You are on page 1of 19

94

แผนการสอน หน่ วยที่ 4


ชื่อวิชา ความแข็งแรงของวัสดุ สอนครั้งที่ 6
ชื่อหน่ วย ภาชนะอัดความดันและการเชื่อมต่อ จานวน 3 ชั่วโมง

หัวข้ อเรื่อง
1. การต่อโดยใช้หมุดย้า

สาระสาคัญ
1. การต่อโดยใช้หมุดย้าในภาชนะอัดความดันมีอยู่ 2 แบบ คือ กาต่อเกยและการต่อชน เมื่อ
ได้รับความดันจะทาให้เกิดการแตกหักหรื อการขาดของหมุดย้าและแผ่นต่อ ในการคานวณถ้ามี
จานวนหมุดย้าไม่มากก็ให้คานวณทั้งหมด แต่ถา้ มีจานวนหมุดย้ามากให้คานวณในระยะพิตช์
เดียว
2. ประสิ ทธิ ภาพของรอยต่อเป็ นค่าที่จะใช้ในการกาหนดการต่อ โดยให้เอาค่าประสิ ทธิ ภาพ
กรณี ใดกรณี หนึ่งที่มีค่าต่าที่สุดในการออกแบบ การคานวณหาค่าประสิ ทธิ ภาพในแต่ละกรณี ของ
ความเสี ยหาย หาได้จากการนาเอาแรงต้านความเสี ยหายของแต่ละกรณี หารด้วยแรงต้านแผ่นเต็ม
และคูณด้วยร้อย

วัตถุประสงค์
1. เพื่อให้ผเู ้ รี ยนสามารถคานวณหาค่าความแข็งแรงของการต่อโดยใช้หมุดย้าได้อย่าง
ถูกต้อง
2. เพื่อให้ผเู ้ รี ยนสามารถคานวณหาค่าประสิ ทธิ ภาพของรอยต่อโดยใช้หมุดย้าได้อย่าง
ถูกต้อง
95

แผนการสอน หน่ วยที่ 4


ชื่อวิชา ความแข็งแรงของวัสดุ สอนครั้งที่ 6
ชื่อหน่ วย ภาชนะอัดความดันและการเชื่อมต่อ จานวน 3 ชั่วโมง

เนือ้ หาสาระ
1. การต่ อโดยการใช้ หมุดยา้
ภาชนะที่ต่อเข้าด้วยกันมีอยูห่ ลายวิธี การใช้หมุดย้าเป็ นที่นิยมวิธีหนึ่ง
สัญลักษณ์ต่างๆ ที่ใช้สาหรับการต่อหมุดย้าที่ควรรู ้จกั คือ
d คือขนาดเส้นผ่าศูนย์ของหมุดย้า
t คือความหนาของแผ่นโลหะที่จะต่อ
p คือระยะพิตช์ หมายถึงระยะห่างระหว่างจุดศูนย์ของหมุดย้าที่ยาวที่สุด วัดขนาน
กับรอยตะเข็บ

1.1 ชนิดของการต่ อโดยใช้ หมุดยา้


1) การต่ อเกย ( lap joint ) คือเอาแผ่นโลหะ 2 แผ่นมาต่อเกยกันอยู่ แล้วใช้ หมุดย้า
เป็ นตัวทาให้แน่น ดังรู ป

รู ปที่ 4 การต่อเกย
2) การต่ อชน ( butt joint ) เอาแผ่นโลหะสองแผ่นมาต่อชนกันแล้วมีแผ่นประกบ
หนึ่งแผ่นหรื อ 2 แผ่นก็ได้ จากนั้นใช้หมุดย้ายืดแน่น ดังรู ป

รู ปที่ 5 การต่อชน
96

แผนการสอน หน่ วยที่ 4


ชื่อวิชา ความแข็งแรงของวัสดุ สอนครั้งที่ 6
ชื่อหน่ วย ภาชนะอัดความดันและการเชื่อมต่อ จานวน 3 ชั่วโมง

1.2 ชนิดของการแตกหักหรือขาดของหมุดยา้ และแผ่ นต่ อ


1. หมุดยา้ ถูกเฉือนขาด
แรงต้านการเฉือน = พื้นที่ที่ถูกเฉื อน × ความเค้นเฉื อนของหมุดย้า

d 2
F1  n  
4

เมื่อ n คือ จานวนหมุดย้าที่ใช้


d คือ ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของหมุดย้า

ถ้าเป็ น Double shear จะได้


d 2
F1  2n  
4

2. แผ่ นต่ อถูกหมุดยา้ อัดแตก


แรงต้านการอัด = พื้นที่ที่ถูกอัด × ความเค้นอัด
F2  ndt   c
เมื่อ t คือ ความหนาของแผ่นต่อ

3. แผ่นต่ อขาดตามแนวขนานกับตะเข็บ
แรงต้านการการขาด = พื้นที่ที่ขาด × ความเค้นดึง
F3  p  d t   t
97

แผนการสอน หน่ วยที่ 4


ชื่อวิชา ความแข็งแรงของวัสดุ สอนครั้งที่ 6
ชื่อหน่ วย ภาชนะอัดความดันและการเชื่อมต่อ จานวน 3 ชั่วโมง

4. แผ่ นต่ อถูกเฉือนหน้ าหมุดยา้

รู ปที่ 6 แผ่นต่อถูกเฉื อนหน้าหมุดย้า

แรงต้านการเฉื อนของแผ่นต่อ(F4) = พื้นที่ที่ถูกเฉื อน × ความเค้นเฉื อน


F4 = 2at  

เมื่อ a คือ ระยะที่ห่างจากขอบถึงจุดกึ่งกลางของหมุดย้าในทิศทางตามแรงที่กระทา


t คือ ความหนา
 คือ ความเค้นเฉื อนของแผ่นต่อ

5. แผ่ นต่ อฉีกบริเวณหน้ าหมุดยา้


ในกรณี ที่แผ่นต่อฉี กบริ เวณหน้าหมุดย้าในการคานวณจะหาสู ตรยากมากจึงไม่นิยม
คานวณ

6. แผ่ นต่ อแถวนอกขาดพร้ อมกับหมุดแถวในถูกเฉือนขาด


พื้นที่ของแผ่นที่ต่อขาด(A1)  (p  d)t
พื้นที่ของหมุดที่ถูกเฉือน(A2) = 2   d 2 (กรณี หมุด 1 ตัว )
4
.d 2
ดังนั้น แรงต้านทั้งหมด(F5)  (p  d) t   t  
2
98

แผนการสอน หน่ วยที่ 4


ชื่อวิชา ความแข็งแรงของวัสดุ สอนครั้งที่ 6
ชื่อหน่ วย ภาชนะอัดความดันและการเชื่อมต่อ จานวน 3 ชั่วโมง
7. แผ่ นต่ อแถวนอกขาดพร้ อมกับหมุดแถวในถูกอัดแตก
แรงต้านทั้งหมด(F6) = (p  d)t   t  dt  c

หมายเหตุ
1. จากการทดลองในกรณี ที่ 4 และ 5 จะไม่เกิดขึ้นถ้าให้ระยะ
a  1.5d สาหรับเหล็กเหนียว
a  2.0d สาหรับโลหะอื่นๆ
2. ในการออกแบบที่ดีที่สุดนั้นคือชิ้นงานทุกชิ้นจะต้องพังพร้อมกันหมด คือแรงต้าน
ทุกกรณี เท่ากันหมด ดังนั้นเราอาจคานวณค่าต่างๆได้โดยคิดจากสมการดังนี้

Fs  Fc , Fs  Ft หรื อ Ft  Fc

2. ประสิ ทธิภาพของรอยต่ อ
แรงต้านของแผ่นเต็ม F  Pt t

ประสิ ทธิ ภาพต่างๆคานวณได้ดงั นี้


F1
1. ประสิ ทธิภาพการเฉือน s   100 %
F
F
2. ประสิ ทธิภาพการอัด  c  2  100 %
F
F
3. ประสิ ทธิภาพการดึง  t  3  100 %
F

ประสิ ทธิ ภาพของรอยต่อนั้นเราต้องเลือกเอาค่าที่ต่าที่สุด จากการคานวณที่ได้จากค่า


ทั้ง 3 แบบ การต่อชนจะดีกว่าการต่อชนเสมอ

สรุ ปเนือ้ หา
1. การหาแรงต้านการเฉื อนของหมุดย้าใช้สูตร F1  n  d
2
 และ
4
d 2
F1  2n  
4
2. ในกรณี แผ่นต่อถูกหมุดย้าอัดแตกจะใช้สูตร F2  ndt   c
3. ในกรณี แผ่นต่อขาดตามแนวขนานกับตะเข็บจะใช้สูตร F3  p  dt   t
99

แผนการสอน หน่ วยที่ 4


ชื่อวิชา ความแข็งแรงของวัสดุ สอนครั้งที่ 6
ชื่อหน่ วย ภาชนะอัดความดันและการเชื่อมต่อ จานวน 3 ชั่วโมง

4. ในกรณี แผ่นต่อถูกเฉื อนหน้าหมุดย้าจะใช้สูตร F4 = 2at  

5. แผ่นต่อฉี กบริ เวณหน้าหมุดย้า


6. ในกรณี แผ่นต่อแถวนอกขาดพร้อมกับหมุดแถวในถูกเฉื อนขาดจะใช้สูตร
F5  (p  d)t   t  .d
2

2
7. ในกรณี แผ่นต่อแถวนอกขาดพร้อมกับหมุดแถวในถูกอัดแตกจะใช้สูตร
F6 = (p  d)t   t  dt   c
8. การหาประสิ ทธิ ภาพของรอยต่อ
F1
1) ประสิ ทธิภาพการเฉือน s   100 %
F
F
2) ประสิ ทธิภาพการอัด  c  2  100 %
F
F3
3) ประสิ ทธิภาพการดึง  t   100 %
F

ตัวอย่างที่ 4

รอยต่อดังรู ปมีเส้นผ่าศูนย์ 24 มิลลิเมตร ความเค้นเฉื อนสู งสุ ดเท่ากับ 60 นิวตัน/ตาราง


มิลลิเมตร ความเค้นดึงสู งสุ ดเท่ากับ 125 นิวตัน/ตารางมิลลิเมตร จงหาแรง F และประสิ ทธิภาพ

วิธีทา d = 24 mm
 2 2
จากสู ตร F1  n  2  d   = 60 N/mm
4
24
2
2
แทนค่าในสู ตร = 3 2  60  t = 125 N/mm
4
= 162860.16 N n=3
100

แผนการสอน หน่ วยที่ 4


ชื่อวิชา ความแข็งแรงของวัสดุ สอนครั้งที่ 6
ชื่อหน่ วย ภาชนะอัดความดันและการเชื่อมต่อ จานวน 3 ชั่วโมง

= 162860.16
3
kN t = 25 mm
10
= 162.86 kN b = 100 mm
F=?
แรงต้านการเฉื อนของหมุดย้าเท่ากับ 162.86 kN

แรงต้านการฉี กขาดของแผ่นต่อ

F2  (b  2d) t   t
 (100  2  24)  25  125
= 162500 N
หรื อ = 162500
kN
103
= 162.50 kN

ตอบ เลือกค่าที่นอ้ ยที่สุดเพราะปลอดภัยที่สุด คือ 162.50 kN

ถ้าไม่มีหมุดย้าแผ่นโลหะจะทนได้
F  t  b  t
 125 100 25
 312500N
ประสิ ทธิ ภาพของรอยต่อ 
162500
 100
312500
= 52 %
ตอบ ประสิ ทธิ ภาพของรอยต่อเท่ากับ 52 %
101

แผนการสอน หน่ วยที่ 4


ชื่อวิชา ความแข็งแรงของวัสดุ สอนครั้งที่ 6
ชื่อหน่ วย ภาชนะอัดความดันและการเชื่อมต่อ จานวน 3 ชั่วโมง

ตัวอย่างที่ 5

ใช้หมุดย้า 2 ตัว ต่อแผ่นโลหะแบบชนโดยใช้แผ่นประ กบ 2 แผ่น มีความหนา 30


มิลลิเมตร ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของหมุดย้า 30 มิลลิเมตร เป็ นแรงเฉื อนคู่ ความเค้นเฉื อนของ
หมุดย้าเท่ากับ 318 นิวตัน/ตารางมิลลิเมตร ความเค้นดึงของแผ่นโลหะเท่ากับ 412 นิวตัน/ตาราง
จงหาระยะพิตช์เพื่อให้รอยต่อมีประสิ ทธิ ภาพสู งสุ ด

วิธีทา n=2

แรงเฉื อนการต้าน Fs  n. 2. d 2 . t = 30 mm
4

 2  2  30  318
2

4 d = 30 mm
 899123.817 N
2
 = 318 N/ mm
Ft  p  d t   t
2
แรงต้านการฉี ด  t = 412 N/mm

 p  30  30  412
p=?
 12360p  370800 N
ให้ Fs  Ft ;
12360p-370800 = 899123.8174
899123.8174  370800
p
12360
 102.744 mm

ตอบ ระยะพิตช์เท่ากับ 102.744 มิลลิเมตร


102

แผนการสอน หน่ วยที่ 4


ชื่อวิชา ความแข็งแรงของวัสดุ สอนครั้งที่ 6
ชื่อหน่ วย ภาชนะอัดความดันและการเชื่อมต่อ จานวน 3 ชั่วโมง

กิจกรรมการเรียนการสอน
ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครู

ขั้นนา
1. กล่าวทักทายนักศึกษาแล้วนาภาพของเชื่ อมต่อแบบต่าง ๆ มาให้นกั ศึกษาดูแล้ว
ถามความเข้าใจ

ขั้นสอน
1. แจ้งจุดประสงค์รายวิชา หัวข้อที่จะต้องเรี ยน การวัดการประเมินผล ข้อตกลง
ต่าง ๆ แก่นกั ศึกษา
2. บรรยายเนื้อหาประกอบแผ่นใสในหน่วยที่ 4
3. สาธิตหลักการคานวณประกอบแผ่นใสตัวอย่างที่ 4 และ 5
4. เปิ ดโอกาสให้นกั ศึกษาถาม และให้นกั ศึกษาทาแบบทดสอบหน่วยที่ 4

ขั้นสรุ ป
1.ให้นกั ศึกษาอธิบายสรุ ปเนื้อหา

งานทีม่ อบหมายหรือกิจกรรม
1. ให้ศึกษาเอกสารประกอบการเรี ยนในเรื่ อง ที่จะสอนต่อไป
2. ให้ไปศึกษาทบทวนเนื้ อหา และทาแบบฝึ กหัด

สื่ อการเรียนการสอน
1. เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 4
2. รู ปภาพ 4, 5 และ 6
103

แผนการสอน หน่ วยที่ 4


ชื่อวิชา ความแข็งแรงของวัสดุ สอนครั้งที่ 6
ชื่อหน่ วย ภาชนะอัดความดันและการเชื่อมต่อ จานวน 3 ชั่วโมง

การวัดผลและประเมินผล
1. สังเกตความสนใจผูเ้ รี ยน
2. ความรับผิดชอบต่องานที่มอบหมาย
3. การให้ความร่ วมมือในการทากิจกรรมระหว่างเรี ยน
4. ให้ทาแบบทดสอบ
104

แผนการสอน หน่ วยที่ 4


ชื่อวิชา ความแข็งแรงของวัสดุ สอนครั้งที่ 6
ชื่อหน่ วย ภาชนะอัดความดันและการเชื่อมต่อ จานวน 3 ชั่วโมง

แบบฝึ กหัด

1. ใช้หมุดย้า 2 ตัว ต่อแผ่นเหล็กแบบต่อเกย ซึ่ งแผ่นเหล็กหนา 24 มิลลิเมตร


เส้นผ่าศูนย์กลางของหมุดย้าเท่ากับ 20 มิลลิเมตร มีระยะพิตช์เท่ากับ 80 มิลลิเมตร ถ้าความเค้น
เฉื อนของหมุดย้าเท่ากับ 450 นิวตัน/ตารางมิลลิเมตร ความเค้นดึงของแผ่นเหล็กเท่ากับ 520 นิว
ตัน/ตารางมิลลิเมตร และความเค้นอัดมีค่า 540 นิวตัน/ตารางมิลลิเมตร จงหาประสิ ทธิภาพของ
รอยต่อ
2. ใช้หมุดย้า 2 ตัว ต่อแผ่นโลหะแบบชนโดยใช้แผ่นประกบ 2 แผ่น มีความหนา 32
มิลลิเมตร ขนาดหมุดย้า 25 มิลลิเมตร เป็ นแรงเฉื อนคู่ ความเค้นเฉื อนของหมุดย้าเท่ากับ 420
นิวตัน/ตารางมิลลิเมตร ความเค้นดึงของแผ่นโลหะเท่ากับ 480 นิวตัน/ตารางมิลลิเมตร และความ
เค้นอัดของแผ่นโลหะ 521 นิ วตัน/ตารางมิลลิเมตร จงหาระยะพิตช์
105

แผนการสอน หน่ วยที่ 4


ชื่อวิชา ความแข็งแรงของวัสดุ สอนครั้งที่ 6
ชื่อหน่ วย ภาชนะอัดความดันและการเชื่อมต่อ จานวน 3 ชั่ วโมง

เฉลยแบบทดสอบ

1. ใช้หมุดย้า 2 ตัว ต่อแผ่นเหล็กแบบต่อเกย ซึ่ งแผ่นเหล็กหนา 24 มิลลิเมตร


เส้นผ่าศูนย์กลางของหมุดย้าเท่ากับ 20 มิลลิเมตร มีระยะพิตช์เท่ากับ 80 มิลลิเมตร ถ้าความเค้น
เฉื อนของหมุดย้าเท่ากับ 450 นิวตัน/ตารางมิลลิเมตร ความเค้นดึงของแผ่นเหล็กเท่ากับ 520 นิว
ตัน/ตารางมิลลิเมตร และความเค้นอัดมีค่า 540 นิวตัน/ตารางมิลลิเมตร จงหาประสิ ทธิ ภาพของ
รอยต่อ

วิธีทา
แรงเฉื อน F1  n  d
2

4
20
2
แทนค่าในสู ตร F1  2   450
4
= 282743.34 N
แรงต้านการขาดของแผ่นต่อ F3  p  dt   t
แทนค่าในสู ตร F3  80  2024  520
= 748800.00 N
แรงต้านการอัด F2  ndt   c
แทนค่าในสู ตร F2  2  20  24  540
= 518400.00 N
แรงต้านแผ่นเต็ม F  Pt t
แทนค่าในสู ตร F  80  24  520
= 998400.00 N
F1
ประสิ ทธิภาพการเฉือน s   100 %
F
282743.34
  100
998400.00
= 28.32 %
106

แผนการสอน หน่ วยที่ 4


ชื่อวิชา ความแข็งแรงของวัสดุ สอนครั้งที่ 6
ชื่อหน่ วย ภาชนะอัดความดันและการเชื่อมต่อ จานวน 3 ชั่วโมง

F2
ประสิ ทธิภาพการอัด c   100 %
F
748800.00
  100
998400.00
= 75 %
F3
ประสิ ทธิภาพการดึง t   100 %
F
518400.00
  100
998400.00
= 51.92 %

ตอบ ประสิ ทธิ ภาพรอยต่อเท่ากับ 28.32 %

2. ใช้หมุดย้า 2 ตัว ต่อแผ่นโลหะแบบชนโดยใช้แผ่นประกบ 2 แผ่น มีความหนา 32


มิลลิเมตร ขนาดหมุดย้า 25 มิลลิเมตร เป็ นแรงเฉื อนคู่ ความเค้นเฉื อนของหมุดย้าเท่ากับ 420
นิวตัน/ตารางมิลลิเมตร ความเค้นดึงของแผ่นโลหะเท่ากับ 480 นิวตัน/ตารางมิลลิเมตร และความ
เค้นอัดของแผ่นโลหะ 521 นิ วตัน/ตารางมิลลิเมตร จงหาระยะพิตช์

วิธีทา
แรงเฉื อน F1  2n  d
2

4
25
2
แทนค่าในสู ตร F1  2  2   420
4
= 824668.07 N
แรงต้านการขาดของแผ่นต่อ F3  p  dt   t
แทนค่าในสู ตร F3  p  2532  480
= 15360P-384000
ให้ F1=F3
15360P-384000 = 824668.07
107

แผนการสอน หน่ วยที่ 4


ชื่อวิชา ความแข็งแรงของวัสดุ สอนครั้งที่ 6
ชื่อหน่ วย ภาชนะอัดความดันและการเชื่อมต่อ จานวน 3 ชั่วโมง

824668.07  384000
P=
15360
= 78.69 mm

ตอบ ระยะพิตช์เท่ากับ 78.69 มิลลิเมตร


108

แผนการสอน หน่ วยที่ 4


ชื่อวิชา ความแข็งแรงของวัสดุ สอนครั้งที่ 6
ชื่อหน่ วย ภาชนะอัดความดันและการเชื่อมต่อ จานวน 3 ชั่วโมง

แบบทดสอบ

1. ใช้หมุดย้า 3 ตัว ต่อแผ่นโลหะแบบชนโดยใช้แผ่นประกบ 2 แผ่น มีความหนา 28


มิลลิเมตร ขนาดหมุดย้า 35 มิลลิเมตร เป็ นแรงเฉื อนคู่ ความเค้นเฉื อนของหมุดย้าเท่ากับ 381
นิวตัน/ตารางมิลลิเมตร ความเค้นดึงของแผ่นโลหะเท่ากับ 423 นิวตัน/ตารางมิลลิเมตร และความ
เค้นอัดของแผ่นโลหะ 418 นิ วตัน/ตารางมิลลิเมตร จงหาระยะพิตช์
2. ใช้หมุดย้า 2 ตัว ต่อแผ่นเหล็กแบบต่อเกย ซึ่ งแผ่นเหล็กหนา 24 มิลลิเมตร
เส้นผ่าศูนย์กลางของหมุดย้าเท่ากับ 28 มิลลิเมตร มีระยะพิตช์เท่ากับ 58 มิลลิเมตร ถ้าความเค้น
เฉื อนของหมุดย้าเท่ากับ 357 นิวตัน/ตารางมิลลิเมตร ความเค้นดึงของแผ่นเหล็กเท่ากับ 426 นิว
ตัน/ตารางมิลลิเมตร และความเค้นอัดมีค่า 423 นิวตัน/ตารางมิลลิเมตร จงหาประสิ ทธิ ภาพของ
รอยต่อ
109

แผนการสอน หน่ วยที่ 4


ชื่อวิชา ความแข็งแรงของวัสดุ สอนครั้งที่ 6
ชื่อหน่ วย ภาชนะอัดความดันและการเชื่อมต่อ จานวน 3 ชั่วโมง

เฉลยแบบทดสอบ

1. ใช้หมุดย้า 3 ตัว ต่อแผ่นโลหะแบบชนโดยใช้แผ่นประกบ 2 แผ่น มีความหนา 28


มิลลิเมตร ขนาดหมุดย้า 35 มิลลิเมตร เป็ นแรงเฉื อนคู่ ความเค้นเฉื อนของหมุดย้าเท่ากับ 381
นิวตัน/ตารางมิลลิเมตร ความเค้นดึงของแผ่นโลหะเท่ากับ 423 นิวตัน/ตารางมิลลิเมตร และความ
เค้นอัดของแผ่นโลหะ 418 นิวตัน/ตารางมิลลิเมตร จงหาระยะพิตช์

วิธีทา
แรงเฉื อน F1  2n  d
2

4
35
2
แทนค่าในสู ตร F1  2  3   381
4
= 2199389.75 N
แรงต้านการขาดของแผ่นต่อ F3  p  dt   t
แทนค่าในสู ตร F3  p  3528  423
= 11844P-414540
ให้ F1=F3
11844P-414540= 2199389.75
P = 2199389.75 414540
11844
= 53.57 mm

ตอบ ระยะพิตช์เท่ากับ 53.57 มิลลิเมตร


110

แผนการสอน หน่ วยที่ 4


ชื่อวิชา ความแข็งแรงของวัสดุ สอนครั้งที่ 6
ชื่อหน่ วย ภาชนะอัดความดันและการเชื่อมต่อ จานวน 3 ชั่วโมง

2. ใช้หมุดย้า 2 ตัว ต่อแผ่นเหล็กแบบต่อเกย ซึ่ งแผ่นเหล็กหนา 24 มิลลิเมตร


เส้นผ่าศูนย์กลางของหมุดย้าเท่ากับ 28 มิลลิเมตร มีระยะพิตช์เท่ากับ 58 มิลลิเมตร ถ้าความเค้น
เฉื อนของหมุดย้าเท่ากับ 357 นิวตัน/ตารางมิลลิเมตร ความเค้นดึงของแผ่นเหล็กเท่ากับ 426 นิว
ตัน/ตารางมิลลิเมตร และความเค้นอัดมีค่า 423 นิวตัน/ตารางมิลลิเมตร จงหาประสิ ทธิภาพของ
รอยต่อ

วิธีทา
แรงเฉื อน F1  n  d
2

4
28
2
แทนค่าในสู ตร F1  2   357
4
= 439647.04N
แรงต้านการอัด F2  ndt   c
แทนค่าในสู ตร F2  2  28  24  423
= 568512 N
แรงต้านการขาดของแผ่นต่อ F3  p  dt   t
แทนค่าในสู ตร F3  58  2824  426
= 306720 N
แรงต้านแผ่นเต็ม F  Pt t
แทนค่าในสู ตร F  58  24  426
= 592992 N
F1
ประสิ ทธิภาพการเฉือน s   100 %
F
439647.04
  100
592992
= 74.14 %
111

แผนการสอน หน่ วยที่ 4


ชื่อวิชา ความแข็งแรงของวัสดุ สอนครั้งที่ 6
ชื่อหน่ วย ภาชนะอัดความดันและการเชื่อมต่อ จานวน 3 ชั่วโมง

F2
ประสิ ทธิภาพการอัด c   100 %
F
306720
  100
592992
= 51.72 %
F3
ประสิ ทธิภาพการดึง t   100 %
F
568512
  100
592992
= 95.87 %

ตอบ ประสิ ทธิ ภาพของรอยต่อเท่ากับ 51.72 %


112

แผนการสอน หน่ วยที่ 4


ชื่อวิชา ความแข็งแรงของวัสดุ สอนครั้งที่ 6
ชื่ อหน่ วย ภาชนะอัดความดันและการเชื่อมต่อ จานวน 3 ชั่วโมง

บันทึกหลังการสอน
ผลการใช้แผนการสอน.....................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................

ผลการเรี ยนของนักเรี ยน...................................................................................................................


..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................

ผลการสอนของครู ............................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................

You might also like