You are on page 1of 6

ข้อสอบภาคทฤษฎี

คัดเลือกนักเรียนผู้แทนศูนย์ สอวน.โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
ปีการศึกษา 2561

วันที่สอบ วันศุกร์ ที่ 3 เมษายน 2562


เวลา 09.00 – 12.00 น.
ณ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์

คาชี้แจงการทาแบบทดสอบ

อ่านคาชี้แจงก่อนลงมือทาข้อสอบ

1. ข้อสอบฉบับนี้ใช้เวลาทา 3 ชั่วโมง คะแนนเต็ม 60 คะแนน


2. ข้อสอบฉบับนี้มี 6 หน้า (รวมปก) ประกอบด้วย 4 ข้อ โดยเขียนตอบในกระดาษคาตอบที่
กาหนดให้เท่านั้น
3. ให้นักเรียนเขียน รหัสลงในกรอบข้างล่างข้อสอบ และเขียนรหัสลงในกระดาษคาตอบทุกแผ่น
4. การเขียนตอบข้อสอบฉบับนี้ให้ใช้ปากกาลูกลื่นสีน้าเงินหรือสีดา ในกรณีที่ต้องวาดภาพ
ควรใช้ดินสอ
5. อนุญาตให้นักเรียนขีดเขียนหรือทาเครื่องหมายใด ๆ ลงในตัวแบบทดสอบได้
6. ห้ามนาแบบทดสอบออกจากห้องสอบ และห้ามทาการคัดลอกข้อสอบโดยเด็ดขาด
มิฉะนั้น จะถือว่าเป็นความผิดฐานละเมิดลิขสิทธิ์ และถูกตัดสิทธิ์จากการสอบ
7. ไม่อนุญาตให้นักเรียนใช้เครื่องคิดเลข
8. ส่งแบบทดสอบคืนให้ครบถ้วน มิฉะนั้นจะไม่ตรวจให้คะแนน
9. หากเขียนด้วยลายมือที่อ่านไม่ออก อาจไม่ได้รับการพิจารณาให้คะแนน

รหัสนักเรียน
-
ข้อสอบภาคทฤษฎี คัดเลือกนักเรียนผู้แทน
ศูนย์ สอวน.โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ ปีการศึกษา 2561

ข้อสอบภาคทฤษฎี ข้อ 1 [19 คะแนน]


1.1 ลูกสนุ๊กเกอร์สม่าเสมอมวล 𝑚 รัศมี 𝑅 ลูกหนึ่ง วางบนโต๊ะในแนวระดับ มีสัมประสิทธิ์ความเสียดทาน
สถิตและจลน์ระหว่างโต๊ะกับลูกสนุ๊กเกอร์เป็น 𝜇𝑠 และ 𝜇𝑘 ตามลาดับ ถ้าการแทงลูกสนุ๊กเกอร์ด้วยไม้คิว
ทุกครั้งเกิดขึ้นในช่วงเวลาสั้นๆ 𝛿𝑡 และแรงเฉลี่ย 𝐹 อยู่ในแนวขนานกับพื้นโต๊ะ จงหา
(a) ความเร็วที่ลูกสนุ๊กเกอร์เริ่มกลิ้งโดยไม่ไถล หลังจากที่แทงสนุ๊กเกอร์ที่ตาแหน่งแนวกึ่งกลาง
(Equator) ของลูกสนุ๊กเกอร์ [4.0 คะแนน]
(b) ระยะ ℎ ที่ทาให้ลูกสนุ๊กเกอร์เริ่มหมุนทันที ที่ไม้คิวสัมผัสกับลูกสนุ๊กเกอร์ [3.0 คะแนน]

1.2 โดยปกติดาวเทียมที่ถูกส่งขึ้นไปโครจรรอบโลกมวล 𝑀𝐸 จะต้องวางตัว


ตามแนวที่ ท าให้ ด าวเที ย มนั้ น สมดุ ล อย่ า งมี เสถี ย รภาพ (Stable
equilibrium) ถ้ามีดาวเทียมรูปดัมเบลมวลข้างละ 𝑚 ยึดติดด้วยแท่ง
เบายาว 2𝑙 และจุ ด ศู น ย์ ก ลางมวลของดาวเที ย มอยู่ ห่ า งจากจุ ด
ศูนย์กลางของโลกเป็นระยะ 𝑅 จงหา
(a) จงพิสูจน์ว่าพลังงานศักย์ [4.0 คะแนน]
𝐺𝑀𝐸 𝑚 3 2𝑙 2
𝑈(𝜃) = − (2 ( ) ( ) 𝑐𝑜𝑠 2 𝜃 + 2)
𝑅 8 𝑅
2
กาหนดให้ (𝑅𝑙 ) → 0
(b) จงหามุม 𝜃 ที่ทาให้ดาวเทียมรูปดัมเบลโครจรรอบโลกที่ความสูง 𝑅 อย่างมีเสถียรภาพ
[4.0 คะแนน]
(c) จงพิสูจน์ว่า ความถี่เชิงมุมของการแกว่งด้วยมุมน้อยๆ (small oscillation) รอบแนวสมดุลของ
ดาวเทียม มีค่าเป็น √3 เท่า ของความเร็วเชิงมุมของการโคจรรอบโลกของดาวเทียม [4.0 คะแนน]
สูตรที่อาจจะมีประโยชน์ การประมาณค่า
1 1 3
≈ 1 + 𝑥 + 𝑥2
√1−𝑥 2 8
1 1 3
≈ 1 − 𝑥 + 𝑥2
√1+𝑥 2 8

2
ข้อสอบภาคทฤษฎี คัดเลือกนักเรียนผู้แทน
ศูนย์ สอวน.โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ ปีการศึกษา 2561

ข้อสอบภาคทฤษฎี ข้อ 2 [13 คะแนน]


2. กระบอกสู บ ลื่ น วางตั้ ง ในแนวดิ่ ง อยู่ ในน้ าความหนาแน่ น  ปลายทั้ งสองด้ า นเป็ น ปลายเปิ ด ที่ มี
พื้นที่หน้าตัดต่างกัน ลูกสูบทั้งสองถูกเชื่อมด้วยก้านเบาที่ไม่ยืดหยุ่นดังรูป ลูกสูบทั้งสองสามารถเลื่อนขึ้นลง
ได้โดยไม่มีความฝืด กาหนดให้ ภายในกระบอกสูบมีแก๊สฮีเลียม (He) จานวน n โมล ในตอนเริ่มต้นภายใน
ลูกสูบมีแก๊สอุดมคติโมเลกุลคู่ปริมาตร V0 อุณหภูมิเริ่มต้น T0 ความดัน P0 และลูกสูบอยู่ในภาวะสมดุลไม่มี
การเคลื่อนที่ อากาศภายนอกมีความดัน Pa พื้นที่ห น้าตัดของลู กสูบใหญ่ เท่ากับ A และของลู กสูบเล็ ก
เท่ากับ a มวลของลูกสูบทั้งสองรวมกันมีค่าเท่ากับ M และให้ถือว่าแก๊สระหว่างลูกสูบมีมวลน้อยมากเทียบ
กับมวลของลูกสูบทั้งสองรวมกัน

(a) จงหาความดันของแก๊สที่อยู่ระหว่างลูกสูบทั้งสองในภาวะสมดุล (P0) ในรูปของ Pa A a M g


h0 และ  [4.0 คะแนน]
(b) จงหาอุณหภูมิของแก๊สฮีเลียมในกระบอกสูบขณะสมดุล [2.5 คะแนน]
(c) ถ้าอุณหภูมิของแก๊สระหว่างกระบอกสูบลดลงอย่างช้าๆ เท่ากับ T ลูกสูบจะเลื่อนขึ้นหรือลง
จงแสดงเหตุผลประกอบ [2.5 คะแนน]
(d) ถ้าตรึงกระบอกสูบไว้ที่ตาแหน่งเดิม และดันลูกสูบลงเป็นระยะ y (y < y0) โดยลูกสูบ
และกระบอกสูบเป็นฉนวนความร้อนอุดมคติ อุณหภูมิสุดท้ายของแก๊สระหว่างกระบอกสูบเป็น
เท่าใด [4.0 คะแนน]

3
ข้อสอบภาคทฤษฎี คัดเลือกนักเรียนผู้แทน
ศูนย์ สอวน.โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ ปีการศึกษา 2561

ข้อสอบภาคทฤษฎี ข้อ 3 [16 คะแนน]


3.1 ภาพด้านล่างแสดงตัวนาไฟฟ้าที่มีความกว้าง L หนา d มีความหนาแน่นของประจุต่อปริมาตร n วางอยู่
ในสนามแม่เหล็กสม่าเสมอ 𝐵⃑ (uniform magnetic field, 𝐵⃑)

(a) จงหาความเร็วลอยเลื่อนของประจุไฟฟ้าในแผ่นตัวนานี้ [1.0 คะแนน]


(b) จงอภิปรายว่าในสภาวะคงตัว (steady state) การกระจายตัวและการเคลื่อนที่ของประจุไฟฟ้า
จะมีลักษณะอย่างไร โดยเขียนคำตอบลงในแผนภำพในกระดำษคำตอบ [1.0 คะแนน]
(c) จากข้อ (b) จงหาความต่างศักย์ V ที่วัดคร่อมชิ้นตัวนา [1.0 คะแนน]
(d) จงหาความสัมพันธ์ระหว่างกระแสไฟฟ้า I และความต่างศักย์ V [1.0 คะแนน]
(e) จากกราฟด้านล่าง ให้หาความหนาแน่นประจุต่อปริมาตร เมื่อกาหนดให้ d = 2.00 mm, L =
2.00 cm และสนามแม่เหล็ก 𝐵⃑ มีขนาด 80.0 mT [2.0 คะแนน]

4
ข้อสอบภาคทฤษฎี คัดเลือกนักเรียนผู้แทน
ศูนย์ สอวน.โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ ปีการศึกษา 2561

3.2 แผ่นโลหะบางรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่มีด้านยาว L เหมือนกันทุกประการสองแผ่นวางห่างกันเป็นระยะ d


โดยขนาดของแผ่นมีขนาดใหญ่กว่าระยะห่างระหว่างแผ่นมาก ๆ (L>>d)

(a) เมื่อต่อแผ่นโลหะทั้งสองเข้ากับความต่างศักย์ V จะเกิดประจุ +Q สะสมบนแผ่นโลหะหนึ่งและ


–Q บนแผ่นโลหะอีกแผ่นหนึ่ง ใช้กฎของเกาส์เพื่อหาสนามไฟฟ้าระหว่างแผ่นทั้งสอง และ
ภายนอกแผ่นทั้งสอง [2.0 คะแนน]
(b) ถ้าลดความต่างศักย์ระหว่างแผ่นโลหะลงให้เหลือ 0.5V ความจุไฟฟ้าของตัวเก็บประจุนี้มีค่า
เท่าใด [1.0 คะแนน]
(c) ถ้าสอดแผ่นโลหะบางขนาด 𝐿 × 𝐿⁄2 อีกหนึ่งแผ่นเข้าไปที่ระยะ d/3 ดังรูป (ข) ความจุไฟฟ้า
รวมของตัวเก็บประจุจะมีค่าเท่าใด [1.0 คะแนน]
(d) จากข้อ (c) ถ้าให้ความต่างศักย์ระหว่างแผ่นโลหะนอกสุดสองแผ่นมีค่าเป็น V การกระจาย
ประจุบนแผ่นโลหะแต่ละแผ่นจะมีลักษณะอย่างไร โดยเขียนคำตอบลงในแผนภำพใน
กระดำษคำตอบ [2.0 คะแนน]
(e) จากข้อ (d) ถ้าสอดแผ่นไดอิเล็กตริกขนาด 𝐿 × 𝐿⁄2 หนา d/3 มีค่าคงที่ไดอิเล็กทริก  เข้าไป
ดังรูป (ค) การกระจายประจุไฟฟ้าบนแผ่นโลหะแต่ละแผ่นจะมีลักษณะอย่างไร โดยเขียน
คำตอบลงในแผนภำพในกระดำษคำตอบ [2.0 คะแนน]
(f) จากข้อ (e) ค่าความจุไฟฟ้ารวมจะมีค่าเท่าใด [2.0 คะแนน]

5
ข้อสอบภาคทฤษฎี คัดเลือกนักเรียนผู้แทน
ศูนย์ สอวน.โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ ปีการศึกษา 2561

ข้อสอบภาคทฤษฎี ข้อ 4 [12 คะแนน]


4. ชุดทดลองการแทรกสอดตามแบบของไมเคิลสัน (Michelson interferometer) แสดงดังภาพ

แสงจากแหล่งกาเนิดแสงเลเซอร์ตกกระทบ ตัวแยกลำแสง (BS) ซึ่งทาให้แสงครึ่งหนึ่งส่งผ่านไป


ตกกระทบกระจก M2 ส่วนอีกครึ่งหนึ่งสะท้อนไปยังกระจก M1 ซึ่งระยะทางระหว่างกระจกทั้งสองถึงตัว
แยกลาแสงมีค่าเท่ากัน หลังจากนั้นแสงที่สะท้อนจากกระจกทั้งสองเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรงเดียวกัน ผ่านรู
เปิ ด รั บ แสง (Aperture) ที่ มี ข นาด 0.3 µm ไปยั งตั ว ตรวจวัด แสง (Detector) ที่ ต รึงอยู่ กั บ ที่ ส่ ว นตรง
กระจก M2 มีตัวเลื่อนกระจกในแนวระดับทาให้เกิด path difference ของแสงทั้งสองจากตัวแยกลาแสง
หมำยเหตุ: ไม่ต้องคานึงถึงการเปลี่ยนเฟสเนื่องจากการสะท้อนที่ตัวแยกลาแสง
(a) ลาแสงที่สะท้อนจากกระจก M1 มีเฟสเปลี่ยนแปลงหรือไม่อย่างไร [1.0 คะแนน]
(b) เมื่อเลื่อนกระจก M2 ไปจากเดิมเป็นระยะทาง D หลังจากลาแสงสะท้อนกระจก M1 และ M2
มายังตัวแยกลาแสง จงหา path difference และ phase difference ระหว่างสองลาแสงนี้
[2.0 คะแนน]
(c) จงหาความยาวคลื่นของแหล่งกาเนิดแสงเลเซอร์เมื่อเลื่อนกระจกไปเป็นระยะ 150 nm แล้วความ
เข้มแสงที่ detector รับได้เปลี่ยนจากค่าสูงสุดเป็นค่าน้อยสุด [2.0 คะแนน]
(d) จากตาแหน่งกระจกที่ทาให้เกิดความเข้มแสงสูงสุด ถ้าเลื่อนกระจกไปเป็นระยะ 75 nm ความเข้ม
แสงที่ตกกระทบ detector จะมีค่าเป็นกี่เท่าของความเข้มแสงสูงสุด [2.0 คะแนน]
(e) ถ้าเลื่อนกระจกกลับมาที่เดิม (path difference = 0) ที่เวลาหนึ่งมีฟองสบู่รัศมี R ความหนา t และ
ดัชนีหักเหเป็น n มาขวางไว้ระหว่างตัวแยกลาแสงกับกระจก M1 หลังจากลาแสงสะท้อนกระจก
M1 และ M2 มายังตัวแยกลาแสง จะทาให้เกิด path difference ระหว่างสองลาแสงเป็นเท่าใด
[2.0 คะแนน]
(f) จากข้อ E ถ้า n = 1.5 จงหาความหนา t ที่น้อยที่สุดที่เป็นไปได้ของฟองสบู่นี้ ที่ทาให้เกิดการแทรก
สอด [1.0 คะแนน]
(g) ถ้าแสงตกกระทบฟองสบู่ทรงกลมนี้ผ่านจุดศูนย์กลางของฟองสบู่ และเกิดการสะท้อนที่ผิวด้านนอก
และด้านในของผิวแรก จงวาดรูปและอธิบายการเกิดการแทรกสอดจากการสะท้อนที่ผิวฟองสบู่
[2.0 คะแนน]
6

You might also like