You are on page 1of 6

สัปดาห์ที่ หน้าที่

เนื้อหาการสอน 18 1
รหัสและชื่ อวิชา : 2106-2110 กลสาสตร์โครงสร้าง 1
แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง ชื่ อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคน่าน

แรงเฉื อนและโมเมนต์ ดัด

เมื่อคานถูกกระทาด้วยแรงหรื อน้ าหนักและโมเมนต์ดดั ภายนอก จะทาให้เกิดความเค้นขึ้นภายในคานในการที่จะ


หาขนาดของความเค้นที่หน้าตัดใดๆ ของคาน จึงจาเป็ นที่จะต้องสามารถคานวณหาแรงและโมเมนต์ที่เกิดขึ้นที่
หน้าตัดนั้นให้ได้เสี ยก่อนโดยการใช้สมการของการสมดุลทางสถิตศาสตร์
แรงเฉื อน ( Shearing force ) คือคานที่จะทาให้แรงนี้ถูกเฉื อนขาดในแนวดิ่งปกติแรงเฉื อนนี้ จะมีผลต่อการเฉื อน
ขาดของวัสดุที่ใช้ทาคานในงานโครงสร้างต่างๆ มาก
โมเมนต์ ( bending moment ) คือโมเมนต์ดดั ที่เกิดขึ้นอันเนื่องมาจากแรงเฉื อนที่กระทาต่อคาน โมเมนต์ดดั นี้ เองที่
จะพยายามให้คานที่รับแรงเฉื อนนั้นโค้งงอจนไม่สามารถที่จะใช้งานต่อไปนี้
ไดอะแกรมของแรงเฉื อน ( shear force diagram ) เขียนย่อว่า SFD. คือแผนภาพที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างแรง
เฉื อนกับความยาวของคานโดยที่จุดทางด้านซ้ายมือของคานเป็ นจุดเริ่ มต้นค่าทางแกน x จะเป็ นระยะทางที่วดั ไป
ตามความยาวของคานนั้น ตั้งแต่ทางด้านซ้ายมือสุ ดของคานนั้น ตั้งแต่ทางด้านซ้ายมือถึงทางด้านขวามือสุ ดของ
คานนั้น และค่าแกน y จะเป็ นค่าแรงเฉื อนในแนวดิ่งที่หน้าตัดใด ๆของคานนั้น
ไดอะแกรมโมเมนต์ ดัด ( bending moment diagram ) เขียนย่อว่า BMD. คือแผนภาพที่แสดงความสัมพันธ์
ระหว่างโมเมนต์ดดั กับความยาวของคานนั้น โดยที่จุดทางด้านซ้ายมือสุ ดของคานเป็ นจุดเริ่ มต้น ค่าทางแกน x จะ
เป็ นระยะทางที่วดั ไปตามความยาวของคานนั้น ตั้งแต่ทางด้านซ้ายมือสุ ดของคานนั้น ตั้งแต่ทางด้านซ้ายมือถึง
ทางด้านขวามือสุ ดของคานนั้น และค่าแกน y จะเป็ นค่าโมเมนต์ดดั ที่หน้าตัดใดๆ ของคานนั้น
สัปดาห์ที่ หน้าที่
เนื้อหาการสอน 18 2
รหัสและชื่ อวิชา : 2106-2110 กลสาสตร์โครงสร้าง 1
แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง ชื่ อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคน่าน

การพิจารณาเครื่ องหมาย
กรณี แรงเฉื อน ในการพิจารณาคานทางด้านซ้ายมือสุ ดเป็ นจุดเริ่ มต้น แล้วคิดในด้านซ้ายมือของคาน แรงใดที่
มีทิศทางขึ้น เช่น แรงปฏิกิริยาของคานช่วงเดียวนั้นให้มีเครื่ องมือเป็ นบวก ( + ) และแรงใดที่มีทิศทางลงล่าง เช่น
น้ าหนักที่กระทากับคานให้มีเครื่ องหมายเป็ นลบ ( - ) เครื่ องหมายเหล่านี้ จะกลับกันถ้าหากการพิจารณาเริ่ มจากทาง
ขวามือไปทางซ้ายมือ
V V

V
V
แรงเฉื อนเป็ นบวก แรงเฉื อนเป็ นลบ
กรณี ของโมเมนต์ ดัด ในการพิจารณาความหมายของโมเมนต์ดดั นั้น เราจะพิจารณาได้โดยให้โมเมนต์ดดั ใดก็
ตามที่ทาให้คานเกิดการแอ่นตัวหรื อโก่งงอลงด้านล่าง หรื อเกิดอาการดึงไปทางด้านล่างของอาคาร หรื อเกิดอาการ
ถูกอัดทางด้านบนของคาน ให้โมเมนต์ดดั เป็ นบวก ( + ) ได้แก่ โมเมนต์ดดั ของคานช่วงเดียว

F อัด M M+ M

Rx
Ry ดึง Ry โมเมนต์ดดั เป็ นบวก
สัปดาห์ที่ หน้าที่
เนื้อหาการสอน 18 3
รหัสและชื่ อวิชา : 2106-2110 กลสาสตร์โครงสร้าง 1
แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง ชื่ อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคน่าน
และถ้าโมเมนต์ดดั ใดๆ ก็ตามที่ทาให้คานนั้นเกิดการโก่งงอขึ้นด้านบน คือเกิดอาการถูกดึงทางด้านบนของคาน
หรื อเกิดอาการถูกอัดทางด้านล่างของคานให้กบั โมเมนต์ดดั เป็ นลบ ( - ) ได้แก่โมเมนต์ของคานยืน่ เป็ นต้น
F ดึง

M M- M
อัด โมเมนต์ดดั เป็ นลบ
การเขียนไดอะแกรมของแรงเฉื อนและโมเมนต์ ดัด
หลักการเขียนไดอะแกรมของแรงเฉื อนและโมเมนต์ดดั โดยทัว่ ไปจะแบ่งหน้ากระดานออกเป็ น 2 ส่ วนตาม
ความยาวหน้ากระดาษ จุดประสงค์เพื่อให้ทางซ้ายมือเขียนรู ปแสดงน้ าหนัก ( Loading Diagram ; LD. ) รู ปทาง
อิสระ ( Free Body Diagram ; FBD ) รู ปแสดงแรงปฏิกิริยา ( Reaction Diagram ; RD. ) รู ปแสดงแรงเฉื อน
( Shear Force Diagram ; SFD. ) และรู ปโมเมนต์ดดั ( Bending Moment Diagram ; BMD. )
ส่ วนทางด้านซ้ายมือ เขียนรายการคานวณ แรงปฏิกิริยา ค่าแรงเฉื อน และค่าโมเมนต์ดดั

ขั้นตอนในการเขียนไดอะแกรมแรงเฉื อนและโมเมนต์ ดัด


1. เขียนรู ปแสดงน้ าหนัก (Loading Diagram; LD.) แสดงลักษณะของคานและน้ าหนักที่กระทาตามโจทย์
2. เขียนรู ปแสดงแรงปฏิกิริยา (Reaction Diagram; RD.) แสดงแรงปฏิกิริยาที่จุดรองรับเนื่ องจากน้ าหนัก
กระทาตามโจทย์
3. คานวณหาแรงปฏิกิริยาโดยใช้สมการสมดุล  Fx  0,  Fy  0,  M  0
4. เขียนรู ปทางอิสระ ( Free Body Diagram ; FBD ) และสมการหาแรงเฉื อนและโมเมนต์ดดั
5. นาค่าแรงเฉื อนที่ได้มาเขียนรู ปแรงเฉื อน ( Shear Force Diagram ; SFD.) โดยเริ่ มจากทางด้านซ้ายมือและ
ค่าแรงเฉื อนที่จุดสุ ดท้ายจะมีค่าเป็ นศูนย์เสมอ
สัปดาห์ที่ หน้าที่
เนื้อหาการสอน 18 4
รหัสและชื่ อวิชา : 2106-2110 กลสาสตร์โครงสร้าง 1
แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง ชื่ อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคฉะเชิงเรา
6.นาค่าโมเมนต์ที่ได้มาเขียนรู ปโมเมนต์ดดั ( Bending Moment Diagram : BMD. )โดยเริ่ มจากทางด้านซ้ายมือ
และค่าโมเมนต์ดดั จุดสุ ดท้าย จะมีค่าเท่ากับศูนย์เสมอ แต่ในบางกรณี เช่น คานปลายยืน่ จะต้องเขียนรู ปโมเมนต์ดดั
(Bending Moment Diagram ; BMD )จากปลายคานมายังจุดรองรับเสมอ
ข้ อสั งเกต ในการเขียนรู ปแรงเฉือน (Shear Force Diagram ; SFD) และเขียนรู ปโมเมนต์ดดั (Bending Moment
Diagram;BMD)
1.กรณีทแี่ รงกระทาเป็ นจุด (Point Load)
F
A B

F
2

SFD.
F
2
FL
4
BMD

ลักษณะ Shear Force Diagram (SFD)จะเป็ นเส้นตรงตามแนวดิ่ง


ลักษณะ Bending Moment Diagram(BMD)จะเป็ นเส้นตรงเอียงซ้ายหรื อเอียงขวา
2.กรณีไม่ มีแรงกระทา(No Load)
ลักษณะ Shear Force Diagram (SFD)จะเป็ นเส้นตรงในแนวราบ
ลักษณะ Bending Moment Diagram)จะเป็ นเส้นตรงเอียง
สัปดาห์ที่ หน้าที่
เนื้อหาการสอน 18 5
รหัสและชื่ อวิชา : 2106-2110 กลสาสตร์โครงสร้าง 1
แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง ชื่ อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคน่าน
3.กรณีทมี่ ีแรงกระทาแผ่กระจายสม่าเสมอ(Uniformly Distributed Load)
W
A B

wL
2

SFD.
wL
2
w.L2
8
BMD

ลักษณะ Shear Force Diagram (SFD)จะเป็ นเส้นตรงที่มีความลาดเอียง


ลักษณะ Bending Moment Diagram(BMD)จะเป็ นเส้นโค้งพาราโพล่าแบบราบเรี ยบ
4.กรณีทนี่ า้ หนักแผ่กระจายในทางเพิม่ ขึน้ และลดลง(Uniformly Varying Distributed Load)
W

A B

L
สัปดาห์ที่ หน้าที่
เนื้อหาการสอน 18 6
รหัสและชื่ อวิชา : 2106-2110 กลสาสตร์โครงสร้าง 1
แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง ชื่ อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคน่าน

L
SFD. 3

wL2
9 3
BMD
ลักษณะ Shear Force Diagram (SFD) จะเป็ นเส้นโค้งพาราโพล่าที่มีความราบเรี ยบ
ลักษณะ Bending Moment Diagram(BMD)จะเป็ นเส้นโค้งที่มีความราบเรี ยบ
5.ทีจ่ ุดซึ่งแรงเฉื อนมีค่าเป็ นศู นย์ โมเมนต์ ดัดจะมีค่าสู งสุ ด
W
A B

wL
แรงเฉือนมีคา่ เป็ นศูนย์ 2
SFD
wL
wL2 2
8 โมเมนต์ดดั มีคา่ สูงสุด
BMD

You might also like