You are on page 1of 8

สัปดาห์ที่ หน้าที่

เนื้อหาการสอน 6 1
รหัสและชื่อวิชา : 3100 - 0107 ความแข็งแรงของวัสดุ วันที่ เวลา :
แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคน่าน
บทที่ 2 ภาชนะอัดความดันและการเชื่อมต่อ

2.1 แรงเค้นในรูปทรงกระบอกผนังบาง (Thin Wall Cylinder)


รูปทรงกระบอกกลวงผนังบาง หมายถึงรูปทรงกระบอกกลวงที่มีความหนาของผนังน้อยมากเมื่อ
เปรียบเทียบกับขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางภายในของทรงกระบอกกลวงนั้น โดยทั่วไปความหนาของผนังทรงกระบอก
จะไม่เกิน 1 / 20 เท่าของขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง โครงสร้างของงานประเภทนี้ได้แก่หม้อต้มน้้าขนาดใหญ่ ถังขนาด
ใหญ่ ท่อส่งน้้ามันขนาดใหญ่ และถังแก๊สเป็นต้น
ในการพิจารณาความเค้นที่เกิดขึ้นในรูปทรงกระบอกกลวงผนังบางนั้น จะมีความเค้นเกิดขึ้น 2 แนว
ด้วยกันคือ
1. ความเค้นตามแนวเส้นรอบวง (Hoop or Circumferential Stress)
2. ความเค้นตามแนวยาว (Longitudinal Stress)

รูปที่ 2.1 ทรงกระบอกผนังบาง


สัปดาห์ที่ หน้าที่
เนื้อหาการสอน 6 2
รหัสและชื่อวิชา : 3100 - 0107 ความแข็งแรงของวัสดุ วันที่ : เวลา :
แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคน่าน
2.1.1 ความเค้นตามแนวเส้นรอบวง (Hoop or Circumferential Stress)
ภาชนะอัดความดันรูปทรงกระบอกเมื่อได้รับความดัน ความดันนี้จะท้าให้เกิดความเค้นขึ้นในเนื้อวัสดุที่
ใช้ท้าภาชนะนั้น และเมื่อความเค้นที่เกิดขึ้นมีปริมาณมากจนวัสดุนั้นไม่สามารถที่จะรับได้ จะท้าให้ภาชนะนั้นเกิด
การเสียหาย ซึ่งจะมีผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตได้ ฉะนั้นในการออกแบบใช้ภาชนะอัดความดันจึงเป็นสิ่งจ้าเป็นมาก ใน
การหาความเค้นนี้ สามารถหาได้โดยการพิจารณาสมดุลของแรง พิจารณารูปที่ 2.1 (a) เมื่อตัดหน้าตัด a และ b
ออกมาพิจารณาในรูปที่ 2.1 (b) จะพบว่าจะมีแรงกระท้าในทิศทางตั้งฉากกับพื้นผิวผนังในทิศทางแกน x แรงนี้จะ
กระจายทั่วทั้งบริเวณรูปทรงกระบอก จากสมการการรวมแรงในแนวแกน x จะได้สมการ
F x 0
2 1  t dy   p  2r dy   0
pr
1 
t

รูปที่ 2.2 แสดงความเค้นตามแนวเส้นรอบวงที่กระท้ากับภาชนะครึ่งทรงกระบอก

หรือจะพิจารณาจากรูปที่ 2.2
แรงที่เกิดขึ้นเนื่องจากความดันภายใน = ความดัน x พื้นที่รับความดัน
F = P  2rL ………………..(1)
แรงต้านที่เกิดขึ้นเนื่องจากความเค้นตามแนวเส้นรอบวง  H , 1
F = 2 H  Lt ………………..(2)
ถ้าภาชนะยังคงรูปเดิมได้ แรงที่เกิดขึ้นจะต้องเท่ากัน สมการ (1) = (2)
P  2rL = 2 H  Lt
2 Pr L
H =
2 Lt
สัปดาห์ที่ หน้าที่
เนื้อหาการสอน 6 3
รหัสและชื่อวิชา : 3100 - 0107 ความแข็งแรงของวัสดุ วันที่ : เวลา :
แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคน่าน
Pr
=
t
Pr PD
H  หรือ  H 
t 2t
เมื่อ t = ความหนาของผนัง
r = รัศมีเฉลี่ยของทรงกระบอกกลวง
 H = ความเค้นที่เกิดตามแนวเส้นรอบวง
P = ความดันที่เกิดขึ้นในภาชนะอัดความดัน
L = ความยาวของทรงกระบอกกลวง
2.1.2 ความเค้นตามแนวยาว (Longitudinal Stress)
ในการหาความเค้นตามแนวยาว เราจะพิจารณาภาชนะทรงกระบอกกลวงผนังบางดังรูปที่ 2.1 (c) จะ
เห็นว่าความเค้นเกิดขึ้นกระจายรอบ ๆ แนวยาวของผนังบาง เมื่อรวมแรงในแนวแกน y จะได้สมการดังนี้
F y

 2  2 rt   p  r 2   0
pr
2 
t

รูปที่ 2.3 แสดงความเค้นตามแนวยาวที่กระท้ากับภาชนะทรงกระบอก

หรือจะพิจารณาจากรูปที่ 2.3
แรงที่เกิดขึ้นเนื่องจากความดันภายใน = ความดัน x พื้นที่รับความดัน
F = P  r2 ………………..(3)
แรงต้านที่เกิดขึ้นเนื่องจากความเค้นตามแนวเส้นรอบวง  H , 1
F =  L   2rt ………………..(4)
สัปดาห์ที่ หน้าที่
เนื้อหาการสอน 6 4
รหัสและชื่อวิชา : 3100 - 0107 ความแข็งแรงของวัสดุ วันที่ เวลา :
แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคน่าน
ถ้าภาชนะยังคงรูปเดิมได้ แรงที่เกิดขึ้นจะต้องเท่ากัน สมการ (3) = (4)
P   r 2 =  L   2rt
P  r2
L 
2 rt
Pr
=
2t
Pr PD
L  หรือ  L 
2t 4t
เมื่อ t = ความหนาของผนัง
r = รัศมีเฉลี่ยของทรงกระบอกกลวง
 L = ความเค้นที่เกิดตามแนวยาว
P = ความดันที่เกิดขึ้นในภาชนะอัดความดัน
L = ความยาวของทรงกระบอกกลวง
หมายเหตุ
1. แรงที่กระท้าตามแนวความยาว จะท้าให้ความเค้นตามแนวยาว  L เป็นแรงที่ท้าให้
กระบอกกลวงขาดตามเส้นรอบวงนั้น
2. แรงที่ท้าให้เกิดความเค้นตามแนวเส้นรอบวงนั้นจะท้าให้ความเค้นตามแนวเส้นรอบวง
เป็นแรงที่ท้าให้กระบอกขาดตามแนวความยาว
3. ความเค้นตามแนวยาวและความเค้นตามแนวเส้นรอบวงจะกระท้าตั้งฉากซึ่งกันและกัน
4. ความเค้นตามแนวเส้นรอบวงจะมีค่าเป็นสองเท่าของความเค้นตามแนวยาว
5. ในการออกแบบจะต้องพิจารณาคิดขนาดต่าง ๆ จากความเค้นตามแนวเส้นรอบวง
6. ถ้ามีตะเข็บจะต้องใช้ตะเข็บตามแนวยาว เพราะมีความแข็งแรงตามแนวอื่น ๆ

2.2 ความเค้นในถังทรงกลมผนังบาง (Thin Spherical Shell)


ถ้ารูปทรงกลมอยู่ภายใต้ความดันภายในจะท้าให้เกิดความเค้นขึ้นตามแนวเส้นรอบวง ถ้าความบางของ
ทรงกลมต่อขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางมรน้อยกว่า 1 ต่อ 20 ความเค้นที่เกิดขึ้นตามแนวรัศมีจะมีค่าน้อยมากเมื่อ
เปรียบเทียบกับความเค้นที่เกิดขึ้นในแนวเส้นรอบวง และสามารถจะตัดทิ้งได้
พิจารณาทรงกลมที่อยู่ภายใต้ความดันดังรูปที่ 2.4
สัปดาห์ที่ หน้าที่
เนื้อหาการสอน 6 5
รหัสและชื่อวิชา : 3100 - 0107 ความแข็งแรงของวัสดุ วันที่ : เวลา :
แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคน่าน

รูปที่ 2.4 ทรงกลมภายใต้ความดันที่กระท้า


พิจารณาหน้าตัด a เมื่อรวมแรงในแนวแกน y จะได้สมการดังนี้
F y 0
 2  2 rt   p  r 2   0
pr
2 
2t
หรือพิจารณา
แรงที่เกิดขึ้นเนื่องจากความดัน = ความดัน x พื้นที่รับความดัน
F = P  r2 ………………..(5)
แรงต้านที่เกิดขึ้นเนื่องจากความเค้น
F =     2rt  ………………...(6)
ถ้าภาชนะยังคงรูปเดิมได้ แรงที่เกิดขึ้นจะต้องเท่ากัน สมการ (5) = (6)
P   r 2 =     2rt 
P r 2
 
2 rt
Pr
=
2t
Pr Pr
  หรือ  
2t 4t
สัปดาห์ที่ หน้าที่
เนื้อหาการสอน 6 6
รหัสและชื่อวิชา : 3100 - 0107 ความแข็งแรงของวัสดุ วันที่ : เวลา :
แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคน่าน
ตัวอย่างที่ 2.1
จงหาความดันภายในสูงสุดที่ถังเหล็กทรงกระบอกขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางเฉลี่ย 1650 mm หนา 15
mm จะบรรจุได้ ถ้าความเค้นแรงดึงสูงสุดเท่ากับ 125 N/mm2
วิธีท้า
Pr
จากสูตร H 
t
เมื่อ
 H = 125 N/mm2 , r =
1650
= 825 mm , t = 15 mm
2
แทนค่า
P  825
125 
15
125  15
P 
825
= 2.272 N/mm2
2
 ความดันภายในสูงสุดที่ถังนี้เท่ากับ 2.272 N/mm Ans
ตัวอย่างที่ 2.2
ทรงกระบอกผนังบางรับความดันภายใน 4 N/mm2 ถ้าเส้นผ่านศูนย์กลางภายในของทรงกระบอกเท่ากับ
650 mm และความเค้นใช้งานของวัสดุทรงกระบอกมีค่า 145 N/mm2 จงค้านวณหาความหนาของผนังทรงกระบอก
นี้
วิธีท้าฃ
Pr
จากสูตร H 
t
เมื่อ
650  t
 H = 145 N/mm2 , P = 4 N/mm2 , r เฉลี่ย = mm
2
แทนค่า
4   650  t 
145 
2t
145 t  1300  2t
1300
t = = 9.09 mm
143
 ความหนาของผนังทรงกระบอกนี้เท่ากับ 9.09 mm Ans
สัปดาห์ที่ หน้าที่
เนื้อหาการสอน 6 7
รหัสและชื่อวิชา : 3100 - 0107 ความแข็งแรงของวัสดุ วันที่ : เวลา :
แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคน่าน
ตัวอย่างที่ 2.3
ถังทรงกลมมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางภายนอก 2100 mm ใช้บรรจุแก๊ส แผ่นโลหะที่ใช้ท้าตัวถังมีความ
หนา 18 mm และมีค่าความเค้นใช้งาน 140 N/mm2 จงหาค่าความดันสูงสุดของแก๊สที่สามารถบรรจุได้ในถังนี้

วิธีท้า
Pr
จากสูตร  
2t
เมื่อ
2100  18
 = 140 N/mm2 , t = 18 mm , rเฉลี่ย = = 1041 mm
2
แทนค่า
P  1041
140 
2  18
2  18  140
P 
1041
= 4.841 N/mm2
2
 ความดันสูงสุดของแก็สที่สามารถบรรจุได้เท่ากับ 4.841 N/mm Ans

You might also like