETRIC
บอกทิศทางพื้นลาด AIR CONDENSING FLOOR CLEAN OUT , ISOMETRIC
AMP FRAME CLEANOUT PLUG , ISOMETRIC
บอกทิศทางพื้นลาด AMP TRIP STRAINER
±0.00 ระดับอ้างอิง FIRE ALARM CONTROL PANAL FLEXIBLE CONNECTOR
ผนังก่ออิฐมอญเต็มแผ่น ฉาบปูนเรียบ MAIN DISTRIBUTION BOARD TELEPHONE OUT LET
ผนังก่ออิฐมอญครึ่งแผ่น ฉาบปูนเรียบ MAIN DISTRIBUTION FRAME ROOF DRAIN
ผนังก่ออิฐบล็อคหนา 0.10 ม. ฉาบปูนเรียบ PRIVATE AUTOMATIC BRANCH EXCHANGE
ผนังเบาชนิดต่างๆ TELEPHON BOX WATER CLOSET , FLUSH TANK
ผนังเบาภายในบรรจุวัสดุฉนวน TELEPHON OUT LET
ผนัง GLASS BOX FROM MEA WATER CLPSET , FLUSH VALVE
ผนัง คอนกรีตเสริมเหล็ก CURRENT TRANSFORMER
พรม MOLD CASE CIRCUIT BRAKER BIDET
หน้าตัดไม้ VOLTAGE TRANSFORMER
หน้าตัดไม้อัด INDICATOR LAMP URINAL
หิน AMP , METER
ประตู VOLT METER LAVATORY
หน้าต่าง AMPMETER SELECTOR SWITH
ผนัง VOLTMETER SELECTOR SWITH BATH TUB
1 พื้น LIGHTING PANEL POWER HEAD
1 ฝ้าเพดาน POWER BOARD METER

สัญลักษณ์ประกอบแบบ

บ้านพักอาศัย คสล 1.ชั้น 02/23


A-02
ให้ใช้ค่าตัวเลขที่กำหนดไว้เท่านั้น ห้ามวัดจากแบบ 23
แนวรั้วชั่วคราว สูง 2.20 ม. เสาไม้ยูคา Ø 3" x2.00 ม. @0.20 ม.
แนวเขตที่ดิน
ระดับดิน

แนวรั้วชั่วคราว สูง 2.20 ม.

ผังแสดงแนวรั้วชั่วคราวและแนวป้องกันวัสดุรอบอาคาร แบบแสดงวิธีการป้องกันอาคารข้างเคียงในขณะก่อสร้าง

เหล็ก Ø 1"
ผ้าใบกันเศษวัสดุตกหล่น ทุกด้าน

อาคารที่จะก่อสร้าง โครงเหล็กขึงผ้าใบ
เหล็ก Ø 1-1/2" เขตข้างเคียง
1

ระยะตัวอาคาร

มาตราการป้องกันความเดือดร้อน รำคาญ กับอาคารใกล้เคียง และความปลอดภัยในการก่อสร้าง


- จัดให้มีรั้วชั่วคราว สูงไม่น้อยกว่า 2.00 ม. ปิดกั้นตามแนวเขตที่ดินตลอดแนว
- จัดให้มีนั่งร้าน ขึงผ้าใบหรือวัสดที่คล้ายกัน โดยรอบอาคาร ความสูงนั้นจะต้องสูงเท่ากับความสูงของอาคารขณะทำการก่อสร้าง
- จัดให้มีปล่องชั้วคราวสำหรับทิ้งของ และป้องกันฝุ่นละออง อันเกิดจากการก่อสร้าง
- การทิ้งของ นั่งร้าน รวมทั้งผ้าใบ หรือวัสดุที่ป้องกันวัสดุหล่นล้ำที่ข้างเคียง หรือต่างเจ้าของไม่ได้ เว้นแต่จะได้รับอนุญาตเป็นหนังสือ
- การก่อสร้างจะไม่ทำให้เกิดเสียงดังเกิน 75 เดซิเบล (เอ) ในระหว่าง 30 ม.
- ไม่ทำการก่อสร้างซึ่งทำให้เกิดเสียงดัง และแสงรบกวนอาคารข้างเคียง ระหว่างเวลา 22.00 น. ถึง 8.00 น.
รูปด้านหน้า รูปด้านข้าง - นั่งร้านจะต้องเป็นไปตามข้อ 33 ของกฏกระทรวง ฉบับที่ 4 (2536)ออกตามใน พ.ร.บ. ควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 และตาม
ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่องความปลอดภัยในการก่อสร้าง ว่าด้วย นั่งร้าน ฉบับลงวันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2525
- ใช้ผ้าใบ ผ้ากระสอบ หรือวัสดุอย่างอื่นที่คล้ายกัน รอบบริเวณ มีความสูงไม่น้อยกว่า 14.00 ม. หรือ 2 ใน 3 ของความสูงของปั้นจั่น
ตอกเข็ม หรือเจาะดิน
- ไม่ติดตั้งกองเครื่องมือ เครื่องใช้ วัสดุก่อสร้าง หรือชิ้นส่วนโครงสร้าง ในที่สาธารณะ
- งานฐานราก ในการทำการก่อสร้างระดับฐานราก ด้านชิดเขตที่ดินคนอื่น ให้ทำกำแพงกันดินเพื่อป้องกันการสั่นสะเทือนและเลื่อนไหลของดิน

แปลน
ผังแสดงแนวรั้วชั่วคราว

บ้านพักอาศัย คสล 1.ชั้น 03/23


A-03
ให้ใช้ค่าตัวเลขที่กำหนดไว้เท่านั้น ห้ามวัดจากแบบ 23
B
B A-07
A-07

ห้องน้ำ
2 +0.40 2

โถงนั่งเล่น
1 +0.50 1

A A A A
A-07 A-07 A-07 A-07
ห้องนอน
1 +0.50 1
เฉลียง
3 +0.40 3

B
B A-07
A-07

แปลนพื้น แปลนหลังคา
SCALE 1:75 SCALE 1:75

แปลนพื้น 1:75
แปลนหลังคา
บ้านพักอาศัย คสล 1.ชั้น 04/23
A-04
ให้ใช้ค่าตัวเลขที่กำหนดไว้เท่านั้น ห้ามวัดจากแบบ 23
รูปด้าน 1 รูปด้าน 2
SCALE 1:75 SCALE 1:75

รูปด้าน 1 1:75
รูปด้าน 2
บ้านพักอาศัย คสล 1.ชั้น 05/23
A-05
ให้ใช้ค่าตัวเลขที่กำหนดไว้เท่านั้น ห้ามวัดจากแบบ 23
รูปด้าน 3 รูปด้าน 4
SCALE 1:75 SCALE 1:75

รูปด้าน 3 1:75
รูปด้าน 4
บ้านพักอาศัย คสล 1.ชั้น 06/23
A-06
ให้ใช้ค่าตัวเลขที่กำหนดไว้เท่านั้น ห้ามวัดจากแบบ 23
+ 4.65 ระดับหลังทับหลังผนัง ระดับหลังทับหลังผนัง + 4.65

+ 3.60 ระดับหลังอะเส ระดับหลังอะเส + 3.60

ห้องนอน โถงนั่งเล่น ห้องน้ำ ห้องนอน


+ 0.50 ระดับพื้นภายใน 1 +0.50 1 1 +0.50 1
2 +0.40 2
1 +0.50 1
ระดับพื้นภายใน + 0.50
± 0.00 ระดับดินเดิม หรือดินถม ระดับดินเดิม หรือดินถม ± 0.00

รูปตัด A - A รูปตัด B - B
SCALE 1:75 SCALE 1:75

รูปตัด A - A 1:75
รูปตัด B - B
บ้านพักอาศัย คสล 1.ชั้น 07/23
A-07
ให้ใช้ค่าตัวเลขที่กำหนดไว้เท่านั้น ห้ามวัดจากแบบ 23
รายการประกอบแบบ ประตู และหน้าต่าง
สัญลักษณ์ ลักษณะบาน วงกบ กรอบบาน, บาน ลูกฟัก ลูกบิด, กุญแจ อุปกรณ์ ตำแหน่งติดตั้ง หมายเหตุ
ประตูบานเลื่อนสลับ 3 บาน อลูมิเนียม สีชา อลูมิเนียม สีชา กระจกใสเขียว หนา 5 มม. มือจับสแตนเลส , กุญแจล็อคฝังในกรอบบาน อุปกรณ์บานเลื่อนครบชุด มาตราฐานผู้ผลิต โถงนั่งเล่น
ประตูบานเปิดเดี่ยว ไม้เนื้อแข็ง 2" x 4" ทาสีน้ำมัน ไม้เนื้อแข็ง 1-1/2" ทาสีน้ำมัน ลูกฟักไม้เนื้อแข็ง ลูกบิด แสตนเลส ชนิดหัวกลมพร้อมกุญแจ อุปกรณ์บานเปิดครบชุด มาตราฐานผู้ผลิต ห้องนอน
ประตูบานเปิดเดี่ยว PVC PVC เกล็ดระบายอากาศ ลูกบิด แสตนเลส ชนิดหัวกลมพร้อมกุญแจ อุปกรณ์บานเปิดครบชุด มาตราฐานผู้ผลิต ห้องน้ำ
หน้าต่างบานติดตาย 3 บาน อลูมิเนียม สีชา - กระจกใสเขียว หนา 5 มม. - อุปกรณ์บานติดตายครบชุด มาตราฐานผู้ผลิต ห้องนอน
หน้าต่างบานเลื่อนสลับ 2 บาน อลูมิเนียม สีชา อลูมิเนียม สีชา กระจกใสเขียว หนา 5 มม. มือจับสแตนเลส , กุญแจล็อคฝังในกรอบบาน อุปกรณ์บานเลื่อนครบชุด มาตราฐานผู้ผลิต ห้องนอน , โถงนั่งเล่น
หน้าต่างบานกระทุ้ง 1 ช่อง อลูมิเนียม สีชา อลูมิเนียม สีชา กระจกฝ้า หนา 5 มม. มือจับสแตนเลส , กุญแจล็อคฝังในกรอบบาน อุปกรณ์บานกระทุ้งครบชุด มาตราฐานผู้ผลิต ห้องน้ำ

แบบขยายประตู 1:50
แบบขยายหน้าต่าง
บ้านพักอาศัย คสล 1.ชั้น 08/23
A-08
ให้ใช้ค่าตัวเลขที่กำหนดไว้เท่านั้น ห้ามวัดจากแบบ 23
รายการสุขภัณฑ์ (Tel 090-197-3478)
สัญลักษณ์ รายการ รุ่น สี ยี่ห้อ อุปกรณ์ หมายเหตุ
กระเบื้อง 12"x12"
ชักโครก ขาว ระบุแบบภายหลัง
อ่างล้างหน้า ชนิดแขวนผนัง ขาว ชุดท่อน้ำทิ้ง ,สะดืออ่าง ,ก๊อกน้ำ ,ชุดท่อน้ำทิ้ง กระเบื้อง 12"x12" RB 6 mm. @0.15 m. #
ระบุแบบภายหลัง
ที่ใส่กระดาษชำระ ขาว
รูระบายน้ำทิ้ง ชนิดดักกลิ่น สแตนเลส
ก๊อกติดผนังล้างพื้น สแตนเลส
ที่วางสบู่ สแตนเลส
ฝักบัวชนิดสายอ่อน สแตนเลส วาล์วเปิด-ปิด
ราวแขวนผ้า สแตนเลส
สายฉีดชำระ ขาว
ชั้นวางของ สแตนเลส แบบขยายเคาน์เตอร์
กระจกเงา SCALE 1:50

มาตราฐานการติดตั้งสุขภัณฑ์ - อุปกรณ์ทั่วไป

กระจกเงาปรับมุม
ที่ใส่สบู่ ขอแขวนผ้า
ราวแขวนผ้า ชั้นวางของ

การติดตั้งราว และ การติดตั้งอ่างล้างหน้า


การติดตั้งฝักบัว การติดตั้งฝักบัว ขอแขวนผ้า โถส้วมนั่งราบแบบซักโครก การติดตั้งสายชำระ การติดตั้งที่ใส่กระดาษชำระ แบบแขวน

หมายเหตุ -ก๊อกล้างพื้นติดใต้ฝักบัวหรือเคาน์เตอร์
-ติด MAIN VALVE ของแต่ละห้อง

รายการสุขภัณฑ์ 1:50
มาตราฐานการติดตั้งสุขภัณฑ์ - อุปกรณ์ทั่วไป
บ้านพักอาศัย คสล 1.ชั้น 09/23
A-09
ให้ใช้ค่าตัวเลขที่กำหนดไว้เท่านั้น ห้ามวัดจากแบบ 23
ห้องน้ำ
2 +0.40 2

แบบขยายห้องน้ำ
SCALE 1:50

ระดับฝ้าเพดาน ระดับฝ้าเพดาน ระดับฝ้าเพดาน

รูปตัดขยาย รูปตัดขยาย รูปตัดขยาย


SCALE 1:50 SCALE 1:50 SCALE 1:50

แบบขยายห้องน้ำ 1:50

บ้านพักอาศัย คสล 1.ชั้น 10/23


A-10
ให้ใช้ค่าตัวเลขที่กำหนดไว้เท่านั้น ห้ามวัดจากแบบ 23
1. งานแบบหล่อ (FROM WORK) 2.7 ความยาวของเหล็กเสริมที่นำมาต่อทาบกันต้องไม่น้อยกว่า 30 เท่าของเส้น 3.10 เมื่อคอนกรีตแข็งตัวแล้ว ต้องบ่มคอนกรีตทันทีโดยใช้ผ้าใบ , กระสอบ ,หรือวัสดุ
1.1 วัสดุที่ใช้ทำแบบหล่อ จะใช้ไม้ เหล็ก หรือวัสดุอื่นที่ผ่านการเห็นชอบของ เส้นผ่าศูนย์กลางเหล็กข้ออ้อย และไม่น้อยกว่า 40 เท่า ของเส้นผ่าศูนย์กลาง อมน้ำ อื่นๆ คลุมให้ทั่วแล้วราดน้ำให้ขึ้นอยู่เสมอต่อเนื่องกันไม่น้อยกว่า 7 วัน
ผู้ควบคุมแล้ว เหล็กกลมหรือไม่น้อยกว่า 30 ซม. 3.11 การบ่มคอนกรีตสามารถใช้สารบ่มคอนกรีต(CURING COMPOUND) แทนได้โดย
1.2 วัสดุที่เป็นแบบหล่อต้องมีสถาพดี,แข็งแรงและเหมาะสมกับงานแต่ละประเภท 2.8 เหล็กเสริมที่ใช้ต้องสะอาดปราศจากสนิมขุมโดยเด็ดขาด ส่วนสนิมผิวให้ทำ ต้องผ่านการอนุมัติจากวิศวกรผู้ควบคุมงานทั้งวัสดุและวิธีการใช้งาน
1.3 แบบหล่อต้องได้รูปได้แนว , ได้ดิ่ง และสนิทแน่นเพื่อป้องกันการรั่วไหล ของ ความสะอาดโดยการขัดก่อนเทคอนกรีต ทั้งนี้ให้อยู่ในดุลยพินิจของวิศวกร 3.12 การผสมสารผสมเพิ่มหรือสารเคมีใดๆลงในส่วนผสมคอนกรีตจะต้องได้รับอนุมัติ
น้ำซีเมนต์ ผู้ควบคุมงานก่อสร้าง จากวิศวกรผู้ควบคุมงานทุกครั้ง
1.4 ให้ผู้รับจ้างคำนวณปริมาณค้ำยันแบบหล่อโดยต้องสามารถรับนำหนักคงที่ 2.9 การตัดงอเหล็กให้เป็นไปตามมาตราฐาน วสท. 3.13 การแก้ไข , ซ่อมแซมหรือรื้อถอนส่วนโครงสร้างคอนกรีตที่มีคุณภาพไม่เหมาะสม
และน้ำหนักจรได้ไม่น้อยกว่าน้ำหนักทั้งหมดที่ใช้ในการออกแบบ 2.10 ความหนาแน่นของคอนกรีตที่หุ้มเหล็ก(COVERING) ที่วัดจากผิวเหล็ก ให้อยู่ในดุลยพินิจของวิศวกรผู้ควบคุมงาน
1.5 การค้ำยันด้านข้างต้องแข็งแรงพอเพียงที่จะให้แบบขยายตัวเมื่อทำการ ให้อยู่ในเกณฑ์ดังนี้ NOTE
เทคอนกรีต 2.10.1 ฐานราก 5 ซม. NOTE A - เหล็กเสริมบน กรณีคานช่วงริมให้งอฉากฝังในเสาหรือคานไม่น้อยกว่า 0 .300 เมตร
1.6 วิศวกรผู้ควบคุมงานสามารถยกเลิก (REJECT) การใช้งานแบบส่วนที่ไม่มี 2.10.2 คาน ,พื้น ที่ติดกับดิน 6 ซม. (FOR END SPEN MIN. ANCHCRAGE LENGTH FOR TOP BARS EMBEDED
ภาพเพียงพอได้และผู้รับจ้างต้องขนย้ายออกจากหน่วยงานได้โดยเร็ว 2.10.3 คานพื้นเสา ทั่วไป 2 ซม. ON SUPPORT BEAM OR COLUMN = 0.300 M )
1.7 โครงสร้างที่อยู่ติดกับดิน ผู้รับจ้างต้องสามารถใช้คอนกรีตหยาบเป็นท้องแบบได้ 3.งานคอนกรีต (CONCRETE WORK) - เหล็กเสริมล่าง กรณีคานช่วงบนไม่งอฉากฝังในเสาหรือคานไม่น้อยกว่า 0.150 เมตร
1.8 การรื้อแบบหล่อให้ถือเวลาต่อไปนี้ 3.1 ปูนซีเมนต์ที่ใช้ในงานโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็กให้ใช้ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนต์ (FOR END SPEN MIN. ANCHCRAGE LENGTH FOR BOTT BARS EMBEDED
1.8.1 แบบข้างไม่น้อยกว่า 24 ชั่วโมง หลังการเทคอนกรีต ซีเมนต์ประเภท 1 ON SUPPORT BEAM OR COLUMN = 0.150 M )
1.8.2 แบบค้ำยัน พื้น คาน ไม่น้อยกว่า 14 วัน หลังการเทคอนกรีต 3.2 มวลรวมที่ใช้ผสมคอนกรีตจะต้องใช้หินและทรายแม่น้ำที่สะอาดเท่านั้น NOTE B - การต่อเหล็กเสริมล่าง ให้ทาบที่จุดรองรับ ระยะทาบ (R1) ไม่น้อยกว่า 0.150 เมตร
(เมื่อใช้ซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ ประเภทที่ 1) 3.3 คอนกรีตที่ใช้ในงานโครงสร้างทั้งหมดให้ใช้คอนกรีตผสมเสร็จ (READY (BOTTOM BARS LAP LENGTH (R1) MIN. 0.150 M. AT SOPPORT AREA)
1.8.3 แบบค้ำยัน พื้น คาน ไม่น้อยกว่า 7 วัน หลังการเทคอนกรีต MIXED CONCETE) ที่มีแรงอัดประลัยที่อายุ 28 วัน ไม่น้อยกว่า 210 กก./ตร.ซม NOTE C -การต่อเหล็กเสริมบน ให้ทาบที่กลางช่วงคาน ระยะทาบ (R2) ไม่น้อยกว่า 40 เท่าของ
(เมื่อใช้ซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ ประเภทที่ 3 ) เมื่อทดสอบด้วยตัวอย่างคอนกรีตทรงกระบอกมาตราฐาน และไม่น้อย 240 กก./ เส้นผ่าศูนย์กลางเหล็กเสริมบน
2. งานเหล็กเสริม (REINFORCED STEEL) ตร.ซม. เมื่อทดสอบด้วยตัวอย่างคอนกรีตทรงลูกบาศก์มาตราฐาน (TOP BARS LAP LENGTH (R2) MIN. 40 DIA OF BARS SIZE.AT MIN SPAN AREA)
2.1 เหล็กเสริมที่ใช้ในโครงการที่มีขนาดเส็นผ่าศูนย์กลาง ตั้งแต่ 10 มม. ขึ้นไป 3.4 ทุกครั้งที่มีการเทคอนกรีตโครงสร้างจะต้องเก็บตัวอย่างคอนกรีตไม่น้อยกว่า 3 NOTE D - เหล็กเสริมบนกรณีเหล็กเสริมบนยาวไม่ต่อเนื่องให้งอฉากฝังในเสาหรือคานไม่น้อยกว่า0.30 ม.
ให้ใช้เหล็กข้ออ้อย ( , DB) ชั้นคุณถาพ SD-30 ของ บลส. หรือ บลกท. เท่านั้น ตัวอย่างเพื่อนำมาทดสอบกำลังอัดแต่ละอายุของการทดสอบ โดยใช่ค่าเฉลี่ยของกำลัง ( DISCONTINUOUS BEAM TOP BARS ANCHCRAGE LENGTH EMBDED INTO
นอกเหนือจากนี้ให้ผ่านการอนุมัติของวิศวกรผู้ควบคุมงานก่อสร้าง อัดที่มีค่าแตกต่างกันไม่เกิน 15 เปอร์เซนต์ SUPPORT BEAM OR COLUMN = 0.300 M.)
2.2 เหล็กเสริมที่ใช้ในโครงการที่มีขนาดเส็นผ่าศูนย์กลาง ไม่เกิน 9 มม.ขึ้นไป 3.5 เมื่อจำเป็นต้องผสมคอนกรีตใช้ ผู้รับจ้างต้องเสนอแบบผสม (MIXED DESIGN) - เหล็กเสริมล่างกรณีเหล็กเสริมล่างยาวไม่ต่อเนื่องให้งอฉากฝังในเสาหรือคานไม่น้อยกว่า 0.15 ม.
ให้ใช้เหล็กกลม ( Ø , RB) ชั้นคุณถาพ SR- 24 ของ บลส. หรือ บลกท. เท่านั้น ให้วิศวกรผู้ควบคุมงานอนุมัติ โดยจะต้องออกแแบบให้กำลังอัดของคอนกรีตสูงกว่า ( DISCONTINUOUS BEAM BOTT BARS ANCHCRAGE LENGTH EMBDED INTO
นอกเหนือจากนี้ให้ผ่านการอนุมัติของวิศวกรผู้ควบคุมงานก่อสร้าง กำลังอัดเดิมไม่น้อยกว่า 10 เปอร์เซนต์ SUPPORT BEAM OR COLUMN = 0.150 M.)
2.3 ผู้ควบคุมงานสามารถตรวจสอบคุณถาพเหล็ก โดยใช้ผู้รับจ้างนำตัวอย่าง 3.6 ผู้รับจ้างจะต้องเสนอวิธีการป้องกันการแยกตัว (SEGREGATION) ของมวลรวม NOTE E - เหล็กเสริมพิเศษบน ที่จุดรองรับต่อเนื่องของคานต่างเบอร์
ในหน่วยงานไปทดสอบคุณภาพโดยสถาบันที่เชื่อถือได้ โดยภาระค่าใช้จ่าย เป็น หยาบเนื่องจากการเทคอนกรีต ให่แก่ผู้ควบคุมงานพิจารณา (EXT. TOP BARS AT SUPPORT AREA FOR DIFT. BEAM NUMBER)
ส่วนของผู้รับจ้าง 3.7 ห้ามปล่อยคอนกรีตเข้าที่ระยะสูงเกินกว่า 2 เมตรและในการเทเสาจะต้องเทมอร์ต้า กรณีที่ 1 BY SIMPLE BEAM ใช้เหล็กเสริมพิเศษบนของคาน
2.4 กำลังจุดคลาก(YIELD STRENGTH) ที่ทดสอบได้ต้องไม่น้อยกว่าเกณฑ์ต่อไปนี้ ลงไปประมาณ 10 ซม. จากโคนเสาเสมอ ( BY SIMPLE BEAM USE EXT. TOP BARS OF BY SIMPLE BEAM )
เหล็กกลมไม่น้อยกว่า 2,400 มม. /ตร.ชม และเหล็กข้ออ้อย SD-30 ไม่น้อยกว่า 3.8 การเทคอนกรีตเป็นชั้น ๆในแนวราบให้เทแต่ละชั้นมีความหนาเท่าๆกัน และ ไม่ควร กรณีที่ 2 BY CONTINUOUS BEAM ให้ใช้เหล็กเสริมพิเศษบนของคานที่มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง
3,000 กก./ตร.ชม. เกินชั้นละ 47 ซม. ต่อเนื่องกันตลอดพื้นที่ในอัตราที่คอนกรีตซึ่งเทไปแล้วยังคงสภาพ ใหญ่กว่า
2.5 การต่อเหล็กเสริม สามารถต่อโดย วิธีทาบ วิธีเชื่อมหรือ วิธีการต่อยืดปลาย เหลวพอที่จะต่อกับคอนกรีตที่จะเทใหม่ ห้ามเทคอนกรีตที่เทไว้แล้วเกิน 30 นาที หรือ (BY CONTINUOUS BEAM USE EXT. TOP BARS OF LARGER DIA )
แบบอื่นที่ทำให้มีการถ่ายแรงเต็มที่ และห้ามต่อเหล็กเสริม ณ. จุดที่เกิดหน่วย คอนกรีตพ้นช่วงแข็งตัว (INITIAL SETTING) แล้ว จะต้องทิ้งไว้ให้แข็งตัวเต็มที่ไม่น้อย (รายละเอียดอื่นใดไม่ระบุ ดูรายการประกอบแบบ และปฎิบัติตามมาตราฐาน การก่อสร้างของ ว.ส.ท.)
แรงดึงดูดสูงสุดโดยวิธีเด็ดขาด กว่า 20 ชั่วโมงจึงเทต่อได้ ( IF NOT ANY SPECIFIDE SEE CONSTRUCTION SPECIFICATION AND E.I.T. STANDARD)
2.6 เหล็กเสริมที่มีเส้นผ่าศูนย์กลางเกิน 25 มม. ห้ามต่อโดยวิธีทาบ ให้ต่อโดยวิธี 3.9 การทำให้คอนกรีตแน่นตัวให้ใช้เครื่องจี้คอนกรีต( VIBRATOR) เท่านั้นและการจี้จะ ข้อกำหนด เงื่อนไข การเสริมเหล็กคาน คสล ทั่วไป TYPICAL RC.BEAM REINFORCEMENT
เชื่อมเท่านั้น และผู้รับจ้างจะต้องนำตัวอย่างการเชื่อมไปทดสอบกับสถาบันที่ ต้องกระทำอย่างถูกวิธีและการปริมาณการจี้พอเหมาะที่จะก่อให้เกิดการแยกตัวของ นอกจากตามแบบระบุ ให้ปฏิบัติตามมาตราฐานการก่อสร้างของ วสท.
เชื่อถือได้โดยการประลัยต้องไม่เกิดในตำแหน่งการเชื่อม มวลรวมหยาบ

รายการประกอบแบบวิศวกรรม 1:75

บ้านพักอาศัย คสล 1.ชั้น 11/23


S-01
ให้ใช้ค่าตัวเลขที่กำหนดไว้เท่านั้น ห้ามวัดจากแบบ 23
-การงอปลายเหล็ก
การงอขอให้ใช้วิธีดัดเย็นดังรูป -การต่อเหล็กเสา ถ้าไม่ระบุใว้ในแบบรายระเอียดให้ปฏิบัติดังนี้
d

40 Ø สำหรับเหล็กเส้นกลม

ระยะทาบเหล็ก
4d A A 30-36 Ø สำหรับเหล็กข้ออ้อย
SD30 และ SD 40 ตามลำดับ
4d d 1
D D ความเอียงลาดสูงสุด 1:6 6

เสริมพิเศษ 4 @7.5 cm. ศูนย์กลางถึงสูนย์กลาง


การงอ 90 ° องศา การงอ 180° องศา ขนาดของเหล็กปลอกต้องไม่เล็กกว่าที่ใช้อยู่เดิม
B B
การงอ 90 ° องศา การงอ 180° องศา
เหล็กเสาบน
D ไม่น้อยกว่า 4 d สำหรับเหล็กเส้นกลม เหล็กเสาล่าง
D ไม่น้อยกว่า 5 d สำหรับเหล็กข้ออ้อย SD-30,SD-35และ SD-40
รูปตัด A-A รูปตัด B-B
-การงอเหล็กข้ออ้อยขนาดตั้งแต่ Ø 16 mm.ขึ้นไปให้งอ 90 องศา
-การงอเหล็กปลอก,คาน และเสา ใช้เหล็กขนาด 4mm.หรือ 9 mm.ให้ปฏิบัติดังนี้
4d แต่ต้องไม้น้อยกว่า 4 cm.
4d แต่ต้องไม้น้อยกว่า 3 cm.
เหล็กเสาบน
เหล็กเดือย (Dowel)
6d แต่ต้องไม้น้อยกว่า 4 cm.

D เกินกว่า 7.5cm.ต้องเสริมเหล็กเดือย A A
รูปตัด A-A

ระยะต่อทาบ(ข)= 40 Ø สำหรับเหล็กเส้นกลม
30-36 Ø สำหรับเหล็กข้ออ้อย ข
SD30 และ SD 40 ตามลำดับ

เหล็กเดือย จะต้องมีขนาดและจำนวนไม่น้อยกว่าเหล็กเสาบน
D D B B รูปตัด B-B
D 4 cm. สำหรับเหล็กแกนขนาดใหญ่กว่า Ø25 mm.
D 3 cm. สำหรับเหล็กแกนขนาด Ø 19 mm.-Ø 25 mm.
กรณีเสามีหน้าตัดไม่เท่ากันศูนย์ตรงกัน
D 3 cm. สำหรับเหล็กแกนขนาด Ø 12 mm.-Ø 16 mm.
-การดัดเหล็กคอม้า ถ้าไม่ระบุใว้ในแบบรายละเอียดให้ปฏิบัติดังนี้
ถ้ากำหนดให้มีเหล็กเสริมพิเศษ 41 ช่วงความยาวที่ยาวกว่า
เหล็กเสาบน
1
ถ้ากำหนดให้มีเหล็กเสริมพิเศษ 4ช่วงความยาวที่ยาวกว่า เหล็กเสาล่าง
L1
7 A A รูปตัด A-A
1
ความเอียงลาดสูงสุด 1:6 6
L1 L1 L2 เสริมพิเศษ 4 @7.5 cm. ศูนย์กลางถึงสูนย์กลาง
7 5 5 L2
L1 ขนาดของเหล็กปลอกต้องไม่เล็กกว่าที่ใช้อยู่เดิม
ช่วงนอกสุด ช่วงใน
หมายเหตุ ในรูปแสดงการเสริมเหล็กด้วยเหล็กข้ออ้อย หากเป็นเหล็กกลมธรรมดาให้งอเหล็กตามที่ระบุข้างต้น กรณีเสามีหน้าตัดไม่เท่ากันศูนย์เยื้องกัน
ในกรณีที่ด้านนี้ความลึกมากกว่า 1/10 ของความยาวช่วงตำแหน่งต่างๆของเหล็กคอม้าจะใช้ดังรูปข้างบนนี้ไม่ได้

รายการประกอบแบบวิศวกรรม

บ้านพักอาศัย คสล 1.ชั้น 12/23


S-02
ให้ใช้ค่าตัวเลขที่กำหนดไว้เท่านั้น ห้ามวัดจากแบบ 23
(เฉพาะตอม่อ)

แปลนฐานราก แปลนคาน และพื้น


SCALE 1:75 SCALE 1:75

แปลนฐานราก 1:75
แปลนคาน และพื้น
บ้านพักอาศัย คสล 1.ชั้น 13/23
S-03
ให้ใช้ค่าตัวเลขที่กำหนดไว้เท่านั้น ห้ามวัดจากแบบ 23
เชิงชายไม้สำเร็จรูป 6", 8" พร้อมปิดลอน

จันทันเหล็ก
1-[ 75x35x15x1.6 mm.@1.50m.

แปสำเร็จรูป @1.00 m.

สะพานรับจันทัน
เหล็กกล่อง 100x50x20x2.3 mm.

แปสำเร็จรูป @1.00 m.
ท่อระบายน้ำ PVC ขนาด 3" ท่อระบายน้ำ PVC ขนาด 3" สะพานรับจันทัน
อะเสเหล็กกล่อง 100x50x20x1.6 mm. เหล็กกล่อง 100x50x20x2.3 mm.

จันทันเหล็ก
1-[ 75x35x15x1.6 mm.@1.50m.

แปลนคานอะเส แปลนโครงหลังคา
SCALE 1:75 SCALE 1:75

CX : อะเสเหล็กกล่อง 100x50x20x1.6 mm. CX : - หลังคามุง METAL SHEET

แปลนคานอะเส 1:75
แปลนโครงหลังคา
บ้านพักอาศัย คสล 1.ชั้น 14/23
S-04
ให้ใช้ค่าตัวเลขที่กำหนดไว้เท่านั้น ห้ามวัดจากแบบ 23
A B C B D
เหล็กปลอก เหล็กปลอก
เหล็กปลอก
เท่าเส้นผ่าศูนย์กลาง เหล็กบน ด้านที่มากกว่า ด้านที่มากกว่า เหล็กบน ด้านที่มากกว่า เท่าเส้นผ่าศูนย์กลาง

เหล็กล่าง เหล็กเสริมพิเศษ เหล็กล่าง เหล็กเสริมพิเศษ

A B C B D
แบบมาตราฐานการเสริมเหล็กคาน
SCALE not to scale

กว้าง กว้าง
เหล็กบน เหล็กบน

เหล็กปลอก
เหล็กปลอก
ลึก

ลึก
เหล็กเสริมพิเศษ
ด้านที่มากกว่า ด้านที่มากกว่า
เหล็กล่าง เหล็กล่าง

รูปตัด A - A รูปตัด B - B
SCALE not to scale SCALE not to scale

กว้าง กว้าง เท่าเส้นผ่าศูนย์กลาง 40 เท่าเส้นผ่าศูนย์กลาง


เหล็กบน เหล็กบน

เหล็กเสริมพิเศษ เหล็กเสริมพิเศษ
ลึก

ลึก

เหล็กปลอก เหล็กปลอก

เหล็กล่าง เหล็กล่าง
แบบมาตราฐานการเปลี่ยนขนาดคาน
SCALE not to scale
รูปตัด C - C รูปตัด D - D
SCALE not to scale SCALE not to scale

แบบมาตราฐานการเสริมเหล็กคาน 1:75

บ้านพักอาศัย คสล 1.ชั้น 15/23


S-04
ให้ใช้ค่าตัวเลขที่กำหนดไว้เท่านั้น ห้ามวัดจากแบบ 23
2-DB 12 mm. 6-DB 12 mm.
STIR. RB 6 mm. @0.20 m. STIR. RB 6 mm. @0.20 m.
2-DB 12 mm. 6-DB 12 mm.
GB1 RB1
4-DB 12 mm.
STIR. RB 6 mm. @0.20 m.
C1 2-DB 12 mm. แนวชายค

3-DB 12 mm.
STIR. RB 6 mm. @0.20 m.
STIR. RB 6 mm. @0.20 m.
แบบขยายเสา คสล. 2-DB 12 mm. 4-DB 12 mm.

แปลน
SCALE 1:25 RB2 RB3
ทางระบายน้ำท่อPVC ขนาด 3 "

แบบขยายคาน ค.ส.ล.
SCALE 1 : 25

+- 0.00 ระดับดินเดิม

Wire Mesh
RB 6 mm.@0.20 m.# RB 9 mm. @ 0.15 m.#
DB 12 mm.@ 0.20 m. #

คอนกรีตหยาบ
ทรายหยาบอัดแน่น ดินถมบดแน่น
Wet sand

รูปตัดทางด้านสั้น
รูปตัด
แบบขยายพื้น คสล.
SCALE 1:25
แบบขยายฐานราก คสล.
SCALE 1 : 25

แบบขยายฐานราก 1:25
แบบขยายเสา
บ้านพักอาศัย คสล 1.ชั้น แบบขยายคาน 16/23
แบบขยายพื้น S-05
ให้ใช้ค่าตัวเลขที่กำหนดไว้เท่านั้น ห้ามวัดจากแบบ 23
มาตรฐานและกฎข้อบังคับ รายการประกอบแบบไฟฟ้า
1) วัสดุอุปกรณ์ต่างๆ ที่ใช้ในงานไฟฟ้าจะต้องเป็นของใหม่อยู่ในสภาพดี และเป็นแบบล่าสุด 10) กราวด์บัส (Ground Bus) ให้ใช้แผ่นทองแดงมีขนาดไม่เล็กกว่า 200x60x50 มม. - การเดินสายโดยใช้เข็มขัดรัดสาย ต้องใช้สายไฟฟ้าที่มีฉนวนหุ้มสองชั้น และยึดด้วยเข็มขัดรัด
ของบริษัทผู้ผลิต ต้องใด้มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม(มอก.) ถ้าวัสดุอุปกรณ์ใดๆ ที่ใช้ ติดไว้อย่างน้อย 2 ชุด ในห้องเครื่องไฟฟ้า ชุดหนึ่งสำหรับต่อลงดินของสายศูนย์ อีกชุดหนึ่ง สายให้มั่นคง โดยมีระยะระหว่างเข็มขัดรัดสายไม่เกิน 100 มม. SYMBOL DESCRIPTION
ในงานไฟฟ้านี้ไม่มีกำหนดในมาตรฐานของกระทรวงอุตสาหกรรมอนุญาตให้ถือมาตรฐาน สำหรับต่อลงดินของอุปกรณ์ - การตัดต่อสายไฟฟ้าทำได้เฉพาะในกล่องต่อสาย กล่องดึงสาย กล่องเต้ารับ กล่องสวิตช์ แผงควบคุมไฟฟ้า
ดังต่อไปนี้ L/C
11) การติดตั้งระบบการต่อลงดิน ให้ตอกขั้วดินอย่างน้อย 3 ต้น เป็นรูปสามเหลี่ยมห่างกัน และบ่อพักสายเท่านั้น
- NEMA (National Electrical Manufacturers Association) หลอดฟลูออเรสเซนท์ 2x36 w.ชนิดราง
- VDE (German Electrical Regulation) อย่างน้อย 3000 มม. และใช้ตัวนำต่อเข้าด้วยกัน และฝังลึกไม่น้อยกว่า 500 มม. - สายขนาด 10 ตารางมิลลิเมตร หรือเล็กกว่า ให้ทำการต่อสายโดยใช้ Insulated Solderless-
- IEC (International Electrotechnical Commission) จากระดับพื้น ต่อตัวนำจากหลักดินจำนวน 2 เส้น เส้นหนึ่งเข้ากราวด์บัสของสายศูนย์ Wire Connector แบบเกลียวขัน ขนาดให้ถือตามมาตรฐานผู้ผลิต
- BS (British Standard) หลอดฟลูออเรสเซนท์ 1x36 w.ชนิดเปลือยหลอด
- UL (Underwriter's Laboratories Inc.) และอีกเส้นหนึ่งเข้ากราวด์บัสของตัวนำสายดินของอุปกรณ์ การต่อตัวนำสายดินเข้ากับ - สายขนาด 16 ตารางมิลลิเมตร หรือ โตกว่า ให้ทำการต่อสายโดยใช้ Insulated Connector
- มาตรฐานเทียบเท่าซึ่งได้เห็นชอบจากผู้ว่าจ้าง ขั้วดินให้ใช้วิธีเชื่อมติด(Exothermic Welding) ชนิดใช้เครื่องมือกลบีบ หรือขัน หลอดฟลูออเรสเซนท์ 1x32 w โคมครอบแก้ว
2) การติดตั้งอุปกรณ์ไฟฟ้าและอุปกรณ์ส่วนประกอบอื่นๆ ให้เป็นไปตามมาตรฐานดังต่อไปนี้ 12) ท่อร้อยสาย
ไฟดาวไลท์ หลอดอินแคนเดสเซนต์ 40 วัตต์ สีขาวขุ่น
- ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่องความปลอดภัยเกี่ยวกับไฟฟ้า - ผู้รับเหมาไฟฟ้าจะต้องจัดหา และติดตั้งระบบร้อยสายให้สมบูรณ์ตามแสดงในแบบไฟฟ้า
- กฎข้อบังคับของการไฟฟ้าฯ และรายการประกอบแบบวัสดุทั้งหมดที่ใช้ในการทำระบบท่อร้อยสายต้องเป็นของใหม่ ปลั๊กเต้าเสียบไฟฟ้าชนิดใช้กับขากลมและขาแบน ชนิดฝังผนังหน้ากากพลาสติก
- มาตรฐานควบคุมการก่อสร้างและติดตั้งไฟฟ้าของสมาคมวิศวกรรมสถาน และเหมาะสำหรับงานท่อร้อยสายและข้อต่อต่างๆ ต้องเป็นของที่ใช้กับงานไฟฟ้า โดยเฉพาะ
แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูประถัมถ์(ว.ส.ท.) ผลิตภัณฑ์ของ TAS, PAT, MATSUSHITA หรือเทียบเท่า สวิทซ์ ไฟฟ้าชนิดฝังผนัง หน้ากากพลาสติก
- ท่อร้อยสายจะต้องมีขนาดใหญ่พอที่จะร้อยสาย และดึงสายออกได้สะดวกโดยไม่ทำลาย
3) วิศวกรไฟฟ้า ผู้รับเหมาไฟฟ้าจะต้องมีวิศวกรไฟฟ้า สาขาไฟฟ้ากำลังพร้อมทั้งหลักฐาน ฉนวนของสายไฟฟ้า พื้นที่หน้าตัดรวมของสายไฟฟ้าต้องไม่เกิน 40% ของพื้นที่หน้าตัดภายใน สวิทซ์ ไฟฟ้า 2 ทางฝังผนัง หน้ากากพลาสติก
ใบ ก.ว. แจ้งให้ผู้ว่าจ้างก่อนดำเนินการติดตั้ง เพื่อให้ผู้รับผิดชอบในการควบคุมและ ของท่อร้อยสาย และตามมาตรฐาน ว.ส.ท. สวิตท์หรี่ไฟฟ้า ชนิดฝังปูน ขนาด 15 แอมป์ 240 โวลท์
ปฏิบัติงานให้เป็นไปตามแบบแปลน และรายการประกอบแบบรวมทั้งประสานงานกับ - รายละเอียด
หน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ก. Electrical Metallic Tubing (EMT) ต้องเป็นท่อเหล็กบางชุบสังกะสี(Hot dip galvanize) หมายเหตุ
4) แบบแปลนไฟฟ้า แบบแปลนไฟฟ้าจะแสดงตำแหน่งโดยประมาณของอุปกรณ์ไฟฟ้าต่างๆ สามารถใช้ติดกับเพดานซ่อนเหนือฝ้าเพดานฝังในผนัง
ข. Intermediate Metal Conduit (IMC) ต้องเป็นท่อเหล็กแข็งชนิดหนาผ่านขบวนการ
- ตำแหน่งและอุปกรณ์สามารถปรับเปลี่ยนได้ภายหลัง ตามความต้องการของเจ้าของ
ผู้รับเหมาจะต้องตรวจแบบทางสถาปัตยกรรม แบบของผู้รับเหมาอื่นๆ และแบบของ
รายละเอียดของอุปกรณ์ไฟฟ้าต่างๆ เพื่อให้งานติดตั้งถูกต้องตามตำแหน่งที่ใช้งานจริงๆ ชุ บ สั งกะสี (Hot dip galvanize) มาแล้ ว - สายไฟฟ้าเดินสายร้อยท่อฝังผนัง
หากมีการเปลี่ยนแปลงตำแหน่ง ผู้รับเหมาจะอ้างขอเพิ่มค่าใช้จ่ายมิได้ ค. Rigid Steel Conduit (RSC) ต้องติดตั้งในกรณีดังนี้คือ ที่ Service entrance ที่ต้องการ
ฝังใต้ดินหรือในคอนกรีตที่เดินนอกอาคาร หรือขึ้นตามข้อกำหนดของ NEC
ผู้รับจ้างจะต้องจัดทำแบบแสดงการติดตั้ง(Shop Drawing)เสนอต่อผู้ว่าจ้าง และเมื่อได้
ง. ท่ออ่อน (Flexible Conduit) ท่ออ่อนต้องทำจาก Galvanized Steel ท่ออ่อนที่ใช้ในที่ชื้น
รับอนุมัติแล้วจึงจะสามารถดำเนินการติดตั้งได้ หลังจากการติดตั้งแล้วเสร็จผู้รับจ้าง ต้องเป็นแบบกันน้ำ
จะต้องจัดทำแบบแสดงการติดตั้งจริงเสนอต่อผู้ว่าจ้างเพื่อขออนุมัติ - การต่อท่อร้อยสายชนิดบางที่อยู่ในบริเวณเปียกชื้น ให้ใช้ข้อต่อชนิดกันน้ำ(Rain tight) อยู่ในปูน
5) ระบบไฟฟ้าแรงต่ำ ใช้ไฟฟ้าระบบ 380/230 โวลท์ 3 เฟส 4 สาย / ความถี่ 50 Hz ให้ใช้ข้อต่อชนิดกันน้ำปูน(Concrete tight) ท่อร้อยสายชนิดหนาให้ใช้ข้อต่อชนิดเกลียว และต้องทา
จากตู้ MDB ในอาคารจนถึงแผงสวิตช์จ่ายไฟ Permatex ที่เกลียวก่อนใส่ข้อต่อเพื่อกันน้ำ
6) ระบบสีของสายไฟฟ้า และบัสบาร์ - ท่อร้อยสายที่ต่อเข้ากับกล่องที่ต่อสายและอุปกรณ์ไฟฟ้าทุกชนิด ต้องมีข้อต่อสำหรับกล่องต่อสาย
6.1) ระบบไฟฟ้า 380/230 โวลท์ 3 เฟส 4 สาย ให้ใช้สีดังนี้ 1 ซม.
สายไฟฟ้า เฟส A ใช้สีแดง (Box connector) ติดไว้ทุกแห่ง
สายไฟฟ้า เฟส B ใช้สีเหลือง - ปลายท่อร้อยสายที่มีการร้อยสายไฟฟ้าเข้าท่อ ถ้าอยู่ในอาคารต้องมี Conduit bushing ใส่ไว้
สายไฟฟ้า เฟส C ใช้สีน้ำเงิน ถ้าอยู่นอกอาคารหรือที่เปียกชื้นต้องมี Service fitting ใส่ไว้ปลายท่อ ท่อร้อยสายที่ยังไม่ได้
สายไฟฟ้าเส้นศูนย์ ใช้สีเทาอ่อน หรือสีขาว ใช้งานต้องใส่ฝาครอบ(Cap) ปิดไว้
สายไฟฟ้าเส้นสายดิน ใช้สีเขียว หรือ เขียวแถบเหลือง - ท่อร้อยสายที่ไม่ได้ฝังในผนังและพื้น ต้องยึดด้วยประกับโลหะ(Conduit Strap) และประกับ สวิทซ์ ปลั๊ก สวิทซ์
สายไฟฟ้าที่ผลิตแต่เพียงสีเดียวให้ทาสีหรือพันเทปทั้งสองข้างด้วยสีที่กำหนดให้
6.2) ระบบไฟฟ้า 230 โวลท์ 1 เฟส 2 สาย ให้ใช้สีดังต่อไปนี้ สำหรั บ แขวนท่ อ (Conduit Hanger) อย่ า งแข็ ง แรง ทุ ก ระยะไม่ เ กิ น 3 ฟุ ต จากกล่ อ งต่ อ สายหรื อ
สายไฟฟ้าเส้นไฟ ใช้สีดำ แผงไฟ และระหว่างประกับไม่เกิน 10 ฟุต หรือยกเว้นตามมาตรฐาน ว.ส.ท.
สายไฟฟ้าเส้นศูนย์ ใช้สีเทาอ่อน หรือสีขาว - ท่อร้อยสายที่ฝังใต้ดิน ต้องฝังลึกไม่น้อยกว่า 500 มม. จากระดับพื้นดิน และต้องมีบ่อพักสำหรับ ปลั๊ก
สายไฟฟ้าเส้นสายดิน ใช้สีเขียว หรือสีเขียว แถบสีเหลือง ใช้ในการดึงสายไฟฟ้า และตัดต่อสายไฟตามที่จำเป็น
6.3) บัสบาร์ ให้ทาสี หรือติดเทปสีตามระบบสีข้อ 6.1 และ 6.2 13) กล่องต่อสาย
7) สิ่งที่ต่อลงดิน - กล่องต่อสายและฝาครอบทุกชนิดให้ใช้แบบที่ทำด้วยเหล็กอาบสังกะสีไม่น้อยกว่า 1.2 มม.
- สายศูนย์ของระบบไฟฟ้าต้องต่อลงดินที่แผงสวิตช์จ่ายไฟใหญ่(MDB) - กล่องต่อสายสำหรับภายนอกอาคาร หรือที่เปียกชื้นให้ใช้แบบกันฝนได้ทำด้วยโลหะหล่อ ตำแหน่งสวิทซ์และปลั๊กห้องพัก ตำแหน่งสวิทซ์และปลั๊กในห้องครัว,ห้องน้ำ
- ชิ้นส่วนที่เป็นโลหะของอุปกรณ์ไฟฟ้าต้องต่อลงดิน โดยต่อเข้ากับตัวนำสายดิน (Die-Cast Steel) หรือ Alluminium พ่นสีที่ฝาครอบมีขอบยางเพื่อกันน้ำซึม
(ยกเว้นดวงโคมที่ยืนจับไม่ถึง) - กล่องต่อสายชนิดดวงโคม และอุปกรณ์ไฟฟ้า ให้ใช้ชนิดหกเหลี่ยม หรือแปดเหลี่ยม
14) สายไฟฟ้า
- ห้ามใช้สายศูนย์เป็นสายดิน - ผู้รับเหมาจะต้องจัดหาสายไฟฟ้า และทำการเดินสายไฟฟ้าทั้งหมดตามที่แสดงในแบบ
8) ขั้วดิน(Grounding Electrode) ขั้วดินใช้แท่งเหล็กหุ้มทองแดง(Copper Encased) แปลนไฟฟ้าและรายการประกอบแบบ สายไฟฟ้าที่ใช้ต้องเป็นสายทองแดงหุ้มด้วยฉนวนพีวีซี สวิทซ์บอร์ด
มีเส้นผ่าศูนย์กลางไม่เล็กกว่า 19 มม. ยาวไม่น้อยกว่า 3000 มม. และได้ตาม มอก.11-2531 เว้นแต่จะระบุเป็นอย่างอื่น สวิทซ์
- การเดินสายไฟฟ้าจะต้องเดินในท่อร้อยสายหรือรางเดินสาย เว้นแต่จะระบุเป็นอย่างอื่น
9) ตัวนำขั้วดิน (Grounding Conductor)
การร้อยสายในท่อร้อยสายจะต้องว่างท่อให้เสร็จเรียบร้อยก่อน และต้องทำความสะอาดท่อ
- ตัวนำขั้วดินของระบบไฟฟ้า (System Ground) ให้มีขนาดตามมาตรฐาน ว.ส.ท. ปลั๊ก
และที่กำหนดในแบบ ไม่ให้มีดิน ทราย หรือเศษปูนติดอยู่ในท่อ แล้วจึงร้อยสาย และต้องใช้สารหล่อลื่นชนิดผง
- ตัวนำสายดินอุปกรณ์ (Equipment Ground) ให้มีขนาดตามมาตรฐาน ว.ส.ท. ซึ่งไม่ทำปฏิกิริยากับฉนวนของสายไฟฟ้า เช่น ผงกราไฟด์ทาสายไฟฟ้าก่อนทำการร้อยสาย
และที่กำหนดในแบบ - การเดินสายฝังดินโดยตรงต้องใช้สายชนิดที่มีฉนวนหุ้มอย่างน้อยสองชั้น และฉนวนชั้นนอก ระดับพื้น
- ในการเดินสายไฟในท่อ ให้เดินตัวนำสายดินเพิ่มอีก 1 เส้น นอกเหนือจากจำนวนสาย ต้องเป็นเทอร์โมพลาสติก โดยต้องฝังให้ลึกไม่น้อยกว่า 500 มม. และใช้ทรายกลบ แล้ววาง ตำแหน่งสวิทซ์บอร์ด ตำแหน่งสวิทซ์และปลั๊กทั่วไป
ไฟฟ้าที่แสดงในแบบ แผ่นคอนกรีตหรือแผ่นอิฐทับตลอดสายก่อนใช้ดินกลบ ตอนที่สายโผล่จากพื้นดิน จะป้องกัน โดยการร้อยผ่านท่อร้อยสาย

มาตรฐานและกฎข้อบังคับงานไฟฟ้า 1:75

บ้านพักอาศัย คสล 1.ชั้น 17/23


E-01
ให้ใช้ค่าตัวเลขที่กำหนดไว้เท่านั้น ห้ามวัดจากแบบ 23
แปลนงานระบบไฟฟ้า
SCALE 1:75

แปลนงานระบบไฟฟ้า 1:75

บ้านพักอาศัย คสล 1.ชั้น 18/23


E-02
ให้ใช้ค่าตัวเลขที่กำหนดไว้เท่านั้น ห้ามวัดจากแบบ 23
มาตรฐานและกฎข้อบังคับ
- งานเดินท่อใช้มาตรฐานงานท่อภายในอาคารของวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย รายการประกอบสัญลักษณ์สุขาภิบาล
- ท่อระบายน้ำที่ต่อออกจากอ่างล้างมือ และช่องระบายน้ำที่พื้น ต้องติดที่ดักกลิ่น
CW ท่อเมนประปาใช้ ใช้ท่อ PVC Dia 3/4" Class 8.5
- ท่อระบายน้ำต้องมีความลาดเอียงอย่างน้อย 1 : 100 จากสุขภัณฑ์ไปยังท่อดิ่ง
- ขนาดของท่อจ่ายน้ำเข้าสุขภัณฑ์หากในแบบไม่ได้ระบุ ให้ถือตามขนาด ดังนี้ CW ท่อน้ำประปาต่อเข้ากับเครื่องสุขภัณฑ์ ใช้ท่อ PVC Dia 1/2" Class 8.5
อ่างล้างหน้า ฝักบัว ขนาด Ø1/2" D
โถสุขภัณฑ์ แบบมีถังพักน้ำ ขนาด Ø 1/2" ท่อน้ำเสียระบายจากเครื่องสุขภัณฑ์ ใช้ท่อ PVC Dia 2" Class 8.5
- ขนาดของท่อระบายน้ำทิ้ง และท่ออากาศ หากในแบบไม่ได้ระบุ ให้ถือตามขนาด ดังนี้ D ท่อเมนระบายน้ำเสีย ใช้ท่อ PVC Dia 3" Class 8.5
สุขภัณฑ์ ขนาดท่อน้ำทิ้ง ขนาดท่ออากาศ
อ้างล้างหน้า Ø 2" Ø 1 1/2" S ท่อระบายน้ำโสโครกระบายจากสุขภัณฑ์ ใช้ท่อ PVC Dia 4" Class 5.5
อ่างล้างจาน Ø 2" Ø 1 1/2"
ช่องระบายน้ำที่พื้น Ø 2" - ประตูน้ำทองเหลือง Dia 1 1/2"
- ขนาดของท่อระบายน้ำทิ้ง และท่ออากาศ หากในแบบไม่ได้ระบุ ให้ถือตามขนาด ดังนี้ M มิเตอร์วัดน้ำ
สุขภัณฑ์ ขนาดท่อน้ำทิ้ง ขนาดท่ออากาศ
โถปัสสาวะ Ø 2" Ø 2" FD ชุดตะแกรงกรองผง
โถสุขภัณฑ์ Ø 4" Ø 2"
- การตัดต่อท่อ ต้องตัดให้ได้ระยะพอดีในการบรรจบ ปลายท่อคว้านเอาเศษวัสดุที่ติดค้างออก
ให้ผิวสะอาดเรียบ ถังบำบัดน้ำเสีย
- การเดินท่อ ต้องเดินให้เป็นระเบียบได้แนวสม่ำเสมอ ควรเดินในช่องท่อ เหนือฝ้า หรือในผนัง
- เมื่องานยังไม่เสร็จ ปลายท่อที่เดินค้างไว้ต้องใช้ปลั๊กอุด บ่อพักน้ำทิ้งสำเร็จรูป ขนาด 0.40x0.40 ม.
- เมื่องานยังไม่เสร็จ สุขภัณฑ์และอุปกรณ์ประกอบ ต้องมีการหุ้มหรือคลุม ป้องกันการเสียหาย
บ่อดักไขมัน
- ท่อที่จะต้องเจาะผ่าน ผนัง พื้น หรือคาน จะต้องมีปลอกร้อยท่อ (PIPE SLEEVE) ฝังอยู่ใน
โครงสร้างตรงตำแหน่งที่ท่อจะเจาะผ่าน หากพื้นที่นั้นเปียกน้ำอยู่เสมอ ปลอกร้อยท่อต้องเป็น HB ก๊อกสนาม
ชนิดกันน้ำซึมผ่านทั้งผิวด้านนอกและด้านใน และหากบริเวณนั้นเป็นองค์อาคาร ต้องฝัง SHW ก๊อกน้ำฝักบัว
ปลอกร้อยท่อขณะเทคอนกรีตหล่อองค์อาคารส่วนนั้น FC ก๊อกน้ำล้างพื้นในห้องน้ำ
- การยึดแขวนท่อ จะต้องมีเหล็กรัดท่อที่ผลิตขึ้นโดยเฉพาะตามขนาดท่อรัด การแขวนท่อ LAV ก๊อกน้ำอ่างล้างหน้า
ที่วิ่งแนวราบ ต้องใช้เหล็กเส้นโยงยึดไว้กับองค์อาคาร โดยมีการให้พร้อมไปกับการหล่อ WC ท่อน้ำต่อเข้าชักโครก
คอนกรีตองค์อาคาร ระยะระหว่างจุดยึดแขวนท่อ เป็นดังนี้
S ท่อน้ำต่อสายฉีดชำระ
ท่อแนวดิ่ง สำหรับท่อ PVC มีที่ยึด รองรับ หรือแขวน ทุกระยะไม่เกิน 2 เมตร ทุกรอยต่อ
หมายเหตุ**
และทุกครื่งหนึ่งของท่อแต่ละท่อน
บ่อพักต้องติดตั้งทุกๆ ช่วง 6.00 m
ท่อแนวราบ สำหรับท่อ PVC มีที่ยึด รองรับ หรือแขวน ทุกระยะไม่เกิน 1.50 เมตร ก่อนระบายลงสู่ท่อสาธารณะต้องเป็นบ่อดักไขมัน
ทุกรอยต่อ และทุก 2 เมตร สำหรับท่อ GSP
ขนาดของเหล็กเส้นที่ใช้แขวนท่อแนวราบเป็นดังต่อไปนี้
ขนาดท่อ ขนาดเหล็กเส้น
Ø 1/2"-1 1/4" Ø 9 มม.
Ø 2"-3" Ø 12 มม.
Ø 4"-5" Ø 15 มม.
- เหล็กรัดท่อ และเหล็กเส้นแขวน จะต้องไม่เป็นสนิม
- การติดตั้งอุปกรณ์ระบบท่อ เช่น ประตูน้ำ มาตรน้ำ เกจ์วัดแรงดัน ยูเนี่ยน เป็นต้น ต้องอยู่
ในตำแหน่งที่เหมาะสมกับการใช้งาน และสะดวกในการดูแลรักษา ซ่อมบำรุง
- ก่อนส่งมอบงาน สุขภัณฑ์ และอุปกรณ์ต่างๆ จะต้องได้รับการทำความสะอาด รวมทั้ง
รวมทั้งระบบท่อน้ำจะต้องได้รับการทำความสะอาด และฆ่าเชื้อโรค ตามวิธีที่ระบุใน
มาตรฐานงานท่อในอาคาร ของวิศวกรรมสถาน แห่งประเทศไทย

รายการประกอบสัญลักษณ์สุขาภิบาล 1:75

บ้านพักอาศัย คสล 1.ชั้น 19/23


SN-01
ให้ใช้ค่าตัวเลขที่กำหนดไว้เท่านั้น ห้ามวัดจากแบบ 23
Steel Hanger Rod Upper Steel Bar Hanger Support (For Pipe Size Ø3" & Larger)
NonCorrosive Nut&Washer Setting Tube Pipe Size Hanger Rod Upper Bar Lower Bar Bolt Or Rod Min.Clearance
Bolt Or Rod mm. Inch. mm. Inch. mm. Inch. mm. Inch. mm. Inch. mm. Inch.
100 4 15 5/8 30x6 11/4x1/4 30x5 1 1/4x3/16 9 3/8 52 2 1/16
Min Clearance
125 5 15 5/8 30x6 11/4x1/4 30x5 1 1/4x3/16 12 1/2 52 2 1/16
Steel Strap 150 6 20 3/4 40x6 11/2x1/4 40x5 1 1/2x3/16 12 1/2 57 2 1/4
Pipe Size 200 8 22 7/8 47x6 13/4x1/4 47x5 1 3/4x3/8 15 3/8 64 2 1/2
250 10 22 7/8 47x10 13/4x1/4 47x6 1 3/4x1/4 19 3/4 64 2 1/2
300 12 22 7/8 47x10 2x3/8 50x6 2x1/4 19 3/4 78 2,1 5/16
Hanger Support (For Pipe Size Up To Ø2 1/2")
Pipe Size Hanger Rod Strap Size Min.Clearance
Hanger Rod
NonCorrosive Nut&Washer mm. inch mm. inch mm. inch mm. inch
15 1/2 9 3/8 25/1.5 1x0.06 40 1 1/2
Clearance 20 3/4 9 3/8 25/1.5 1x0.06 40 1 1/2
Steel Strap 25 1 9 3/8 25/1.5 1x0.06 40 1 1/2
ADJUSTMENT 32 11/4 9 3/8 25/1.5 1x0.06 40 1 1/2
PIPE SIZE B W W1 L L1 X Y Pipe Size 40 11/2 9 3/8 25/3 1x1/8 40 1 1/2
mm. mm. mm. mm. mm. mm. mm. mm.
50 2 9 3/8 25/3 1x1/8 40 1 1/2
40 121 229.5 47 79 64 52.5 73
65 21/2 12 1/2 25/3 1x1/8 47 1 3/4
50 121 229.5 47 79 64 52.5 73
80 3 12 1/2 25/3 1x1/8 47 1 3/4
65 121 229.5 47 79 64 52.5 73
75 121 229.5 47 79 64 52.5 73
100 180 275 97 78 57 55 78
125 180 275 97 78 57 55 78
150 180 275 97 78 57 55 78
REFERENCE : KNACK FROOL DRAIN MODEL 232 B

รายการประกอบสัญลักษณ์สุขาภิบาล 1:75

บ้านพักอาศัย คสล 1.ชั้น 20/23


SN-02
ให้ใช้ค่าตัวเลขที่กำหนดไว้เท่านั้น ห้ามวัดจากแบบ 23
ตารางงานท่อ (PIPE SCHEDULE)
การใช้งาน วัสดุท่อ มาตรฐาน การเชื่อมต่อท่อ การทาสีท่อ
1.ท่อประปาภายนอก (CW.) PVC. มอก. 17 CLASS 13.5 น้ำยาเชื่อมท่อ PVC. ลูกศรทิศทางการไหลสีน้ำเงิน
2.ท่อระบายน้ำฝน (RL,RW.) PVC. มอก. 17 CLASS 8.5 น้ำยาเชื่อมท่อ PVC. ลูกศรทิศทางการไหลสีเหลือง
3.ท่อระบายน้ำทิ้ง (W.) PVC. มอก. 17 CLASS 8.5 น้ำยาเชื่อมท่อ PVC. ลูกศรทิศทางการไหลสีน้ำตาล
4.ท่อส้วม(S.) PVC. มอก. 17 CLASS 8.5 น้ำยาเชื่อมท่อ PVC. ลูกศรทิศทางการไหลสีดำ
5.ท่อจาก CWP,ท่อ CW บนหลังคา PVC. มอก. 17 CLASS 8.5 น้ำยาเชื่อมท่อ PVC.
6.ท่อระบายน้ำฝนรอบบริเวณ RC มอก.ชั้น 2 128-2528 ชนิดปากระฆัง
7.ท่อประปาในห้องน้ำ (CW.) PVC. มอก. 17 CLASS 13.5 น้ำยาเชื่อมท่อ PVC. ลูกศรทิศทางการไหลสีน้ำเงิน
8.ท่อระบายอากาศ (V.) PVC. มอก. 17 CLASS 8.5 น้ำยาเชื่อมท่อ PVC. ลูกศรทิศทางการไหลสีน้ำเงิน
หมายเหตุ กรณีท่อระบายน้ำฝนจากอาคารและท่อส้วมฝังดินให้ใช้เป็นท่อ PVC. มอก.17 13.5 CLASS

รายการประกอบสัญลักษณ์สุขาภิบาล 1:75

บ้านพักอาศัย คสล 1.ชั้น 21/23


SN-03
ให้ใช้ค่าตัวเลขที่กำหนดไว้เท่านั้น ห้ามวัดจากแบบ 23
บ่อซึม

บ่อเกรอะ

ท่อเมนน้ำประปา PVC 3/4" ต่อมาจากท่อประปาสาธารณประโยชน์


ท่อน้ำประปาต่อเข้ากับเครื่องสุขภัณฑ์ PVC 1/2"

M
แปลนงานระบบสุขาภิบาล
SCALE 1:75
ต่อมาจากท่อประปาสาธารณประโยชน์

แปลนงานระบบสุขาภิบาล 1:75

บ้านพักอาศัย คสล 1.ชั้น 22/23


SN-04
ให้ใช้ค่าตัวเลขที่กำหนดไว้เท่านั้น ห้ามวัดจากแบบ 23
ท่อระบายอากาศ PVC. Ø1"
ฝาถังสำเร็จรูป Ø 0.80 เมตร ฝาถังสำเร็จรูป Ø 0.80 เมตร
ต่อสูงถึงชายคา
ฝาทองเหลือง Ø 6" ฝาทองเหลือง Ø 6"

ระดับดิน +- 0.00

ถังซีเมนต์สำเร็จรูป Ø 0.80 เมตร ถังซีเมนต์สำเร็จรูป Ø 0.80 เมตร


4 ถังวางซ้อนกัน 4 ถังวางซ้อนกัน (เจาะรูโดยรอบ)
ฝาทองเหลือง Ø 6" ฝาทองเหลือง Ø 6" ท่อส้วม PVC.Ø4" อิฐหัก , ถ่าน โดยรอบ
ลาดเอียง 1/200

จากอาคาร ถังซีเมนต์สำเร็จรูป Ø 0.80 เมตร ถังซีเมนต์สำเร็จรูป Ø 0.80 เมตร


4 ถังวางซ้อนกัน 4 ถังวางซ้อนกัน (เจาะรูโดยรอบ)
ท่อส้วม PVC. Ø 4"
ลาดเอียง 1/200

คอนกรีตหยาบ 1 : 3 : 5 คอนกรีตหยาบ 1 : 3 : 5
ทรายหยาบชุ่มน้ำอัดแน่น ทรายหยาบชุ่มน้ำอัดแน่น

แบบขยายบ่อเกรอะ - บ่อซึม รูปตัดขยายบ่อเกรอะ - บ่อซึม


SCALE 1 : 25 SCALE 1 : 25

แบบขยายบ่อเกรอะ - บ่อซึม 1:25

บ้านพักอาศัย คสล 1.ชั้น 23/23


SN-05
ให้ใช้ค่าตัวเลขที่กำหนดไว้เท่านั้น ห้ามวัดจากแบบ 23

You might also like