You are on page 1of 14

วิทยาศาสตร์ เล่ม 1

ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 4

Slide PowerPoint_สื่อประกอบการสอน

บริษัท อักษรเจริญทัศน์ อจท. จำกัด : 142 ถนนตะนำว เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200


Aksorn CharoenTat ACT.Co.,Ltd : 142 Tanao Rd. Pranakorn Bangkok 10200 Thailand
โทรศัพท์ : 02 622 2999 โทรสำร : 02 622 1311-8 webmaster@aksorn.com / www.aksorn.com
4
หน่วยการเรียนรู้ที่

พลังงานเสียง

ตัวชี้วัด
• อธิบำยกำรได้ยินเสียงผ่ำนตัวกลำงจำกหลักฐำนเชิงประจักษ์
• ระบุตัวแปร ทดลอง และอธิบำยลักษณะและกำรเกิดเสียงสูง เสียงตำ
• ออกแบบกำรทดลองและอธิบำยลักษณะและกำรเกิดเสียงดัง เสียงค่อย
• วัดระดับเสียงโดยใช้เครืองมือวัดระดับเสียง
• ตระหนักในคุณค่ำของควำมรู้เรืองระดับเสียง โดยเสนอแนะแนวทำงในกำรหลีกเลียงและลดมลพิษทำงเสียง
เสียงรอบตัวเรา การได้ยินเสียงผ่านตัวกลาง
การได้ยินเสียงต้องมีองค์ประกอบ 3 อย่าง
แหล่งกาเนิดเสียง ตัวกลางของเสียง อวัยวะรับเสียง (หู)
แหล่งกำเนิดเสียงทีมนุษย์สร้ำงขึ้น เช่น
คือ วัตถุหรือสิงต่ำง ๆ ทีเสียงสำมำรถ
เดินทำงผ่ำนได้มี 3 ประเภท ได้แก่

เสียงกีตำร์ เสียงโทรทัศน์ ของแข็ง

เสียงวิทยุ เสียงรถยนต์ ของเหลว


แหล่งกำเนิดเสียงตำมธรรมชำติ เช่น เช่น หูของมนุษย์

อำกำศ
สุนัขเห่ำ นกร้อง ฟ้ำผ่ำ
เสียงรอบตัวเรา การได้ยินเสียงผ่านตัวกลาง
การเคลื่อนที่ของเสียงผ่านตัวกลางมาถึงหูของผู้ฟัง

เสียงต่ำง ๆ เดินทำงผ่ำนตัวกลำงทีเป็นของแข็งได้ดีมำกกว่ำตัวกลำงทีเป็นของเหลว และอำกำศ


เสียงรอบตัวเรา การได้ยินเสียงผ่านตัวกลาง
ขั้นตอนการได้ยินเสียงของมนุษย์

2 โมเลกุลของตัวกลำงเริมสันสะเทือนต่อกัน
จนมำถึงหูของผู้ฟัง

1 เมือแหล่งกำเนิดเสียงสันสะเทือน
จะส่งพลังงำนผ่ำนตัวกลำงของเสียง
(ในทีนี้ คือ อำกำศ)
แหล่งกาเนิดเสียง

อวัยวะรับเสียง (หู)
เสียงรอบตัวเรา การได้ยินเสียงผ่านตัวกลาง
ขั้นตอนการได้ยินเสียงของมนุษย์ (ต่อ)

3 ใบหูรับและสะท้อนคลืนเสียงเข้ำไปในรูหู
ทำให้เยือแก้วหูสัน

4 กระดูกค้อน กระดูกทัง และกระดูกโกลน


สันตำมเยือแก้วหู ทำให้เส้นประสำท
ภำยในคอเคลียสัน

5 พลังงำนจำกกำรสันจะส่งคลืนเสียงผ่ำนเส้นประสำท
เข้ำสู่สมอง ทำให้ผู้ฟังได้ยินเสียง
เสียงรอบตัวเรา การได้ยินเสียงผ่านตัวกลาง
ส่วนประกอบภายในหูของมนุษย์ ที่มีผลต่อการได้ยินเสียง

ใบหู ช่วยในกำรรับคลืนเสียง เพือให้เสียงเข้ำสู่รูหู

1. กระดูกค้อน เป็นส่วนทีคอยรับกำรสันสะเทือน
2. กระดูกทั่ง มำจำกเยือแก้วหู เมือได้รับเสียงแล้วจะส่ง
3. กระดูกโกลน กำรสันสะเทือนไปสู่ส่วนนอกสุดของหูชั้นใน

รูหู เป็นทำงผ่ำนของคลืนเสียงเข้ำสู่อวัยวะภำยในหู
คอเคลีย
เป็นส่วนทีคอยรับกำรสันสะเทือนของคลืนเสียง
ทีมำจำกหูชั้นกลำง และส่งไปยังเส้นประสำท เยื่อแก้วหู เป็นส่วนของหูทเกิ
ี ดกำรสันสะเทือน เมือได้รับเสียง
ในกำรรับฟัง
เสียงรอบตัวเรา ลักษณะของเสียง
เสียงสูง เสียงต่า
เสียงสูง เสียงต่า เป็นสมบัติประกำรหนึงของเสียงทีมีควำมสัมพันธ์กับแหล่งกำเนิดเสียง เรียกว่ำ ระดับเสียง
ระดับเสียง เกิดจำกควำมเร็วในกำรสันสะเทือนของแหล่งกำเนิดเสียง
กำรสันสะเทือนของแหล่งกำเนิดเสียงใน 1 วินำที เรียกว่ำ ความถี่ของเสียง มีหน่วยเป็นครั้งต่อวินำที เรียก เฮิรตซ์ (Hz)
ระดับเสียง หรือกำรเกิดเสียงสูง เสียงตำ จะแตกต่ำงกันขึ้นอยู่กับปัจจัย ดังนี้
ปัจจัย แหล่งกาเนิดเสียง การสั่นสะเทือน ระดับเสียง
1. ขนำดของ มีขนำดเล็ก เร็ว สูง
แหล่งกำเนิดเสียง มีขนำดใหญ่ ช้ำ ตำ
2. ควำมยำวของ มีควำมยำวน้อย (มวลน้อย) เร็ว สูง
แหล่งกำเนิดเสียง มีควำมยำวมำก (มวลมำก) ช้ำ ตำ
3. ควำมตึงของ มีควำมตึงมำก เร็ว สูง
แหล่งกำเนิดเสียง มีควำมตึงน้อย (หย่อน) ช้ำ ตำ
เสียงรอบตัวเรา ลักษณะของเสียง
เสียงสูง เสียงต่า
ตัวอย่าง ระดับเสียง

วำงไม้บรรทัดยืนออกมำจำกขอบโต๊ะ ประมำณ 10 ซม. วำงไม้บรรทัดยืนออกมำจำกขอบโต๊ะ ประมำณ 20 ซม.


จำกนั้นใช้มือกดทีปลำยไม้บรรทัดแล้วปล่อย จำกนั้นใช้มือกดทีปลำยไม้บรรทัดแล้วปล่อย

10 ซม. 20 ซม.

สันเร็ว สันช้ำ
เสียงสูง เสียงตำ
เสียงรอบตัวเรา ลักษณะของเสียง
เสียงดัง เสียงค่อย
เสียงดัง เสียงค่อย เป็นสมบัติของเสียงทีเรียกว่ำ ความดังของเสียง ขึ้นอยูก่ ับปริมำณพลังงำนของเสียงทีเดินทำงมำถึงหูเรำ
เช่น เสียงเครืองบิน มีพลังงำนของเสียงมำกทำให้เกิดเสียงดัง เสียงกระซิบ มีพลังงำนน้อยทำให้เกิดเสียงค่อย ซึงเสียงต่ำง ๆ
อำจมีควำมดังไม่เท่ำกันขึ้นอยู่กับปัจจัย ดังนี้
ความดังของเสียง
ปัจจัยที่มีผลทาให้วัตถุเกิดเสียงดัง เสียงค่อย
เสียงดัง เสียงค่อย
1. ระยะทำงจำกแหล่งกำเนิดเสียง • อยู่ใกล้แหล่งกำเนิดเสียง
• อยูไ่ กลแหล่งกำเนิดเสียง
2. พลังงำนในกำรสันสะเทือนของ • สันด้วยพลังงำนมำก
แหล่งกำเนิดเสียง • สันด้วยพลังงำนน้อย

ในกำรวัดควำมดังของเสียง จะใช้เครืองมือวัดระดับควำมเข้มของเสียง
เรียกว่ำ เครื่องวัดระดับเสียง ซึงมีหน่วยเป็น เดซิเบล (dB)
เสียงรอบตัวเรา ลักษณะของเสียง
เสียงดัง เสียงค่อย
ตัวอย่าง ความดังของเสียง

ออกแรงตีกลองน้อย
แหล่งกำเนิดเสียงสันสะเทือนน้อย
เกิดเสียงค่อย
เสียงโทรทัศน์ดังจังเลย
ได้ยินเสียงโทรทัศน์
อยู่ใกล้แหล่งกำเนิดเสียง ไม่ค่อยชัดเลย
ได้ยินเสียงดัง ออกแรงตีกลองมำก
แหล่งกำเนิดเสียงสันสะเทือนมำก
อยู่ไกลแหล่งกำเนิดเสียง เกิดเสียงดัง
ได้ยินเสียงค่อย
เสียงรอบตัวเรา อันตรายจากมลพิษทางเสียง
เสียงต่ำง ๆ อำจทำให้เกิดอันตรำยกับหูได้ เช่น หำกมนุษย์รับฟังเสียงทีดังเกิน 85 เดซิเบล ติดต่อกันเป็นเวลำนำน ๆ หรือ
เกินวันละ 8 ชัวโมง จะทำให้เกิดอันตรำยต่อเยือแก้วหูได้ ดังนั้น เรำจึงควรรู้จักวิธีกำรป้องกันหรือหลีกเลียงเสียงทีจะก่อให้
เกิดอันตรำยต่อเยือแก้วหู ซึงกำรป้องกันหรือหลีกเลียงมลพิษทำงเสียงทำได้หลำยวิธี เช่น

ปลูกต้นไม้สูง ๆ หรือสร้างกาแพง
เพื่อใช้เป็นแนวกันเสียง สาหรับ ใช้มืออุดหูทันที เมื่อได้ยินเสียง
บ้านที่ติดถนน ดังมาก ๆ อย่างกะทันหัน

ใส่อุปกรณ์ครอบหู หากทางาน ลดความดังของเสียงเพลง


ในสถานที่ที่มีเสียงดังมาก ๆ หากเปิดเสียงดังมากเกินไป

You might also like