You are on page 1of 12

หน่วยการเรียนรู้ที่ 3

วัสดุน่ารู้

ตัวชี้วัด
• อธิบายว่าวัตถุประกอบขึ้นจากชิ้นส่ วนย่อย ๆ ซึ่งสามารถแยกออกจากกันได้และประกอบกันเป็ นวัตถุชิ้นใหม่ได้ โดยใช้หลักฐานเชิงประจัก์
• อธิบายการเปลี่ยนแปลงของวัสดุเมื่อทาให้ร้อนขึ้นหรื อทาให้เย็นลง โดยใช้หลักฐานเชิงประจัก์
นักเรียนคิดว่า หากแยกชิน้ ส่วนย่อยของวัตถุออกจากกัน เราจะสามารถ
นาชิน้ ส่วนย่อยเหล่านั้นไปทาเป็ นวัตถุชนิ้ ใหม่ได้หรือไม่
? อย่างไร ?
การประกอบวัตถุชิน้ ใหม่จากชิน้ ส่วนย่อย

คือ สิ่งทีน่ ามาใช้ทาสิ่งของต่าง ๆ เช่น


คือ สิ่งของทีท่ ามาจากวัสดุชนิดต่าง ๆ
ประกอบกัน ซึง่ เราสามารถนามา
ไม้ ยาง กระดาษ แก้ว โลหะ พลาสติก ใช้ประโยชน์ได้

วัตถุแต่ละอย่างทามาจากชิน้ ส่วนย่อย ๆ หลายชิน้ ประกอบกัน ซึง่ ชิน้ ส่วนย่อยแต่ละชิน้


อาจมีลกั ษณะเหมือนกันหรือต่างกัน

เมื่อนาวัตถุมาแยกชิน้ ส่วนย่อยแต่ละชิน้ ออกจากกัน จะสามารถนาชิน้ ส่วนย่อยเหล่านัน้


กลับมาประกอบเป็ นวัตถุชิน้ ใหม่ได้ และสามารถนาวัตถุชิน้ ใหม่ไปใช้ประโยชน์ได้อีก
ตัวอย่าง การประกอบวัตถุชิน้ ใหม่จากชิน้ ส่วนย่อย
เชือก

ไม้ ประกอบ
แยกชิน้ ส่วนย่อย เป็ นวัตถุชนิ้
ใหม่

กระดาษ
ว่าว นาไม้และเชือก
มาทาเป็ นคันธนู
ตัวอย่าง การประกอบวัตถุชิน้ ใหม่จากชิน้ ส่วนย่อย
ผ้า

ประกอบเป็ น
แยกชิน้ ส่วนย่อย ใยสังเคราะห์หรือนุ่น วัตถุชนิ้ ใหม่

ด้าย
หมอน ตุ๊กตาผ้า
เมื่อเราแยกชิน้ ส่วนย่อยแต่ละชิน้ ออกจากวัตถุ เราจะสามารถ
นาชิน้ ส่วนย่อยเหล่านั้นมาประกอบเป็ นวัตถุชนิ้ ใหม่ได้
และสามารถนาวัตถุชนิ้ ใหม่ไปใช้ประโยชน์ได้อีก เช่น

หากแยกชิน้ ส่วนย่อยของวัตถุออกจากกัน
เราจะสามารถนาชิน้ ส่วนย่อยเหล่านั้น
ไปทาเป็ นวัตถุชนิ้ ใหม่ได้หรือไม่
อย่างไร ?
แยกชิน้ ส่วนย่อย

แผ่นไม้ ตะปูและ ประกอบ ชั้นวางของ

ได้ นอท เป็ นวัตถุชนิ้ ใหม่


ในชีวติ ประจาวันเราสามารถทาให้วัสดุร้อนขึน้
หรือทาให้วัสดุเย็นลงได้อย่างไรบ้าง

แล้วสมบัตขิ องวัสดุเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไรบ้าง
การเปลี่ยนแปลงของวัสดุ
การทาให้วัสดุเกิดการเปลี่ยนแปลงสามารถกระทาได้หลายวิธี เช่น
ดึง ผลัก บีบ บิด ทุบ ทาให้วัสดุร้อนขึน้ ทาให้วัสดุเย็นลง

การบีบหรือบิดดินนา้ มัน การทุบก้อนหิน การดึงประตู การจุดไฟ (ทาให้วัสดุร้อนขึน้ )


ทาให้ดนิ นา้ มันเปลีย่ นรู ปร่าง ทาให้ก้อนหินเปลีย่ นรู ปร่าง ทาให้ประตูเกิดการเคลือ่ นที่ ทาให้เทียนมีรูปร่างเปลีย่ นไป
และเปิ ดออก
้ วัสดุจะเกิดการเปลี่ยนแปลง สามารถทาได้หลายวิธี เช่น
เมื่อทาให้วัสดุร้อนขึน

การเผา ย่าง ปิ้ ง ทอด ผัด ด้วยไฟ


เนือ้ หมู ทาให้เนือ้ หมูร้อนขึน้
เนือ้ หมูสุกมีสีและกลิ่นเปลี่ยนไป

หมึก การนาไปตากแดด
ทาให้หมึกร้อนขึน้
หมึกมีสีเปลี่ยนไป
เมื่อทาให้วัสดุเย็นลง วัสดุจะเกิดการเปลี่ยนแปลง สามารถทาได้หลายวิธี เช่น

การตัง้ ทิง้ ไว้ในอุณหภูมิหอ้ งปกติ โดยไม่ได้รับความร้อนเพิม่


นา้ ร้อน ทาให้นา้ เย็นลง โดยการตัง้ ทิง้ ไว้ นา้ มีอุณหภูมิลดลง

นา้ การแช่ ในช่ องแช่ แ ข็ ง ของตู


เ ้ ย็

ทาให้นา้ เย็นลง โดยนาไปแช่ในช่องแช่แข็ง
นา้ เปลี่ยนเป็ นนา้ แข็ง (ของแข็ง)
ประโยชน์และโทษจากการเปลี่ยนแปลงของวัสดุ

การทากับข้าว การตากผ้า การเผาพลาสติก


เป็ นการให้ความร้อนแก่อาหาร ผ้าทีเ่ ปี ยกได้รับความร้อนจาก การให้ความร้อนแก่พลาสติก
ทาให้อาหารสุก ดวงอาทิตย์ทาให้นา้ ในผ้าระเหยออกไป อาจทาให้พลาสติกละลายจนรู ปทรงเปลีย่ นไป
ผ้าจึงแห้ง และไม่สามารถนามาใช้งานต่อได้
ในชีวติ ประจาวันเราสามารถทาให้วัสดุร้อนขึน้ หรือทาให้วัสดุเย็นลงได้อย่างไรบ้าง ?

โดยการนาไปแช่ในถังนา้ แข็งหรือตูเ้ ย็น


โดยการนาไปเผาด้วยไฟหรือตัง้ ไฟ การแช่ในนา้ ร้อน การนาไปแช่แข็งในช่องแช่แข็งของตูเ้ ย็น
การนาไปตากแดด การนาไปอบ การตัง้ ทิง้ ไว้ในอุณหภูมิหอ้ งปกติ

แล้วสมบัตขิ องวัสดุเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไรบ้าง
วัสดุมีสมบัตเิ ปลี่ยนแปลงไป เช่น สี กลิ่น รูปร่างหรือรูปทรงเปลี่ยนแปลง

You might also like