You are on page 1of 18

วิทยาศาสตร์ เล่ม 2

ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 หน่วยการเรียนรู้ที่ 7

Slide PowerPoint_สื่อประกอบการสอน

บริษัท อักษรเจริญทัศน์ อจท. จำกัด : 142 ถนนตะนำว เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200


Aksorn CharoenTat ACT.Co.,Ltd : 142 Tanao Rd. Pranakorn Bangkok 10200 Thailand
โทรศัพท์ : 02 622 2999 โทรสำร : 02 622 1311-8 webmaster@aksorn.com / www.aksorn.com
5
หน่วยการเรียนรู้ที่

การเปลี่ยนแปลง

ตัวชี้วัด
• อธิบำยกำรเปลี่ยนสถำนะของสสำร เมื่อทำให้สสำรร้อนขึ้นหรือเย็นลง โดยใช้หลักฐำนเชิงประจักษ์
• อธิบำยกำรละลำยของสำรในน้ำ โดยใช้หลักฐำนเชิงประจักษ์
• วิเครำะห์กำรเปลี่ยนแปลงของสำรเมื่อเกิดกำรเปลี่ยนแปลงทำงเคมี โดยใช้หลักฐำนเชิงประจักษ์
• วิเครำะห์และระบุกำรเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้และกำรเปลี่ยนแปลงที่ผนั กลับไม่ได้
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ การเปลี่ยนสถานะของสสาร
เมื่อมีการเพิ่มหรือลดความร้อนให้กับสสารบางชนิด สสารชนิดนั้นจะสามารถเกิดการเปลี่ยนสถานะได้ เช่น การเปลี่ยนสถานะของน้้า ดังภาพ

ของแข็ง

เพิ่มความร้อน
การกลายเป็นไอ
ลดความร้อน
ของเหลว การควบแน่น แก๊ส
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ การเปลี่ยนสถานะของสสาร
ตัวอย่าง การเปลี่ยนสถานะของน้้า
เป็นการเปลี่ยนสถานะจาก
ของแข็ง เป็น ของเหลว
สถานะของแข็ง สถานะของเหลว
การหลอมเหลว (เพิ่มความร้อน)

การแข็งตัว (ลดความร้อน)

เป็นการเปลี่ยนสถานะจาก
ของเหลว เป็น ของแข็ง
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ การเปลี่ยนสถานะของสสาร
ตัวอย่าง การเปลี่ยนสถานะของน้้า
เป็นการเปลี่ยนสถานะจาก ของเหลว เป็น แก๊ส แบ่งออกเป็น 2 กระบวนการ
1. การระเหย เป็นกำรเปลี่ยนสถำนะจำกของเหลวที่อยู่บริเวณผิวหน้ำไปเป็นแก๊ส
2. การเดือด เป็นกำรเปลี่ยนสถำนะจำกของเหลว โดยเพิ่มควำมร้อนจนถึงจุดเดือดจนเป็นแก๊ส

สถานะของเหลว สถานะแก๊ส
การกลายเป็นไอ (เพิ่มความร้อน)

การควบแน่น (ลดความร้อน)

เป็นการเปลี่ยนสถานะจาก
แก๊ส เป็น ของเหลว
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ การเปลี่ยนสถานะของสสาร
ตัวอย่าง การเปลี่ยนสถานะของเกล็ดไอโอดีน
เป็นการเปลี่ยนสถานะจาก ของแข็ง เป็น แก๊ส
โดยไม่ผ่านการเป็นของเหลว
สถานะของแข็ง สถานะแก๊ส
การระเหิด (เพิ่มความร้อน)

การระเหิดกลับ (ลดความร้อน)

เป็นการเปลี่ยนสถานะจาก แก๊ส เป็น ของแข็ง


โดยไม่ผ่านการเป็นของเหลว
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ การละลายของสารในน้้า
การละลายของสารในน้้า คือ กำรนำสำรมำผสมกับน้ำ แล้วสำรชนิดนั้นสำมำรถผสมรวมเป็นสำรเนื้อเดียวกันกับน้ำได้ทั่วทุกส่วน เช่น
สารที่สามารถละลายในน้้าได้ เช่น เกลือแกง

+
เกลือแกง น้้า น้้าเกลือ (สารละลาย)

สารที่ไม่สามารถละลายในน้้าได้ เช่น ดินทราย

+
ดินทราย น้้า น้้า + ดินทราย
การเปลี่ยนแปลงทางเคมี การเปลี่ยนแปลงทางเคมีของสาร
การเปลี่ยนแปลงทางเคมี คือ กำรเปลี่ยนแปลงของสำรชนิดเดียว หรือกำรทำปฏิกิริยำระหว่ำงสำร 2 ชนิดขึ้นไป แล้วเกิด
สำรใหม่ ขึ้น ซึ่งมีสมบัติต่ำงไปจำกสำรเดิม และเมื่อเกิดกำรเปลี่ยนแปลงแล้วจะทำให้กลับมำเป็นสำรเดิมได้ยำกหรือไม่ได้
ตัวอย่าง การเปลี่ยนแปลงทางเคมี

การสุกของผลไม้ เช่น มะม่วงสุก การประกอบอาหาร เช่น ปลาทอด การเกิดสนิมของเหล็ก


เช่น ตะปูเกิดสนิม
การเปลี่ยนแปลงทางเคมี การเปลี่ยนแปลงทางเคมีของสาร
การเปลี่ยนแปลงทางเคมีที่ท้าให้เกิดสารใหม่อาจสังเกตได้จากการเปลี่ยนแปลงของสาร เช่น

มีกลิ่นต่างจากสารเดิม มีการเพิ่มขึ้นหรือลดลงของอุณหภูมิ อาจมีแสงหรือเสียงเกิดขึ้น

มีฟองแก๊ส มีสีต่างจากสารเดิม มีตะกอนเกิดขึ้น


การเปลี่ยนแปลงทางเคมี การเปลี่ยนแปลงทางเคมีของสาร
ตัวอย่าง การเปลี่ยนแปลงทางเคมีที่พบในชีวิตประจ้าวัน

กล้วยสุก การเกิดสนิมของโซ่เหล็ก

การเผาฟืน การทอดอาหารต่าง ๆ
การเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้และผันกลับไม่ได้ของสาร การเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้ของสาร
การเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้ของสาร คือ เมื่อสำรเกิดกำรเปลี่ยนแปลงแล้ว สำรสำมำรถเปลี่ยนกลับเป็นสำรเดิมได้ เช่น
1. การหลอมเหลว

การหลอมเหลว การแข็งตัว
เพิ่มความร้อน ลดความร้อน
น้้าแข็ง น้าน้้าแข็งมาตั้งทิ้งไว้ในอุณหภูมิห้อง น้าน้้าไปแช่ในช่องแช่แข็ง
น้้าแข็งจะหลอมเหลวเป็นน้้า ท้าให้น้ากลับไปเป็นน้้าแข็ง
เหมือนเดิม
การเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้และผันกลับไม่ได้ของสาร การเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้ของสาร

2. การกลายเป็นไอ

การกลายเป็นไอ การควบแน่น
เพิ่มความร้อน ลดความร้อน

น้้า ต้มน้้าให้เดือด เมื่อปิดไฟและน้าฝามาปิด


จนกลายเป็นไอน้้า (แก๊ส) ไอน้้าจะกลับไปเป็นหยดน้้า
เกาะที่ฝาหม้อ
การเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้และผันกลับไม่ได้ของสาร การเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้ของสาร

3. การละลายของสารในน้้า

เกลือแกง น้าเกลือแกง น้าน้้าเกลือมาตากแดด น้้าระเหยจนหมด


มาละลายในน้้า เหลือแต่เกล็ดเกลือ
การเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้และผันกลับไม่ได้ของสาร การเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับไม่ได้ของสาร
การเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับไม่ได้ของสาร คือ เมื่อสำรบำงชนิดเกิดกำรเปลี่ยนแปลงแล้ว ไม่สำมำรถเปลี่ยนกลับเป็นสำรเดิมได้ เช่น
1. การเผาไหม้

ไม้ น้าไม้มาเผา ไม้กลายเป็นถ่านไม้


และมีขี้เถ้าเกิดขึ้น
เมื่อไม้ถูกเผา ไม้จะกลายเป็นถ่านไม้ ขี้เถ้า และไม่สามารถท้าให้กลับไปเป็นไม้ได้เหมือนเดิม
การเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้และผันกลับไม่ได้ของสาร การเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับไม่ได้ของสาร

2. การเกิดสนิม

+
เมื่อเก้าอี้เหล็กตากแดด ลม และฝน จะค่อย ๆ เกิดสนิมขึ้นและไม่สามารถท้าให้กลับเป็นเหล็กที่ไม่มีสนิมได้

You might also like