You are on page 1of 10

แบบฝกหัด

เรื่องตัวแปร

คําชี้แจงใหนักเรียนอานบทคัดยอโครงงานตอไปนี้และตอบคําถามตอไปนี้
โครงงานที่ 1 เรื่องการศึกษาเปรียบเทียบวิธีการเก็บรักษามะนาวที่มีผลตอความสดของมะนาว

บทคัดยอ

การเก็บรักษาความสดของมะนาว สวนใหญแลวจะใชวิธีการเก็บไวในตูเย็นหรือเครื่องทําความเย็น
แตหากเรามีวิธีเก็บรักษาความสดของมะนาวโดยไมใชตูเย็นหรือเครื่องทําความเย็น ซึง่ จะเปนประโยชนตอ
ผูบริโภคเองดวย ทั้งประหยัดและคุมคา โดยวิธีการที่ไดเลือกมาคือ การนํามะนาวไปหมกในเกลือ ทรายและ
ขาวสาร รวมถึงการนําหนังสือพิมพมาหอมะนาวอีกดวย
ผลจากการทดลองพบวา วิธีที่เหมาะแกการเก็บรักษาความสดของมะนาวไดดีที่สุด โดยไมใช
เครื่องทําความเย็นหรือตูเ ย็น คือ การหมกทราย เพราะจะใหปริมาณน้ําที่มากกวามะนาวที่เก็บรักษาดวย
วิธีการอื่น ๆ ซึง่ ผลที่ไดคือ ทั้ง 3 ลูก มีปริมาณน้ําเฉลี่ย 83 มิลลิลิตร และใหวิตามินซีไดมากทีส่ ุดเชนกัน ซึ่งผล
ที่ไดคือ มะนาวทั้ง 3 ลูก เฉลี่ยแลวใหวิตามินซีมากถึง 7 หยด รวมทั้งมีคา pH เทากับ 5 ดวย

ตัวแปรตน คือ สารที่ใชในการรักษาความสดของมะนาว


ตัวแปรตาม คือ ความสดของมะนาว
ตัวแปรควบคุม คือ ชนิดมะนาว ขนาดลูกมะนาว ปริมาณสารที่ใช
ตัวแปรแทรกซอน คือ ปริมาณน้ํามะนาว
โครงงานที่ 2 การศึกษาวิธีการเก็บรักษาความสดของผักแบบประหยัดพลังงาน

บทคัดยอ

จัดทําขึ้นเพื่อหาวิธีการเก็บรักษาความสดของผัก โดยไมใชตเู ย็นซึ่งเปนการชวยประหยัดพลังงานไฟฟา


และเปนการสนองตอบตอแนวพระราชดํารัสปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ซึง่ ในการทดลองกลุมของขาพเจาเลือก
ทดลองกับผักทีเ่ หี่ยวและเสียงาย ไดแก มะเขือเทศ พริกสด โดยนําโองดินเผาขนาดเทาๆ กัน มา 4 ใบ ใบที่ 1
ใสดิน 500 กรัม และน้ํา 500 กรัม ใบที่ 2 ใสทราย 500 กรัม และน้ํา 500 กรัม ใบที่ 3 ใสน้ํา 500 กรัม และ
ใบที่ 4 ไมใสอะไรเลย จากนั้นนําผาขาวบางมาปดปากโองโดยใหมีลกั ษณะเปนถุงยอยลงไปในโอง หางจาก
ระดับน้ํา 1 นิ้ว คัดเลือกพริกสดและมะเขือเทศ ที่มีขนาดและน้ําหนักเทาๆ กัน นําพริกสดใสในโองทั้ง 4 ใบๆ
ละ 5 เมล็ดและใสมะเขือเทศลงไปในโองใบละ 5 ลูก ตั้งทิง้ ไวในสภาพแวดลอมเดียวกัน เปนเวลา 15 วันจาก
ผลการทดลอง พบวาพริกสดทีเ่ ก็บในโองเปลาจะคงความสดไดมากที่สุด รองลงมาเปนโองดินชุมน้ํา โองทราย
ชุมน้ําและโองน้ํา ตามลําดับ สวนมะเขือเทศที่เก็บในโองดินชุมน้ําจะสามารถเก็บรักษาความสดไวไดนานที่สุด
รองลงมาเปนโองน้ํา โองทรายชุมน้ํา และโองเปลา ตามลําดับ ดังนั้นผลการทดลองสนับสนุนสมมติฐานที่วา
ความสดของผักขึ้นอยูกับชนิดของวัสดุในโองเก็บรักษาความสด

ตัวแปรตน คือ สารที่ใสลงไปในโองดินเผา


ตัวแปรตาม คือ ความสดของพริกและมะเขือเทศ
ตัวแปรควบคุม คือ ขนาดโอง ชนิดของพริกและมะเขือเทศ
ตัวแปรแทรกซอน คือ เวลาที่ชวยในการรักษาความสด
โครงงานที่ 3 เครื่องชวยบรรเทาปวดเพื่อสุขภาพ

บทคัดยอ

เครื่องชวยบรรเทาปวดเพื่อสุขภาพ ประดิษฐขึ้นมาเพื่อใชบรรเทาปวดใหกบั ผูทมี่ ีอาการปวดหลังดวย


สาเหตุตาง ๆ และผูที่ปวดหลังและหรือปวดทอง เนื่องจากการมีประจําเดือน โดยเครื่องชวยบรรเทาปวด เพื่อ
สุขภาพมีสวนประกอบ 3 สวน คือ 1.หมอแปลงไฟฟา 2. ผารัดหลังใหความรอนและสั่นสะเทือนและ
3.เสื้อพยุงหลัง โดยใชหลักการทางวิทยาศาสตร คือความรอนชวยทําใหการหมุนเวียนของโลหิตดีขึ้นและระบบ
สั่นสะเทือนชวยเรื่องการยืดหยุนและการคลายกลามเนื้อ และไดแบงการศึกษาออกเปน 4 ขั้นตอน ดังนี้
1. เพื่อศึกษาหาความยาวที่เหมาะสมของลวดนิโครมกับความตางศักยไฟฟา 10 โวลต
2. เพื่อศึกษาหาอุณหภูมทิ ี่ผารัดหลังใหความรอนและสัน่ สะเทือนสามารถสรางได ที่ความตาง
ศักยไฟฟา 8, 10 และ 12 โวลต
3. ศึกษาความพึงพอใจของอาสาสมัครในระดับของการสั่นสะเทือนของมอเตอรที่ความเร็วรอบ 150,
189, 229, 253, 284 และ 301 rpm ตามลําดับ
4. เพื่อทดสอบประสิทธิภาพของเครื่องชวยบรรเทาปวดเพื่อสุขภาพ
ผลการศึกษา พบวา ความยาวที่เหมาะสมของลวดนิโครมทีค่ วามตางศักยไฟฟา 10 โวลต คือ 450
เซนติเมตรและทีค่ วามตางศักยไฟฟา 8,10 และ 12 โวลต อานอุณหภูมิเฉลี่ยไดเทากับ 48, 62 และ 74 องศา
เซลเซียส ตามลําดับ อาสาสมัครพึงพอใจการสั่นสะเทือนของมอเตอรที่ความเร็วรอบ 253 rpm และจากการ
ทดสอบประสิทธิภาพของเครือ่ งชวยบรรเทาปวดเพือ่ สุขภาพกับผูที่มีอาการปวดหลังและหรือปวดทอง ผล
ปรากฏวา สามารถชวยบรรเทาอาการปวดหลังและปวดทองไดดี นอกจากนี้ เครื่องชวยบรรเทาปวดเพื่อ
สุขภาพยังสามารถประยุกตใชวิธีการบําบัดแบบ Aroma therapy โดยการผสมผสานภูมิปญ  ญาไทยในการใช
ลูกประคบและสมุนไพรไทยรวมดวยได

ตัวแปรตน คือ เครื่องชวยนวดเพื่อสุขภาพ


ตัวแปรตาม คือ ประสิทธิภาพของเครือ่ งชวยนวด
ตัวแปรควบคุม คือ อุปกรณในการประดิษฐ
ตัวแปรแทรกซอน คือ ความพึงพอใจของผูใช
โครงงานที่ 4 การศึกษาความเหมาะสมของการนําไสหญาปลองไฮมีนาชีน(Hymenachnepseudointerrupta) มาใชในการ
ดูดซับคราบน้ํามันในแหลงน้ํา

บทคัดยอ

โครงงานนีเ้ ปนการศึกษาความสามารถในการดูดซับน้ํามันของไสหญาปลองไฮมีนาชีน
(Hymenachneacutigluma) ซึ่งเปนวัชพืชชนิดหนึ่งที่มีน้ําหนักเบาและมีรูพรุนคลายฟองน้ํา รวมทั้งการศึกษา
ถึงกลไกในการดูดซับน้ํามัน โดยไดนําไสหญาปลองมาศึกษาความสามารถในการดูดซับน้ํามันตาง ๆ ไดแก
น้ํามันดิบ น้ํามันเตา น้ํามันดีเซล และน้ํามันหลอลื่น เปรียบเทียบกับวัสดุสงั เคราะหที่ใชกําจัดคราบน้ํามันใน
แหลงน้ํา พบวา ไสหญาปลองมีความสามารถในการดูดซับน้าํ มันขางตนไดเทากับ 54.6, 87.7, 51.3, และ
80.1 g/g ตามลําดับ ในขณะที่วัสดุสงั เคราะหดูดซับน้ํามันขางตนไดเทากับ 5.7, 7.0, 6.2, and 6.1 g/g
ตามลําดับหรือไสหญาปลองมีความสามารถในการดูดซับน้ํามันที่นํามาใชทดลองไดดีกวาวัสดุสงั เคราะหถึง
ประมาณ 10 เทาและพบวาทัง้ ไสหญาปลองและวัสดุสังเคราะหดูดซับน้ํานอยมากเมื่อเทียบกับน้ํามัน คือ 0.8
g/g และ 0.3 g/g ตามลําดับ และเมื่อนําน้ํามันตาง ๆขางตนมาผสมกับน้ําในอัตราสวน 1:1พบวา ไสหญา
ปลองดูดซับน้ํามันและน้ําในอัตราสวนเทากับ 5.4:1, 34.8:1, 10.2:1, และ 17.1:1 ตามลําดับ ในขณะที่วัสดุ
สังเคราะหดูดซับน้ํามันและน้ําในอัตราสวนเทากับ 4.6:1, 13.1:1, 4.1:1, และ 14.6:1 ตามลําดับ
จากการศึกษาลักษณะโครงสรางทางกายภาพในระดับเซลล พบวา น้ํามันที่ถูกดูดซึมสวนใหญอยู
ภายในชองวางระหวางเซลลในเนื้อเยื่อ Aerenchyma ซึ่งเปนสวนประกอบของไสหญาปลอง และบางสวนอยู
ภายในเซลลที่เปนโครงสรางของเนื้อเยื่อ หลังจากไดวัดขนาดชองวางในโครงสราง จึงสรุปไดวา การดูดซึม
น้ํามันในโครงสรางเกิดจากแรง Adhesion ระหวางโมเลกุลของของเหลวกับผนังของชองวาง นอกจากนี้ยงั ได
ศึกษาถึงลักษณะพื้นผิวของไสหญาปลอง พบวา มีคุณสมบัตเิ ปน hydrophobic หรือเปนแบบไมมีขั้ว จึงดูด
ซับน้ํามันไดดีกวาน้ํา ดังนั้น ไสหญาปลองจึงมีความเหมาะสมที่จะนําไปใชดูดซับคราบน้ํามันในแหลงน้าํ รวมทั้ง
ไมมีผลกระทบตอสิง่ แวดลอม และเปนวัชพืชที่ไมมมี ูลคา

ตัวแปรตน คือ ชนิดขของน้ํามัน


ตัวแปรตาม คือ ปริมาณน้ํามันที่ถูกดูดซับโดยไสหญาปลอง
ตัวแปรควบคุม คือ ปริมาณไสหญาปลอง ปริมาณน้ํามัน
ตัวแปรแทรกซอน คือ กลไกลการดูดน้ํามันของไสหญาปลอง
โครงงานที่ 5 ฟงกชันตรีโกณมิติกบั ชีวิต

บทคัดยอ

จากการศึกษาฟงกชันตรีโกณมิติกบั ชีวิต ทําใหเกิดความสนใจเปนอยางมากและไดเกิดขอสงสัยตาง ๆ


มากมายเกี่ยวกับการวัดระยะหาพื้นที่ตางๆ ที่นํามาปฏิบัติการทางคณิตศาสตรแลวทําใหลักษณะของระยะและ
พื้นที่ตางๆในแบบตางๆ มีความแปลก มีลักษณะเฉพาะตัว คณะทํางานจึงไดรวมมือกันศึกษาคนควาเรือ่ ง “
ฟงกชันตรีโกณมิติกับชีวิต ” จากแหลงการเรียนรูตางๆ เมื่อมีความเขาใจดีแลวคณะทํางานจึงอยากที่จะ
เผยแพรความรูนี้ใหกับผูทสี่ นใจ จึงไดจัดทําโครงงานนี้ขึ้น ทัง้ นี้นอกจากจะเปนการเผยแพรความรู ความ
ชํานาญ ใหแกผูทสี่ นใจแลว ยังเปนการสรางสื่อในการเรียนการสอนไดอีก

ตัวแปรตน คือ ฟงกชั่นตรีโกณมิติ


ตัวแปรตาม คือ ลักษณะของระยะและพื้นที่ตางๆ
ตัวแปรควบคุม คือ รูปแบบการปฏิบัติ
ตัวแปรแทรกซอน คือ ไมมี
โครงงานที่ 6

บทคัดยอ

ศึกษาการทํากระดาษหอมจากผักตบชวา โดยนําผักตบชวาสดและผักตบชวาแหงมาหั่นเปนชิ้นเล็กๆ
แลวตมฟอกสีดวยสบู นํามาปนละเอียดโดยเติมน้ําและแปงเปยกเพื่อทําเยื่อกระดาษ แลวตีเยื่อกระดาษที่ใน
ตะแกรงทําใหกระดาษใหสม่ําเสมอ แลวยกขึ้นตากแดดใหแหง ทําการใสสีและอบกลิน่ กระดาษที่ได
เปรียบเทียบคุณภาพของกระดาษที่ไดจากผักตบชวาสดและผักตบชวาแหง พบวากระดาษจากผักตบชวาแหง
มีคุณภาพดีกวาโดยมีความเหนียวกวาและไมเกิดเชื้อรา

ตัวแปรตน คือ กระดาษที่ทําจากผักตบชวา


ตัวแปรตาม คือ คุณภาพของกระดาษ
ตัวแปรควบคุม คือ ปริมาณผักตบชวา
ตัวแปรแทรกซอน คือ การใสสีกระดาษ
โครงงานที่ 7

บทคัดยอ

ถานไมที่ใชเปนเชื้อเพลิงในชีวิตประจําวันมักจะไดจากไมยืนตนและนิยมใช คือถานจากไมโกงกาง
การทดลองนี้ไดนําเอาเปลือกลูกยางมาทําถาน และไดตรวจสอบคุณภาพของถาน โดยการทดลองหาปริมาณ
ความรอนเปรียบเทียบลักษณะการลุกไหม และปริมาณการใชถานตอชั่วโมงกับถานจากตนไมอื่น ๆ ไดแก
โกงกางไมยางพาราและไมเงาะ ผลการทดลองปรากฏวาถานที่ใหปริมาณความรอนสูงสุดคือถานไมโกงกาง ซึ่ง
ใหความรอนเทากับ 173.50 cal / g อันดับ สองคือ ถานไมเงาะใหปริมาณความรอนเทากับ 134.26cal/g
อันดับสามคือถานเปลือกลูกยางพาราใหปริมาณความรอนเทากับ 125.33 cal/g ถานที่ใหปริมาณความรอน
นอยที่สุดคือถานไมยางพาราซึง่ ใหเทากับ102.78 cal / g ในแงของการลุกไหมและปริมาณถานที่ใชตอชั่วโมง
ปรากฏวาถานที่ลุกไหมเร็วและใชจํานวนมากทีส่ ุดคือถานเปลือกลูกยางพาราใชเทากับ39 g/hrและนอยทีส่ ุด
คือถานไมโกงกางเทากับ 28 g/hr

ตัวแปรตน คือ ชนิดของถาน


ตัวแปรตาม คือ ปริมาณความรอนที่ให
ตัวแปรควบคุม คือ ปริมาณถาน
ตัวแปรแทรกซอน คือ ปริมาณถานที่ใชที่ใชในการเผาตอ ชั่วโมง
โครงงานที่ 8

บทคัดยอ
โครงงานนีม้ ีวัตถุประสงคเพื่อสรางเครื่องอบพริกใหมปี ระสิทธิภาพสูงสุดซึง่ จะเปนประโยชนแกชาวไร
พริกทีม่ ีปญ หาในการตากพริก โดยจัดชุดการทดลองทัง้ หมด 7 ชุดการทดลอง ดังนี้
ชุดที่ 1เปรียบเทียบรูปทรงเครื่องอบพริกพบวารูปทรงสามเหลี่ยมที่ใชอบพริกจะทําใหพริกแหงเร็ว
ที่สุด เนื่องจากสามารถรองรับแสงแดดไดดีกวารูปทรง
การทดลองชุดที่ 2 เปรียบเทียบวัสดุรองพื้นที่ดีทสี่ ุดทําใหพริกแหงเร็วที่สุดอคืออแกลบเผาอเนื่องจาก
สามารถดูดความรอนไดดีกวาวัสดุชนิดอื่น
การทดลองชุดที่ 3 เปรียบเทียบแกลบสูงแกลบต่ํา โดยใชแกลบเผารองพื้นความสูงตางกัน ผลการ
ทดลองพบวาแกลบสูงจะทําใหพริกแหงเร็วกวาแกลบต่ํา
ผลการทดลองชุดที่ 4เปรียบเทียบพลาสติกคลุม 2 ชนิด คือพลาสติกใสไมมสี ีและพลาสติกใสมีสี
พบวาพลาสติกใสไมมีสีดกี วาพลาสติกใสมีสี และพบวาพลาสติกทีบ่ างกวาแสงจะทะลุผานเขาเครื่องอบไดดีกวา
การทดลองชุดที่ 5 เปรียบเทียบพลาสติกที่ใชคลุมชนิดพลาสติกใสไมมสี ีกับพลาสติกสีดํา พบวา
พลาสติกสีดําจะดูดความรอนไดดีกวาพริกจะแหงเร็วกวา
การทดลองชุดที่ 6 เปรียบเทียบปริมาณแสง พบวาปริมาณแสงมากกวาพริกจะแหงเร็วกวา
การทดลองชุดที่ 7 เปรียบเทียบพลาสติกทีม่ ีรูพรุนและไมมรี พู รุน ผลการทดลองพบวา พลาสติกที่ใช
คลุมชนิดทีไ่ มมรี ูพรุนจะทําใหพริกแหงไดเร็วกวา

ตัวแปรตน คือ เครื่องอบพริก


ตัวแปรตาม คือ ประสิทธิภาพในการทํางานของเครื่องอบพริก
ตัวแปรควบคุม คือ อุปกรณการทดลอง
ตัวแปรแทรกซอน คือ วัสดุที่ใชรองพื้น พลาสติกที่ใชคลุม รูปทรงเครื่องอบพริก
โครงงานที่ 9

บทคัดยอ

สกัดสารจากเปลือกมังคุดแบบสกัดเย็น โดยใชอัตราสวนระหวางเปลือกมังคุดสดกับน้ําเปน 2: 10
โดยใชมวล/ปริมาตร จะไดสารละลายจากเปลือกมังคุดสดสีสมอมน้ําตาลเขมและคอยๆจางลงจนไมมสี ี จาก
การเตรียมมาตรฐานโดยใชสารละลายโซเดียมไฮโปคลอไรด ความเขมขนรอยละ 0.1, 0.5, 1.0 ,3.0และ5.0
โดยปริมาตรลําดับหลังทดสอบกับสารสกัดจากเปลือกมังคุดพบวาไดสารละลายสีสมอมน้ําตาลสีสมออน สีสม
อมเหลืองออน และสีเหลืองออน ตามลําดับ เมื่อนําสารสกัดที่ไดไปทดสอบกับสารละลายจากอาหารชนิดตาง
ๆ พบวา สารละลายจากเตาหูออน หนอไมดอง ถัว่ งอกจากตลาด ถั่วงอกเพาะเอง ลูกชิ้นปลาไมมียหี่ อ และ
ปลาหมึกจะไดสารละลายเปนสีสม อมน้ําตาลออน สีสมออน สีสม อมน้ําตาลเขม สีสมอมน้ําตาลเขม สีสมอม
น้ําตาลเขมตามลําดับเมื่อนําไปเทียบกับสีของสารละลายมาตรฐานพบวาถั่วงอกเพาะเองและปลาหมึกไมพบ
สารฟอกสี เตาหูออน ถั่วงอกจากตลาดและหนอไมดอง ไดสขี องสารละลายเทากับสีของสารละลายมาตรฐาน
ซึ่งใชจากสารละลายโซเดียมไฮโปคลอไรดเปนรอยละ 3.0 และ 1.0 สวนลูกชิ้นปลาเทียบกับสีมาตรฐานที่ใช
โซเดียมไฮโปคลอไรด เขมขนรอยละ 3.0 แสดงวาอาหารที่ตรวจพบสารฟอกขาวจากกลุม ตัวอยางที่นํามาไดแก
เตาหูออน ถั่วงอกจากตลาดหนอไมดอง และลูกชิ้นปลา สวนถั่วงอกที่เพาะเองและปลาหมึกสดจากตลาด ไม
พบสารฟอกขาว
ตัวแปรตน คือ ชนิดของอาหารที่ใชทดสอบ
ตัวแปรตาม คือ ปริมาณสารที่วัดไดโซเดียมไฮโปคลอไรด
ตัวแปรควบคุม คือ ปริมาณสารที่ใชทดสอบ ปริมาณอาหาร
ตัวแปรแทรกซอน คือ สารสกัดจากเปลือกมังคุด
โครงงานที่ 10

บทคัดยอ

ศึกษาสํารวจพรรณไมที่เปนพฤกษเคมี ภายในโรงเรียนเฉลิมขวัญสตรี โดยมีการสํารวจพรรณไมมี


ดวยกัน55 ชนิด จัดจําแนกเปนหมวดหมู จําแนกตามโทนสีของพืชที่นํามาศึกษา ตามสัดสวนของพืชที่ใช
อันดับความสามารถในการเปนพฤกษเคมี พบวาพรรณไมในโรงเรียนจํานวน211 ชนิด มีสวนของกลีบดอก
หรือผลเปนสีตาง ๆ และสามารถสกัดสีดวยตัวทําละลายเปนสีตาง ๆได 55 ชนิด จากการทดลองพบวา
ความสามารถในการเปนพฤกษเคมีจํานวน55 ชนิดพบวาสวนของกลีบดอกที่เปนพฤกษเคมีที่ดี 21 ชนิด ปาน
กลาง17 ชนิด ไมดี 15 ชนิด สวนของกลีบดอกที่เปนพฤกษเคมีที่ดี คือ สีมวง แดง ชมพู สวนของผลทีเ่ ปน
พฤกษเคมีที่ไมดี 2 ชนิด ในการจัดอันดับความสามารถในการเปนพฤกษเคมีที่ดี ไดแก อัญชัน ชองนาง
กระเทียมเถา แพงพวยฝรัง่ พุทธรักษา ยี่โถ หางนกยูงฝรัง่
ตัวแปรตน คือ ชนิดของพืช
ตัวแปรตาม คือ ความสามารถในการเปนพฤกษเคมี
ตัวแปรควบคุม คือ สภาพแวดลอมของสถานทีท่ ี่สํารวจ
ตัวแปรแทรกซอน คือ จํานวนดอกไม วิธีการจําแนก

You might also like