You are on page 1of 4

สัปดาห์ที่ หน้าที่

เนื้อหาการสอน 14 1
รหัสและชื่อวิชา : 3100 - 0107 ความแข็งแรงของวัสดุ วันที่ : เวลา :
แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคน่าน
ตัวอย่างที่ 3
คานช่วงเดียว มีพื้นที่หน้าตัดเป็นรูปตัว T ดังรูป รับโมเมนต์ดัดขนาด 25 kN – m จงหาความเค้นดึง
และความแค้นอัดสูงสุดที่เกิดขึ้น
100 mm

20 mm

60 mm
25 kN - m

100 mm
30 mm
C1 20 mm

C2 y = 51.052 60 mm

30 mm

วิธีทา
Mmax = 25 kN-m
= 25 x 106 kN – m
A1 y1  A2 y 2 100  20  70    60  30  30 
y    51.052 mm
A1  A2 100  20   60  30
 1 2   1 2 
IN.A. = 3
  3

 12 100  20   100  20 18.948    12  30  60   30  60  21.052 
     

IN.A. = 2122456.142 mm4

จากสูตร  
Mc
I
เมื่อ C1 = 28.948 mm, C2 = 51.052 mm
จากสูตร t 
Mc1
I
25 106  28.948

2122456.142
= 340.972 N/mm2
 ความเค้นดึงสูงสุดเท่ากับ 340.972 N/mm2 Ans
สัปดาห์ที่ หน้าที่
เนื้อหาการสอน 14 2
รหัสและชื่อวิชา : 3100 - 0107 ความแข็งแรงของวัสดุ วันที่ : เวลา :
แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคน่าน

Mc2
c 
I
25 106  51.052

2122456.142
= 601.331 N/mm2
 ความเค้นอัดสูงสุดเท่ากับ 601.331 N/mm2 Ans

ตัวอย่างที่ 4
คานอันหนึ่งมีหน้าตัดเป็นรูปตัว I มีขนาดดังรูป คานนี้เป็นคานแบบช่วงเดียวดังรูป และมีแรงกระทาดัง
รูป จงหาความเค้นดัดสูงสุดในคาน

25 kN 25 kN

A B

6m 1.5 m
1.5 m

วิธีทา

 M B  0 6RA =  25 1.5   25  4.5
RA = 25 kN = RB
 Mmax = RA x 1.5 = 25 x 1.5 = 37.5 kN-m

100 mm

20 mm
C1=138.3334 mm
240 mm
C2 y = 101.6666 mm
20 mm
160 mm
สัปดาห์ที่ หน้าที่
เนื้อหาการสอน 14 3
รหัสและชื่อวิชา : 3100 - 0107 ความแข็งแรงของวัสดุ วันที่ : เวลา :
แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคน่าน

A1 y1  A2 y 2  A3 y 3
y 
A1  A2  A3
100  20  230    200 10 120   160  20 10 

100  20    200 10   160  20 
= 101.6666 mm

 1 2   1 2 
IN.A. = 3
  3

 12 100  20   100  20 128.3334    12 10  200   10  200 18.3334 
     

 1 
 12



  160  203   160  20  91.66662 


IN.A. = 67340000 mm4

จากสูตร  
Mc
I
เมื่อ C1 = 138.3334 mm, C2 = 101.6666 mm

จากสูตร t 
Mc2
I
37.5 106 101.6666

67340000
= 56.615 N/mm2
ความเค้นดึงสูงสุดเท่ากับ 56.615 N/mm2
Mc1
c 
I
37.5 106 138.3334

67340000
= 77.034 N/mm2
ความเค้นอัดสูงสุดเท่ากับ 77.034 N/mm2

 ความเค้นดัดสูงสุดในคานเท่ากับ 56.615 N/mm2 Ans

You might also like