You are on page 1of 16

03/07/62

2015101 ฟสิกส 1
อุณหภูมิและความรอน

ดร.วิเชษฐ พลหาญ
คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม

1
03/07/62

อุณหภูมิและความรอน
19.1 อุณหภูมิและกฎขอที่ศูนยของอุณหพลศาสตร
19.2 เทอรโมมิเตอรและอุณหภูมิในหนวยองศาเซลเซียส
19.3 เทอรโ มมิ เตอรแ บบกาซปริ มาตรคงที่ และอุณ หภู มิใ น
หนวยองศาสัมบูรณ
19.4 การขยายตัวเชิงความรอนของของแข็งและของเหลว
20.1 ความรอนและพลังงานภายใน
20.2 ความจุความรอนจําเพาะและคาลอรีเมตรี
20.3 ความรอนแฝง

19.1 อุณหภูมิและกฎขอทีศ่ ูนยของ


อุณหพลศาสตร
 อุณหภูมิ (temperature) คือ ระดับความรอน (อุณหภูมิเทากัน
แตปริมาณความรอนไมจําเปนตองเทากัน)
 สมดุลความรอ น (Thermal equilibrium) คือ สถานการณที่
วัตถุส องชิ้นไมมีการแลกเปลี่ยนพลังงานความรอนหรือการแผรังสี
คลื่นแมเหล็กไฟฟาในขณะที่มีการสัมผัสกันทางความรอน
 การสัมผัสกันทางความรอนไมจําเปนที่วัตถุจะตองสัมผัสกัน
Thermal Equilibrium

A Q B A B

TA > TB TA = TB
Q>0 Q=0

2
03/07/62

กฎขอที่ศูนยของเทอรโมไดนามิกส
ถาวัตถุ A และ B แยกกันอยู และตางก็อยูในสมดุลทางความรอนกับ
วัตถุที่สามคือวัตถุ C ดังนั้นวัตถุ A และ B จะอยูในสมดุลทางความ
รอนซึ่งกันและกัน

19.2 เทอรโมมิเตอรและอุณหภูมิในหนวย
องศาเซลเซียส
 เทอรโมมิเตอร เปนอุปกรณที่ใชในการวัดอุณหภูมิของระบบ
 เมื่ออุณหภูมิของระบบมีการเปลี่ยนแปลงจะทําใหสมบัติทาง
กายภาพเปลี่ยนแปลงเชน
 ปริมาตรของเหลว
 ขนาดของของแข็ง
 ความดันของกาซที่ปริมาตรคงที่
 ปริมาตรของกาซที่ความดันคงที่
 ความตานทานไฟฟาของตัวนํา
 สีของวัตถุ

3
03/07/62

19.3 เทอรโมมิเตอรแบบกาซปริมาตรคงที่
และอุณหภูมิในหนวยองศาสัมบูรณ

 สําหรับอุณหภูมิในหนวยองศาเซลเซียส กําหนดใหจุดเยือกแข็ง
ของน้ําเปน 0 oC
 จุดเดือดของน้ําเทากับ 100 oC

 ความยาวของระดับของของเหลวแบงออกเปน 100 สวนเทา ๆ


กัน
 ปญหาของเทอรโมมิเตอรชนิดนี้คือ อา นคาไมคอยแมนยําหาก
ตอ งการความละเอี ยดสู ง เชน เทอร โ มมิ เ ตอร แบบปรอทหรื อ
แอลกอฮอล อานคาไดตรงกันเฉพาะจุดสอบเทียบคือจุดเยือกแข็ง
และจุดเดือด

4
03/07/62

19.3 เทอรโมมิเตอรและอุณหภูมิในหนวย
องศาเซลเซียส  การวัดอุณหภูมิของวัตถุใดๆ ทําโดยนําขวด
รูป ชมพู ที่ภ ายในบรรจุกา ซ ดัง รูป ไปวางให
สัมผัสทางความรอนกับวัตถุนั้นแลว
 มีก ารปรับ เปลี่ยนปริม าตรของแกส ใหคงที่
ในขณะที่อุณหภูมิเปลี่ยนแปลงไป โดยการยก
ทอ B ขึ้นหรือลงเพื่อรัก ษาระดับ ปรอทดาน
บนสุดของทอ A ใหคงที่ (อยูที่ขีดศูนยบ น
สเกล) ความสูง ของระดับ ปรอทในทอ B จะ
บอกระดับความดันของกาซ ดังนั้นจึงสามารถ
บอกอุณหภูมิของวัตถุไดโดยใชกราฟ

5
03/07/62

 หากใชกาซตางชนิดกันและมีก ารขยายเสนตรงในรูป ออกไป


พบวาความดันเปนศูนยที่อุณหภูมิ - 273.15 องศาเซลเซียส
เสมอ จึงเรียก อุณหภูมินี้วา ศูนยสัมบูรณ (absolute zero)
 อุณหภูมิเปน 0 K ที่ความดันเปนศูนย
 เรียกสเกลนี้วา สเกลเคลวินหรือสเกลสัมบูรณ
 0 K = -273.15 oC นั่นคือ

ตัวอยางที่ 19.1 ในวันหนึ่งที่อุณ หภูมิสูงขึ้นเปน 50 oF จงหาคา


อุณหภูมิในหนวยองศาเซลเซียส

ตัวอยางที่ 19.2 กะทะถูกใหความรอนจาก 25 oC เปน 80 oC จงหา


อุณหภูมิที่เปลี่ยนแปลงไปในหนวย เคลวิน และ องศาฟารเรนไฮต

6
03/07/62

19.4 การขยายตัวเชิงความรอนของของแข็ง
และของเหลว

การขยายตัวเชิงความรอนในหนึ่งมิติ

การขยายตัวเชิงความรอนในสามมิติ

7
03/07/62

ตัวอยางที่ 19.3 แผนคอนกรีตยาว 12 m ที่อุณหภูมิ – 5 oC ความ


ยาวจะเปลี่ยนไปเทาไรเมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้นเปน – 35 oC กําหนดให
สัมประสิทธิ์การขยายตัวเชิงเสนเปน 1x10-5 / oC

8
03/07/62

ตัวอยางที่ 19.4 ชิ้นสวนของเหล็กกลาที่ถูกนํามาประกอบเปนราง


รถไฟมีความยาว 30.0 m ที่อุณหภูมิ 0.0 oC
(ก) จงหาความยาวจะเปลี่ยนไป เมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้นเปน 40 oC

(ข) สมมติวาปลายทั้งสองดานถูกยึดไวไมใหมีการขยายตัวเชิงความ
รอน จงหาคาความเคนทางความรอนที่เกิดขึ้นบนรางรถไฟ

ตัวอยางที่ 19.5 พิจารณาอุปกรณที่ประกอบดวยนอตสองตัวดังรูป


ในตอนเริ่มตน ปลายนอตทั้งสองอยูหางกัน 5.0 mm ที่อุณหภูมิ 27
oC จงหาอุณหภูมิที่ทําใหนอตทั้งสองตัวสัมผัสกัน

9
03/07/62

20.1 ความรอนและพลังงานภายใน
ความร อ น มี นิ ย ามว า เป น การถ า ยโอนพลั ง งานข า มผ า นระหว า ง
ขอบเขตของระบบ เนื่องจากความแตกตางระหวางอุณหภูมิของระบบ
กับสิ่งแวดลอม ซึ่งความรอนนี้ยังมีคาเทากับพลังงาน ทั้งหมดที่ถาย
โอนโดยกระบวนการนี้อีกดวย
พลังงานภายใน คือ พลังงานทั้งหมดของระบบที่มีความสัมพันธกับ
องคประกอบระดับจุลภาคของอะตอมและโมเลกุล เมื่อมองจากกรอบ
อางอิงที่หยุดนิ่งเทียบกับจุดศูนยกลางมวลของระบบ

ตัวอยางที่ 20.1 ชายคนหนึ่งรับประทานอาหารที่ใหพลังงาน 2,000


cal ถาตองการรักษาสมดุลของงานโดยการยกบารเบลมวล 50.0 kg
เขาจะต อ งยกบาร เ บลกี่ ครั้ ง เพื่ อ ลดพลัง งานที่ รั บ ประทานเข า ไป
สมมติวาในการยกบาร เบลแตล ะครั้งยกไดสูง 2.0 m และไม มี
พลังงานเกิดขึ้นขณะลดลารเบลลงต่ําสุด

10
03/07/62

20.2 ความจุความรอนจําเพาะและคาลอรีเมตรี
ความจุค วามรอ น มีนิย ามว า คื อ พลังงานที่ จํา เปน ในการทํ า ให
อุณหภูมิของวัตถุเพิ่มขึ้น 1 oC จากนิยามนี้พบวา ถาปริมาณพลังงาน
ทําใหอุณหภูมิของวัตถุเปลี่ยน ดังนั้น

ความจุความรอนจําเพาะ ของสสารคือ ความจุความรอนตอหนึ่ง


หนวยมวล เพราะฉะนั้นถาพลังงาน ถายโอนไปยังวัตถุที่มีมวล
และอุณหภูมิของวัตถุเปลี่ยนแปลงไป ความจุความรอนจําเพาะ
ของวัตถุมีคาเปน

11
03/07/62

แคลอรีเมตรี

ตัวอยางที่ 20.2 แทงโลหะมวล 0.05 kg ถูกทําใหรอนจนมีอุณหภูมิ


200.0 oC และถูกจุมลงในแคลอรีมิเตอรที่มีน้ําอยู 0.4 kg มีอุณหภูมิ
ตั้งตน 20.0 oC อุณหภูมิสุดทายหลังจากที่ระบบอยูในสภาวะสมดุล
ทางความรอนคือ 22.4 oC จงหาความจุความรอนจําเพาะของโลหะ

12
03/07/62

ตัวอยางที่ 20.3 กระสุนปนที่ทําจากเงินถูกยิงออกจากปากกระบอก


ป น ด ว ยอั ต ราเร็ ว 200 m/s ไปยั ง ผนั ง ห อ งโถงที่ ทํ า จากต น สน
ประมาณวาพลังงานภายในทั้งหมดที่เกิดขึ้นนั้นเกิดจากลูปปนเพียง
อยางเดียว จงหาอุณหภูมิที่เปลี่ยนไปของลูกปน

20.3 ความรอนแฝง

13
03/07/62

ความรอนแฝงของการหลอมเหลว คือ เทอมที่ใชเมื่อมีการเปลี่ยน


เฟสจากของแข็งเปนของเหลว
ความร อ นแฝงของการกลายเป น ไอ คื อ เทอมที่ใ ช เมื่ อ มีก าร
เปลี่ยนเฟสจากของเหลวเปนกาซ

ตัวอยางที่ 20.4 จงหามวลของไอน้ําที่มีอุณหภูมิตั้งตนเทากับ 130


oC ที่ทําใหน้ํามวล 200 g ที่อยูในภาชนะที่ทําจากแกวมวล 100 g มี

อุณหภูมิเพิ่มขึ้นจาก 20.0 oC เปน 50.0 oC

14
03/07/62

แบบฝกหัด
1. จุดเดือดของไฮโดรเจนเหลวมีคา เทากับ 20.3 K ที่ความดัน
บรรยากาศ จงหาคาอุณหภูมินี้ในหนวย (ก) องศาเซลเซียส (ข) องศา
ฟาเรนไฮต
2. ในฤดูหนาวที่อุณหภูมิ -20.0 oC สายโทรศัพทที่ทําจากทองแดงจะ
ไมหอยตกทองชาง ถาระยะหางระหวางเสาที่ใชแขวนสายโทรศัพทมี
ค า เท า กั บ 35.0 m จงหาว า ในฤดู ร อ นที่ อุ ณ หภู มิ 35.0 oC
สายโทรศัพทยาวขึ้นเทาใด

15
03/07/62

3. ผสมน้ํามวล 0.25 kg ที่ 20.0 oC อะลูมิเนียมมวล 0.4 kg ที่ 26.0


oC และทองแดงมวล 0.1 kg ที่ 100 oC ในภาชนะที่เปนฉนวน และ

สุดทายอยูในภาวะสมดุลทางความรอน จงหาอุณ หภูมิสุดทา ยของ


การผสมนี้
4. อุณหภูมิของแทงเงินเพิ่มขึ้น 10.0 oC เมื่อมันดูดกลืนพลังงาน
1.23 kJ โดยความรอน แทงเงินมีมวล 525 g จงหาความจุความรอน
จําเพาะของเงินจากขอมูลที่กําหนดให
5. จงหาปริมาณพลังงานที่ตองใชในการเปลี่ยนกอนน้ําแข็ง 40.0 g ที่
-10.0 oC ไปเปนไอน้ําที่ 110 oC

6. แคลอรีมิเตอรทําจากทองแดงมีมวล 50.0 g ภายในบรรจุน้ํา 250


g อุณหภูมิ 20.0 oC จะตองใสไอน้ําอุณหภูมิ 100 oC ปริมาณเทาใด
ลงไปในแคลอรีมิเตอร เพื่อใหควบแนนกลายเปนน้ํา และมีอุณหภูมิ
สุดทายของระบบเปน 50.0 oC

16

You might also like