You are on page 1of 23

17.

2 ความตึงผิวและ
ความหนืดของของเหลว
17.2.1 ความตึงผิวของของเหลว

มีแรงลัพธ์จากผิวน้้าดันเข็มเย็บผ้าหรือใบมีดโกนขึ้นในแนวดิ่ง
ซึ่งแรงนี้เกิดจากโมเลกุลของน้้าที่บริเวณผิวหน้ายึดกันไว้มากพอจนรับ
น้้าหนักของเข็มหรือใบมีดโกนไว้ได้ เรียกว่า แรงดึงผิวของน้้า

2
17.2.1 ความตึงผิวของของเหลว (ต่อ)

ที่บริเวณผิวของของเหลวแรงดึงดูดระหว่าง
โมเลกุล (cohesive force) จะท้าให้โมเลกุลที่ผิว
ของเหลวถูกโมเลกุลข้างเคียงดึงดูด มีทิศทางเข้าหา
ของเหลวและทิศทางในแนวสัมผัสผิวของของเหลว

แรงในแนวสัมผัสผิวของของเหลว คือ แรงดึงผิว ท้าให้ผิวของของเหลวมีลักษณะเสมือน


แผ่นฟิล์มที่ขึงตึง จึงสามารถรับน้้าหนักของเข็มเย็บผ้าเล็ก ๆ หรือใบมีดโกนได้ ทั้งที่วัตถุทั้งสองมี
ความหนาแน่นมากกว่าน้้ามาก การที่ใบมีดโกนหรือเข็มเย็บผ้าสามารถลอยอยู่บนผิวน้้าได้
เนื่องจากน้้ามี ความตึงผิว (surface tension) 3
17.2.1 ความตึงผิวของของเหลว (ต่อ)
กิจกรรม 17.2 แรงดึงผิวของของเหลว

หลังจากเจาะฟิล์มน้้าสบู่ภายในห่วงด้ายขาดออก ห่วงด้ายจะเป็นรูปวงกลม
แสดงให้เห็นว่าแรงดึงผิวของฟิล์มน้้าสบู่ดึงห่วงด้ายในทิศตั้งฉากกับเส้นด้าย
สรุปได้ว่า แรงดึงผิวมีทิศตั้งฉากกับขอบผิวของเหลวที่สัมผัสกับวัตถุ
และอยู่ในแนวขนานกับผิวของเหลว
4
17.2.1 ความตึงผิวของของเหลว (ต่อ)
การโค้งของผิวของเหลว
เมื่อเทของเหลวลงในภาชนะและของเหลวนั้นอยู่นิ่ง
สังเกตผิวของเหลวจะพบว่า ผิวของเหลวตรงบริเวณที่
สัมผัสผิวภาชนะมีลักษณะโค้ง ปรากฏการณ์นี้เรียกว่า
การโค้งของผิวของเหลว (meniscus effect)
เมื่อใส่น้าและปรอทลงในหลอดทดลองอย่างละหลอด
ขณะที่ของเหลวทั้งสองอยู่นิ่ง จะพบว่า ผิวน้้าและผิว
ปรอทในหลอดทดลองมีลักษณะการโค้งที่แตกต่างกัน
ปรากฏการณ์นี้เกิดจาก แรงระหว่างโมเลกุล
(intermolecular force)
5
17.2.1 ความตึงผิวของของเหลว (ต่อ)
การโค้งของผิวของเหลว
แรงระหว่างโมเลกุล (intermolecular force) มีสองแบบ คือ
แรงเชื่อมแน่น (cohesive force) แรงยึดติด (adhesive force)
เป็นแรงระหว่างโมเลกุลชนิดเดียวกัน เป็นแรงระหว่างโมเลกุลต่างชนิดกัน

แรงยึดติดระหว่างโมเลกุลของน้้ากับโมเลกุลของแก้ว แรงเชื่อมแน่นระหว่างโมเลกุลของปรอท มากกว่า


มากกว่า แรงเชื่อมแน่นระหว่างโมเลกุลของน้้า แรงยึดติดระหว่างโมเลกุลของปรอทกับโมเลกุลของแก้ว 6
17.2.1 ความตึงผิวของของเหลว (ต่อ)
การโค้งของผิวของเหลว

เมื่อเทน้้าและปรอทออกจากหลอดทดลอง ของเหลวใดจะมีโอกาสติดอยู่
ข้างแก้วมากกว่ากัน

7
17.2.1 ความตึงผิวของของเหลว (ต่อ)
การซึมตามรูเล็ก
เมื่อจุ่มปลายข้างหนึ่งของหลอดรูเล็ก (capillary tube) ลงในของเหลวจะพบว่าระดับของเหลว
ในหลอดสูงหรือต่้ากว่าระดับของเหลวภายนอกหลอด ปรากฏการณ์นี้เรียกว่า การซึมตามรูเล็ก
(capillary action) ซึ่งเกิดจากแรงเชื่อมแน่น และ แรงยึดติด

ระดับน้้าในหลอดสูงกว่าระดับน้้านอกหลอด ส่วนระดับปรอทในหลอดต่้ากว่าระดับปรอทภายนอกหลอด
8
17.2.1 ความตึงผิวของของเหลว (ต่อ)
การซึมตามรูเล็ก

อธิบายปรากฏการณ์การซึมตามรูเล็กในรูป 17.8 ได้อย่างไร

9
17.2.1 ความตึงผิวของของเหลว (ต่อ)
การซึมตามรูเล็ก
ปรากฏการณ์การซึมตามรูเล็กที่พบเห็นในชีวิตประจ้าวัน
การซึมของน้้าเข้าไปในเนื้อผ้าผ่านช่องว่างระหว่างเส้นใยผ้า
การซึมของน้้าเข้าไปในเยื่อกระดาษผ่านรูเล็ก ๆ หรือช่องว่างระหว่างอนุภาคของเยื่อกระดาษ
การซึมของน้้าจากรากพืชขึ้นไปตามล้าต้นโดยอาศัยท่อไซเล็ม (xylem) หรือท่อส่งอาหารของพืช
การซึมของน้้าเกลือที่อยู่ใต้ดินขึ้นสู่ผิวดินในภาคอีสาน

10
17.2.1 ความตึงผิวของของเหลว (ต่อ)
การหาความตึงผิว
ความตึงผิวของของเหลว γ หมายถึง อัตราส่วนของแรงดึงผิว F ต่อความยาว l ที่ตั้งฉาก
กับแรงตลอดแนวที่แรงกระท้า ดังสมการ

= F
l
γ เป็นความตึงผิว มีหน่วย นิวตันต่อเมตร (N/m)

11
17.2.1 ความตึงผิวของของเหลว (ต่อ)
การหาความตึงผิว
กรณีที่ผิวของเหลวเป็นฟิล์มบาง เช่น ผิวของเหลวในขดลวดรูปตัวยูและมีลวดเบา xy ยาว d
เคลื่อนที่ได้คล่อง ผิวของเหลวจะดึงลวด xy ให้เคลื่อนที่ขึ้น เมื่อออกแรง T ดึงลวด xy ให้อยู่ในสมดุล
แสดงว่าแรงดึง T เท่ากับแรงดึงผิว F เมื่อพิจารณาฟิล์มของเหลวที่สัมผัสลวด xy จะประกอบด้วยผิว 2 ด้าน
ความยาวของผิวที่ท้าาให้เกิดแรงดึงผิวจึงเท่ากับ 2d

12
17.2.1 ความตึงผิวของของเหลว (ต่อ)
การหาความตึงผิว
จากสมการความตึงผิว ฟิล์มของเหลวมีความยาวผิว l ที่ตั้งฉากกับแรงดึงผิวตลอดแนวแรง
ที่กระท้ากับลวด xy เท่ากับ 2d ความตึงผิวของฟิล์มของเหลวมีค่าเท่ากับ

= F
2d

13
17.2.1 ความตึงผิวของของเหลว (ต่อ)
กิจกรรม 17.3 ความตึงผิวของของเหลว

จากการทดลองพบว่าขณะที่ห่วงวงกลมก้าลังจะ
หลุดออกจากผิวของเหลว ผิวของเหลวสัมผัสห่วงวงกลม
ขึ้นมาสองด้าน คือ ด้านนอกวงกลมและด้านในวงกลม
ความตึงผิวของของเหลวชนิดเดียวกันมีค่าเท่ากัน และ
ของเหลวต่างชนิดกันมีค่าต่างกัน
14
17.2.1 ความตึงผิวของของเหลว (ต่อ)
กิจกรรม 17.3 ความตึงผิวของของเหลว
ค้านวณหาแรงดึงผิว โดยใช้หลักโมเมนต์
Mทวน = Mตาม Fy = mgx

mgx
F=
y
ค้านวณหาความตึงผิว
l = 2 r

= F
2(2 r)
15
17.2.1 ความตึงผิวของของเหลว (ต่อ)

ความตึงผิวของของเหลวแต่ละชนิดมีค่าไม่เท่ากัน
ส้าหรับของเหลวชนิดหนึ่งค่าความตึงผิวจะเปลี่ยนไป เมื่อ
อุณหภูมิเปลี่ยนไป

เช่น เมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้นความตึงผิวของของเหลวจะลดลง
เพราะที่อุณหภูมิสูงขึ้นโมเลกุลของของเหลวจะเคลื่อนที่เร็ว
ขึ้น ท้าให้แรงระหว่างโมเลกุลมีค่าน้อยลง

16
17.2.1 ความตึงผิวของของเหลว (ต่อ)

17
17.2.2 ความหนืดของของเหลว
กิจกรรม 17.4 ความหนืดของของเหลว

เมื่อปล่อยให้ลูกเหล็กกลมเคลื่อนที่ใน
ของเหลว พบว่า อัตราเร็วเพิ่มขึ้นในช่วงแรก
ของการจม จนถึงระดับความลึกหนึ่ง ลูกเหล็ก
จะจมต่อไปด้วยอัตราเร็วสม่้าเสมอ

และลูกเหล็กกลมจมในของเหลวต่างชนิดกันที่มี
ความลึกเท่ากันจะใช้เวลาต่างกัน

18
17.2.2 ความหนืดของของเหลว (ต่อ)
การที่ลูกเหล็กกลมเคลื่อนที่ในของเหลวต่างชนิดกันที่ระดับความลึกเท่ากันจะใช้เวลาต่างกัน
เนื่องจากของเหลวมีสมบัติในการต้านการเคลื่อนที่ของวัตถุผ่านของเหลวนั้นต่างกันหรือ
ต้านการไหลของของเหลวต่างกัน สมบัติการต้านดังกล่าว เรียกว่า ความหนืด (Viscosity)

เมื่อวัตถุเคลื่อนที่ผ่านของเหลวที่มีความหนืดจะเกิดแรงต้านการเคลื่อนที่
เรียกว่า แรงหนืด (Viscous force) ของเหลวที่มีความหนืดมากกว่า จะมีแรงหนืดมากกว่า
ท้าให้วัตถุเคลื่อนที่ในของเหลวได้ช้ากว่าการเคลื่อนที่ผ่านของเหลวที่มีความหนืดน้อยกว่า

19
17.2.2 ความหนืดของของเหลว (ต่อ)

กฏของสโตกส์ (Stokes Law)


แรงหนืดมีค่าขึ้นกับค่าอัตราเร็ววัตถุที่เคลื่อนในของไหล

เมื่อ F คือ แรงหนืด (N)


F = 6 rv  คือ สัมประสิทธิ์ความหนืด (N.s/m2, Pa s)
r คือ รัศมีของวัตถุทรงกลม (m)
v คือ ความเร็วของวัตถุทรงกลม (m/s)

20
17.2.2 ความหนืดของของเหลว (ต่อ)
แรงลอยตัว หลักของอาร์คีมิดิส
แรงลอยตัว “ แรงลอยตัวจะมีคาเทากับ น้้าหนักของของเหลว
ซึ่งมีปริมาตรเทากับปริมาตรของวัตถุสวนจม ”

FB = mg m=ρV
m
FB = ρของเหลวVของเหลว g Vของเหลว = Vวัตถุส่วนที่จม

FB = ρของเหลวVวัตถุส่วนที่จม g
mg
21
17.2.2 ความหนืดของของเหลว (ต่อ)

1 1. ปล่อยวัตถุที่ผิวของเหลว วัตถุจะเคลื่อนที่ลงด้วย ความเร่ง a1


มีสมการเป็น mg-FB=ma1

2. เมื่อวัตถุเคลื่อนที่ลงด้วยความเร่งไม่คงที่ ที่ต้าแหน่งนี้ แรงหนืดจะ


2
เพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ มีสมการเป็น mg-FB-Fหนืด=ma2

3. ต้าแหน่งนี้วัตถุมีความเร็วสูงสุดและมีค่าคงที่ (vmax)
3 เขียนสมการได้ว่า FB+Fหนืด=mg

2 r2g
v= (  −  ')
9  22
17.2.2 ความหนืดของของเหลว (ต่อ)

การผลิตน้้ามันหล่อลื่นให้เหมาะสมกับ
เครื่องจักรกลชนิดต่าง ๆ

23

You might also like