You are on page 1of 35

รายวิชาวิทยาศาสตร์ พื้นฐาน

(ว21101)

ความหนาแน่น (Density)
โดย นางสาววิมลสิริ ปังอุทา (ครูเฟ่ย)
ความหนาแน่นมีความเกี่ยวข้องกับเรือด้าน้้าอย่างไร
2
ความหนาแน่นมีความเกี่ยวข้องกับเรือด้าน้้าอย่างไร

การที่เรือด้าน้้าสามารถด้าลงสูท่ ะเลลึกได้นั้น
ต้องท้าให้เรือด้าน้้าทั้งล้ามีความหนาแน่น
มากกว่าน้้า
และหากต้องการให้เรือลอยขึ้นสู่ผวิ น้้าต้องท้า
ให้เรือมีความหนาแน่นน้อยกว่าน้้า

3
ทบทวนความรู้

มวล มีหน่วยเป็นนิวตัน

วัตถุชนิดหนึ่งเมื่อท้าให้เปลี่ยนรูปร่างมวลจะเปลี่ยนด้วย

4
ทบทวนความรู้

ปริมาตร คือ ความจุของวัตถุมีหน่วยเป็นลูกบาศก์เซนติเมตร

ปริมาตรของของแข็งจะเท่ากับปริมาตรของน้้าที่ของแข็งแทนที่

5
ทบทวนความรู้

วัตถุต่างๆ เช่น เรือ สามารถลอยน้้าได้เพราะน้้าช่วยดันเรือขึน้ มา

มวลของวัตถุเป็นสิ่งที่ก้าหนดว่าวัตถุนั้นจะจมหรือลอยน้้า วัตถุที่หนักจะ
จมเสมอและวัตถุที่เบาจะลอยเสมอ

6
ทบทวนความรู้

สารสถานะของแข็งจะมีความหนาแน่นมากกว่าสถานะของเหลวเสมอไป

วัตถุที่เป็นไม้และพลาสติกจะลอยน้้าส่วนวัตถุที่เป็นโลหะจะจมน้้า

7
ทะเลสาบเดดซี (Dead sea)
8
ความหนาแน่น (Density)

ความหนาแน่นเป็นสมบัติของสารที่บอกให้ทราบมวลของสาร
ในหนึ่งหน่วยปริมาตรของสารนั้น

9
ความหนาแน่น (Density)

ถ้าใช้มวลของสารหน่วยกรัม (g) ปริมาตรของสารจะใช้หน่วยลูกบาศก์เซนติเมตร (cm3)


เช่น ทองค้ามีความหนาแน่น 19.4 กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร (g/cm3)
หมายความว่า ทองค้ามีมวล 19.4 กรัม ในหนึ่งลูกบาศก์เซนติเมตร

ถ้าใช้มวลของสารในหน่วยกิโลกรัม (kg) ปริมาตรของสารจะใช้หน่วยลูกบาศก็เมตร (m3)


เช่น ทองค้ามีความหนาแน่น 19,390 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร (kg/m3)
หมายความว่า ทองค้ามีมวล 19,390 กิโลกรัม ในหนึ่งลูกบาศก์เมตร

10
ความหนาแน่น (Density)

ถ้าปรอทมีความหนาแน่น 13.6 กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร


ขณะที่ทองค้ามีความหนาแน่น 19.4 กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร
เมื่อสารทั้งสองมีปริมาตรเท่ากัน มวลของสารใดมีค่ามากกว่ากัน

11
ความหนาแน่น (Density)

ความหนาแน่นของสารเป็นความสัมพันธ์ระหว่างมวลของสารใน 1 หน่วยปริมาตร
ของสารนั้น ซึ่งสามารถเขียนความสัมพันธ์ได้ดังนี้
มวล (g) มวล (kg)
ความหนาแน่นของสาร = หรื อ
ปริมาตร (cm3) ปริมาตร (m3)
หน่วยของความหนาแน่น คือ กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร
หรือ กิโลกรัมต่อลูกบาศก็เมตร

12
วัตถุ 2 ชิ้น มีลักษณะภายนอกคล้ายกัน ชิ้นที่ 1 เป็นแท่งสี่เหลี่ยม
มีความกว้าง 3 cm ยาว 8 cm สูง 2 cm และมีมวล 480 g
ชิ้นที่ 2 เป็นก้อนขรุขระไม่เป็นทรงเรขาคณิต มีปริมาตร 50 cm3 และมีมวล
450 g วัตถุชิ้นใดมีความหนาแน่นมากกว่ากัน

13
วัตถุชนิดหนึ่งมีความหนาแน่น 0.75 g/cm3 ถ้าวัตถุนี้มีปริมาตร 250 cm3 จะ
มีมวลเท่าใด

14
นักส้ารวจเดินทางด้วยบอลลูนบรรจุแก๊สฮีเลียมก่อนออกเดินทางได้บรรจุ
แก๊สฮีเลียมปริมาตร 500 m3 และมีมวล 60 kg ในบอลลูน
แก๊สฮีเลียมในบอลลูนขณะนั้นมีความหนาแน่นเท่าใด

15
ความหนาแน่น (Density)

ความหนาแน่น (density) เป็นสมบัติของสาร ซึ่งค้านวณได้จากอัตราส่วนระหว่าง


มวลต่อปริมาตรของสาร สารบริสุทธิ์แต่ละชนิดมีความหนาแน่น หรือมีมวลต่อหนึ่ง
หน่วยปริมาตรคงที่ เป็นค่าเฉพาะของสารนั้น ณ สถานะ อุณหภูมิ และความดันหนึ่ง

เช่น อะลูมิเนียม 2 ก้อน แม้จะมีขนาดต่างกัน แต่เนื่องจากเป็นสารบริสุทธิ์ชนิด


เดียวกันจึงมีความหนาแน่นเท่ากัน สารบริสุทธิ์ต่างชนิดจะมีความหนาแน่นต่างกัน

16
ความหนาแน่น (Density)

ส่วนสารผสมจะมีความหนาแน่นไม่คงที่ แม้ว่าจะเป็นสารผสมชนิดเดียวกัน
ความหนาแน่นจะขึ้นกับอัตราส่วนของสารที่น้ามาผสมกัน
เช่น น้้าเกลือเค็มจัด จะมีความหนาแน่นมากกว่าน้้าเกลือเจือจาง

17
ความหนาแน่น (Density)

18
ความหนาแน่น (Density)

โดยทั่วไปสารชนิดเดียวกัน เมื่อมีสถานะต่างกันทีอ่ ุณหภูมิและความดันเดียวกัน


ของแข็งจะมีความหนาแน่นมากกว่าของเหลวและของเหลวจะมีความหนาแน่น
มากกว่าแก๊ส เช่น น้้าแข็งแห้งหรือคาร์บอนไดออกไซด์สถานะของแข็ง
มีความหนาแน่นมากกว่าคาร์บอนไดออกไซด์สถานะของเหลวและแก๊สตามล้าดับ

19
ความหนาแน่น (Density)

เนื่องจากสารในสถานะของแข็งอนุภาคจะเรียงชิดติดกันมากกว่าของเหลว
และอนุภาคของของเหลวจะอยู่ชิดกันมากกว่าอนุภาคของแก๊ส ความหนาแน่น
ของแก๊สจะเปลี่ยนแปลงไปตามอุณหภูมิและความดันได้ง่ายกว่าสารที่เป็นของเหลว

แต่ในกรณีน้าแข็งกับน้้า พบว่า น้้าแข็งซึ่งเป็นของแข็งจะมีความหนาแน่นน้อยกว่าน้้า


ซึ่งเป็นของเหลวสารต่างชนิดกันที่อุณหภูมิและความดันเดียวกัน สารที่มีสถานะ
ของแข็งไม่จ้าเป็นต้องมีความหนาแน่นมากกว่าสารที่มีสถานะของเหลวเสมอไป

20
ความหนาแน่น (Density)

พิจารณาจากข้อมูล
ในตาราง 2.2 พบว่า
น้้าแข็งและเงิน
ซึ่งเป็นของแข็ง
มีความหนาแน่นน้อย
กว่าปรอทซึ่งเป็น
ของเหลว

21
ความหนาแน่น (Density)

เรือมีโครงสร้างที่ท้าจากเหล็ก ซึ่งเป็นวัตถุที่มี
ความหนาแน่นมากกว่าน้้า หากต้องการท้าให้เรือ
ลอยน้้าได้ต้องท้าให้มีความหนาแน่นน้อยลง โดย
เปลี่ยนรูปร่างของเหล็กให้มีลักษณะโค้งงอและให้
ภายในเรือเหล็ก ส่วนใหญ่เป็นที่ว่าง เพื่อให้มี
ปริมาตรมากขึ้นท้าให้ความหนาแน่นของเรือเหล็ก
น้อยกว่าความหนาแน่นของน้้าเรือจึงลอยน้้าได้

22
ความหนาแน่น (Density)

เรือด้าน้้าที่สามารถจมหรือลอยน้้าได้นั้น เนื่องจากใช้ถังน้้าที่ติดตั้งภายในเรือ เพื่อช่วยใน


การเปลี่ยนความหนาแน่นของเรือทั้งล้า เมื่อสูบน้้าทะเลเข้าไปในถังเพื่อให้ความหนาแน่นของเรือ
ทั้งล้ามากกว่าน้้าเรือจะจม และเมื่อต้องการให้เรือลอยขึ้นมาต้องสูบน้้าออกจากเรือพร้อมทั้งอัด
อากาศเข้าสู่ถังน้้าภายในเรือ เรือจะลอยขึ้น ดังภาพ

23
ตอบค้าถาม

24
ตอบค้าถาม

25
ตอบค้าถาม

26
ตอบค้าถาม

27
สรุปสารบริสุทธิ์และสารผสม

สารบริสุทธิ์
จุดเดือด อุณหภูมิขณะเดือดคงที่ มีค่าเฉพาะตัวที่ความดันบรรยากาศเดียวกัน
จุดหลอมเหลว ช่วงอุณหภูมิที่หลอมเหลวแคบและมีจุดหลอมเหลวคงที่ มีค่าเฉพาะตัว
ที่ความดันบรรยากาศเดียวกัน
ความหนาแน่น มีค่าคงที่เฉพาะตัว แต่ขึ้นอยู่กับสถานะอุณหภูมิและความดัน

28
สรุปสารบริสุทธิ์และสารผสม

สารผสม
จุดเดือด อุณหภูมิขณะเดือดมีค่าไม่คงที่เปลี่ยนไปตามอัตราส่วนของสารผสมนั้น
จุดหลอมเหลว ช่วงอุณหภูมิที่หลอมกว้างและมีจุดหลอมเหลวไม่คงที่ ขึ้นอยู่กับ
อัตราส่วนของสารผสมนั้น
ความหนาแน่น ความหนาแน่นของสารละลายมีค่าไม่คงที่แต่ขึ้นอยู่กับอัตราส่วนของ
สารผสมนั้น

29
ทราบประเภทของพลาสติกได้อย่างไร

ค่อนข้างแข็งและเหนียวไม่เปราะแตกง่ายและ
ส่วนใหญ่จะใส

ค่อนข้างนิ่มแต่เหนียวไม่แตกง่าย ส่วนใหญ่ท้า
ให้มีสีสันสวยงามทนสารเคมี นอกจากนี้ยัง
ป้องกันการแพร่ผ่านความชื้นได้ดี

มีสมบัติหลากหลายทั้งแข็ง นิ่ม สามารถท้าให้มี


สีสันสวยงามได้

30
ทราบประเภทของพลาสติกได้อย่างไร

นิ่มกว่า HDPE สามารถยืดตัวได้ในระดับหนึ่ง


ใส

แข็งและเหนียวทนต่อแรงกระแทกได้ดี
ท้าให้มีสีสันสวยงามได้

แข็งแต่เปราะ และแตกง่าย

31
วิธีคัดแยกประเภทพลาสติก

32
วิธีคัดแยกประเภทพลาสติก

33
วิธีคัดแยกประเภทพลาสติก

34
วิธีคัดแยกประเภทพลาสติก

35

You might also like