You are on page 1of 52

บทที่ 2

ของไหลสถิตย์ (Fluid Static)

Asst. Prof. Dr. Kanokkarn Jirakulsomchok


Email: kwwp@kmutnb.ac.th
เป็ น การการศึ ก ษาในกรณี ที่ ข องไหลอยู่ ใ นสภาวะ
หยุดนิ่งหรือมีความเร็วเท่ากับศูนย์ โดยที่อนุภาคของ
ของไหลที่อยู่ติดกันไม่มีการเคลื่อนที่สัมพัทธ์กัน หรือ
เรียกว่า “Hydrostatic condition”การกระจาย
ของความดันจะมีสาเหตุมาจากน้าหนักของของไหล
เพียงอย่างเดียว
2.1 ความดันและผลต่างความดัน (Pressure and Pressure Gradient)

รูปที่ 2.1 สมดุลของลิ่มของไหลเล็กๆของของไหลที่หยุดนิ่ง

s sin   z และ s cos  x

Fx  0  Pxbz  Pnbs sin  (2.1)


1
Fx  0  Pz bx  Pnbs cos    bxz (2.2)
2
จากสมการที่ 2.5 เราสามารถสรุปได้ว่า
ความดันที่กระทาต่อจุดใดๆใน ของไหลทีห่ ยุดนิ่งไม่ขึ้นอยู่กับทิศทางที่ความดันนั้นๆกระทา
รูปที่ 2.2 แสดงแรงสุทธิเนื่องจากความดันใน
แนวแกน ที่กระท้าบนอิลิเมนต์ของเหลว
ที่พิจารณา
2.3 ความดันเกจและความดันสุญญากาศ (Gage Pressure and Vacuum Pressure)

1). ความดันสมบูรณ์ (Absolute pressure) หรือ ผลรวมของขนาดของความดันทั้งหมด

2). ความดันสัมพัทธ์กับความดันบรรยากาศ (Relative pressure to the local ambient


atmosphere)
PA  PB  PC  PD

3. ความดันในของไหลสถิตย์จะมีค่าเพิ่มขึนตามความลึกในของไหล
PA  Pa

รูปที่ 2.4 แรงดันของไหลสถิตย์


(Hydrostatic Pressure Distribution)
2.5 แรงดันสถิตย์ในของเหลว (Hydrostatic Pressure in Liquid)
พิจารณาว่าของเหลวเป็นของไหลที่อัดตัวไม่ได้ (Incompressible Fluid) จาก
สมการที่ (2.14) สามารถเขียนให้อยู่ในรูปอย่างง่ายได้ดังนัน

P2  P1    z2  z1 

โดยที่ ค่า  ของของเหลวชนิดต่างๆ สามารถหาได้จากตารางที่ 2.1


ตารางที่ 2.1 ค่าน้้าหนักจ้าเพาะของของไหลบางชนิด
น้าหนักจ้าเพาะของไหล ที่ 20 oC
ชนิดของไหล   
N/m3 lbf/ft3
อากาศที่ 1 atm 11.8 0.0752
เอทิลแอลกอฮอล์ 7,733 49.2
น้ามัน SAE 30 8,720 55.5
น ้า 9,790 62.4
น้าทะเล 10,050 64.0
กลีเซอลีน 12,360 78.7
ปรอท 133,100 846
น้ามันเบนซิน 8,600 54.7
รูปที่ 2.5 แสดงการกระจายความดันในทะเล แม่น้า มหาสมุทร
Patm   M h
2.8 มาโนมิเตอร์ (Manometer)

P2  P1    z2  z1 
2
zup >z down 1
zup  zdown  
0
zdown  zup  
รูปที่ 2.8 แสดงความดันที่เปลี่ยนแปลงภายในคอลัมน์ท่ี
ประกอบด้วยของเหลวหลายชนิด

เมื่อพิจารณารูปที่ 2.8 สามารถเขียนสมการเพื่อหา ลต่างความดันระหว่าง จุดที่ 5 ไปยัง จุดที่ 1 ได้ ดังนี


P5  P1   o  z2  z1    w  z3  z2    G  z4  z3    M  z5  z4 

P5  P1   o g  z2  z1    w g  z3  z2   G g  z4  z3    M g  z5  z4 

P5  P1  o g z2  z1   w g z3  z2  G g z4  z3   M g z5  z4
ตัวอย่างที่ 2 U-tube มาโนมิเตอร์ ดังรูป E2 เป็นอุปกรณ์ที่ใช้วัดความดันที่แตกต่าง
กันในแนวระดับ (horizontal) ซึ่งใช้อยู่ทั่วไปในระบบทางวิศวกรรม จงหา ลต่างความ
ดันระหว่างจุด (a) และ จุด (b) ในรูปของพารามิเตอร์ต่างๆ ที่ให้มาในรูป E2

(2)
(1)
วิธีท้า จากสมการ P2  P1    z2  z1 
รูปที่ E2

จากรูป จะได้ว่า Pa  Pb   Pa  P1    P1  P2    P2  Pb 
Pa  Pb   1 g  za  z1   2 g  z1  z2   1 g  z2  zb 
Pa  Pb   1 g  h  L   2 gh  1 gL
Pa  Pb   2  1  gh Ans.
ตัวอย่างที่ 3 เกจวัดความดัน B ถูกใช้วัดความดันที่จุด A ซึ่งอยู่ในบริเวณที่มีน้าไหล ่าน ดังแสดง
ในรูปที่ E1 ถ้าความดันที่จุด B มีค่า 87 kPa จงหาความดันที่จุด A ในหน่วย kPa โดยสมมุติให้ของ
ไหลทุกชนิดมีอุณหภูมิเท่ากับ 20 oC

(2)

(1)

วิธีท้า จากตารางที่ 2.1


(2)

(1)
ตัวอย่างที่ 4 จากรูปที่ E3 เมื่อพิจารณาให้ของไหลทุกชนิดมีอุณหภูมิ 20 oC จงหาความหนาแน่น
ของน้ามัน (Oil)

(3)
(1)

(2)

รูปที่ E3

จากการแก้สมการได้ γoil  7343 N / m 3


Ans.
แบบฝึกหัดท้ายบท
ข้อที1่ จากรูปที่ P1 เมื่อพิจารณาให้ของไหลทุกชนิดมีอุณหภูมิ 20 oC และ
จงหาค่า H ในหน่วย cm เมื่อก้าหนดให้ P  P  97 kPa
B A

รูปที่ P1
ข้อที่ 2 ถังในรูปที่ P25 บรรจุน้าและน้ามัน (Oil) เมื่อก้าหนดให้น้ามันมีความหนาแน่น
เท่ากับ 898 kg/m3 จงหา ความสูง h ในหน่วย cm
p1  p3   p1  p2    p2  p3 
1

รูปที่ P2
ข้อที่ 7 จากรูปที่ 7 จงหาความดันที่จุด A
ก้าหนด water = 9790 N/m3, air = 11.3 N/m3,
Mercury = 133,100 N/m3, S.G. oil = 0.85, Patm = 101.325 kPa

จาก P2  P1    Z 2  Z1 

B
E

D
รูปที่ 7
3

4
2
1
จะได้สมการที่ใช้ในการหาขนาดของแรงดันซึ่งกระท้าต่อแ ่นราบ ดังนี
F  Patm A   hCG A   Patm   hCG  A  PCG A
แรงดันบรรยากาศที่กระท้ากับแ น่ ราบในทุกทิศทุกทางเกิดการหักล้างกันเอง ดังนัน
แรงดันที่กระท้าต่อแ ่นราบจะสามารถหาได้จากสมการ
F   hCG A

และต้าแหน่งของแรงดันที่กระท้าต่อแ น่ ราบ เป็นดังนี


I xx I sin 
yCP   sin    xx
pCG A hCG A

I xy I xy sin 
xCP   sin  
pCG A hCG A
I xx sin 
yCP 
hCG A
I xy sin 
xCP  
hCG A

รูปที่ 2.12 Centroidal mements of inertia for various cross sections: (a) สี่เหลี่ยม, (b) วงกลม, (c) สามเหลี่ยม, and (d) ครึ่งวงกลม
ตัวอย่างที่ 4 ประตูน้าสี่เหลี่ยม AB ดังรูปที่ 4E มีความกว้าง 1 m
ถูกยึดไว้ที่จุด B และวางพาดไว้กับก้าแพง ไร้แรงเสียดทานที่จุด A
เมื่อไม่พิจารณา ลของความดันบรรยากาศ จงค้านวณหา ขนาด
และต้าแหน่งของแรงดันเนื่องจากน้าที่กระท้ากับประตูกันน้า แรง
ที่ นังกระท้ากับประตูที่จุด A และแรงลัพธ์ที่จุด B

รูปที่ E4
ดังนันแรงเนื่องจากความดัน F   hCG A   9790 18.92  2.5  463067 N

หาแรงที่จุด A โดยการ Take moment รอบจุด B


   2.5
RA 2.5  Sin 60o  F 
 2

 0.024 

RA  262, 218.7 N Ans.
หาแรงลัพธ์ที่จุด B จากการพิจารณาสมดุลแรงในแนวแกน x และ แกน y
สมดุลแรงในแนวแกน x

  Fx  0 : F Sin 60o  RBx  RA  0

 463067  Sin 60o  RBx  262, 218.7  0


RBx  -138,809.08 N Ans.
สมดุลแรงในแนวแกน y
   Fy  0 : -F Cos 60o  RBy  w 0  0

  463067  Cos 60o  RBy  0  0

RBy  231533.5 N Ans.


ข้อที่10 ประตูกนั้ นา้ วงกลม ABC ดังรูปที่ P9 มีเส้นผ่านศูนย์กลาง 2 m และถูกยึดไว้ท่ีจดุ
ศูนย์กลาง (จุดB) เมื่อไม่พิจารณาผลของความดันบรรยากาศ จงคานวณหาแรง P ที่ใช้ในการ
ป้องกันไม่ให้ประตูเปิ ดออก
F   hCG A
I xx sin 
yCP  
hCG A
I xy sin 
xCP  
hCG A
ข้อที1่ 2 ประตูสี่เหลี่ยม AB ขนาด 1 × 1.2 m มีมวล 180 kg ดังรูป ถูกยึดไว้ที่จุด A จงหาความลึกของระดับ
น้า h ที่ท้าให้ประตูเริ่มเปด เมื่อพิจารณาว่าของไหลทุกชนิดมีอุณหภูมิเท่ากับ 25 oC
ก้าหนด glycerin = 12,360 N/m3

น้า
wa
Glycerin ter
h
2m A 2
1m m

B 60o
ตัวอย่างที่ 5 ถังบรรจุน้ามันมีรายละเอียด สามารถแสดง
ได้ดังรูปที่ E5 เมื่อไม่พิจารณาถึง ลของความดัน
บรรยากาศ จงค้านวณหาขนาดและต้าแหน่งของแรงดัน
เนื่องจากน้ามันภายในถังที่กระท้ากับแ ่นรูปสามเหลี่ยม
มุมฉากที่ติดอยู่ด้านล่างถัง
วิธีท้า จากรูปที่ 5E
hCG  5  4  9 m
1
A   6 12  36 m2
2
bL 6 12 
3 2

I xx    288 m4
36 36
b  b  2s  L2
I xy 
72
6  6  2  6 122
  72 m4
72
I xy sin   72   sin 30o 
xCP     0.111 m
hCG A  9  36 

ดังนันแรงเนื่องจากความดัน F   ghCG A   800  9.81 9  36   2.54 106 N Ans


2.11 แรงลอยตัว (Buoyancy Force)
คือ แรงที่ของไหลกระท้าต่อวัตถุที่จมหรือลอยอยู่ในของ
ไหลในทิศทางที่พุ่งขึนในแนวดิ่ง ในแนวตรงกันข้ามกับแรงโน้มถ่วงโลก
ดังนันหากวัตถุจมหรือลอยอยู่ในน้า น้าหนักของวัตถุจะน้อยลงเสมอ
โดยขนาดของแรงดังกล่าว สามารถหาได้จากกฏของ Archimedes ที่
ค้นพบในศตวรรษที่สาม ดังนี
1. กรณีของวัตถุที่จมอยู่ในของไหลขนาดของแรงลอยตัวที่กระท้ากับ
วัตถุนันจะมีค่าเท่ากับน้าหนักของของไหลที่มีปริมาตรเท่ากับ
ปริมาตรของวัตถุ
2. วัตถุที่ลอยอยู่บนของไหลแรงลอยตัวจะมีค่าเท่ากับน้าหนักของ
ของเหลวที่มีปริมาตรเท่ากับส่วนที่จมของวัตถุ

รูปที่ 2.15 แสดงแรงเนื่องจากความดันของของไหลที่กระทาต่อวัตถุ


เมื่อพิจารณา รูปที่ 2.15 แรงลอยตัวกระท้าต่อวัตถุสามารถค้านวณหาได้จากสมการ ดังต่อไปนี
FB  FV 2  FV 1
= (น้าหนักของของไหลเหนือ ิว2) - (น้าหนักของของไหลเหนือ ิว1)
= น้าหนักของของไหลที่มีปริมาตรเท่ากับวัตถุที่จม
FB    p2  p1  dAH     z2  z1  dAH   (ปริมาตรของวัตถุ)
body

ดังนันสมการที่ใช้ค้านวณหาขนาดของแรงลอยตัวของวัตถุในรูปที่ 2.16 สามารถแสดงได้ตามสมการดังต่อไปนี

FB   dis  W f

เม่ dis  ปรมา รที่ถูก ท ที่ด้ว ไ (Displacement volume)


Wf  า ก ว ถุส่ว ที่ (Floating-body weight)
รูปที่ 2.16 แสดงขนาดของแรงลอยตัวของวัตถุที่ลอยอยู่บนของเหลว
โดยต้าแหน่งที่แรงลอยตัวกระท้าต่อวัตถุเรียกว่า จุดศูนย์รวมของแรงลอยตัว (Center of Buoyancy, CB) ซึ่ง
ก็คือ Centroid ของปริมาตรของส่วนที่จมนั่นเอง
ตัวอย่างที่7 วัตถุก้อนหนึ่งมีน้าหนัก 200 lbf ในอากาศ เมื่อน้าไปจมลงในน้าบริสุทธิที่มีน้าหนักจ้าเพาะ
 w   62.4 lbf/ft3 จะมีน้าหนักเหลือเพียง 60 lbf จงหาน้าหนักจ้าเพาะของวัตถุก้อนนี

วิธีท้า จากข้อมูลที่โจทย์ให้ ต้องหาปริมาตรของวัตถุ


ก้อนนีจากหลักการของแรงลอยตัว

จาก  Fz  0  60  FB  200

FB  140   w obj   62.4  obj

140
obj   2.244 ft 3
62.4

200lbf
  obj   89.13 lbf/ft 3

2.244 ft 3
ข้อที่ 1 วัตถุก้อนหนึ่งมีมวล 50 kg เมื่อจมลงไปในน้าจะมีน้าหนักเหลือเพียง 300 N จงหา ขนาดของแรงลอยตัว
 FB  ที่กระท้าต่อวัตถุก้อนนี รวมถึงปริมาตร น้าหนักจ้าเพาะ   
ความหนาแน่น    และค่าความถ่วงจ้าเพาะของวัตถุก้อนนีเมื่อเทียบกับน้า (Specific gravity) (10 คะแนน)

You might also like