You are on page 1of 6

สัปดาห์ที่ หน้าที่

เนื้อหาการสอน 16 1
รหัสและชื่อวิชา : 3100 - 0107 ความแข็งแรงของวัสดุ วันที่ : เวลา :
แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคน่าน
ความเค้นเฉือนในคาน
Shear Stress in Beam

6.2 ความเค้นเฉือนในคานรูปหน้าตัดต่างๆ
1. เมื่อหน้าตัดคานเป็นสี่เหลี่ยมผืนผ้า สาหรับคานที่มีรูปหน้าตัดสี่เหลี่ยมผืนผ้าโดยมีความกว้าง b ความสูง h และ
มีแรงเฉือน V ที่กระทากับพื้นที่หน้าตัดนั้น แสดงดังรูปที่ 3

VQ

Ib
จากรูปที่ 5.15 (ก) ค่า Q ของพื้นทีท่ ี่อยู่เหนือระยะ y1 ขึ้นไป =  y
1 1
 b(c  y1) (c  y1)  b(c 2  y12 )
2 2
ในที่นี้ c 
h
2

1 h2
V b(  y12 )
V h2
  2 4  (  y12 )
Ib 2I 4
แสดงว่าการกระจายของแรงเค้นเฉือนบนหน้าตัดรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าเป็นรูปพาราโบล่าตามระยะ y 12 จาก
แกนสะเทินดังรูปที่ 5.15 (ข)
h
เมื่อค่า y1   ที่ผิวบนและล่างของคานค่า   0 และเมื่อ y1  0 ที่แกนสะเทินค่าแรงเค้นเฉือน
2
bh 3
จะมีค่าสูงสดุ (แทนค่า I  )
12
3V
 max 
2 A
แสดงว่าค่าแรงเค้นเฉือนสูงสุดที่แกนสะเทินของหน้าตัดคานมีค่ามากเป็น 1.5 เท่าของแรงเค้นเฉือนเฉลี่ย
V
A
ที่สมมุติอย่างผิด ๆ ให้แรงเค้นเฉือนกระจายสม่าเสมอทั้งพื้นที่หน้าตัด
สัปดาห์ที่ หน้าที่
เนื้อหาการสอน 16 2
รหัสและชื่อวิชา : 3100 - 0107 ความแข็งแรงของวัสดุ วันที่ : เวลา
แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคน่าน
2. เมื่อหน้าตัดคานเป็นรูปวงกลม สาหรับคานที่มีรูปหน้าตัดเป็นรูปวงกลมที่มีเส้นผ่านศูนย์กลาง d และมีแรง
เฉือน V กระทากับพื้นที่หน้าตัดนั้น ซึ่งแสดงดังรูปที่ 4

4V
 max 
3A

3. เมื่อหน้าตัดของคานเป็นรูปตัว I สาหรับ flanged-type beam ดังเช่นหน้าตัดของคานรูปตัว I และตัว U จะใช้


VQ
สมการ   ที่ flanged ไม่ได้ ด้วยเหตุผลดังต่อไปนี้
Ib

ถ้าพิจารณาหน้าตัดของคานรูปตัว I ดังรูปที่ 5(ก) จะเห็นว่าความเค้นเฉือนจะเป็นศูนย์ที่ผิวนอกจาก a ถึง b


และจาก c ถึง d แต่ว่าในช่วงจาก b ถึง c ในระดับเดียวกันค่าความเค้นเฉือนจะไม่เท่ากับศูนย์ ฉะนั้นจะเกิดความไม่
VQ
ต่อเนื่องของความเค้นเฉือนขึ้นที่ระดับนี้ แต่เนื่องจากสูตร   ได้มาจากการที่สมมติให้ความเค้นเฉือนมีค่าคงที่
Ib
ตลอดความกว้าง b ฉะนั้นสูตรนี้จึงใช้สาหรับหาความเค้นเฉือนได้เฉพาะในสันกลางเท่านั้น

อย่างไรก็ตามถ้าปีก (flange) มีขนาดบางพอสมควร จากการคานวณหาโดยใช้ทฤษฎีที่ซับซ้อนกว่าจะพบว่า


การกระจายของความเค้นเฉือนมีลักษณะ ดังรูปที่ 5(ข)
สัปดาห์ที่ หน้าที่
เนื้อหาการสอน 16 3
รหัสและชื่อวิชา : 3100 - 0107 ความแข็งแรงของวัสดุ วันที่ : เวลา :
แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคน่าน
สาหรับคานรูปหน้าตัดเป็นรูปตัว I โดยทั่ว ๆ ไป จากการคานวณจะเห็นได้ว่าความเค้นเฉือนในแนวดิ่งที่ขนาน
กับพื้นที่หน้าตัดใน flange มีค่าน้อยมาก แรงเฉือนเกือบทั้งหมด (ประมาณ 95 เปอร์เซ็นต์) web จะเป็นตัวรับไว้
ดังนั้นโดยทั่วไปเราก็สมมติว่าเฉพาะ web เท่านั้นจะเป็นตัวรับแรงเฉือนไว้ทั้งหมด
ดังนั้นสมการที่ใช้หาความเค้นเฉือนคือ

VQ

It

เมื่อ  คือความเค้นเฉือนในคาน
I คือโมเมนต์ของความเฉื่อยรอบแกนสะเทินของคาน
V คือแรงเฉือนในแนวดิ่ง
t คือความหนาของ web
Q คือโมเมนต์ของพื้นที่รอบแกนสะเทิน = ay

การพิจารณาทั้งโมเมนต์ดัดและแรงเฉือนสาหรับการออกแบบคาน
ในการหาว่าคานจะรับแรงภายนอกหรือน้าหนักได้เท่าใดนั้น หรือการหาขนาดของหน้าตัดของคานว่ามีค่า
เท่าใด เราจะพิจารณาถึงเงื่อนไขของความเค้นดัดที่เกิดจากโมเมนต์ดัด และความเค้นเฉือนที่เกิดจากแรงเฉือนพร้อม
กัน โดยต้องอยู่ในเงื่อนไขทั้ง 2 นี้ด้วย
สาหรับคานสั้นๆที่อยู่ภายใต้แรงที่มีค่าสูง ความเค้นเฉือนมักจะเป็นตัวบังคับในการออกแบบ แต่สาหรับคานที่
ยาวๆ ความเค้นดัดจะเป็นตัวบังคับที่ใช้ในการออกแบบ
สาหรับคานที่ทาด้วยไม้นั้น ควรพิจารณาความเค้นเฉือนเสมอ เพราะว่าความแข็งแรงของการเฉือนของไม้มีค่า
ไม่สูงนัก
สัปดาห์ที่ หน้าที่
เนื้อหาการสอน 16 4
รหัสและชื่อวิชา : 3100 - 0107 ความแข็งแรงของวัสดุ วันที่ : เวลา :
แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคน่าน
ตัวอย่างที่ 3
คานดังรูป มีแรง w เท่ากับ 5 kN/m กระทา จงหาขนาดของความเค้นเฉือนสูงสุดในคาน

5 kN /m
N.A. 300 mm
4m

วิธีทา
Vmax = wl
2
5 4
= = 10 kN  max  4  V
2 3 A
 2 3
เมื่อ A =  300 2 = 70685.8347 mm , V = 10 x 10 N
4
4 10 103
 max 
3  70685.8347
= 0.18862 N/mm2
 ความเค้นเฉือนสูงสุดเท่ากับ 188.628 kN/m2 Ans
สัปดาห์ที่ หน้าที่
เนื้อหาการสอน 16 5
รหัสและชื่อวิชา : 3100 - 0107 ความแข็งแรงของวัสดุ วันที่ : เวลา :
แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคน่าน
ตัวอย่างที่ 4
คานแบบช่วงเดียวมีหน้าตัดดังรูป รับแรง 8 กิโลนิวตัน กระทาอยู่บนคานดังรูป จงหาความเค้นเฉือน
สูงสุดที่เกิดขึ้น
160 mm
8 kN
20 mm

2m 1m 80 mm

RA RB 20 mm 20 mm
วิธีทา
M B  0

RA = 2.6667 kN
RB = 5.33333 kN
Vmax = 5.33333 kN

y 

A1 y1  2 A2 y 2  
160  20  90   2 80  20  40 
 65 mm
A1  2  A2  160  20   2 80  20 
 1 2   1 2 
IN.A. = 3
  3

 12 160  20   160  20  25   2  12  20  80   20  80  25 
     

IN.A. = 5183333.333 mm4

 65 
เมื่อ Q = 2  20  65   = 84500 mm3
 2
VQ
 
Ib
เมื่อ b = 40 mm
5.3333 103  84500
 
5813333.333  40
= 1.938 N/mm2
 ความเค้นเฉือนสูงสุดในคานเท่ากับ 1.938 N/mm2 Ans

You might also like