You are on page 1of 5

สัปดาห์ที่ หน้าที่

เนื้อหาการสอน 8 1
รหัสและชื่ อวิชา : 2106-2110 กลสาสตร์โครงสร้าง 1
แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง ชื่ อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคน่าน
ความเครียด (Strain)
เมื่อมีแรงภายนอกกระทาต่อโครงสร้าง จะมีผลทาให้ชิ้นส่ วนของโครงสร้างเสี ยรู ปไป (Deformation)
โดยทาให้ส่วนของโครงสร้างนั้นเกิดความเครี ยดขึ้น ซึ่ งความเครี ยดนั้น มีนิยามว่า ขนาดที่เปลี่ยนแปลงไปของมวล
วัสดุต่อขนาดเดิม ในทิศทางใดทิศทางหนึ่งที่พิจารณา หรื ออาจแสดงได้โดยสมการดังนี้ คือ

ความเครี ยด = ส่ วนที่เปลี่ยนแปลง = ความยาวสุ ดท้าย – ความยาวเดิม


ความยาวเดิม ความยาวเดิม
 S '  S
 = =
S S

รู ปที่ 1.7 ส่ วนของโครงสร้างเมื่อเกิดความเครี ยด


สาหรับการศึกษา ความเครี ยด ในส่ วนของโครงสร้างเสี ย เพื่อเป็ นแนวทางในการกาหนดความยาวของ
โครงสร้าง ตลอดจนเลือกใช้วสั ดุ เพื่อให้ส่วนของโครงสร้างเสี ยรู ปไปได้ไม่เกินที่มาตรฐานกาหนด โดยความเครี ยดที่
เกิดขึ้นในวัสดุแบ่งออกได้เป็ น 3 ลักษณะตามทิศทางที่เกิดความแค้นนั้น ๆกล่าวคือ
สัปดาห์ที่ หน้าที่
เนื้อหาการสอน 8 2
รหัสและชื่ อวิชา : 2106-2110 กลสาสตร์โครงสร้าง 1
แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง ชื่ อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคน่าน

ความเครียดดึง ( Tensile Strain )


ชิ้นส่ วนของโครงสร้างที่มีความยาวเดิม เมื่อมีแรงดงมากระทาในรู ปที่ 1.8 ทาให้ส่วนของ
โครงสร้างนั้นยืดออก จะมีผลทาให้ความเครี ยดดึงขึ้นดังแสดงไว้ในสมการ คือ

สู ตร t =
L

L 

P P

รู ปที่ 1.8 แสดงการเกิดความเครี ยดดึง


ความเครียดอัด ( Compression Strain )
ชิ้นส่ วนของโครงสร้างที่มีความยาวเดิม เมื่อมีแรงอัดมากกว่าในรู ปที่ 1.9 ทาให้ส่วนของ
โครงสร้างนั้นหดลง จะมีผลทาให้เกิดความเครี ยดอัดขึ้น ดังแสดงไว้ในสมการ คือ

สู ตร c =
L

P
รู ปที่ 1.9 แสดงการเกิดความเครี ยดอัด
สัปดาห์ที่ หน้าที่
เนื้อหาการสอน 8 3
รหัสและชื่ อวิชา : 2106-2110 กลสาสตร์โครงสร้าง 1
แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง ชื่ อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคน่าน
ความเครียดเฉื อน ( Shear Strain)
ส่ วนของโครงสร้างที่มีความยาวเดิม เมื่อมีแรงเฉื อนมากระทา ในรู ปที่ 1.10 ทาให้ส่วนของ
โครงสร้างนั้นเคลื่อนไหวไปตามแนวแรง ทาให้เกิดความเครี ยดเฉื อนขึ้นดังแสดงไว้ในสมการ คือ

สู ตร s =
L


V

L r

การทดสอบโดยการเฉื อน เป็ นวิธีที่ทดสอบแตกต่างจากการทดสอบโดยการดึงและการอัด


คือการเฉื อนของแรงที่กระทาตรงกันข้าม มีทิศทางที่ขนานกับพื้นที่หน้าตัดที่ขนาด และการทดสอบโดยการเฉื อนนี้ ทา
เพื่อหาคุณสมบัติความต้านทานการเฉื อนของวัสดุ ซึ่ งจะต้องนาไปใช้ในการทาชิ้นส่ วนของเครื่ องจักรกล ที่ตอ้ งรับแรง
เฉื อนเช่น หมุดย้า สลักเกลียว และสลักเป็ นต้น แรงเฉื อนแบ่งเป็ น 2 แบบคือ
แรงเฉื อนตรง
แรงเฉื อนตรง หมายถึง ผลรวมของแรงขนานที่มีทิศทางตรงกันข้าม กระทาผ่าน
เซนทรอยด์ ของพื้นที่ซ่ ึ งมีขนาดเล็ก และอาจจะเป็ นไปได้วา่ เมื่อวัสดุรับแรงเฉื อน ก็จะเกิดความเค้นเฉื อนที่สม่าเสมอ
ทัว่ ทั้งพื้นที่หน้าตัด ซึ่ งในความเป็ นจริ งแล้ววัสดุที่รับแรงเฉื อนโดยตรงทัว่ ไปมักจะมีแรงดันโค้งและแรงเสี ยดทาน
เกิดขึ้นพร้อมด้วยเสมอ จึงสรุ ปได้วา่ ในทางปฏิบตั ิ วัสดุจะไม่มีโอกาสที่จะรับแรงเฉื อนโดยตรงเพียงอย่างเดียว สาหรับ
ตัวอย่างลักษณะการเฉื อนตรงก็คือ ได้แก่ การตัดเหล็ก และแรงเฉื อนที่กระทากับหมุดย้าและสลักเป็ นต้น
สัปดาห์ที่ หน้าที่
เนื้อหาการสอน 8 4
รหัสและชื่ อวิชา : 2106-2110 กลสาสตร์โครงสร้าง 1
แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง ชื่ อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคน่าน
ตัวอย่างที่ 1 ลวดมีความยาว 1.2 เมตร อยูภ่ ายใต้แรงดึง ซึ่ งทาให้ยดื ออกไป 4.5 มิลลิเมตร จึงหาความเครี ยดที่เกิดขึ้นใน
เส้นลวด

Pt

1.2 m. 4.5mm.


วิธีทา จกสู ตร t =
L
จากโจทย์ ;  = 4.5 mm. ; L = 1.2 x 1000 = 1200 mm.
4 .5
แทนค่า t = = 0.00375
1200
ตอบ ความเครี ยดที่เกิดขึ้นในเส้นลวดมีค่าเท่ากับ 0.00375
สัปดาห์ที่ หน้าที่
เนื้อหาการสอน 8 5
รหัสและชื่ อวิชา : 2106-2110 กลสาสตร์โครงสร้าง 1
แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง ชื่ อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคน่าน
ตัวอย่างที่ 2 แท่งคอนกรี ตทรงกระบอยาว 30ซม. เส้นผ่านศูนย์กลาง 10 ซม. รับแรงอัดตามแนวแกน ขนาด 70000กก.
ทาให้เกิดการหดตัว 0.002 ซม. จงคานวณหาแรงเค้นอัดที่เกิดขึ้นบนหน้าตัดของแท่งคอนกรี ต และความเครี ยดที่
เกิดขึ้น
70000 กก.
10 ซม.
0.002 ซม.

30 ซม.

วิธีทำ พื้นที่หน้าตัด ; A =  5 2  = 78.5 cm.2


F 70000
แรงเค้นที่เกิดขึ้น; c = = = 891 kg/cm2.
A 78.5

 0.002
ความเครี ยดที่เกิดขึ้น ; c = = = 0.000067
L 30
ตอบ แรงเค้นอัดที่เกิดขึ้นบนหน้าตัดแท่งคอนกรี ตมีค่าเท่ากับ 891 กก./ซม.
ความเครี ยดที่เกิดขึ้นมีค่าเท่ากับ 0.00067

You might also like