You are on page 1of 32

ดร.

วีระ ศรีอริยะกุล
▪ ความเค้นอย่างง่าย
▪ ความเครียด
▪ การบิด
▪ คาน
▪ ตัวอย่างที่ 1
▪ ตัวอย่างที่ 2
▪ ตัวอย่างที่ 3

2
ความเค้น คือ แรงหารด้วยพืน้ ทีห่ น้าตัดทีร่ บั แรง ความเค้นอย่างง่าย มีอยู่ 3 ชนิด คือ ความ
เค้นดึง ความเค้นกด และความเค้นเฉือน

รูปที่ 3.1 แรงชนิดต่างๆ

3
รูปที่ 3.1 (ต่อ) แรงชนิดต่างๆ

4
พิจารณษรูปที่ 3.1 (ก) (ข) ซึง่ เป็ นท่อนโลหะกลมอยูภ่ ายใต้แรงดึง และแรงกด F ความเค้น
ดึงและความเค้นกด คือ
F F
σt = and σ c = (3.1)
A A

ในกรณีทแ่ี ผ่นโลหะหยึดติดกันด้วยหมุดย้า ดังรูป 3.1 (ค) ตัวหมุดย้าอาจขาดด้วยแรงเฉือน


กระทาทีห่ น้าตัด AB ถ้าพืน้ ทีข่ องหมุดยา้ เท่ากับ A ความเค้นเฉือนในหน้าตัดหมุดยา้ คือ
F
τ= (3.2)
A
5
ถ้าหนาตัดของชิน้ งานทีร่ บั แรงเฉือนมีค่ามากกว่าหนึ่งแห่ง ดังรูป3.1(ง) ซึง่ มี 2แห่ง พืน้ ทีห่ น้าตัดทีร่ บั
แรงคือ 2A ในกรณีเช่นนี้เรียกว่า หมุดย้ารับแรงเฉือนคู่ (Double Shear) ดังนัน้ ความเค้นเฉือนที่
เกิดขึน้ ในหน้าตัดของหมุดยา้ นี้เท่ากับ
F
τ=
2A
หมุดย้าในรูป3.1(ค) จะเกิดการอัดกันระหว่างด้านข้างของตัวหมุดย้ากับแผ่นโลหะด้วย ความเค้นทีผ่ วิ
โลหะทีส่ มั ผัสกันนี้ไม่สม่าเสมอนัก ในทางปฎิบตั จิ งึ หาความเค้นกดนี้โดยใช้พน้ื ที่ภาพฉาย ของส่วนทีอ่ ดั
กันอยู่ แทนการใช้พน้ื ทีจ่ ริงรอบหมุดย้าและมีช่อื เรียกว่าความเค้นอัด (Bearing Stress) ถ้าหมุดย้ามี
ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง d ความเค้นอัดนี้ คือ
F
σc = (3.3)
dt
6
ความเครียด (Strain)  หมายถึง อัตราส่วนระหว่างส่วนทีย่ ดื หรือหดของชิน้ งานกับความ
ยาวเดิม จากรูปที่ 3.1 (ก) ส่วนทีย่ ดื ออกเนื่องจากแรงดึง F เท่ากับ  (เดลตา) เพราะฉะนัน้
ความเครียดนี้จะเท่ากับ
 = /L (3.4)

จากกฎของฮุค
 = E (3.5)

7
แต่ = F/A ฉะนัน้ เมือ่ แทนค่า  จากสมการที่ 3.4 ลงในสมการที่ 3.5 จะได้วา่

FL
δ= (3.6)
AE

จากกลศาสตร์วสั ดุยงั ทาให้ทราบความสัมพันธ์ระหว่างยังส์โมดูลสั และโมดูลสั เฉือน คือ

E
G= (3.7)
2(1+ )

โดยที่  เป็ นอัตราส่วนบัวชองส์ (Poisson’s Ratio) 8


ชิน้ ส่วนเครือ่ งจักรกลทีม่ พี น้ื ทีห่ น้าตัดกลมอยูภ่ ายใต้โมเมนต์บดิ (Torque) จะบิดไปเป็ นมุม
เท่ากับ
TL (3.8)
θ=
GJ
โดยที่ T คือโมเมนต์บดิ
L คือความยาว
J คือโมเมนต์ความเฉื่อยเชิงขัว้ ของพืน้ ที่ (Polar Area Moment of Inertia)
= d4/32 สาหรับท่อกลมตัน
= (d4-di4)/32 สาหรับท่อกลมกลวง
d คือเส้นผ่านศูนย์กลางภายนอก
di คือเส้นผ่านศูนย์กลางภายใน
9
ความเครียดเฉือนทีเ่ กิดจากการบิดจะมีคา่ สูงสุดทีผ่ วิ นอกของท่อนกลมนี้ ซึ่งคานวณได้จาก
Tr (3.9)
τ=
J
โดยที่ r คือรัศมีนอกของท่อกลม
ในการที่จ ะใช้ ส มการที่ 3.9 มัก จ าเป็ นต้ อ งหาค่ า โมเมนต์ บิด ให้ ไ ด้ เ สีย ก่ อ น ส าหรับ
เครือ่ งจักรกลทีส่ ง่ กาลังทางเพลา จะคานวณโมเมต์บดิ ได้จากสมการ
Wp = Tω = 2πnT (3.10)

โดยที่ Wp คือกาลังงาน (W)


T คือโมเมนต์บดิ (Nm)
 คือความเร็วเชิงมุม (rad/s) 10
n คือความเร็วรอบ (rev/s)
สาหรับระบบหน่ ว ยอังกฤษ ซึ่งยังมีการใช้อ ยู่จ ะบอกกาลัง งานเป็ น แรงม้า โดยค านวณ
โมเมนต์บดิ ได้จาก
Tn
hp = (3.11)
63,000

โดยที่ T คือโมเมนต์บดิ (in-ib)


n คือความเร็วรอบ (rev/min)
ในกรณีท่อกลมผนังบาง (Thin-walled Tube) ซึง่ มีรศั มีเฉลีย่ R และผ่าตลอดความยาว ดัง
รูป 3.2

12

มุมบิดและค่าความเค้นเฉือนโดยประมาณ คือ
3TL
θ= (3.12)
2πRt 3G
3T (3.13)
τ= 12
2πRt 2
ชิน้ ส่วนเครื่องจักรกลโดยมากรับแรงในแนวดิง่ เช่นเดียวกับคานโดยทัวไป่ ฉะนัน้ จึงใช้ความ
เค้นดัด (Bending Stress) และการยุบตัว (Deflection) เป็ นข้อจากัดในการออกแบบ ความ
เค้นดัดสูงสุดเกิดทีผ่ วิ นอกสุดของคาน ณ ตาแหน่ งทีโ่ มเมนต์ดดั (Bending Moment) มี
ค่าสูงสุด จากสมการ
Mc
σc = (3.14)
I

โดยที่ M คือโมเมนต์ดดั
c คือระยะจากแกนสะเทิน (Neutral Axis) ไปยังผิวนอกสุด ดังรูปที่ 3.3
I คือโมเมนต์ความเฉื่อยของพืน้ ที่
13
สาหรับคานทีม่ พี น้ื ทีเ่ ป็ นสีเ่ หลีย่ มผืนผ้า ความเค้นเฉือนสูงสุดจะเกิดทีแ่ กนสะเทิน และมีค่า
1.5 เท่าของความเค้นเฉือนเฉลีย่ หรือเท่ากับ
3V
τ= (3.15 ก)
2A
สาหรับหน้าตัดกลม
4V
τ= (3.15 ข)
3A

โดยที่ V คือแรงเฉือนสูงสุด
A คือพืน้ ทีห่ น้าตัด
14
สาหรับค่า I ของหน้าตัดบางชนิด ดูจากตารางที่ ค.1 ส่วนค่าโมเมนต์ดดั สูงสุดและการยุบตัว
ของคาน ดูจากตารางที่ ค.2 ในภาคผนวก ค.
โดยทัวไปความเค้
่ นเฉือนทีเ่ กิดขึน้ ในคานจะมีค่าน้อยมาก จนกระทังไม่
่ ต้องนามาคิด
ในการออกแบบได้ แต่ถา้ คานสัน้ และมีหน้าตัดสูงมาก ความเค้นเฉือนก็อาจจะมีคา่ มากด้วย
15
ชิน้ งานดังรูปที่ 1 ทาด้วยเหล็กกล้า AISI C 1020 รับแรงดึง 30 kN ถ้าให้ h = 1.5b
จงหาขนาดของชิน้ งานเมือ่
(ก) ให้แรงอยูน่ ิ่งและถือความต้านแรงดึงครากเป็ นหลัก
(ข) เช่นเดียวกับข้อ (ก) แต่ให้ถอื ความต้านแรงดึงเป็ นหลัก
(ค) ถ้าแรงกระทาซ้าโดยเปลีย่ นค่าจาก 0-30 kN และความต้านแรงดึงครากเป็ นหลัก
วิธที า จากตารางที่ ข.3 ในภาคผนวก ข. ความต้านแรงดึงและความต้านแรงดึง
ครากของวัสดุ คือ

16
(ก) จากตารางที่ 1.3 ในบทที่ 1 ให้ Ny = 1.5 ฉะนัน้ ความเค้นออกแบบสาหรับแรงดึง

17
(ข) จากตารางที่ 1.3 ในบทที่ 1 ให้ Nu = 3 ฉะนัน้ ความเค้นออกแบบสาหรับแรงดึง

18
(ค) จากตารางที่ 1.3 ในบทที่ 1 ให้ Ny = 3 สาหรับแรงกระทาซ้าทิศทางเดียว ฉะนัน้
ความเค้นออกแบบสาหรับแรงดึง

19
จากการเปรียบเทียบในข้อ (ก) และ (ข) พบว่า ขนาดทีไ่ ด้จากการออกแบบจะแตกต่ าง
กันไปบ้าง สาหรับชิน้ งานลักษณะดังในตัวอย่าง อาจไม่ตอ้ งการความละเอี ยดถึง 1 ใน
100 mm ฉะนัน้ ถ้าจะใช้ขนาดในข้อ (ก) อาจให้ b = 10 mm และ h = 14 mm

สาหรับขนาดในข้อ (ค) จะใหญ่ข้นึ เนื่องจากแรงกระทาไม่อยู่นิ่ง อาจทาให้วสั ดุเกิด


ความล้า (Fatigue) ขึน้ ได้ ดังนัน้ ค่าความปลอดภัยต้องมากกว่าวิธกี ารออกแบบทีร่ บั
แรงอยูน่ ิ่ง

20
เพลากลมท่อนหนึ่ง ทาด้วยเหล็กกล้า AISI CD 1030 ใช้สง่ กาลัง 20 kW หมุนด้วยความเร็วรอบ 1,450 rpm จงหา
ขนาดของเพลานี้โดยใช้ความต้านแรงดึงคราก
(ก) เมือ่ เป็ นเพลาตัน
(ข) เมือ่ เป็ นเพลากลวง โดยมีอตั ราส่วนของเส้นผ่านศูนย์กลาง d/di = 2
(ค) เปรียบเทียบมุมบิดต่อความยาวเพลา 500 mm และน้าหนักของเพลาทีไ่ ด้จากข้อ (ก) และ (ข)
(ง) เมือ่ ไม่ตอ้ งการให้เพลาตันมีมมุ บิดมากกว่า 2 องศาต่อความยาวเพลา 500 mm

21
วิธที า จากตารางที่ ข.2 ในภาคผนวก ข.
y = 76 ksi
= 76 x 6.895 = 524 N/mm2
จากตารางที่ ข.16 ในภาคผนวก ข.
E = 207 GN/m2
G = 79.30 GN/m2
สมมติให้แรงที่กระทาต่อเพลามีขนาดสม่าเสมอ ซึ่งถือว่าเป็ นแรงที่ อยู่นิ่งได้ จาก
ตารางที่ 1.3 เลือก N = 2

22
23
24
25
26
ก้านหมุนยึดติดกับเพลาด้วยลิม่ ดังรูปที่ 1 มีขนาดหน้าตัด h = 3b รับแรง F = 9 kN กระทาซ้าสองทิศทางขึน้ และลง
วัสดุทต่ี อ้ งการใช้เป็ นก้านหมุนคือ AISI HR 1020 ถ้าก้านหมุนมีขนาดเล็กลงตามสมการเส้นตรงจากหน้าตัด AA ถึง
หน้าตัด BB จงหาขนาดของก้านหมุนนี้

27
28
29
แบบฝึ กหัด
1. ชิน้ งานดังรูปที่ 1 ทาด้วยเหล็กกล้า AISI C 1022 ถ้าให้ b = 20 mm h = 40 mm
(ก) จงหาแรงดึงสูงสุดทีร่ บั ได้
(ข) จงหาแรงดึงใช้งาน ถ้าให้ N = 2.5 โดยใช้ความต้านแรงดึงครากเป็ นหลัก

30
แบบฝึ กหัด
2. เครื่องอัดอากาศเครื่องหนึ่งมีลูกสูบขนาด 100 mm สามารถอัดอากาศให้มคี วามดันได้
สูงสุด 1 MPa ถ้าก้านสูบทาจากวัสดุ AISI HR 1020 จงหาขนาดของก้านสูบกลมโดย
(ก) ใช้ความต้านแรงดึงคราก
(ข) ใช้ความต้านแรงดึง

31
แบบฝึ กหัด
3. ก้านสูบทาจากวัสดุเหล็กกล้า AISI C 1340 ชุบด้วยน้ ามันทีอ่ ุณหภูม ิ 829 oC เทมเปอริง่ ที่
อุณหภูมิ 316 oC รับแรงซึง่ เปลีย่ นแปลงจาก 0-8 kN จงหาขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของก้าน
สูบนี้โดย
(ก) ใช้ความต้านแรงดึงครากเป็ นหลัก
(ข) ใช้ความต้านแรงดึงเป็ นหลัก

32

You might also like