You are on page 1of 42

Chapter 2

สถิตย์ ศาสตร์ ของไหล


(Fluid Statics)

1
สถิตย์ ศาสตร์ ของไหล (Fluid Static)
• ศึกษาเกี่ยวกับของไหลที่อยูน่ ่ิงหรื อมีการเคลื่อนที่โดยที่ไม่มีความเค้นเฉื อนเกิดขึ้นระหว่างชั้น
ของของไหล
• พิจารณาว่าแรงที่กระทำต่อผิวของอนุภาคของไหลมีเฉพาะแรงเนื่องจากความดัน

2.1 ความดัน
• ความดันที่กระทำต่อของอนุภาคไหล (fluid element) จะมีค่าเท่ากันทุกทิศทาง
• ทิศของความดันจะกระทำตั้งฉากกับผิวภาชนะหรื อผิวของ element ของไหลที่พิจารณาเสมอ
• ที่ระดับความลึกเดียวกัน ความดันจะมีค่าเท่ากัน

2
กฎของปาสคาล (Pascal’s law)
“ ความดันที่ตำแหน่งใดตำแหน่งหนึ่งในของไหล (ทั้งที่อยูน่ ่ิงและเคลื่อนที่) จะไม่ข้ ึนอยูก่ บั ทิศที่
ความดันกระทำ ตราบเท่าที่ไม่มีความเค้นเฉื อนเกิดขึ้น”

3
4
2.2 สมการพืน้ ฐานสำหรับสนามความดัน (Pressure Field)
เพื่อหาว่าความดันในของไหลมีการแปรผันตามตำแหน่งอย่างไร พิจารณาอนุภาคของไหลซึ่งมี
แรงมากระทำประกอบด้วย
- surface force : แรงที่กระทำเนื่องจากความดันของของไหล
- body force : น้ำหนักของอนุภาคของไหล

5
6
2.3 การแปรผันของความดันในของไหลทีห่ ยุดนิ่ง
สำหรับของไหลที่อยูน่ ่ิง ความเร่ ง a = 0 ดังนั้นจะได้สมการสนามความดันเป็ น

หรื อก็คือ

จะเห็นได้วา่ ความดันไม่ข้ ึนอยูก่ บั ตำแหน่งตามแนวแกน x และ y แต่จะขึ้นอยูก่ บั ความลึก z


เท่านั้น ดังนั้นเขียนในรู ปสมการ ordinary differential equation ได้วา่

(2.4)

7
2.3.1 ของไหลอัดตัวไม่ ได้ (Incompressible Fluid)
ของเหลวมักถูกพิจารณาว่าเป็ นของไหลอัดตัวไม่ได้ นัน่ คือ ความหนาแน่น  จะมีค่าคงที่ ดังนั้น
จะได้วา่

Hydrostatic pressure distribution (2.7)

โดยทัว่ ไปมักใช้ free surface เป็ นตำแหน่งอ้างอิง มีความดัน


เท่ากับ p0 (เท่ากับความดันบรรยากาศ)

8
5.2 m

0.9 m

9
2.3.2 ของไหลอัดตัวได้ (Compressible Fluid)
สำหรับของไหลอัดตัวได้ เช่น อากาศ ความหนาแน่นจะแปรตามความดันและอุณหภูมิ อย่างไรก็
ตามความหนาแน่นของอากาศจะมีค่าน้อยมากเมื่อเทียบกับน้ำ ดังนั้นการแปรผันของความดันใน
แนวแกน z จึงพิจารณาว่ามีค่าน้อยมาก (เมื่อ z มีการเปลี่ยนแปลงเพียงเล็กน้อย)
อย่างไรก็ตาม ถ้า z มีการเปลี่ยนแปลงมาก (เช่น หลายพันเมตร) น้ำหนักจำเพาะจะมีการ
เปลี่ยนแปลงเนื่องจากความหนาแน่นมีค่าเปลี่ยนไปตามกฎของแก๊สอุดมคติ

10
2.4 Standard Atmosphere

ในชั้น troposphere ประมาณได้วา่

แทนในสมการเพื่อหาความดัน

จะได้วา่

11
2.5 การบอกค่ าความดัน
การบอกค่าความดันจะระบุได้ 2 แบบ คือ
• ความดันสัมบูรณ์ (Absolute pressure) คือ ความดันที่วดั เทียบกับสูญญากาศ (vacuum, absolute zero
pressure)
• ความดันเกจ (Gauge pressure) คือ ความดันที่วดั เทียบกับความดันบรรยากาศ

Mercury barometer

เราอาจระบุความดันด้วยความสู งของแท่งของเหลวและชนิดของของเหลว เช่น ความดันบรรยากาศ


มาตรฐานเมื่อวัดด้วยบารอมิเตอร์ปรอท มีค่าเท่ากับ 760 mm Hg (abs)
12
2.6 Manometry
เป็ นวิธีการวัดความดันอย่างง่ายโดยใช้ความสูงของของไหลในท่อแนวดิ่งหรื อท่อแนวเอียง

Piezometer tube U-Tube Manometer

13
Ex. 2.4
GIVEN A closed tank contains compressed air and oil (SGoil = 0.90) as show in figure. A
U-tube manometer using mercury (SGHg = 13.6) is connected to the tank as shown.
The column heights are h1 = 91.5 cm, h2 = 15.2 cm, and h3 = 22.9 cm.
FIND Determine the pressure reading (in N/cm2) of the gage.

14
Ex. The mechanics of pneumatic jack used in a service station is shown in this figure. If the car and
lift have a weight of 25 kN, determine the force that must be developed by the air compressor at B
to raise the lift at a constant velocity. Air is in the line from B to A. The air line at B has an inner
diameter of 15 mm, and the post at A has a diameter of 280 mm.

15 mm
280 mm

15
Inclined-tube Manometer
ในกรณี ที่ความดันต่างระหว่าง 2 จุดมีค่าน้อย มักใช้มานอมิเตอร์แบบท่อเอียงในการวัดความดัน
ต่าง

ถ้าในท่อ A และ B เป็ นแก๊ส ความสูง h1 และ h3 จะถูกตัดทิ้งได้ ดังนั้นจะประมาณได้วา่

16
17
Differential Manometer
เป็ น manometer ที่ใช้ในการหาความดันต่างระหว่างสองจุดในท่อระบบปิ ด ดังรู ป

Inverted U-tube manometer

18
Ex. Determine the difference in pressure between the centerline points A and B in the two
pipelines in this figure if the manometer liquid CD is in the position shown. The density of the
liquid in AC and DB is  = 800 kg/m3 and in CD, CD = 1100 kg/m3.

19
2.7 Mechanical and Electronic Pressure-Measuring Devices
Bourdon pressure gage : บอกค่าความดันเกจแบบเชิงกล

20
• Video of Boudon pressure gage

21
Aneroid barometer : ใช้วดั ค่าความดันบรรยากาศแบบเชิงกล

22
Pressure transducer : เครื่ องมือวัดความดันแบบอิเล็กโทรนิกส์โดยแปลงความดันที่วดั ได้เป็ น
digital output เช่น ต่อ Bourdon gage เข้ากับ linear variable differential transformer (LVDT) จะ
แปลงความดันที่อ่านได้จาก Bourdon gage เป็ นค่าแรงดันไฟฟ้ า (output voltage)

ที่ปลายด้าน A จะต่ออยูก่ บั pressure vessel ความดันจากของไหลจะ


ทำให้แผ่นไดอะแฟรมเกิดการเปลี่ยนรู ป โดยการเปลี่ยนรู ปของแผ่นได
อะแฟรมจะถูกวัดด้วย strain gage

23
2.8 Hydrostatic force on a plane surface
ถ้ามีถงั น้ำวางอยูโ่ ดยก้นถังอยูใ่ นแนวระนาบ จะได้วา่ แรงดันน้ำที่กระทำต่อก้นถังมีค่าสม่ำเสมอ
เท่ากันตลอดพื้นที่ แต่สำหรับส่ วนของผนังด้านข้างถัง แรงดันน้ำที่กระทำต่อผนังจะไม่คงที่เนื่องจาก
แรงดันที่แต่ละตำแหน่งจะขึ้นอยูก่ บั ความลึกจากผิวน้ำ

ความดันที่กน้ ถัง ความดันที่ดา้ นข้างถัง

24
หาขนาดของแรงลัพธ์ (Resultant force, FR)

25
หาตำแหน่งที่ FR กระทำ โดย take moment รอบแกน x และ y

26
Centroidal coordinates and moments of inertia for some common areas 27
28
GIVEN An aquarium contains seawater (=10.1 kN/m3) to a depth of 0.3 m as shown in Fig. E2.7a.
To repair some damage to one corner of the tank, a triangular section is replaced with a new
section as illustrated in Fig. E2.7b.
FIND Determine
(a) the magnitude of the force of the seawater on
this triangular area, and
(b) the location of this force. 0.09 m
0.3 m

0.09 m
0.27 m 0.76 m

0.3 m
0.06 m

0.03 m

0.03 m 0.05 m 0.05 m


Fig. E2.7a
Fig. E2.7b-d 29
2.9 Pressure Prism

Pressure prism for vertical


rectangular area

เป็ นอีกวิธีหนึ่งที่ใช้สำหรับหา FR ที่กระทำต่อผนังด้านข้างของถังน้ำได้ จากรู ปน้ำในถังสูง h ความดันน้ำ


แปรผันแบบเชิงเส้นจากผิวน้ำมายังก้นถัง นัน่ แสดงว่าที่ความลึก h/2 ความดันจะเท่ากับความดันเฉลี่ย
pav ดังนั้นแรงลัพธ์ที่กระทำต่อพื้นที่ขา้ งถัง A = bh จะเท่ากับ

ถ้าเราวาดการกระจายตัวของความดันออกมาในแบบ 3 มิติ จะได้ปริ มาตรดังรู ป (b) เรี ยกว่าเป็ นปริ ซึม


ความดัน (pressure prism) จะเห็นได้วา่ แรงลัพธ์ที่กระทำต่อด้านข้างถังน้ำมีขนาดเท่ากับปริ มาตรของ
ปริ ซึมนี้
30
เราสามารถใช้วธิ ีการเดียวกันในการวิเคราะห์แผ่นที่จมอยูใ่ นน้ำ โดยหน้าตัดของปริ ซึมจะเป็ นรู ป
สี่ เหลี่ยมคางหมู

หาขนาด FR :

หาตำแหน่ง FR :

31
32
33
34
2.10 Hydrostatic Force on a Curved Surface

พิจารณาส่ วนโค้งของสระน้ำดังรู ป ถ้าต้องการหาแรงลัพธ์ที่


กระทำต่อส่ วนโค้ง BC

แรงลัพธ์ FR จะกระทำต่อผิวโค้ง BC โดยผ่านจุด O ซึ่งจะสามารถหาตำแหน่งจุด O ได้โดยการ


take moment รอบแกนใดแกนหนึ่งที่เหมาะสม

35
Example 2.9 Hydrostatic Pressure Force on a Curved Surface
Given A 1.8-m diameter drainage conduit of the type shown in Fig.E2.9a is half full of water
at rest, as shown in Fig. E2.9b.
Find Determine the magnitude and line of action of the resultant force that the water exerts
on a 0.3 length of the curved section BC of the conduit wall.

0.39 m
0.9 m
FR=2218 N

0.3 m 0.3 m

36
Ex. The sea water in the figure below is in the form of a semiparabola. Determine the
resultant force acting on 1 m of its length. Where does this force act on the wall. Take
w=1050 kg/m3.

37
2.11 แรงลอยตัว การลอยตัวและเสถียรภาพของวัตถุ
แรงลอยตัว
สำหรับวัตถุที่จมหรื อลอยอยูใ่ นของไหล
แรงลัพธ์ที่ของไหลกระทำต่อวัตถุ เรี ยก
ว่า แรงลอยตัว (Buoyant force) จะมีทิศ
ชี้ข้ ึนเสมอ
-ถ้าแรงลอยตัวมีค่ามากกว่าน้ำหนักวัตถุ
วัตถุจะลอย
-ถ้าน้ำหนักมีค่ามากกว่าแรงลอยตัว วัตถุ
จะจม
ตำแหน่งที่แรงลอยตัวกระทำเรี ยกว่า
จุดศูนย์กลางการลอยตัว (center of
buoyancy)

หลักของอาร์ คมี ิดสี (Archimedes’s principle)


แรงลอยตัวจะมีขนาดเท่ากับน้ำหนักของ
ของไหลซึ่งถูกแทนที่ดว้ ยวัตถุและมีทิศชี้ ข้ ึน
เสมอ 38
เสถียรภาพของวัตถุทจี่ มหรือลอย
• วัตถุอยูใ่ นสภาวะสมดุลเสถียร (stable equilibrium) เมื่อวัตถุถูกขยับไป
จากตำแหน่งเดิมแล้วจะกลับมายังตำแหน่งสมดุลได้เอง
• วัตถุอยูใ่ นสภาวะสมดุลไม่เสถียร (unstable equilibrium) เมื่อวัตถุขยับ
ไปจากตำแหน่งเดิมแล้ว จะเคลื่อนที่ไปยังตำแหน่งสมดุลใหม่

สำหรับวัตถุที่จมอยูใ่ นของไหลทั้งก้อน ถ้า CG อยูต่ ่ำกว่าจุด c (คือจุด


center of buoyancy ซึ่งเป็ นตำแหน่งเดียวกับ centroid) เมื่อมีการหมุนไป
จากตำแหน่งเดิมเล็กน้อย วัตถุจะหมุนกลับมาที่เดิมได้ นัน่ คืออยูใ่ น
สภาวะ stable equilibrium

สำหรับวัตถุที่จมอยูใ่ นของไหลทั้งก้อน ถ้า CG อยูส่ ูงกว่าจุด c เมื่อมีการ


หมุนไปจากตำแหน่งเดิม วัตถุจะพลิกคว่ำ นัน่ คืออยูใ่ นสภาวะ unstable
equilibrium
39
สำหรับวัตถุที่ลอยอยูใ่ นของไหล การ
วิเคราะห์จะค่อนข้างซับซ้อนมากกว่ากรณี ที่
วัตถุท้ งั ก้อนอยูใ่ นของไหล โดยไม่สามารถ
พิจารณาจากตำแหน่งของ CG และ c ได้เพียง
อย่างเดียว แต่จะขึ้นอยูก่ บั รู ปร่ างและการกระ
จายน้ำหนักของวัตถุน้ นั ด้วย

40
41
42

You might also like