You are on page 1of 413

บทที่ 1 หนวยแรง (SIMPLE STRESS)

บทนํา

ความเคน (Stress) หมายถึง แรงตานทานภายใน (Internal resisting force) เนื้อวัสดุตอหนึ่ง


หนวยพื้นที่ของโครงสราง เมื่อมีน้ําหนักบรรทุกภายนอกมากระทํา (External load) เพื่อให
โครงสรางนั้นอยูในสภาพสมดุล

ชนิดของแรงที่กระทําตอวัสดุนั้น สามารถพิจารณาจากรูปที่ 1-1

(ก) แรงภายนอกกระทํากับวัสดุ (ข) แรงภายในที่กระทําตอหนาตัด a-a


รูปที่ 1-1 แสดงแรงที่กระทํากับวัสดุ

จากรูปขางตน

Pxx คือ แรงตามแนวแกน (Axial Force) ใชสัญลักษณ P

Pxy , Pxz คือ แรงเฉือน (Shear Force) ใชสัญลักษณ V

Mxx คือ โมเมนตบิด (Torque) ใชสัญลักษณ T

Mxy , Mxz คือ โมเมนตดัด (Bending Moment) ใชสัญลักษณ M


หนวยแรงอัด (Compressive Stress)

P
σc =
A

เมื่อ σc คือความเคนอัดหรือหนวยแรงอัดที่เกิดขึ้น

P คือแรงอัดในแนวแกนของวัตถุ

A คือพื้นที่หนาตัดของวัตถุที่มีระนาบตั้งฉากกับทิศทางของแรงอัดหรือแนวแรง

รูปที่ 1-2 แสดงการเกิดหนวยแรงอัด

จากรูปจะไดวา A = พื้นที่หนาตัดของวัตถุทรงหระบอก

หนวยแรงดึง (Tensile Stress)

P
σt =
A

เมื่อ σt คือความเคนดึงหรือหนวยแรงดึงที่เกิดขึ้น

P คือแรงดึงในแนวแกนของวัตถุ

A คือพื้นที่หนาตัดของวัตถุที่มีระนาบตั้งฉากกับทิศทางของแรงดึงหรือแนวแรง

รูปที่ 1-3 แสดงการเกิดหนวยแรงดึง

จากรูปจะไดวา A = พื้นที่หนาตัดของวัตถุทรงหระบอก
หนวยแรงกด (Bearing Stress)

P
σb =
A

เมื่อ σb คือความเคนกดหรือหนวยแรงกดที่เกิดขึ้น

P คือแรงกระทําที่มีทิศตั้งฉากกับผิวสัมผัส

A คือพื้นที่ผิวสัมผัสระหวางวัตถุสองชิ้น

หมายเหตุ ในกรณีที่ผิวสัมผัสมีสภาพเปนผิวโคง จะใชพื้นที่ฉาย ของพื้นผิวสัมผัสโคงนั้น


เปนพื้นที่รับความเคนกดแทน

(ก) ดานบน

(ข) ดานขาง

รูปที่ 1-4 แสดงการเกิดหนวยแรงกด

จากรูป A = td เมื่อ t คือ ความหนาของแผนรองรับ และ d คือเสนผาศูนยกลางของหมุด


หรือสกรู
หนวยแรงเฉือน (Shearing Stress)

τ =V
A

เมื่อ τ คือความเคนเฉือนหรือหนวยแรงเฉือนที่เกิดขึ้น

V คือแรงกระทําที่มีทิศขนานกับพื้นที่ผิวหรือแรงเฉือน

A คือพื้นที่ที่มีระนาบขนานกับทิศทางของแรงเฉือน

FBD ของโยค FBD ของโยคดานเดียว

รูปที่ 1-5 แสดงการเกิดหนวยแรงเฉือน

สลักเกลียวจะรับการเฉือนคู  = V/2As สําหรับความหนาของโยคพิจารณาจาก FBD


สวนตัดของโยคดานเดียวซึ่งอัดตัวเขากับสลักเกลียว

หนวยแรงในผนังของภาชนะทรงกระบอก

1.หนวยแรงวงรอบ (Tangential Stress)

F
σt =
A
F=pxa

เมื่อ σt คือหนวยแรงวงรอบในผนังของภาชนะทรงกระบอก(Tangential Stress)

F คือแรงดันจากภายในถังที่จะทําใหถังระเบิดออกหรือแรงระเบิด
p คือความดันภายในถังทรงกระบอก

รูปที่ 1-6 แสดงภาชนะทรงกระบอก

2. หนวยแรงตามแนวยาว (Longitudinal Stress)


pD
σl =
4t

เมื่อ σl คือหนวยแรงตามแนวยาวในผนังของภาชนะทรงกระบอก

(Longitudinal Stress)

p คือความดันภายในถังทรงกระบอก
D คือเสนผาศูนยกลางภายในทรงกระบอก
t คือความหนาของเปลือกทรงกระบอก

หนวยแรงในผนังของภาชนะทรงกลม

pD
σ=
4t

เมื่อ σ คือหนวยแรงในผนังของภาชนะทรงกลม(Tangential Stress)

p คือความดันภายในถังทรงกระบอก
D คือเสนผาศูนยกลางภายในทรงกระบอก
t คือความหนาของเปลือกทรงกระบอก

รูปที่ 1-7 แสดงภาชนะทรงกลม


แบบฝกหัดบทที่ 1

1.1 จงหาเสนผานศูนยกลางภายนอกของทอเหล็กซึ่งรับแรงดึง 500 kN และเกิดความเคน 140


MPa สมมติวาผนังทอหนาเทากับ 1 ใน 10 ของเสนผานศูนยกลางภายนอก

หลักการวิเคราะห
P
พื้นหนาตัดรับแรงเปนวงแหวน ใชสมการ σ =
A

การคํานวณ
P
[σ = ] 140 x103 = 500
A   2 64 2 
d  d 
4  0 100 0 
d0 = 0.187 m (187 mm) ตอบ

1.2 จงหาน้ําหนักสูงสุดของ W ซึ่งสามารถยึดไวดวยลวดขึงทั้งสองเสนดังรูป ความเคนในลวด


AB และ AC ตองไมเกิน 100 MPa และ 150 MPa ตามลําดับ กําหนดพื้นที่หนาตัดของลวด
AB เทากับ 400 mm2 และของลวด AC เทากับ 200 mm2
mm 2

หลักการวิเคราะห
เลือกวิเคราะห FBD ของจุด A ตรวจสอบวาแรงดึงบนลวด AB และ BC เสนไหน
รับภาระสูงสุดกวากันจากสมการสมดุลแรง ใชแรงดึงสูงสุดบนลวดเสนนั้นนําไปคํานวณหา
น้ําหนักสูงสุด
การคํานวณ

FBD ของจุด A
สมดุลของแรง
 F x 0  0
cos 30
T AB  T AC
cos 45 0

 T AB  0.8165T AC
แสดงวา TAC รับภาระสูงสุด จึงพิจารณาจากความเคนของ  AC
P  A T AC   AC A
 
 150 x10 6 200 x10 6 
 3 x10 4 N

 F y 0  sin 30
T AB  T AC
0
sin 45
w
0

 T AC w
0 0
sin 30 sin 45
0.8166T AC
w  1.115T AC

 1.115 3 x10 4 
 3.35 x10 4 N
 33.5kN ตอบ
1.3 สวนหนึ่งของชุดอุปกรณบังคับลอเครื่องบินขึ้นลงดังแสดงในรูป จงหาหนวยแรงกดใน
กระบอกอัดชนิดกลวง AB และแนวของกระบอกเอียงทํามุม 53.1° กับ BC กําหนดใหแรง
ปฏิกิริยาที่ลอ R = 20 kN สมมติวาไมคิดน้ําหนักของชิ้นสวน

หลักการวิเคราะห
เลือกใหชิ้นสวน BC รวมลอเปน FBD ใชสมการ Σ MC = 0 หาแรงในชิ้นสวน AB
จากนั้นนําไปหาความเคนกดตอไป
ในที่นี้พิจารณาแรงในชิ้นสวน AB เปนชิ้นสวนรับ 2 แรง

การคํานวณ

[∑ MC = 0 ]
-20 (650) + RAB sin 53.1° (450) = 0
RAB = 36.125 kN
 2
A =
4
d o  d i2 
=  (0.042 – 0.032)
4
= 5.498 x 10-4m2
[σ = P]
A

σAB = R AB
= 36.125
5.498 x 10  4
A

= 65705.7 kPa
σAB = 65.7 MPa ตอบ

1.4 แทงโลหะสองแทงเชื่อมตอกันที่จุด B ดังแสดงในรูป จงหาหนวยแรงตั้งฉากที่เกิดขึ้นใน


โลหะแตละแทง

หลักการวิเคราะห
เลือก FBD สวนตัดดานซายระหวางแทงโลหะ 2 ชวง จากนั้นพิจารณาสมดุลของแรงใน
แตละ FBD แลวคํานวณความเคนตั้งฉาก

การคํานวณ
สมดุลแรงในแนวแกนพบวา
FBD1 : Fa-60 = 0, Fa = 60 kN (แรงดึง)
FBD2 : Fb + 125 + 125 – 60 = 0, Fb = -190 kN (แรงกด)
[σ = P ]
A
ในแทง AB : σAB = 60
= 84882.6 kPa

( )0.032
4
= 84.9 MPa (ความเคนดึง) ตอบ
ในแทง BC : σBC = 190
= 96766.2 kPa

( )0.05 2
4
= 96.8 MPa (ความเคนกด) ตอบ

1.5 แทงอะลูมิเนียม 3 ชิ้น เชื่อมตอกันดังรูปกําหนดใหที่หนาตัด B , C และ D รับแรง 325


kN, 215 kN และ 175 kN ตามลําดับ หนวยแรงในแนวแกนของแทงอะลูมิเนียมแตละแทงตองไม
เกิน 150 MPa จงหาพื้นที่หนาตัดนอยที่สดุ ในแตละแทง

หลักการวิเคราะห
วิเคราะหสมดุลของแรงบน FBD ของสวนตัดบนแทงโลหะแตละชวง ใชสมการสมดุล
หาแรงในแตละแทง จากนั้นแทนคาลงในสมการ σ = P/A
การคํานวณ

FBD 1

FBD 2

FBD 3

จากสมดุลของแรงในแนวแกนพบวา
FBD1 : Fa +175 = 0, Fa = -175 kN (แรงดึง)
FBD2 : Fb + 215 + 175 = 0, Fb = -390 kN (แรงดึง)
FBD3 : Fc + 325 + 215 + 175 = 0, Fc = -175 kN (แรงดึง)

[A = P
]

175 x 103
ACD = = 1.167 x 10-3 m2 = 1167 mm2 ตอบ
150 x 10 6
390x 103
ABC = = 2.60 x 10-3 m2 = 2600 mm2 ตอบ
150 x 106
715x 103
AAB = = 4.767 x 10-3 m2 = 4767 mm2 ตอบ
150 x 106

1.6 แทงโลหะมีพื้นที่หนาตัดเปนวงกลมดังรูป ซึ่งไดแกแทงเหล็กกลา แทงทองเหลืองและแทง


อะลูมิเนียม มีแรงในแนวแกนกระทําที่หนาตัด A, B, C และ D ดังรูป ถากําหนดใหหนวยแรงใช
งานในแนวแกน (รับแรงดึงหรือรับแรงกด) มีคาเทากับ 125 MPa ในเหล็กกลา, 70 MPa ใน
ทองเหลือง และ 85 MPa ในอะลูมเนียม จงหาเสนผานศูนยกลางของแตละแทงโลหะดังกลาว
หลักการวิเคราะห
วิเคราะหทํานองเดียวกับปญหาขอ 1.5

การคํานวณ

รูป (ก)

รูป (ข)

จากสมดุลของแรงในแนวแกนพบวา
FBD1 : FS +270 = 0, FS = -270kN (แรงกด)
FBD2 : Fb + 270 -245 = 0, Fb = -25 kN (แรงกด)
FBD3 : Fa + 270 + 200 -245 = 0, Fa = -225 kN (แรงกด)
นําเอาแรงภายในมาเขียนการกระจายของแรงตามความยาวของแทงโลหะ ABCD จะไดดังรูป (ข)
[A = P
]

 2 = 270 x 103
 dS = 52.4 mm ตอบ
dS
4 125 x 106
3
 2 =
25 x 10
 db = 21.3 mm ตอบ
db 6
4 70 x 10
 2 = 225 x 103
 da = 58.1 mm ตอบ
da
4 85 x 106


1.7 โมเมนตแรงคูควบ M มีขนาดเทากับ
1500 N.m กระทําตอเพลาขอเหวี่ยงของ
เครื่องยนตดังแสดงในรูป ณ ตําแหนงปรากฏ
ดังกลาว จงหา
ก) ขนาดของแรง P ที่กระทําใหชุดเพลาขอ
เหวี่ยงนี้อยูในสภาพสมดุล
ข) หนวยแรงตั้งฉากในขอตอ AB ซึ่งมี
พื้นที่หนาตัดสม่ําเสมอ 450 mm2

หลักการวิเคราะห
พิจารณาชิ้นสวน BC เปนชิ้นสวนรับ 2 แรง เลือกชิ้นสวน AB รวม BC เปน FBD

การคํานวณ
[∑ MA= 0 ]
+Cx(0.280) – 1500 = 0
Cx = 5357.14 N
Cy = P = Cx tan θ
(BC เปนชิ้นสวนรับ 2 แรง)
 200 
P = 5357.14  
 60 
P = 17857 N (17.86 kN) ตอบ
FBD ของขอตอ ABC

แรงลัพธในชิ้นสวน BC :
C = C x2  C y2 = 5.357 2  17.857 2
= 18.643 kN (แรงกด)
σBC = C
A
= 18.643
= 41429 kPa
450 x 10 6
= 41.4 MPa (หนวยแรงกด) ตอบ

1.8 กําหนดขนาดของแรง P เทากับ 50 kN เพื่อ


ใชกดแผนอะลูมิเนียมหนา t = 5 mm เปนรู
ขนาดเสนผานศูนยกลาง d = 20 mm จงหา
หนวยแรงเฉือนเฉลี่ยในอะลูมิเนียม

หลักการวิเคราะห
พื้นที่เฉือนขนานกับแนวแรงคือ AS =  dt

การคํานวณ
P
 = P =
AS  dt
= 50
= 159155 kPa
 ( 20 x10 ) (5 x10 3 )
3

= 159.2 MPa ตอบ


1.9 ปลายดานหนึ่งของโครงสรางทิมเบอร (timber truss) ดังแสดงในรูป ไมคิดความเสียดทาน
ก) จงคํานวณหาขนาดของ b โดยกําหนดใหหนวยแรงเฉือนใชงานเทากับ 900 kPa
ข) จงคํานวณหาขนาดของ c โดยกําหนดใหหนวยแรงอัดไมเกิน 7 MPa
หลักการวิเคราะห
หนวยแรงเฉือนจะใชพื้นที่เฉือนขนานกับแรง สวนหนวยแรงอัดพิจารณาจากพื้นที่อัดตั้ง
ฉากกับแรงนั้น

การคํานวณ
ก) หาขนาดของ b
 = V
AS
50 cos 30
900 =
(150 x10 3 ) (bx10 3 )
b = 321 mm ตอบ
ข) หาขนาดของ c
σb = P
Ab
50 cos 30
7 x 103 =
(150 x10 3 ) (cx10 3 )
c = 41.2 mm ตอบ

1.10 มูเลขนาดเสนผานศูนยกลาง 750 mm และมีภาระกระทําดังแสดงในรูป มีสลักในรองเพลาที่


มีขนาดเสนผานศูนยกลาง 50 mm จงหาขนาดความกวาง b ของสลักโดยสลักนั้นมีความยาว 75
mm ถาหนวยแรงเฉือนใชงานเทากับ 70 MPa
หลักการวิเคราะห
เลือกมูเลเปน FBD วิเคราะหสมดุลตอการหมุนหาแรงปฏิกิริยาที่สลักกระทําตอดานขาง
ของรองของเพลา

การคํานวณ

[∑ Mo = 0, ] -V(25) – 6(375) + 10(375) = 0


V = 60 kN
 = V
A
3
70 x 10 = 60
b (0.075)

b = 0.0114 m (11.4 mm) ตอบ

1.11 ขอเหวี่ยงอยูในสภาวะสมดุลดังแสดงในรูป
ก) จงหาขนาดเสนผานศูนยกลางของกานขอตอ AB ถากําหนดใหหนวยแรงในแนวแกน
เทากับ 100 MPa
ข) จงหาหนวยแรงเฉือนที่สลักยึด D ถาสลักยึดนั้นมีเสนผานศูนยกลางเทากับ 20 mm
หลักการวิเคราะห
เลือกชิ้นสวน BDC เปน FBD วิเคราะหสมดุลหาแรงปฏิกิริยาที่สลักยึด D และแรง P
พบวากานขอตอ AB รับหนวยแรงดึง สวนสลัก D รับการเฉือนคู

การคํานวณ
[∑ MD = 0, ] P(200) – 30sin 60˚(240) = 0
P = 31.18 kN
[∑ Fx = 0, → +] Dx-31.18 – 30cos 60˚ = 0
Dx= 46.18 kN
[∑ Fy = 0, ↑+] Dy- 30sin 60˚ = 0
Dy= 25.98 kN
D = Dx2  D 2y
= 46.182  25.982

ก) หาขนาดเสนผานศูนยกลางของกานขอตอ AB โดยกําหนดให σ = 100 MPa


[P = σA]

31.18 = (100 x 103) ( d2)
4
d = 0.0199 m (19.92 mm) ตอบ
ข) หนวยแรงเฉือนที่สลักยึด D โดยใช d = 20 mm
[  V ]
2 AS
 = 52.986 x 10 3

2( ) (0.020 2 )
4
= 84.33 MPa ตอบ
1.12 หนวยแรงในแนวแกนเทากับ 10 MPa (C) ในแทงไม B และ 200 MPa (T) ในกานเหล็ก
A ดังแสดงในรูป จงหา

ก) ขนาดของแรง P
ข) ขนาดเสนผานศูนยกลางต่ําสุดสําหรับสลักยึด C ถาสลักยึดนั้นรับการเฉือนเดี่ยวและกําหนด
คาจํากัดของหนวยแรงเฉือนนี้เทากับ 75 MPa
ค) ขนาดของเสนผานศูนยกลางต่ําสุดสําหรับสลักยึด D ถาสลักยึดนี้รับการเฉือนคูและกําหนด
คาจํากัดของหนวยแรงเฉือนนี้เทากับ 85 MPa

หลักการวิเคราะห
เลือกคาน CE เปน FBD แลววิเคราะหสมดุลหาแรง P และแรงปฏิกิริยาที่สลักยึด C ทํา
ตอคาน CE แลวนําไปหาขนาดเสนผานศูนยกลางของสลักยึด C และ D ไดจากสมการ  = V/A

การคํานวณ
ก) จาก FBD หาขนาดของแรง P
Dy เปนแรงดึงในกานเหล็ก
Dy = σA
= (200 x 103) (300 x 10-6) = 60 kN
Ey เปนแรงกดในแทงไม B
Ey = σA
= (10 x 103) (4500 x 10-6) = 45 kN
[∑Mc = 0, ] 60 (150)+45(400)-P(400) =0
P = 67.5 kN ตอบ
[∑ Fy = 0, ↑+] -Cy+45+60-67.5 =0
Cy = 37.5 kN

ข) หาขนาดของเสนผานศูนยกลางต่ําสุดของสลักยึด C
สําหรับการเฉือนเดี่ยว :  = V , A = V
A 
 2
d = 37.5
4 75 x 10 3
d = 0.0252 m (25.2 mm) ตอบ

ค) หาขนาดของเสนผานศูนยกลางต่ําสุดของสลักยึด D
สําหรับการเฉือนคู :  = V = Dy
A 2A

A = Dy
2
 2
d = 60
4 2(85 x 10 3 )
d = 0.0212 m (21.2 mm) ตอบ
1.13 คาน AB สม่ําเสมอมีมวล 2000 kg ดังแสดง
ในรูป คานนี้ถูกยึดไวกับสลักที่ B และผนังใน
แนวดิ่งมีผิวเรียบที่ A จงหาขนาดต่ําสุดของ
เสนผานศูนยกลางของสลักยึดที่ B กําหนดคา
จํากัดของความเคนเฉือนเทากับ 60 MPa และ
สลักยึดนี้พิจารณาเปนการเฉือนคู

หลักการวิเคราะห
เลือกคาน AB เปน FBD แลววิเคราะหสมดุลหาแรงปฏิกิริยา Bx และ By แรงลัพธ
กระทําตอสลักยึด B คือ B = Bx2  B y2

การคํานวณ
[∑ MB = 0, ] Ax(8) – 19.614(3) = 0
Ax = 7.355 kN
[∑ Fx = 0, → +] Bx – 7.355 = 0
Bx = 7.355 kN
[∑ Fy = 0, ↑+] By – 19.614 = 0
By = 19.614 kN
W = 2000 (9.807) สลักยึด B รับแรง B = Bx2  B y2
= 19614 N = 7.355  19.614
2 2

= 20.95
V
[  ]
2A
60x103 = 20.95
  2
2  d
4
d = 0.0149 m (14.9 mm) ตอบ
1.14 กําหนดใหหมุดย้ํายืดแผนโลหะทั้งสองมีขนาดเสนผานศูนยกลาง 20 mm และแผนโลหะทั้ง
สองนั้นกวาง 100 mm
ก) ถาหนวยแรงอัดใชงานในแผนโลหะเทากับ 140 MPa และหนวยแรงเฉือนของหมุดย้ําเทากับ
80 MPa จงหาความหนาของแผนโลหะนั้น
ข) ภายใตภาวะกําหนดในขอ ก) หนวยแรงดึงเฉลี่ยมีคาสูงสุดในแผนโลหะมีคาเทาใด

หลักการวิเคราะห
เนื่องจากทราบความเคนเฉือนของหมุดย้ํา จึงหาแรงดึง P จากสมการ P = A จากความ
เคนอัดในแผนโลหะจะสามารถหาความหนาไดจาก  b = P/td และความเคนดึงสูงสุดในแผน
โลหะควรคิดบนหนาตัดที่ผานหมุดย้ํา

การคํานวณ
หมุดย้ํา
[P = A  ]

P = (0.0202) (80 x 103)
4
= 25.13 kN

แผนโลหะ
P
[ b = ]
Ab
25.13
140 x 103 =
t (0.020)
t = 8.975 x 10-3m (8.98 mm) ตอบ
P
[ t = ]
A

t = 25.13
ตอบ
(8.975 x 10  3 ) (0.100  0.020)
= 35.0 MPa ตอบ

1.15 จากรูปจงหาเสนผานศูนยกลางต่ําสุดของสลักเกลียวและความหนาต่ําสุดในแตละโยค (yoke)


ซึ่งถูกกระทําดวยแรง P = 55 kN โดยไมทําใหหนวยแรงเฉือนเกิน 70 MPa และหนวยแรงอัดเกิน
140 MPa

หลักการวิเคราะห
สลักเกลียวจะรับการเฉือนคู  = V/2As สําหรับความหนาของโยคพิจารณาจาก FBD
สวนตัดของโยคดานเดียวซึ่งอัดตัวเขากับสลักเกลียว

การคํานวณ

FBD ของโยค FBD ของโยคดานเดียว


สลักเกลียว
[ = P ]
2 As
70 x 103 = 55
 
2 d 2
4
d = 0.0224 m (22.4 mm) ตอบ

โยค
[ b = P ]
Ab

140 x 103 = 27.5


t 0.0224
t = 0.0088 m (8.8 mm) ตอบ

1.16 สลักเกลียวตัวหนึ่งมีขนาดเสนผานศูนยกลาง 22.2 mm และมีเสนผานศูนยกลางโคนเกลียว


(root of the thread) เทากับ 18.6 mm ใชยึดทิมเบอรทั้งสองเขาดวยกันดังแสดงในรูป แปน
เกลียวที่ขันรัดแนนนั้นทําใหเกิดแรงดึงในสลักเกลียวเทากับ 34 kN จงหา
ก) หนวยแรงเฉือนในหัวสลักเกลียว
ข) หนวยแรงเฉือนในเกลียว
ค) เสนผานศูนยกลางภายนอกของแหวนรอง (washer) โดยกําหนดใหเสนผานศูนยกลาง
ภายในของแหวนรองเทากับ 28 mm และหนวยแรงอัดมีคาจํากัดเทากับ 6 MPa

หลักการวิเคราะห
ตัดตัวสลักเกลียวดานหัวสลักเกลียวและปลายเกลียว พิจารณาแรงเฉือน (V) กับพื้นที่
ขนานแรงเฉือน (AS) อยางสัมพันธกัน สวนแหวนรองนั้นรับหนวยแรงอัด
การคํานวณ

FBD ของหัวสลักเกลียว FBD ของเกลียว

ก) หนวยแรงเฉือนในหัวสลักเกลียว
[  V ]
AS
 = 34 = 40.6 MPa
 (0.0222) (0.012)

ข) หนวยแรงเฉือนในเกลียว
[  V ]
AS
 = 34 = 36.4 MPa
 (0.0186) (0.016)

ค) เสนผานศูนยกลางภายนอกของแหวนรอง

พื้นที่อัดของแหวนรอง Ab = (D2 – d2)
4

= (D2 – 0.0282)
4
P
[Ab = ]
b
 34
(D2 – 0.0282) =
4 6 x 10 3
D = 0.0894 m (89.4mm) ตอบ
1.17 โครงสรางดังแสดงในรูป จงหาหนวยแรงในชิ้นสวน AC และ BD โดยกําหนดใหแตละ
ชิ้นสวนมีพ้นื ที่หนาตัด 900 mm2

หลักการวิเคราะห
เลือกโครงสรางทั้งหมดเปน FBD 1 วิเคราะหสมดุลของ FBD 1 หาแรงปฏิกิริยา Ay, Hy
และ HX
เลือกสลักยึด A เปน FBD 2 แลววิเคราะหสมดุลของ FBD 2 หาแรงในชิ้นสวน AB
และ AC
เลือกสวนตัด a – a ตัดผานชิ้นสวน BD, BE และ CE เลือกสวนตัดดานซายเปน FBD 3
วิเคราะหสมดุลของ FBD นี้หาแรง BD และใชหาความเคนตอไป

การคํานวณ

FBD 1 วิเคราะหสมดุลจะได Ay = 40 kN, Hy = 60 kN และ HX = 0


FBD 2
[∑ Fy = 0, ↑+] Ay + 3 AB =0
5
AB = - 5 Ay = - 5 (40)
3 3
= -66.7 kN (แรงกด)
[∑ Fx = 0, → +] AC + 4 AB =0
5
AC = - 4 (-66.7) = 53.4 kN (แรงดึง)
5

[σ = ] P
σAC = 53.4
= 59333 kPa
A 6
900 x 10

= 59.3 MPa (แรงดึง) ตอบ


FBD 3
[∑ ME = 0, ] -Ay(8) + 30(4) – BD(3) = 0
3BD = -8(40) + 120 = -200
BD = -66.7 kN (แรงกด)
[σ = P ] σBD =
66.7
= 74111 kPa
A 6
900 x 10

= 74.1 MPa (แรงกด) ตอบ

1.18 โครงสรางดังแสดงในรูป จง
คํานวณหาหนวยแรงในชิ้นสวน DF, CE และ
BD โดยกําหนดแตละชิ้นสวนมีพื้นที่หนาตัด
1200 mm2 และจงบอกดวยวาเปนแรงดึง (T)
หรือแรงกด (C)

หลักการวิเคราะห
พิจารณา FBD ของโครงสรางทั้งหมดหาแรงปฏิกิริยาที่จุดยึด A และ F เลือกวิเคราะห
สมดุลที่จุด A, B, C และ D ตามลําดับ
การคํานวณ
FBD ทั้งโครงสราง

[∑ Fy = 0, ↑+] Ay + Fy – 100 – 200 = 0


Ay + Fy = 300
[∑ Fx = 0, → +] Ax =0

[∑ MA = 0, ] Fy(10) – 100(4) – 200(7) = 0


Fy = 180 kN
Ay = 300 – 180 = 120 kN
FBD สลักยึด A
สมมติ AB และ AC เปนชิ้นสวนรับแรงดึง
[∑ Fy = 0, ↑+]
120+ 3
AB = 0
13
AB = -144.22 kN (แรงกด)
[∑ Fx = 0, → +]
2
AB+AC = 0
13
AC = +80 kN (แรงดึง)
FBD สลักยึด B
สมมติ BC และ BD เปนชิ้นสวนรับแรงดึง
[∑ Fy = 0, ↑+]
3
(144.22) – BC - 2
BD = 0
13 13
13 BC + 2BD = 432.66
[∑ Fx = 0, → +]
2
(144.22) + 3
BD = 0
13 13
BD = -96.147 (แรงกด)
 BD =
96.147
6
1200 x 10
= 80122 kN
= 80.1 MPa (ความเคนกด) ตอบ
และ BC = 173.33 kN (แรงดึง)
FBD สลักยึด C
สมมติ CD และ CE เปนชิ้นสวนรับแรงดึง
[∑ Fy = 0, ↑+]
4
CD + 173.33 – 100 = 0
5
CD = -91.66 kN (แรงกด)
[∑ Fx = 0, → +]
80+ 3 CD + CE = 0
5

-80 + (-91.66) CE
3
=0
5
CE = 134.996 kN (แรงดึง)
[σ = P ]
A

σ CE = 134.996
6
1200 x 10
= 112497 kN
= 113 MPa (หนวยแรงดึง) ตอบ
FBD สลักยึด D
สมมติ DE และ DF เปนชิ้นสวนรับแรงดึง
[∑ Fx = 0, → +]
3
(91.66) + 3
(96.14) + 3 DF = 0
5 13 5
DF = -224.992 (แรงกด)
[σ = P ]
A
σ DF = 224.992
6
1200 x 10
= 187493 kN
= 188 MPa (หนวยแรงกด) ตอบ

1.19 กําหนดโครงสรางดังแสดงในรูป จงคํานวณหา


พื้นที่หนาตัดของชิ้นสวน BE, BF และ CF ซึ่ง
ไมทําใหหนวยแรงดึงเกิน 100 MPa และไม
เกินหนวยแรงกด 80 MPa ในกรณีที่ชิ้นสวน
รับแรงกดจําเปนตองกําหนดใหหนวยแรงต่ําลง
ทั้งนี้ เพื่อไมทําใหเกิดการโกงงอ (bucking)

หลักการวิเคราะห
พิจารณา FBD ของโครงสรางทั้งหมดเพื่อหาแรงปฏิกิริยาที่จุดยึดและจุดรองรับเลือก
วิเคราะหสมดุลที่จุด D, A และ C ตามลําดับ จะหาแรงในชิ้นสวน CF จากนั้นวิเคราะหที่สวนตัด
โดยเลือกสวนตัดผานชิ้นสวน CF, BF และ BE
การคํานวณ
FBD ทั้งโครงสราง

x
[∑ Fx = 0 ] Ax = 0
[∑ Fy = 0, ↑+] Ay + Dy – 40 – 50 = 0
[∑ MA = 0, ] Dy(6) – 40(9) – 50(12) = 0
Dy = 160 kN
Ay = -160 + 40 + 50 = -70 kN
FBD สลักยึด D
AD = 0
สมมติให DC เปนชิ้นสวนรับแรงดึง

[∑ Fy = 0, ↑+] DC + 160 =0
DC = -160 kN (แรงกด)
FBD สลักยึด A
สมมติ AB และ AC เปนชิ้นสวนรับแรงดึง

[∑ Fy = 0, ↑+] 4
AB – 70 =0
5
AB = 87.5 kN (แรงดึง)
[∑ Fx = 0, → +] 3
(87.5) + AC = 0
5
AC -52.5 kN (แรงกด)
y FBD สลักยึด C
สมมติ BCและ CF เปนชิ้นสวนรับแรงดึง

[∑ Fx = 0, → +] CF + 52.5 =0
CF = -52.5 Kn (แรงกด)
[∑ Fy = 0, ↑+] BC + 160 =0
BC = -160 kN (แรงกด)

FBD โครงสรางดานซายของสวนตัด a-a

[∑ MG = 0, ] 8
BF(3) + 70(12) – 160(6) = 0
73
BF = 42.72 kN (แรงดึง)
[∑ MF= 0, ] - 4 BE(3) + 70(9) – 160(3) = 0
5
BE = 62.5 kN (แรงดึง)
หาพื้นที่หนาตัดในแตละชิ้นสวน
3
[A = F
] ABE = 62.5 x10
6
 100 x10
= 625 x 10-6 m2 (625 mm2) ตอบ
3
ABF = 42.72.5 x10
6
100 x10
= 427 x 10-6 m2 (427 mm2) ตอบ
3
ACF = 52.5 x10
6
80 x10
= 656 x 10-6 m2 (656 mm2) ตอบ
1.20 โครงสรางใชยึดรถยนตดังรูป ซึ่งรถยนตมีมวล 1800 kg จงหา
ก) หนวยแรงในแนวแกนในชิ้นสวน AB ถาชิ้นสวนนั้นมีพ้นื ที่หนาตัดเทากับ 200 mm2
ข) พื้นที่หนาตัดต่ําสุดของชิ้นสวน EF ถากําหนดหนวยแรงในแนวแกนเทากับ 50 MPa
ค) พื้นที่หนาตัดต่ําสุดของชิ้นสวน AG ถากําหนดหนวยแรงในแนวแกนเทากับ 150 MPa
กําหนดให g = 9.81 m/s2

หลักการวิเคราะห
เลือกโครงสรางทั้งหมดเปน FBD วิเคราะหสมดุลหาแรงปฏิกิริยาที่จุดรองรับ A และ G
เลือกสวนตัด a – a ผานชิ้นสวน AB, AF และ GF หาแรงในชิ้นสวน AB เลือกสวนตัด b – b
ผานชิ้นสวน AB, BF และ EF หาแรงในชิ้นสวน EF จากนั้นวิเคราะหสมดุลที่จุด G หาแรงใน
ชิ้นสวน AG

การคํานวณ

FBD ของทั้งโครงสราง
FBD ทั้งโครงสราง
[∑ Fx = 0, → +] -Ax + Gx =0
[∑ Fy = 0, ↑+] A y -17.66 = 0, A y = 17.66 kN
[∑ MA = 0, ] G x +(9) –17.66(12) =0
Gx = 23.55 kN
Ax = 23.55 kN

ก) FBD โครงสรางดานซายของสวนตัด a – a

(ก)
สมมติ AB, AF เปนชิ้นสวนรับแรงดึง
[∑ MF= 0, ]
23.55(3) + 23.55(6) - 17.66(4) – AB(6) = 0
AB = 23.55 kN (แรงดึง)
[σ = F
]
A

σ AB = 23.55
6
200 x10
= 117.75 MPa (แรงดึง) ตอบ

ข) FBD โครงสรางดานซายของสวนตัด b – b

(ข)
[∑ MB = 0, ]

23.55(9) + 4 EF(6) – 17.66(4) = 0


5
EF = 29.44 kN (แรงดึง)
[A = F
]

3
AEF = 29.44 x10
6
50 x10

ค) FBD สลักยึด G

สมมติให AG, GF เปนชิ้นสวนรับแรงดึง

(ค)

[∑ Fx = 0, → +] 23.55 + 4 GF = 0
5
GF = -29.44 kN (แรงกด)
[∑ Fy = 0, ↑+] AG + 3 GF =0
5
AG = 17.66 kN (แรงดึง)
[A = F
]

3
AAG = 17.66 x10
6
150 x10
= 117.7 mm2 ตอบ
1.21 โครงสรางหลังคาและรายละเอียดการตอดวยหมุดย้ําที่จุดยึด B ดังแสดงในรูป กําหนดหนวย
แรงใชงาน  = 70 MPa และ  b = 140 MPa ตองใชหมุดย้ําขนาดเสนผานศูนยกลาง 19 mm
จํานวนกี่ตัวเพื่อยึดชิ้นสวน BC เขากับแผนกัสเซต (gusset plate) และชิ้นสวน BE เขากับ
แผนกัสเซตและจงหาหนวยแรงกดหรือดึงเฉลี่ยสูงสุดในชิ้นสวน BC และ BE

หลักการวิเคราะห
เลือกวิเคราะหสมดุลกับ FBD ทั้งโครงสรางหาแรงปฏิกริ ิยาที่จุดรองรับ A วิเคราะห
สมดุลที่จุด A, C และ B ตามลําดับ จํานวนของหมุดย้ําที่ใชยึดพิจารณาเปรียบเทียบจากภาระ
เฉือนที่กระทําตอหมุดย้ําและภาระอัดระหวางย้ํากับแผนชิ้นสวน

การคํานวณ
FBD โครงสรางทั้งหมด

[∑ Fy = 0, ↑+] Ay + Hy – 96 – 200 – 96 = 0
[∑ MA = 0, ] Hy(16) – 96(4) – 200(8) – 96(12) = 0
 Hy = 196 kN
Ay = 196 kN
FBD สลักยึด A

สมมติ AB และ AC เปนชิ้นสวนรับแรงดึง

[∑ Fy = 0, ↑+] 196+ 3 AB =0
5
AB = -326.67 kN (แรงกด)
[∑ FX = 0, → +] 4 AB + AC =0
5
AC = 261.34 kN (แรงดึง)
FBD สลักยึด C

สมมติ BCและ CE เปนชิ้นสวนรับแรงดึง

[∑ Fy = 0, ↑+] BC – 96 = 0
BC = 96 kN (แรงดึง)
FBD สลักยึด B

สมมติ BD และ BE เปนชิ้นสวนรับแรงดึง

[∑ Fy = 0, ↑+] 3 (326.67) – 96 - 3 BE + 3 BD =0
5 5 5
BE – BD = 166.67
[∑ FX = 0, → +] 4 (326.67) + 4 BD + 4 BE = 0
5 5 5
BE + BD = 326.67
 BE = -80 kN (แรงกด)
ชิ้นสวน BC
(1) กําหนดใหใชหมุดย้ํา n ตัว รับแรงเฉือนในลักษณะการเฉือนเดี่ยว

P
, A= P
(P = แรงในชิ้นสวน BC)
A 

n    d 2 
P
4 
n    (0.0192) = 96
4 70 x10
3

n = 4.8 = 5 ตัว
(2) กําหนดใหใชหมุดย้ํา n ตัว อัดชิ้นสวน BC ซึ่งหนา 6 mm
ndt = P
b
n(0.019) (0.006) = 96
3
140 x10
n = 6.02 = 7 ตัว
ใชหมุดย้ําจํานวน 7 ตัว ยึดชิ้นสวน BC
ชิ้นสวน BE
(1) กําหนดใหใชหมุดย้ํา n ตัว รับแรงเฉือนในลักษณะการเฉือนเดี่ยว
n    d 2 
P
(P = แรงในชิ้นสวน BE)
4 
n    (0.0192) = 80
4 70 x10
3

n = 4.03 = 5 ตัว
(2) กําหนดใหใชหมุดย้ํา n ตัว อัดชิ้นสวน BE ซึ่งหนา 13 mm
ndt = P
b

n(0.019) (0.013) = 80
3
140 x10
n = 2.3 = 3 ตัว
ใชหมุดย้ําจํานวน 5 ตัว ยึดชิ้นสวน BE
รูปแสดงการยึดชิ้นสวน BC และ BE ตัวหมุดย้ํา

หนวยแรงเฉลี่ย
ชิ้นสวน BC (หนาตัด)

ABC = [75 – (2x19) + (75-6)]6


= 636 mm2
[ t 
P
]
A

t = 96
6
= 151 MPa ตอบ
636 x10
ชิ้นสวน BE (หนา 13 mm)
ABE = [75 – (2x19) + (75 – 13)]13 = 1287 mm2
[ c 
P
]
A

C = 80
6
= 62.2 MPa ตอบ
1287 x10
1.22 แทงไมทั้งสองมีความกวาง 50 mm นํามายึดติดเขาดวยกันดังรูป จงหาขนาดของแรงเฉือน
และหนวยแรงเฉือนกระทําตอรอยตอ โดยกําหนดให P = 6 kN

หลักการวิเคราะห
พิจารณาสมดุลของ FBD ดานซายของรองตอ
การคํานวณ
FBD ดานซายของรอยตอ:

V = P sin 
= 6 sin 30° = 3 kN ตอบ
และ F = P cos 
= 6 cos 30° = 5.2 kN ตอบ
 = P
sin 2
2 A0

  = 6 sin 60
2 0.050 0.020 

= 2.598 MPa ตอบ


1.23 แทงไมมีหนาตัดเปนรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากมี
ขนาด 50 mm x 100 mm ใชทําเห็นแทงรับแรง
กดดังแสดงในรูป จงหาแรงตามแนวแกน
สูงสุดที่กระทําตอแทงไมนั้นโดยที่หนวยแรง
กดในแทงไมที่ตั้งฉากกับลายไมมีคาจํากัด 20
MPa และหนวยแรงเฉือนขนานกับลายไมมีคา
จํากัด 5 MPa กําหนดลายไมเอียงทํามุม 20°
กับแนวระดับดังแสดงในรูป

หลักการวิเคราะห
บนระนาบเอียงมุม  = 20° นี้มีทั้งหนวยแรงตั้งฉากและหนวยแรงเฉือนตามสมการ
 = P(1+cos 2)/2AO และ  = (P sin 2)/2AO จากสมาการทั้งสองเลือก P คาต่ําสุดเปน
คําตอบ

การคํานวณ
  = P
(1+cos 2)
2 A0

P (1  cos 40 )
20 x 103 =
20.050 0.100 

P = 113.2 kN
  = P
sin 2
2 A0

3
5 x 10 = P sin 40
20.050 0.100 

P = 77.8 kN
เลือกแรงกดคาปลอดภัยเทากับ 77.8 kN ตอบ
1.24 หนวยแรงตั้งฉากกระทําตอระนาบ AB ของแทงไมที่มีพื้นที่หนาตัดเปนรูปสี่เหลี่ยมมีคา
เทากับ 12 MPa (C) เมื่อมีภาระ P กระทําดังแสดงในรูป ถามุม Ø = 36° จงหา
ก) แรง P
ข) หนวยแรงเฉือนบนระนาบ AB
ค) หนวยแรงตั้งฉากสูงสุดและหนวยแรงเฉือนสูงสุดในแทงไม

ดานขาง ดานหลัง

หลักการวิเคราะห
บนระนาบ AB นั้น หนวยแรงตั้งฉากและหนวยแรงเฉือนจากสมการ  = P
(1+cos 2)/2AO และ  = (P sin 2)/2AO

การคํานวณ
ก) แรง P
ในที่นี้  = 54°
  = P
(1+cos 2)
2 A0

3 P (1  cos 108 )
20 x 10 =
20.200 0.100 

P = 695 kN
ข) หนวยแรงเฉือน  บนระนาบ AB
  = P
sin 2
2 A0

 = 695 sin 108
20.200 0.100 

= 16.52 kN
ค)  max และ  max
  max = P

A0

 max = 695
20.200 0.100 

= 34.75 MPa (แรงกด) ตอบ


 max = P

2 A0

 = 695
20.200 0.100 
max

= 17.38 MPa ตอบ

1.25 แทงเหล็กกลาหนาตัดรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากกวาง 100 mm นํามาเชื่อมตอกันตามรอยตอเอียงมุม


57° ดังรูป จากนั้นถูกดึงดวยแรงขนาด 400 kN บนระนาบของรอยเชื่อมกําหนดความเคนใชงาน
 = 70 MPa และ  = 45 MPa จงหาความหนาต่ําสุดของแทงเหล็กกลา

หลักการวิเคราะห
คํานวณเปรียบเทียบจากสมการหนวยแรงตั้งฉากและหนวยแรงเฉือนบนระนาบรอยเชื่อม
เลือกความหนาสูงสุดเปนคําตอบ

การคํานวณ
พิจารณา AO จากการคํานวณเปรียบเทียบระหวางหนวยแรงตั้งฉากและหนวยแรงเฉือนบน
ระนาบรอยเชื่อม
  = P
(1+cos 2)
2 A0

70 x 103 = 400
2 A0

1  cos 66  
AO = 4019.25 mm2
tO = 4019.25
= 40.2 mm
100
  = P
sin 2
2 A0

45 x 103 = 400 sin 66
2A
0
AO = 4060.2 mm2
tO = 4060.2
= 40.6 mm
100

เลือกความหนาคาปลอดภัย 40.6 mm ตอบ


1.26 ขอตอใชหอยภาระดังแสดงในรูป แผนขอตอบนของ
ขอตอ ABC หนา 9 mm และแผนขอตอลางแตละ
ชิ้นหนา 6 mm ใชการยืดแผนขอตอไวที่ B สลักยึด
ที่ A มีเสนผานศูนยกลาง 9 mm สลักยึดที่ C มีเสน
ผานศูนยกลาง 6 mm จงหา
ก) หนวยแรงเฉือนที่สลักยึด A
ข) หนวยแรงเฉือนในสลักยึด C
ค) หนวยแรงตั้งฉากสูงสุดในขอตอ ABC
ง) หนวยแรงเฉือนเฉลี่ยกระทําที่พื้นที่ผิวรอยตอที่ B
จ) หนวยแรงอัดในขอตอที่ C
หลักการวิเคราะห
เลือกชุดแผนขอตอเปน FBD แลววิเคราะหสมดุลหาแรงปฏิกิริยา AC และใชวิเคราะหหนวย
แรงตามที่ตองการ
การคํานวณ
FBD ชุดแผนขอตอใชหอยภาระทั้งหมด
[ΣMD = 0, ] 2400(360) – AC(240) = 0
AC = 3600 N (แรงดึง)

ก) หนวยแรงเฉือนที่สลักยึด A
สลักยึด A รับการเฉือนเดี่ยว
P
[ = ]
A
3600
 =
 
  (0.009 )
2

4
= 56.6 MPa ตอบ
ข) หนวยแรงเฉือนในสลักยึด C
สลักยึด C รับการเฉือนคู
P
[ = ]
2A
3600
 =
 
2   (0.006 2 )
4
= 63.7 MPa ตอบ
ค) หนวยแรงตั้งฉากสูงสุดในขอตอ ABC
P
[σ = ]
A
3600
σ =
(0.009) (0.030  0.009)
= 19.05 MPa ตอบ
ง) หนวยแรงเฉือนเฉลี่ยที่ B
P
[ = ]
2A
3600
 =
2 (0.030) (0.040)
= 1.50 MPa ตอบ

จ) หนวยแรงอัดในขอตอที่ C
P
[σb = ]
Ab
1800
σb =
(0.006) (0.006)
= 50 MPa ตอบ

1.27 แบรกเกด (bracket) BCD ถูกกระทําดวยแรงทั้งสองดังแสดงในรูป


ก) ทราบวากานควบคุม AB ทําดวยเหล็กที่มีหนวยแรงตั้งฉากประลัยเทากับ 600 MPa จงหาขนาด
ของเสนผานศูนยกลางของกานควบคุมนี้ ทั้งนี้ กําหนดใหใชคาความปลอดภัยเทากับ 3.3
ข) สลักยึด C ทําดวยเหล็กที่มีหนวยแรงเฉือนประลัยเทากับ 350 MPa จงหาขนาดของเสนผาน
ศูนยกลางของสลักยึด C ทั้งนี้ กําหนดใหใชคาความปลอดภัยเทากับ 3.3 เชนกัน
ค) จงหาความหนาของตัวยึดแบรกเกตที่ C โดยทราบหนวยแรงอัดใชงานของเหล็กที่ใชทําตัวยึด
แบรกเกตมีคาเทากับ 300 MPa

หลักการวิเคราะห
เลือกแบรกเกต BCD เปน FBD แลววิเคราะหสมดุลหาแรงปฏิกิริยาที่ C และแรง P จากนั้น
นํามาคํานวณขนาดของกานควบคุม AB สลักยึด C และความหนาของตัวยึดแบรกเกต การหาขนาดตาง
ๆ ของชิ้นสวนดังกลาวพิจารณาจากหนวยแรงใชงาน

การคํานวณ
FBD ของแบรกเกต

[ΣMC = 0, ] P(0.6) – 50(0.3) – 15(0.6) = 0


P = 40 kN
[ΣFx = 0, → + ] Cx – 40 = 0, Cx = 40 kN
[ΣFy = 0, ↑+ ] Cy – 50 - 15 = 0, Cy = 65 kN
C = C x2  C y2 = 40 2  65 2
= 76.3 kN
ก) ขนาดของเสนผานศูนยกลางของกานควบคุม AB โดยกําหนด F.S. = 3.3
หนวยแรงตั้งฉากใชงาน σ =  u = 600
= 181.8 MPa
F .S . 3 .3
P
[A = ]

 2 P 40
d = =
4  181.8 x10 3
d = 0.01674 m (16.74 mm) ตอบ
ข) ขนาดของเสนผานศูนยกลางของสลักยึด C โดยกําหนด F.S. = 3.3
u 350
 = = = 106.1 MPa
F .S . 3 .3
สลักยึด C รับการเฉือนคู
P
[ = ]
2A
 2 C/2 76.3 / 2
d = =
4  106.1x10 3
d = 0.0214 m (21.4 mm) ตอบ
ขอควรสังเกต ในทางปฏิบัติจะเลือกใหเสนผานศูนยกลางขนาดใหญกวานี้ คือ
เลือก d = 22 mm
ค) ความหนาของตัวยึดแบรกเกตที่ C
P
[Ab = ]
b
C/2 76.3 / 2
Ab = =
b 300 x10 3
= 127.2 mm2
Ab = dt
127.2 = 22t ; t = 5.78 mm
เลือกความหนา = 6 mm ตอบ

1.28 ความแข็งเกร็ง BCD ยึดเขากับกานควบคุมดวยสลักเกลียวที่ B ยึดเขากับกระบอกไฮดรอลิกที่ C


และยึดตรึงที่ D ขนาดของเสนผานศูนยกลางของสลักเกลียวที่ใชคือ dB = dD = 6 mm, dC = 10 mm
สลักเกลียวแตละตัวรับการเฉือนคูและทําจากเหล็กที่มีหนวยแรงเฉือนปะลัย  u = 300 MPa กาน
ควบคุม AB ทําดวยเหล็กที่มีหนวยแรงดึงปะลัย σu = 450 MPa กําหนดคาความปลอดภัยต่ําสุด F.S.
= 3.0 สําหรับชิ้นสวนทั้งหมด จงหาแรงยกสูงสุดที่กระบอกไฮดรอลิกกระทําที่ C
หลักการวิเคราะห
จาก FBD ของคาน BCD วิเคราะหสมดุลจะไดแรง C ติดเทอมของแรง B และ D จากหนวย
แรงใชงาน σ และ  (คิดคาความปลดภัย) คํานวณแรง C และเลือกคาต่ําสุดเปนคําตอบ

การคํานวณ
FBD ของคาน BCD

[ΣMB = 0, ] C(250) – D(550) = 0


C = 2.2 D
[ΣMD = 0, ]
-C(300) + B(550) = 0
11
C = B
6
หนวยแรงใชงาน (F.S. = 3.0)
450
σ = = 150 MPa
3
300
 = = 100 MPa
3
พิจารณาจากหนวยแรงตั้งฉากกระทําตอกานควบคุมดวยแรง B
B = σA = (150x103)    (0.008 2 ) = 7.54 kN
4
11
C = (7.54) = 13.82 kN
6
พิจารณาจากหนวยแรงเฉือนกระทําตอสลักเกลียวดวยแรง B
B =  (2A) = (100x103) (2)    (0.006 2 ) = 5.655 kN
4
11
C = (5.655) = 10.37 kN
6
พิจารณาจากหนวยแรงเฉือนกระทําตอสลักเกลียว D
D =  (2A) = (100x103) (2)    (0.006 2 ) = 5.655 kN
4
C = (2.2) (5.655) = 12.44 kN
พิจารณาจากหนวยแรงเฉือนกระทําตอสลักเกลียว C
C =  (2A) = (100x103) (2)    (0.010 2 ) = 15.7 kN
4
เลือกแรงยกสูงสุดคือ 10.37 kN ตอบ

1.29 จากกลไกขอเหวี่ยง ABC ดังรูปรับแรง 60 kN ที่จุด A และยึดเอาไวดวยแรง P ที่จุด C


ก) สลักยึด B ทําดวยเหล็กที่มีหนวยแรงเฉือนปะลัย 250 MPa จงหาขนาดเสนผานศูนยกลางของสลัก
ยึด โดยกําหนดคาความปลอดภัย F.S. = 3.0
ข) ถากําหนดหนวยแรงอัดของขายึดสลัก B เทากับ 300 MPa จงหาความหนาของขายึด

หลักการวิเคราะห
เลือกวิเคราะหสมดุลกับ FBD ขอเหวี่ยง ABC หาแรงปฏิกิริยาที่จุด B หาขนาดเสนผาน
ศูนยกลางจากหนวยแรงเฉือนใชงานที่สลัก B และจากหนวยแรงอัดที่ใหมาคํานวณหาพื้นที่อัด Ab
การคํานวณ
[ΣMP = 0, ] 60(150) – By(300) = 0
By = 30 kN ↑
[ΣFy = 0, ↑+ ] P sin 45˚ = 30
P = 30 2 kN
[ΣFy = 0, → +] Bx+30 2 cos 45˚-60 = 0
Bx = 30 kN
แรงปฏิกิริยา B= B x2  B y2 = 30 2 kN

u 250
ก) หนวยแรงใชงาน  = = MPa
F .S . 3
 2  B 30 2
สําหรับการเฉือนคู 2  d  = =
4   250
x10 3
3
d = 0.018 m (18 mm) ตอบ
ข) σb = 300x103 kPa
B
ขายึดเฉลี่ยรับแรงดานละ = 15 2 kN
2
B
Ab σb = = 15 2
2
15 2
 Ab = = 70.71 mm2
300 x10 3
ในที่นี้เลือกใชขนาดของเสนผานศูนยกลางเปน 18 mm
70.71
dt = Ab t = = 3.928 mm
18
เลือกใชความหนาของขายึด t = 4.0 mm ตอบ
1.30 ทอกลมขนาดใหญมีเสนผานศูนยกลาง 1.5 m ใชลําเลียงน้ําจากอางเก็บกักเพื่อสงไปใชผลิต
กระแสไฟฟาตอไป และทําดวยไมที่ประกอบเขาดวยกันโดยใชแถบรัดทําดวยเหล็กจัดรัดเปน
ระยะๆ แตละแถบรัดมีพื้นที่หนาตัด 300 mm2 ถากําหนดใหหนวยแรงดึงสูงสุดในแถบรัดมีคา
เทากับ 130 MPa ภายใตเฮดของน้ํา 30 m จงหาระยะเวนระหวางแถบรัดแตละแถบ (กําหนดความ
หนาแนนของน้ําเทากับ 1000 kg/m3)

หลักการวิเคราะห
ระยะเวน L วัดจากแนวเสนกึ่งกลางของแถบรัดหนึ่งไปยังอีกแถบรัดหนึ่ง ดังนั้น ทุก ๆ
ชวงความยาว L แตละแถบรัดตานแรงกระทําจากน้ํา

การคํานวณ
ความดันของน้ําภายในทอกลมคิดจากเฮดของน้ํา 30m

[p = gh]
P = (1000) (9.81) (30)
= 294.3 x 103 N/m2
= 294.3 kPa
กําหนดระยะเวนระหวางแถบรัดเทากับ L ดังแสดงในรูป จะเห็นไดวาในแตละแถบรัด
ตานแรงกระทําจากน้ําในทุก ๆ ชวงระยะ L จาก FBD พบวา
[pDL = 2p] โดยที่ P = Aσ
(294.3 x 103) (1.54) L = 2 (300 x 10-6) (130 x 106)
L = 0.177 m (177 mm) ตอบ
1.31 ภาชนะความดันผนังบางรูปทรงกระบอกประกอบขึ้นดวยแผนเหล็กกลาที่มีความหนา 20 mm
ภาชนะความดันนี้มีเสนผานศูนยกลาง 500 mm และความยาว 3 m จงหาความดันภายในสูงสุด ถา
กําหนดหนวยแรงในเหล็กกลามีคาจํากัดที่ 140 MPa ความดันภายในเพิ่มขึ้นจนกระทั่งภาชนะแตก
จงเขียนรอยแตกราวของภาชนะที่เปนไปได

หลักการวิเคราะห
หนวยแรงรัด (σh) มีคาเปน 2 เทาของหนวยแรงในแนวแกน σ  ความแข็งแรงของขอ
ตอจะคํานึ่งถึงหนวยแรงรัดเปนหลัก

การคํานวณ
หนวยแรงในแนวเสนสัมผัส
pr
[σh = ]
t
 ht (140) (20)
p = 
r 250
= 11.2 MPa
ถาพิจารณารอยแตกของภาชนะความดันผนังบางรูปทรงกระบอก รอยแตกจะแตกตาม
ตะเข็บในแนวแกน
1.32 จงหาความเร็วเชิงเสนจํากัดในแนวเสนสัมผัสของแถบรัดหมุนซึ่งทําดวยเหล็กกลากําหนด
หนวยแรงใชงานเทากับ 140 MPa และความหนาแนนของเหล็กกลาเทากับ 7850 kg/m3 เมื่อหนวย
แรงมีคาถึง 200 MPa และรัศมีเฉลี่ยของแถบรัดเทากับ 250 mm จงหาอัตราเร็วเชิงมุมของแถบรัด

หลักการวิเคราะห
เลือกแถบรัดครึ่งวงกลมเปน FBD ภาระกระทําตอ FBD นั่นคือแรงหนีศนู ยกลางโดยมี P
คือ แรงภายในกระทําบนพื้นที่หนาตัดของแถบรัด
การคํานวณ
จาก FBD ของแหวนครึ่งวงกลม
2rc
M = V = Arc, r=

แรงหนีศูนยกลาง
F = m r 2
 2rc 
= (Arc)   2 = 2AV2 …(1)
  
[Σ Fx = 0, → +]
-2P + F = 0  2P = F
P AV 2
หนวยแรงคือ σ =   V 2 …(2)
A A
140 x 106 = 7850V2
V = 134 m/s ตอบ
[σ = V2]
200 x 106 = 7850V
V = 159.62 m/s
 = V

159.62
rc 0.250
≈ 640 rad/s ตอบ
1.33 ถังน้ําใบหนึ่งมีเสนผานศูนยกลาง 8 m และสูง 12 m ถาดังใบนี้บรรจุน้ําไวเต็มถัง จงหา
ความหนาต่ําสุดของผนังของถังถาหนวยแรงมีคาจํากัด 40 MPa

หลักการวิเคราะห
เนื่องจากหนวยแรงดันเกจในน้ําขึ้นอยูกับความลึกที่วัดจากผิว P = gh และที่ผิวอิสระ
P = 0 ความหนาของถังพิจารณาจากความเคนรัด

การคํานวณ
ความดันที่ผิวน้ํา P = 0 (ความดันเกจ) และที่กนถัง P = gh
pกัน = gh
= (1000) (9.81) (12)
= 117.72 kPa
pr
[σh = ]
t
pr (117.72)
T = = = 0.011772
h 40 x 10 3
= 11.8 mm ตอบ

1.34 ทอสงไอน้ําที่ 3.5 MPa มีเสนผานศูนยกลางภายนอก 450 mm และความหนาของผนังทอ


10 mm ใสปะเก็นระหวางหนาแปลนที่ปลายทอดานหนึ่งกับแผนโลหะที่ใชปดปลายทอดานนั้น
จะตองใชสลักเกลียวขนาดเสนผานศูนยกลาง 40 mm จํานวนกี่ตัวเพื่อยึดแผนโลหะปดปลายทอ
ดังกลาว และถาหนวยแรงใชงานในสลักเกลียวเทากับ 80 MPa โดยมีหนวยแรงเริ่มตน 55 MPa
จงหาหนวยแรงในแนวแกนของทอสงไอน้ํา
หลักการวิเคราะห
แรงกระทําเนื่องจากความดันของไอน้ําคือ แรงดึงกระทําตอสลักเกลียวทั้งหมดและ
พิจารณาแรงดึงของสลักเกลียว 1 ตัว แลวจึงเทียบหาจํานวนของสลักเกลียวทั้งหมด

การคํานวณ
แผนโลหะ แรงกระทํา P เนื่องจากไอน้ํา
 2
P = d p
4
  3 2
=   (430 x 10 ) (3.5 x 10 )  508.27 kPa
3
 
4
สําหรับสลักเกลียว 1 ตัว รับแรงดึงขนาด
 2
T = d (σ – σi) (σ = หนวยแรงใชงาน, σi = หนวยแรงเริ่มตน)
4
  3 2
= 3 3
  (40 x 10 ) (80 x 10  55 x 10 )
4
= 31.42 kPa

508.27
จํานวนของสลักเกลียวที่ใช n = = 17 ตัว ตอบ
31.42

หนวยแรงในแนวแกนของทอไอน้ํา
pr
[   ]
2t
(3.5 x 10 3 ) (430 x 10 3 )
 =
2 (10 x 10  3 )
= 75.3 MPa ตอบ
1.35 ถังประกอบขึ้นดวยแผนเหล็กกลาซึ่งหนา 10 mm จงหาหนวยแรงในแนวแกนและหนวย
แรงในแนวเสนสัมผัสคาสูงสุด ภายใตความดันภายใน 1.2 MPa

หลักการวิเคราะห
เลือกระนาบตัดตามแนวขวางเพื่อใชหาหนวยแรงในแนวแกน และเลือกระนาบตัดตาม
แนวแกนซึ่งเปนระนาบระดับผานเสนศูนยกลาง เพื่อใชหาหนวยแรงในแนวเสนสัมผัส

การคํานวณ

P = (dt + 2Lt)  
= [(400 x 10-3) (10 x 10-3) + 2 (600 x 10-3) (10 x 10-3)]  
= 24.566 x 10-3   kN
P = pA = p (  d 2  dL )
4
= (1.2 x 10 ) [(  ) (400 x 10-3)2 + (400 x 10-3) (600 x 10-3) ]
3
4
= 438.8 kN
438.8
 = = 17862 Kpa
24.566 x 10  3
= 17.9 MPa ตอบ
ในแนวเสนสัมผัส

[Σ Fy = 0, ↑+] P(L + d)L’ - 2σh (L’t) = 0


p( L  d )
 σh =
2t
(1.2) (600  400)
= = 60 MPa ตอบ
2 (10)

1.36 การตอเกย ดังแสดงในรูป จงหาแรงปลอดภัยสูงสุด P ที่กระทําตอแผนตอทั้งสองถาหนวย


แรงเฉือนในหมุดย้ําซึ่งมีคาจํากัดเทากับ 60 MPa หนวยแรงอัดในแตละแผนตอเทากับ 110 MPa
และหนวยแรงดึงเฉลี่ยในแผนตอเทากับ 140 MPa

หลักการวิเคราะห
กําหนดการเสียหายของรอยตอที่เปนไปไดแลวคํานวณแรง P และเลือกกรณีที่ใหขนาด
ของแรง P ต่ําสุด

การคํานวณ
กรณี 1 กําหนดใหหมุดย้ําทุกตัวขาดดวยแรงเฉือนพรอมกัน
  2
P = (3)  d
4
= (60 x 103) (3)    (0.022) = 56.5 kN
4
กรณี 2 กําหนดใหหมุดย้ําทุกตัวอัดกับแผนโลหะและทําใหเกิดการเสียหาย
P = σb (3) dt
= (110 x 103) (3) (0.02 x 0.025) = 165 kN
กรณี 3 กําหนดใหแผนโลหะขาดตรงแนวของหมุดย้ําตัวนอกดวยแรงดึง
P = σ (b-d) t
= (140 x 103) (0.130-0.02) (0.025) = 385 kN
กรณี 4 กําหนดใหแรงเฉือนกระทําหมุดย้ําตัวนอกและใน และหมุดย้ําตัวกลางอัดแผนโลหะแลว
เกิดความเสียหาย
  2
P = (2)   d + σbdt
4
= (2) (60 x 103)    (0.022) + (110 x 103) (0.02) (0.025)
4
= 92.7 kN
เลือกกรณีที่ 1 เปนคําตอบ นั่นคือ P = 56.5 kN ตอบ

1.37 รอยตอเกย ดังแสดงในรูป ประกอบดวยหมุดย้ําจํานวน 3 ตัว มีขนาดเสนผานศูนยกลาง 20


mm แผนตอทั้งสองเปนโลหะหนา t = 12 mm และกวาง b = 175 mm กําหนดหนวยแรงดังตอ ไป
นี้ หนวยแรงดึงเฉลี่ย 100 MPa หนวยแรงเฉือน 70 MPa และหนวยแรงอัด 140 MPa จงหาแรง
ปลอดภัยสูงสุด

หลักวิเคราะห
ในทํานองเดียวกับปญหาขอ 1.36
การคํานวณ
กรณี 1 กําหนดใหหมุดย้ําทุกตัวขาดดวยแรงเฉือนพรอมกัน
  2
P = (3)  d
4
= (70 x 103) (3)    (0.022) = 66 kN
4
กรณี 2 กําหนดใหหมุดย้ําทุกตัวอัดกับแผนโลหะและทําใหเกิดการเสียหาย
P = σb (3) dt
= (140 x 103) (3) (0.02) (0.012) = 100.8 kN
กรณี 3 กําหนดใหแผนโลหะขาดตรงแนวของหมุดย้ําแถวนอกดวยแรงดึง
P = σ (b-2d) t
= (100 x 103) (0.175-0.04) (0.012) = 162 kN
กรณี 4 กําหนดใหแรงเฉือนกระทําหมุดย้ําแถวนอก และหมุดย้ําแถวใน 1 ตัว อัดกับแผนโลหะ
แลวเกิดความเสียหาย
P =  (2)    d 2 + σbdt
4
= (70 x 103) (2)    (0.022) + (140 x 103) (0.02) (0.012)
4
= 77.6 kN
กรณี 5 กําหนดใหแรงเฉือนกระทําหมุดย้ําแถวใน และหมุดย้ําแถวนอกอัดกับแผนโลหะแลวเกิด
ความเสียหาย
P =     d 2 + σb(2)dt
4
= (70 x 103)    (0.022) + (140 x 103) (2) (0.02) (0.012)
4
= 89.2 kN

เลือกกรณีที่ 1 เปนคําตอบ นั่นคือ P = 66.0 kN ตอบ


1.38 ในรูปแสดงคาน W 460 x 97 ยึดกับเกอรเดอร (girder) W 610 x 125 ดวยแผนฉากยึด 2 ตัว
ขนาด 100 mm x 90 mm x 10 mm ซึ่งใหหมุดย้ําขนาดเสนผานศูนยกลาง 19 mm กําหนดใหหมุด
ย้ําที่ใชยึดคานมี  = 80 MPa และ σb = 170 MPa และสําหรับหมุดย้ําที่ใชยึดเกอรเดอรมี  = 70
MPa และ σb = 140 MPa เว็บ (web) ของเกอรเดอรหนา 11.9 mm และเว็บของคานหนา 11.4
mm จงหาแรงกระทําตอแผนฉากยึด

หลักการวิเคราะห
กําหนดความเสียหายตอหมุดย้ําโดยหมุดย้ําขาดดวยแรงเฉือน ที่เกอรเดอรหมุดย้ําอัดกับ
แผนฉากยึดแลวทําใหเกิดการเสียหาย ที่คานหมุดย้ําอัดกับคานทําใหเกิดการเสียหาย เปรียบเทียบ
แรงในแตละกรณีแลวเลือกแรงนอยที่สุดเปนคําตอบ

การคํานวณ
ที่เกอรเดอร หมุดย้ํา 8 ตัวขาดดวยแรงเฉือนพรอมกันในลักษณะการเฉือนเดี่ยว
P =  (8)    d 2
4
= (70 x 103) (8)    (19 x 10-3)2 = 159 kN
4
หมุดย้ํา 8 ตัวอัดกับแผนฉากยึดซึ่งหนา 10 mm
P = σb(8)dt
= (140 x 103) (8) (19 x 10-3) + (10 x 10-3) = 213 kN
ที่คาน หมุดย้ํา 4 ตัวขาดดวยแรงเฉือนในลักษณะการเฉือนคู
P
 =  P’ = 2A (หมุดย้ํา 1 ตัว)
2A
P = 2 (4)    d 2
4
= 2 (80 x 103) (4)    (19 x 10-3)2 = 181.5 kN
4
หมุดย้ํา 4 ตัวอัดกับคานซึ่งมีเว็บหนา 11.4 mm
P = σb(4)dt (t = ความหนาของเว็บของคาน)
= (170 x 103) (4) (19 x 10-3) (114 x 10-3) = 147.3 kN
เลือกแรงกระทําตอคานคาต่ําสุด = 147.3 kN ตอบ

1.39 กําหนดแรง P กระทําตอหนาตัดซ้ํา (repeating section) ของขอตอชนแบบหมุดย้ําสามแถว


ดังรูป ซึ่งเปนขอตอใชบนผนังภาชนะทนความดัน รูรอยหมุดย้ํามีเสนผานศูนยกลางเทากับ 20.5
mm ความหนาของแผนตอหลัก t = 14 mm และความหนาของแผนประกบทั้งสอง t’ = 10 mm
ทั้งนี้ กําหนดหนวยแรงเฉือนประลัย  = 300 MPa, หนวยแรงอัดประลัย σb = 650 MPa และ
หนวยแรงดึงประลัย σt = 400 MPa และกําหนดใชคาความปลอดภัย F.S. = 5 จงหาความตาน
แรงของขอตอ ประสิทธิภาพของขอตอ และความดันสูงสุดภายในภาชนะรูปรางทรงกระบอกซึ่งมี
ขนาดเส นผา นศู นย ก ลางเท า กั บ 1.5 m เมื่อยึดขอตอชนเปนตะเข็บ ตามแนวยาว (longitudinal
seam)

หลักการวิเคราะห
วิเคราะหความสามารถตานแรงของขอตอจากการเปรียบเทียบระหวางความสามารถตาน
การขาดของหมุดย้ํา และความสามารถตานการฉีกขาดของแผนตอหลักและแผนประกบ
การคํานวณ
เพื่อความปลอดภัยตอการออกแบบ กําหนดหนวยแรงใชงานดังนี้
u
[ = ]  = 300
= 60 MPa
F .S . 5
[σb = u ] σb = 650
= 130 MPa
F .S . 5
[σ t = u ] σt = 400
= 80 MPa
F .S . 5
1) คํานวณแรงกระทําตอหมุดย้ํา 1 ตัวในขอตอที่จะถายทอดดวยการเฉือนและการอัด
สําหรับหมุดย้ํารับการเฉือนเดี่ยว
 2
PS = d  =    (20.5 x 10-3)2 (60 x 103) = 19.8 kN
4 4
สําหรับหมุดย้ํารับการเฉือนคู
PS = 2(19.8) = 39.6 kN
สําหรับหมุดย้ําอัดกับแผนตอหลัก
Pb = (td) σb = (14 x 10-3) (20.5 x 10-3) (130 x 103) = 37.3 kN
สําหรับหมุดย้ําอัดกับแผนประกบ 1 แผน
P’b = (t’d) σb = (14 x 10-3) (20.5 x 10-3) (130 x 103) = 26.7 kN

2) วิเคราะหความตานแรงของขอตอ
2.1) ความสามารถดานการขาดของหมุดย้ํา
หยุดย้ําแถวที่ 1 ในหนาตัดซ้ํา มีหมุดย้ําทั้งหมด 1 ตัว
- หมุดย้ําขาดดวยแรงเฉือนเดี่ยว  PS = 19.8 kN
- หมุดย้ําอัดกับแผนตอหลัก  Pb = 37.3 kN
- หมุดย้ําอัดกับแผนประกบลาง  P’b = 26.7 kN
ดังนั้น เลือกความตานแรงของหมุดย้ําแถวแรกเทากับ 19.8 kN
หมุดย้ําแถวที่ 2 ในหนาตัดซ้ํา มีหมุดย้ําทั้งหมด 2 ตัว
- หมุดย้ําขาดดวยแรงเฉือนคู  PS = 2(39.6) = 79.2 kN
- หมุดย้ําอัดกับแผนตอหลัก  Pb = 2(37.3) = 74.6 kN
- หมุดย้ําอัดกับแผนประกบทั้งสอง  P’b = 2(2) (26.7) = 106.8 kN
ดังนั้น เลือกความตานแรงของหมุดย้ําแถวที่ 2 เทากับ 74.6 kN
หมุดย้ําแถวที่ 3 ในหนาตัดซ้ํา มีหมุดย้ําทั้งหมด 2 ตัว
เนื่องจากหมุดย้ําในแถวที่ 3 นี้มีจํานวนเทากับในแถวที่ 2 และเปนหมุดย้ํารับการเฉือนคู
เชนกัน ตัวเลขคํานวณสําหรับการเสียหายแตละแบบจะเหมือนกับแถวที่ 2
ดังนั้นเลือกความตานแรงของหมุดย้ําแถวที่ 3 เทากับ 74.6 kN
ความตานแรงของหมุดย้ําทั้งสามแถว
Pr = 19.8 + 74.6 + 74.6 = 169.0 kN …(1)
2.2) ความสามารถดานการฉีกขาดของแผนตอหลักและแผนประกบ
กําหนดใหฉีกขาดที่แผนตอหลักในแถวที่ 1 กําหนดความเคนดึง σ t = 80 MPa ความ
กาวของหนาตัดซ้ํา w = 180 mm เสนผานศูนยกลางของรูรอยหมุดย้ํา d = 20.5 mm และความ
หนาของแผนตอหลัก t = 14 mm โดยมีหมุดย้ําทั้งสิ้น 1 ตัว แรงภายนอกที่ดึงขอตอขาดที่แถว
แรกคือ
[P1 = (w – d)tσ t]
P1 = (0.180 – 0.0205) (0.014) (80 x 103)
= 178.64 kN …(2)
กําหนดใหฉีกขาดที่แผนตอหลักในแถวที่ 2 ผลของตัวหมุดย้ําในแถวแรกจะชวยถายแรง
จากแผนตอหลักไปสูแผนประกบ ทําใหแรงภายในแผนตอหลักนอยกวาแรงภายนอกที่กระทําตอ
ขอตอดังรูป (ข) ดังนั้นจะออกแรงภายนอกดึงขอตอขาดในแถวที่ 2 ดังรูป (ค) นั่นคือ
ความตานแรงของ ความตานแรงของ
P2 = +
แผนตอหลักแถวที่ 2 หมุดย้ําแถวที่ 1
ความตานแรงของ
P2 = (w – 2d) tσ t +
หมุดย้ําแถวที่ 1
= [0.180 – 2(0.0205)] (0.014) (80 x 103) + 19.8
= 175.48 kN …(3)
กําหนดใหฉีกขาดที่แผนตอหลักในแถวที่ 3 พิจารณาในทํานองเดียวกับแถวที่ 2 ดังนั้นจะ
ออกแรงภายนอกดึงขอตอขาดในแถวที่ 3 นั่นคือ
ความตานแรงของ ความตานแรงของ ความตานแรงของ
P2 = + +
แผนตอหลักแถวที่ 3 หมุดย้ําแถวที่ 2 หมุดย้ําแถวที่ 1

= [0.180 – 2(0.0205)] (0.014) (80 x 103) + 74.6 + 19.8


= 250.08 kN …(4)
เนื่องจากในแถวที่ 2 และแถวที่ 3 ตางก็มีจํานวนหมุดย้ําทั้งสิ้น 2 ตัว ดังนั้นความตาน
แรงของแผนตอหลักในแถวทั้งสองยอมเทากัน ดังนั้นการฉีกขาดที่แผนตอหลักในแถวที่ 3 จึงไมมี
ความจําเปนตองคํานวณ ถาคํานวณจะพบวาแรงภายนอกที่ใชดึงขอตอใหฉีกขาดในแถวที่ 3 นั้นมี
คามากกวาในแถวที่ 2
ขอควรจํา
 การฉีกขาดที่แผนตอหลักในแถวที่ 3 จะคํานวณได ก็ตอเมื่อจํานวนของหมุดย้ําในแถว
ที่ 3 มากกวาในแถวที่ 2 เทานั้น เนื่องจากถาจํานวนของหมุดย้ํามากกวาจะทําใหพื้นที่
รับแรงดึงของแผนตอหลักในแถวที่ 3 นอยลง ดังนั้นความตานแรงดึงของแผนตอหลัก
จะนอยลง การคํานวณแรงภายนอกที่ดึงขอตอใหขาดในแถวที่ 3 จะนอยลงนั้นเอง
กําหนดให ฉีกขาดที่แผนประกบทั้งสองในแถวที่ 3 ถา เปนขอตอชนแบบธรรมดาแผน
ประกบด า นบนและด า นล า งมี ค วามยาวเท า กั น และมี ค วามหนาของแผ น เท า กั น จะพบว า
ความสามารถดานการฉีกขาดจะเทากัน สวนขอตอทนความดันนี้แผนประกบทั้งสองมีความยาวไม
เทากัน การคํานวณความสามารถดานการฉีกขาดของแผนประกบในกรณีนี้จะพิจารณาเปรียบเทียบ
กันระหวางความตานแรงดึงกับแรงที่ถายมาจากหมุดย้ํา โดยพิจารณาดังนี้
ความตานแรงดึงของแผนประกบแผนเดียว
P2 = (w – 2d) t’σ t
= [0.180 – 2(0.0205)] (0.010) (80 x 103)
= 111.2 kN
แรงที่ถายมาจากหมุดย้ํา 4 ตัวมาสูแผนประกบสั้นดานบน
 2 
P’c = 4  d  = 4 (19.8) = 79.2 kN
4 
ดังนั้นความตานแรงของแผนประกบทั้งสองคือ
Pc = 111.2 + 79.2 = 190.4 kN …(5)
ขอควรจํา
 ในสมการ (5) กลาวอีกนัยหนึ่งคือความตานแรงของแผนประกบทั้งสองมาจากความ
ตานแรงดึงที่แผนประกบดานลางแถวที่ 3 (111.2 kN) และความตานแรงเฉือนของ
หมุดย้ําในแผนประกบดานบน (79.2 kN)
 ถาคํานวณแลวปรากฏวาความตานแรงเฉือนของหมุดย้ําในแผนประกบดานบนมีคา
มากกวา ความตานแรงของแผนประกบทั้งสองก็คือ 222.2 kN
 ถาแผนประกบทั้งสองมีความยาวเทากันและความหนาเทากัน ความตานแรงของแผน
ประกบทั้งสองก็คือ 222.2 kN เชนกัน

เปรียบเทียบความตานแรงของขอตอตั้งแตสมการ (1) ถึงสมการ (5) พบวาแรงดึงคา


ปลอดภัยคือ
P = 169.0 kN
ความตานแรงของขอตอ
ประสิทธิภาพของขอตอ =
ความตานแรงของแผนตอหลักหนาตัด
169
=
(0.180) (0.014) (80 x 10 3 )
= 0.838 (83.8%) ตอบ
จากการคํานวณพบวาแรงดึงคาปลอดภัยกระทําตอขอตอเทากับ 169.0 kN ตอความยาว
ของหนาตัดซ้ํา 180 mm ดังนั้นความดันภายในสูงสุดคือ
[2P = pDL]
2(169) = p(1.5) (0.180)
P = 1.25 x 103 kPa ตอบ

1.40 กําหนดแรง P กระทําตอหนาตัดซ้ําซึ่งมีระยะพิตชยาว (long pitch) = 350 mm ของขอตอ


ชนทนความดันแบบหมุดย้ําสามแถวดังรูป ซึ่งใชเปนรอยตอบนผนังหมอไอน้ํากําหนดเสนผาน
ศูนยกลางของหมุดย้ํา d = 25 mm ความหนา t = 14 mm และ t’ = 10 mm (ทั้งสองแผน) กําหนด
หนวยแรงใชงานในการออกแบบ  = 60 MPa, σb = 130 MPa และ σt = 80 MPa จงหา
ก) แรง P คาปลอดภัย
ข) ประสิทธิภาพของขอตอ
ค) ถาหมอไอน้ํามีความดันภายใน p = 2.5 MPa จงหาขนาดเสนผานศูนยกลางของหมอไอน้ํา
หลักการวิเคราะห
ทํานองเดียวกับการวิเคราะหปญหาขอ 1.39
การคํานวณ
หนวยแรงใชงาน
 = 60 MPa, σb = 130 MPa, σt = 80 MPa
1) พิจารณาแรงกระทําตอหมุดย้ํา 1 ตัวในขอตอ
สําหรับหมุดย้ํารับการเฉือนเดี่ยว
 2
PS = d  =    (0.0252) (60 x 103) = 29.45 kN
4 4
สําหรับหมุดย้ํารับการเฉือนคู
PS = 2(29.45) = 58.9 kN
สําหรับหมุดย้ําอัดกับแผนตอหลัก
Pb = (td) σb = (0.014) (0.025) (130 x 103) = 45.5 kN
สําหรับหมุดย้ําอัดกับแผนประกบ 1 แผน
P’b = (t’d) σb = (0.010) (0.025) (130 x 103) = 32.5 kN
2) วิเคราะหความตานแรงของขอตอ
2.1) ความสามารถดานการขาดของหมุดย้ํา
หมุดย้ําแถวที่ 1 ในหนาตัดซ้ํา มีหมุดย้ําทั้งหมด 1 ตัว
- หมุดย้ําขาดดวยแรงเฉือนเดี่ยว  PS = 29.45 kN
- หมุดย้ําอัดกับแผนตอหลัก  Pb = 45.5 kN
- หมุดย้ําอัดกับแผนประกบลาง  P'b = 32.5 kN
ดังนั้นเลือกความตานแรงของหมุดย้ําเทากับ 29.45 kN
หมุดย้ําแถวที่ 2 ในหนาตัดซ้ํา มีหมุดย้ําทั้งหมด 3 ตัว
- หมุดย้ําขาดดวยแรงเฉือนเดี่ยว  PS = 3(58.9) = 176.7 kN
- หมุดย้ําอัดกับแผนตอหลัก  Pb = 3(45.5) = 136.5 kN
- หมุดย้ําอัดกับแผนประกบลาง  P'b = 3(2)(32.5) = 195.0 kN
ดังนั้นเลือกความตานแรงของหมุดย้ําเทากับ 136.5 kN
หมุดย้ําแถวที่ 3 ในหนาตัดซ้ํา มีหมุดย้ําทั้งหมด 4 ตัว
- หมุดย้ําขาดดวยแรงเฉือนคู  PS = 4(58.9) = 235.6 kN
- หมุดย้ําอัดกับแผนตอหลัก  Pb = 4(45.5) = 182.0 kN
- หมุดย้ําอัดกับแผนประกบทั้งสอง P'b = 4(2)(32.5) = 260.0 kN
ดังนั้นเลือกความตานแรงของหมุดย้ําเทากับ 182 kN
ความตานแรงของหมุดย้ําทั้งสามแถว

Pr = 29.45 + 136.5 + 182.0 = 347.95 kN …(1)


2.2) ความสามารถตานการขาดของแผนตอหลักและแผนประกบ
กําหนดใหฉีกขาดที่แผนตอหลักในแถวที่ 1
[P1 = (w-d) tσt]
P1 = (0.350 – 0.025) (0.014) (80 x 103)
= 364.0 kN …(2)
กําหนดใหฉีกขาดที่แผนตอหลักในแถวที่ 2
ความตานแรงของ
P2 = (w – 3d) tσt +
หมุดย้ําแถวที่ 1

= [0.350 – 3(0.025)] (0.014) (80 x 103) + 29.45


= 364.0 kN …(3)
กําหนดใหฉีกขาดที่แผนตอหลักในแถวที่ 3
ความตานแรงของ
P3 = (w – 4d) tσt + + ความตานแรงของ
หมุดย้ําแถวที่ 1 หมุดย้ําแถวที่ 2
= [0.350 – 4(0.025)] (0.014) (80 x 103) + 29.45 + 136.5
= 445.95 kN …(4)
กําหนดใหฉีกขาดที่แผนประกบทั้งสองในแถวที่ 3
ความตานแรงดึงของแผนประกบแผนเดียว
Pc = (w – 4d) t'σt
= [0.350 – 4(0.025)] (0.010) (80 x 103)
= 200 kN
ความตานแรงเฉือนของหมุดย้ําในแผนประกบดานบน
P'c = 7 (  d 2 ) = 7(29.45) = 206.15 kN
4
ดังนั้นความตานแรงของแผนประกบทั้งสองคือ
Pc = 200 + 200 = 400 kN …(5)
ก) เปรียบเทียบความตานแรงของขอตอตั้งแตสมการ (1) ถึงสมการ (5) พบวาแรงดึงคา
ปลอดภัยคือ
P = 337.45 kN ตอบ

ข) ประสิทธิภาพของขอตอ = ความตานแรงของขอตอ
ความตานแรงของแผนตอหลักหนาตัดเต็ม
337.45
=
(0.350) (0.014) (80 x 103)
= 0.86 (86%) ตอบ
ค) [2P = pDL]
2(337.45) = (2.5 x 103) D (0.350)
D = 0.771 m ตอบ
1.41 แรงกระทําภายนอกขนาด 144 kN กระทําตอหนาตัดซ้ําของขอตอชนแบบหมุดย้ําสามแถว
ดังรูป ระยะของหนาตัดซ้ําเทากับ 200 mm ขนาดเสนผานศูนยกลางของรูรอยหมุดย้ําเทากับ 23.5
mm ความหนาของแผนตอหลักเทากับ 14 mm และแผนประกบมีความหนาแตละแผนเทากับ 10
mm จงหาหนวยแรงเฉือน หนวยแรงอัดและหนวยแรงดึงในขอตอดังกลาว

หลักการวิเคราะห
หนวยแรงเฉือนพิจารณาจากพื้นที่ถายทอดแรงเฉือนของหมุดย้ํากับแรงดึงที่กระทําตอขอ
ตอหนวยแรงอัดพิจารณาเปรียบเทียบระหวางแผนตอหลักกับแผนประกบสองแผนสวนหนวยแรง
ดึงนั้นใหพิจารณาทีละแถว โดยยึดหลักที่วา แรงดึงที่กระทําตอหนาตัดแถวใดแถวหนึ่ง ยอม
เทากับแรงกระทําตอขอตอนั้นลบดวยแรงเฉือนที่ถายทอดมาจากหมุดย้ําแถวหนากอนถึงแถว
ดังกลาว

การคํานวณ
1) จาก FBD ขอตอดานซายรับแรง 144 kN ในภาวะสมดุล ในหนาตัดซ้ําชวงเดียว
พบวาหมุดย้ํา 1 ตัวรับการเฉือนเดี่ยว และหมุดย้ํา 4 ตัวรับการเฉือนคู รวมพื้นที่ตานการเฉือน
1
ทั้งหมด 9 แหง แตละพื้นที่ถายทอดแรงเฉลี่ยเทากับ (144) = 16.0 kN
9
ดังนั้นหนวยแรงเฉือนเฉลี่ยบนแตละพื้นที่คือ
Ps 16.0 x 10 3
 = 
  2   3 2
 d   (23.5 x 10 )
4 4
= 36.9 MPa ตอบ
2) พิจารณา FBD ของหมุดย้ําแตละตัวในแถวที่ 2 หรือแถวที่ 3 พบวาหมุดย้ํารับการ
เฉือนคู บนแผนตอหลักมี 2 พื้นที่ตานการเฉือน ดังนั้นจึงมีแรงเฉือนกระทําเทากับ 32.0 kN สวน
แผนประกบแตละแผนมี 1 พื้นที่ตานการเฉือน ดังนั้นจึงมีแรงเฉือนกระทําเทากับ 16.0 kN ใน
แตละแผน ความหนารวมของแผนประกบทั้ง 2 แผนมีคามากกวาความหนาของแผนตอหลัก
ดังนั้นหนวยแรงอัดเฉลี่ยสูงสุดเกิดในแผนตอหลัก นั่นคือ
Pb
[σb = ]
td
32.0 x 10 3
σb =
(14 x 10 3 ) (23.5 x 10 3 )
= 97.3 MPa ตอบ
3) พิจารณาหนวยแรงดึงบนแผนตอหลักในแตละแถว ดังนี้
แถวที่ 1 มีแรงกระทําสุทธิตอหนาตัดของแผนตอหลักเทากับ 144 kN บนพื้นที่หนาตัด
(w – d)t หนวยแรงดึงคือ
P1
[σt = ]
( w  d )t
144 x 10 3
σt =
(200 x 10 3  23.5 x 10 3 ) (14 x 10 3 )
= 58.3 MPa
แถวที่ 2 จะมีหมุดย้ําจํานวน 1 ตัว ทําหนาที่ถายทอดแรงโดยการเฉือนเดี่ยวกันแถวที่ 1
(ขนาดแรงเฉือน 16.0 kN) มายังแถวที่ 2 นี้ ดังนั้นหนวยแรงดึงในแถวที่ 2 คือ
P2
[σt = ]
( w  2d )t
(144  16) x 10 3
σt =
(200 x 10 3  2(23.5 x 10 3 )) (14 x 10 3 )
= 59.8 MPa
แถวที่ 3 แรงกระทําสุทธิที่หนาตัดแผนตอหลักในแถวที่ 3 นี้จะมีขนาดลดลงอีกเนื่องจาก
มีหมุดย้ํา 2 ตัวในแถวที่ 2 ทําหนาที่ถายทอดแรงและชวยตานการเฉือนคูคิดเปน 2(32.0) = 64.0
kN ดังนั้น P3 = 144 – 16 – 64 = 64 kN สวนพื้นที่หนาตัดของแผนตอหลักในแถวที่ 3 เทากับ
ของแถวที่ 2 ดังนั้นจึงทําใหหนวยแรงดึงในแถวนี้นอยกวาแถวที่ 2 จึงไมจําเปนตองคํานวณออกมา
4) พิจารณาหนวยแรงดึงบนแผนประกบแถวที่ 3
เนื่องจากแผนประกบดานลางรับแรงมารกกวาแผนประกบดานบน คือ แรงจะถูกสงถาย
มายังแผนประกบดานลางโดย 5 พื้นที่เฉือน คิดเปนภาระทั้งสิ้นเทากับ 5(16) = 80 kN ดังนั้น
หนวยแรงดึงกระทําตอแผนประกบดานลางแถวที่ 3 คือ
Pc
[σt = ]
( w  2d )t 
5(16 x 10 3 )
σt =
(200 x 10 3  2(23.5 x 10 3 )) (10 x 10 3 )
= 52.3 MPa

หนวยแรงดึงสูงสุดของขอตอเกิดขึ้นในแผนตอหลักแถวที่ 2 คือ 59.8 MPa ตอบ

1.42 กําหนดแรงขนาด 700 kN ตอความยาว 1 เมตร กระทําตอขอตอชนแบบหมุดย้ําสองแถวดัง


รูป ระยะพิตชยาวเทากับ 140 mm ระยะพิตชสั้นเทากับ 70 mm ขนาดเสนผานศูนยกลางของรูรอย
หมุดย้ําเทากับ 23.5 mm ความหนาของแผนตอหลักเทากับ 14 mm และความหนาของแผน
ประกบทั้งสองเทากับ 10 mm จงหาหนวยแรงเฉือนสูงสุด หนวยแรงอัดสูงสุดและหนวยแรงดึง
สูงสุดในขอตอ

หลักการวิเคราะห
ใชการวิเคราะหทํานองเดียวกับการวิเคราะหปญหาขอ 1.41

การคํานวณ
แรงกระทําตอหนาตัดซ้ํา = 700 (0.140) = 98 kN
1) พิจารณา FBD ของขอตอดานซาย พิจารณาที่แผนตอหลักพบวาพื้นที่ตานการเฉือน
1
ทั้งหมด 6 พื้นที่ แตละพื้นที่ถายทอดแรงเฉือนเฉลี่ยเทากับ (98) = 16.33 kN ดังนั้นหนวยแรง
6
เฉือนเฉลี่ยบนแตละพื้นที่คือ
Ps
[ = ]
 2
d
4
 = 16.33
 
  (0.0235 )
2

4
= 37.7 MPa
หนวยแรงเฉือนสูงสุด 37.7 MPa ตอบ
2) สําหรับหนวยแรงอัด พิจารณาระหวางหมุดย้ํากับแผนตอหลัก หรือหมุดย้ํากับแผน
ประกบทั้ง 2 แผน ซึ่งพิจารณาแถวใดแถวหนึ่งจะพบวาแรงถายทอดไปยังแผนประกบแตละแผน
เทากับ 16.33 kN (มี 1 พื้นที่ตานการเฉือน) คิดทั้งสองแผนพรอมกัน

Pb
[σb = ]
2t d
2(16.33)
σb =
2(0.010) (0.0235)
= 69.5 MPa
แรงถายทอดไปยังแผนตอหลักเทากับ 32.66 kN (มี 2 พื้นที่ตานการเฉือน)
Pb
[σb = ]
td
32.66
σb =
(0.014) (0.0235)
= 99.3 MPa
หนวยแรงอัดสูงสุด 99.3 MPa ตอบ
3) พิจารณาหนวยแรงดึงบนแผนตอหลักในแตละแถวดังนี้
แถวที่ 1 มีแระกระทําสุทธิตอหนาตัดของแผนตอหลักเทากับ 98 kN บนพื้นที่หนาตัด
(w – d) t หนวยแรงดึงคือ
P1
[σt = ]
(w  d ) t
98
σt = = 60.1 MPa
(0.140  0.0235) (0.014)

แถวที่ 2 กอนถึงแถวที่ 2 ในแถวที่ 1 มีหมุดย้ํา 1 ตัวรับการเฉือนคูในแผนตอหลักดังนั้น


P2 = 98 – 2(16.33) = 65.34 kN บนพื้นที่หนาตัด (w – 2d) t ดังนั้นหนวยแรงดึงคือ
P2
[σt = ]
( w  2d ) t
65.34
σt = = 50.2 MPa
(0.140  2 x 0.0235) (0.014)

4) พิจารณาหนวยแรงดึงบนแผนประกอบแถวที่ 2
แรงที่ถายทอดผานหมุดย้ํามายังแผนประกบบนหรือลางนั้นเทากันคือ 3(16.33) = 49 kN
บนพื้นที่หนาตัด (w – 2d) t' หนวยแรงดึงคือ
Pc
[σt = ]
( w  2d ) t 
49
σt = = 52.7 MPa
(0.140  2 x 0.0235) (0.010)

หนวยแรงดึงสูงสุด 60.1 MPa ตอบ

1.43 กําหนดใหขอตอชนแบบหมุดย้ําสี่แถวในงานโครงสรางดังรูป (ก) รับแรง P = 360 kN ซึ่ง


แผนตอหลักมีความกวาง w = 250 mm กําหนดเสนผานศูนยกลางของหมุดย้ําแตละตัวเทากับ 19
mm ความหนาของแผนตอหลัก 14 mm และแผนประกบแตละแผนมีความหนาเทากับ 8 mm
ถากําหนดหนวยแรงดึงบนแผนประกบแถวที่ 2 มีคาไมเกิน 100 MPa จงคํานวณหาหนวยแรงดึง
ในแผนตอหลักแถวที่ 3 และความกวางของแผนประกบแถวที่ 2

หลักการวิเคราะห
จาก FBD ขอขอตอดานเดียว กําหนดใหหมุดย้ําแตละตัวรับแรงเทากันที่แถวใดแถวหนึ่ง
การถายทอดแรงไปยังแผนประกบทั้งสองแผนมีขนาดเทากัน

การคํานวณ
พิจารณาขอตอดานใดดานหนึ่งจะมีหมุดย้ําทั้งหมด 10 ตัวรับแรงภายนอก P = 360 kN
1 1
หมุดย้ําแตละตัวรับแรงเทากับ (360) kN หมุดย้ํา 1 ตัวในแถวที่ 1 ถายทอดแรงขนาด (360)
10 10
2
kN ไปยังแผนประกบทั้งสอง หมุดย้ํา 2 ตัว ถายทอดแรงขนาด (360) kN ไปยังแผนประกบ
10
7
ทั้งสอง สวนแรงที่เหลืออีก (360) kN จะถูกถายทอดไปยังแผนตอหลักดังรูป (ข) ดังนั้น
10
หนวยแรงดึงในแผนตอหลักแถวที่ 3 คํานวณจาก
P1
[σt = ] (d = drivet+3)
( w  3d ) t
7
(360 x 10 3 )
σt = 10
(250 x 10 3  3(22 x 10 3 )) (14 x 10 3 )
= 97.8 MPa ตอบ
3
ในรูป (ข) แผนประกบทั้งสองในแถวที่ 2 รับแรงที่ถายทอดจากหมุดย้ําขนาด (360)
10
kN ซึ่งคํานวณจาก

[Pc = Aσt = (w'-2d) (2t')σt]


3
(360 x 103) = [w – 2(22 x 10-3)] [2(8 x 10-3)] (100 x 106)
10
w' = 0.112 m = 112 mm ตอบ

1.44 จากรูปเปนขอตอเกยแบบหมุดย้ําในโครงสราง กําหนดใหหมุดย้ํามีเสนผานศูนยกลาง 19


mm และแผนตอมีความหนา 8 mm กําหนดหนวยแรงใชงาน  = 95 MPa, σt = 140 MPa
และ σb = 220 MPa จงหาแรง P คาปลอดภัย

หลักการวิเคราะห
ใชการวิเคราะหทํานองเดียวกับการวิเคราะหปญหาขอ 1.44

การคํานวณ
ความเคนใชงาน  = 95 MPa, σt = 140 MPa และ σb = 220 MPa เนื่องจากเปนขอ
ตอเกย พิจารณาทั้งขอตอโดยกําหนดใหหมุดย้ําแตละตัวรับแรงเทากับ หมุดย้ํามีทั้งหมด 9 ตัว
กรณีที่ 1 กําหนดใหหมุดย้ําทุกตัวขาดดวยแรงเฉือน
 2
[Ps = d n ]
4

Ps = (0.0192) (9) (95 x 103) = 242.42 kN
4

กรณีที่ 2 กําหนดใหหมุดย้ําทุกตัวอัดกับแผนตอ
[Pb = ntdσb]
Pb = (9) (0.008)(0.019) (220 x 103) = 300.96 kN

กรณีที่ 3 กําหนดใหหมุดย้ํา 2 แถว ทั้งซายและขวาขาดดวยแรงเฉือน และหมุดย้ําแถวกลางอัด


แผนตอ
P = 6  d 2  3 b dt
4
 
= 6(95 x 103) 2 3
  (0.019 ) + (220 x 10 ) (3) (0.019) (0.008)
4
= 261.93 kN

กรณีที่ 4 กําหนดใหหมุดย้ําแถวกลางขาดดวยแรงเฉือน และหมุดย้ําแถวนอกทั้งสองดานอัดแผน


ตอ
P = 3  d 2  6 b dt
4
 
= 3(95 x 103) 2 3
  (0.019 ) + 6(220 x 10 )(3)(0.019) (0.008)
4
= 281.45 kN
กรณีที่ 5 กําหนดใหแผนตอขาดดวยแรงดึงตรงแถวนอกของหมุดย้ํา
[Pt = σb (w-d)t]
Pt = (140 x 103) (0.250 – 0.019) (0.008)
= 258.72 MPa
แรง P คาปลอดภัยคือ 243 kN ตอบ
บทที่ 2 หนวยการยืด-หดตัว (SIMPLE STRAIN)

บทนํา
ความเครียดหรือหนวยการยืด-หดตัว (Simple Strain) หมายถึง คาอัตราสวนระหวางขนาด
วัตถุในสวนที่เปลี่ยนแปลงไปเมื่อมีนํา้ หนักบรรทุกกระทํา

รูปที่ 2-1 การผิดรูปของแทงโลหะขณะรับแรงดึง


ε=
L

เมื่อ ε คือ ความเครียดหรือหนวยการยืด-หดตัว (Simple Strain)


δ คือ ขนาดวัตถุในสวนที่เปลี่ยนแปลงไปเมื่อมีน้ําหนักบรรทุกกระทํา
L คือ ความยาวเดิมของวัสดุ

ชนิดของหนวยการยืด-หดตัว
1. TENSILE STRAIN (ε ) เปนหนวยการยืด-หดตัวที่เกิดขึ้นเนื่องจากแรงดึง ทําใหวัตถุยืดออก
t


εt =
L
2. COMPRESSIVE STRAIN (ε ) เปนหนวยการยืด-หดตัวที่เกิดขึ้นเนื่องจากแรงอัด ทําใหวัตถุหด
c

ตัว


εc =
L
3. SHEAR STRAIN (γ) เปนหนวยการยืด-หดตัวที่เกิดขึ้นเนื่องจากแรงเฉือน ทําใหวัตถุโยตัว

γ = s
L
กราฟระหวางหนวยแรงและหนวยการยืด-หดตัว (Stress-Strain Curve)

รูปที่ 2-2 Stress-Strain Diagram

ความหมายของคําตาง ๆ บนเสนกราฟ Stress-Strain

จุด A เปนจุดสุดทายที่หนวยแรงยังคงเปนสัดสวนโดยตรงกับหนวยการยืด-หดตัวเรียกจุดนี้
วา ขีดจํากัดสัดสวน(Proportional Limit)

จุด B เรียกวา ขีดจํากัดยืดหยุน (Elastic Limit) หมายความวา เมื่อวัสดุมีน้ําหนักกระทํา


แลวเกิดหนวยแรงขึ้นถาหากหนวยแรงที่เกิดขั้นนี้มีคาไมเกิน จุด B เมื่อนําน้ําหนักบรรทุก
ออก วัสดุจะกลับคืนมายังรูปรางเดิมถาเพิ่มน้ําหนักกระทําตอไปจนจบหนวยเเรงที่เกิดขึ้นเกิน จุด
B ถึงแมจะนําน้ําหนักบรรทุกออกไป วัสดุก็จะไมกลับคืนสูสภาพเดิม เรียกวา เกิดการเปลี่ยนรูป
ถาวร ( Permanent Set )

จุด C เรียกวา จุดคลาก (Yield Point) ถึงแมวาจะไมมีการเพิ่ม Load เขาไปอีกก็ตาม แต


วัสดุนั้นก็ยังเปลื่ยนรูปรางหรือคลากตอไป

จุด D เรียกวา หนวยแรงประลัย (Ultimate Stress) หรือกําลังประลัย (Ultimate Strength) ซึง่


ถือวาเปนกําลังสูงสุดที่วสั ดุจะรับได ตอจากจุด D เสนกราฟจะโคงต่ําลงจบถึงจุด E

จุด E เรียกวา กําลังเเตกราว (Rupture Strength) ซึ่งเปนจุดที่วัสดุเกิดการ


วิบัติ (Failure) ขึ้น ตามความเปนจริงแลวกําลังแตกราวจะสูงกวากําลังประลัย แตเนื่องจากเมื่อ
เหล็กเสนถึงกําลังประลัยพื้นที่หนาตัดจะเปลี่ยนแปลงหมดเล็กลงอยางรวดเร็ว เรียกวา เกิดคอ
คอด (Necking) แตหนวยแรงยังคงคิดจากพื้นที่หนาตัด เดิมของเหล็กเสน จึงทําใหไดคาต่ํากวา
ความเปนจริง ถานําเอาพื้นที่หนาตัดเมื่อเหล็กเสนขาด มาหาหนวยแรงที่เกิดขึ้น จะไดกําลังวิบัติ
สูงขึ้นดังแสดงที่จุด F
กฎของฮุค (Hooke’s low)


= E = PL
 A

เมื่อ σ คือหนวยแรงตามแนวแกนหรือความเคนตามแนวแกน
ε คือ ความเครียดหรือหนวยการยืด-หดตัว (Simple Strain)
δ คือ ขนาดวัตถุในสวนที่เปลี่ยนแปลงไปเมื่อมีน้ําหนักบรรทุกกระทํา
L คือ ความยาวเดิมของวัตถุ
E คือโมดูลัสยืดหยุน (Modulus of Elastisticity)
A คือพื้นที่หนาตัดของวัตถุที่มีระนาบตั้งฉากกับแนวแรง

สําหรับวัตถุที่อยูภายใตสภาวะรับแรงเฉือน
τ = γG =  s As G
L
เมื่อ τ = หนวยแรงเฉือน
γ = ความเครียดที่เกิดจากแรงเฉือน (Shear Strain)
G = โมดูลัสแข็งแกร็ง (Modulus of Rigidity)

อัตราสวนของปวซอง ( Poisson’s Ratio)

ν= หนวยการยืด-หดตัวทางขวาง
หนวยการยืด-หดตัวตามแนวแกน
เมื่อ ν คืออัตราสวนของปวซอง ( Poisson’s Ratio)

เมื่อมีแรงดึงกระทําตอวัตถุในแนวแกน x ตามรูป

y z
จะได ν =  = 
x x

รูปที่ 2-3 นิยามของอัตราสวนของปวซอง


1.กรณีแรงดึง

1.1 เมื่อมีแรง 1 ทิศทางกระทํากับแกน x

x
x 
E

1.2 เมื่อมีแรง 2 ทิศทางกระทําพรอมกันกับแกน x และ y

x   y
x    y  x 
E E E

y y  x
และ y    x  
E E E

1.3 เมื่อมีแรง 3 ทิศทางกระทําพรอมกันกับแกน x ,y และ z

 x  y  z
x   
E E E

y  z  x
และ y   
E E E

 z  x  y
และ z   
E E E

2.กรณีแรงอัด

2.1 เมื่อมีแรง 1 ทิศทางกระทํากับแกน x

x
x  
E

2.2 เมื่อมีแรง 2 ทิศทางกระทําพรอมกันกับแกน x และ y

x   y
x     y   x 
E E E

y y  x
และ y     x   
E E E

2.3 เมื่อมีแรง 3 ทิศทางกระทําพรอมกันกับแกน x ,y และ z


 x  y  z
x    
E E E

y  z  x
และ y    
E E E

 z  x  y
และ z    
E E E

หนวยแรงเนี่องจากอุณหภูมิ (Thermal stresses)

การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงรูปราง แลวการเปลี่ยนแปลงรูปรางทํา
ใหเกิดความเครียด และหนวยแรงมีความสัมพันธกับความเครียด

เมื่อ = การเปลี่ยนรูปเชิงเสนเนื่องจากอุณหภูมิ

A = สัมประสิทธิ์การเปลี่ยนรูปเชิงเสน

L = ความยาวของชิ้นสวนวัสดุ

= อุณหภูมิที่เปลื่ยนแปลง

ขั้นตอนการหาหนวยแรงเนื่องจากอุณหภูมิ

1. หา การเปลี่ยนรูปเชิงเสนเนื่องจากอุณหภูมิที่เปลี่ยนไป

2. หาหนวยแรงเนื่องจากอุณหภูมิ
2.1 ทําใหโครงสรางดานหนึ่งเปนอิสระ
2.2 คํานวณสภาพการยืด-หดจากการเปลี่ยนอุณหภูมิ
2.3 ใหสมมุติวามีแรงตามแนวแกนมากระทําในสวนที่การเปลี่ยนรูปเชิงเสนกลับคืนสู
สภาพเดิม ( Fc, Ft )
P
2.4 หนวยแรงเนื่องจากอุณหภูมิ (σ thermal stress ) =
A
แบบฝกหัดบทที่ 2

2.1 จงหาระยะยืดของแทงเหล็กกลาภายใตการกระทําของแรงดังแสดงในรูป โดยกําหนดให


เหล็กกลามี E = 200 GPa

หลักการวิเคราะห
เลือกสวนตัดตอแทงเหล็กแตละชวงที่มีการเปลี่ยนแปลงแรงกระทํา วิเคราะหสมดุลหาแรง
กระทําบนหนาตัดและแทนคาในสมการ  = Σ (PL/AE)

การคํานวณ

L1 = L2 = 0.300 m L3 = 0.400 m
A1 = A2 = 600 x 10-6m2 A3 = 200 x 10-6m2
ในแตละ FBD สวนตัดหาแรงภายในไดคือ
P1 = 400 kN (แรงดึง)
P2 = -100 kN (แรงกด)
P3 = 200 kN (แรงดึง)
1  P1 L1 P2 L 2 P3 L 3 
 =    
E  A1 A2 A 3 
3
1  ( 400 x10 ) (0.300 )
 = 
200 x 10  600 x10 6
9

( 100x10 3 ) (0.300 ) ( 200 x10 3 ) (0.400)


  
600x10 6 200 x10 6

= 2.75x10-3m (2.75 mm) (ระยะยืด) ตอบ

2.2 แทงเหล็กหลามีพื้นที่หนาตัด 300 mm2 และยาว 150 m แขวนไวในแนวดิ่งโดยยึดปลายดาน


หนึ่งไว และรับแรงดึง 20 kN ที่ปลายดานลาง ถามวลตอ 1 หนวยปริมาตรของเหล็กกลาเทากับ
7850 kg/m3 และ E = 200x103 MPa จงหาระยะยืดของแทงเหล็กกลานี้

หลักการวิเคราะห
หนวยแรงเกิดจากภาระของน้ําหนักของแทงเหล็กและแรงกระทําภายนอก

การคํานวณ
gL2 PL
 = 
2E AE
( 7850) (9.81) (150 ) 2 ( 20 x10 3 ) (150 )
= 
2 ( 200 x10 9 ) (300 x10 6 ) ( 200 x10 9 )
= 0.0543 m (54.3 mm) ตอบ
2.3 ลวดเหล็กกลายาว 10 m แขวนไวในแนวดิ่งและถูกดึงดวยแรง 2000 N ไมคิดน้ําหนักของ
ลวด จงหาขนาดของเสนผานศูนยกลางที่ตองการ ถาความเคนไมเกิน 140 MPa และระยะยืดไม
เกิน 5 mm กําหนดใหเหล็กกลามี E = 200 GPa

หลักการวิเคราะห
คํานวณเปรียบเทียบขนาดเสนผานศูนยกลาง โดยพิจารณาจากหนวยแรงและหนวยการยืด-
หดตัว

การคํานวณ
ภายใตเงื่อนไข :   140 MPa ;   5 mm
P
[A = ]

 2 2000
d =
4 140 x10 6
d = 0.0043 m (4.3 mm)
PL
[ = ]
AE
PL
A =
E
 2 ( 2000) (10 )
d =
4 ( 0.005) ( 200 x10 9 )
d = 0.005 m (5 mm)
ขนาดเสนผานศูนยกลางที่ตองการคือ 5 mm ตอบ
2.4 แทงอะลูมิเนียมมีพื้นที่หนาตัด 160 mm2 รับภาระที่ตําแหนงตาง ๆ ดังแสดงในรูป ถา E =
70 GPa จงคํานวณหาระยะยืดหรือหดตัวของแทงอะลูมิเนียม สมมติวาแทงอะลูมิเนียมนี้ดามไวดี
พอจึงไมเกิดการโกงงอ

หลักการวิเคราะห
พิจารณา FBD ของแทงอะลูมิเนียมเปนชวง ๆ ที่มีการเปลี่ยนแปลงแรงกระทําวิเคราะห
สมดุลหาแรงกระทําบนหนาตัด แทนคาลงในสมการ  = Σ (PL/AE)

การคํานวณ
PL
[ = Σ ]
AE
(10 x10 3 ) (0.8 ) ( 5x10 3 ) (1.0 )
 = 
(160 x10 ) (70 x10 ) (160 x10 6 ) (70 x10 9 )
 6 9

( 35x10 3 ) ( 0.6 )

(160 x10 6 ) (70 x10 9 )

 = -1.607 x 10-3m
= 1.61 mm (ระยะหด) ตอบ
2.5 แทงอะลูมิเนียมยึดอยูระหวางแทงเหล็กกลา และแทงบรอนซดังแสดงในรูป ถูกกระทําดวย
แรงในแนวแกนที่ตําแหนงตาง ๆ ดังแสดง จงหาคาของแรง P ที่ไมทําใหระยะยึดหรือหดเกิน
คาสูงสุด 2 mm หรือหนวยแรงไมเกินคาสูงสุด 140 MPa ในเหล็กกลา 80 MPa ในอะลูมิเนียม
และ 120 MPa ในบรอนซ สมมติวาแทงโลหะทั้งสามดามไวดีพอจึงไมเกิดการโกงงอ กําหนดให
Es = 200 GPa, Ea = 70 GPa และ Eb = 83 GPa

หลักการวิเคราะห
หาแรงบนหนาตัดในคานชวงตางๆ ที่มีการเปลี่ยนแปลงแรงกระทํา จากสมดุลของ FBD
สวนตัด คํานวณเปรียบเทียบจากสมการ P = σA ในแตละชวง และจาก  = Σ (PL/AE)
เลือก P คาต่ําสุดเปนคําตอบ

การคํานวณ
แทงบรอนซ : σ  120 MPa
[P = σA]

3P = (120x103) (450x10-6)
P = 18 kN (แรงกด)
แทงอะลูมิเนียม σ  80 MPa
[P = σA]
2P = (80x103) (600x10-6)
P = 24 kN (แรงกด)
แทงเหล็กกลา σ  140 MPa
[P = σA]
2P = (140x103) (300x10-6)
P = 21 kN (แรงดึง)
PL
[ = Σ ]
AE
เมื่อพิจารณา  เปนระยะยืด :
(3P) (0.6) (2 P) (1.0)
+0.002 = 
(450 x10  6 ) (83 x10 6 ) (600 x10  6 ) (70 x10 6 )
(2 P) (0.8)

(300 x10 6 ) (200 x10 6 )
P = -28.9 kN
P = 28.9 kN (แรงกด)
เมื่อพิจารณา  เปนระยะกด พบวา P = 28.9 kN (แรงดึง)
เลือกแรง P คาปลอดภัยคือ 18 kN ตอบ

2.6 แผนคอนกรีตสม่ําเสมอมีมวล M ถูกยึดดวยเสนเหล็กกลาและอะลูมิเนียมดังแสดงในรูป เมื่อ


ตอนแรกปลายลางของเสนโลหะทั้งสองอยูที่ระดับเดียวกัน จงหาอัตราสวนของพื้นที่หนาตัดของ
เสนโลหะทั้งสองซึ่งทําใหแผนคอนกรีตนั้นยังคงอยูในแนวระดับ

หลักการวิเคราะห
แรงดึงของเสนโลหะก็คือแรงภายใน โดยที่ระยะยืดของเสนเหล็กกลาเทากับระยะยืดของ
เสนอะลูมิเนียม และแผนคอนกรีตอยูในสภาพสมดุล
การคํานวณ
FBD แผนคอนกรีต :

[ΣMA = 0, ] Ta(5) – Mg(3) = 0


3
Ta = Mg
5
[ΣFy = 0, ↑+] Ts + Ta – Mg = 0
2
Ts = Mg
5
Ts L s TL
[  s =  a] = a a
AsEs AaEa
2   3 Mg  (6)
 Mg  (3)  
5 
=  5 
As (200) A a (70 )
Aa
= 8.57 ตอบ
As

2.7 แทงวัสดุแข็งเกร็งอยูในลักษณะดังรูป แทงวัสดุทั้งสองมีลูกกลิ้งกั้นอยูที่จุด C และมีสลักยึด


ไวที่ A และ D เสนเหล็กกลายึดไวที่ B และมีแรงกระทําลง 50 kN ในชวง CD จงหาระยะ
กระจัดในแนวดิ่งของลูกกลิ้งที่ C

หลักการวิเคราะห
หาระยะยืดของเสนเหล็กกลาที่จุด B แลวใชรูปสามเหลี่ยมคลายหาระยะกระจัดของลูกกลิ้ง
ที่จุด C
การคํานวณ
FBD ในชวง CD :
[ΣMD = 0, ]
50(2) – RC(4) = 0
RC = 25 kN
FBD ในชวง ABC :
[ΣMA = 0, ]
T(3) – 25(4.5) = 0
T = 37.5 kN
PL
[ = ]
AE
(37.5) (3)
B =
(300 x10 6 ) (200 x10 6 )
= 1.875 x 10-3m
 C 4.5
รูปสามเหลี่ยมคลาย 
B 3
C = (1.5) (1.875x10-3)
= 2.81x10-3m
= 2.81 mm ตอบ

2.8 คานแข็งเกร็ง BDE ถูกยึดไวดวยขอตอ AB


และ CD ขอตอ AB ทําดวยอะลูมิเนียม (E =
70 GPa) และมีพื้นที่หนาตัด 500 mm2 ขอตอ
CD ทําดวยเหล็กกลา (E = 200 GPa) และ
พื้นที่หนาตัด 600 mm2 คานถูกกระทําดวยแรง
30 kN จงหาระยะยืดหรือหดที่จุด B, D และ
ระยะเบี่ยงเบนที่จุด E
หลักการวิเคราะห
เลือกคาน BDE เปน FBD พิจารณาสมดุลหาแรงภายในที่ขอตอ AB และ CD แลวใช
หา  B และ  C ตามลําดับและใชรูปสามเหลี่ยมคลายหา  ระยะเบี่ยงเบน E
การคํานวณ
FBD ของคาน BDE
[ΣMD = 0, ] -30(0.6) + CD(0.2) = 0
CD = 90 kN (แรงดึง)
[ΣMD = 0, ] -30(0.4) + AB(0.2) = 0
AB = -60 kN (แรงกด)
ระยะหดของขอตอ AB
PL
[ = ]
AE
(60 x10 3 ) (0.3)
B =
(500 x10  6 ) (70 x10 9 )
= -514x10-6m
= 0.514 mm (ระยะหดตัว) ตอบ
ระยะยืดของขอตอ CD
PL
[ = ]
AE
(90 x10 3 ) (0.4)
D =
(600 x10  6 ) (200 x10 9 )
= 300x10-6m
= 0.300 mm (ระยะยืด) ตอบ
ระยะเบี่ยงเบน  B
ตําแหนงใหมของคาน BDE ระบุดวยตําแหนงของจุด
B’ D’ และ E’ ซึ่งเปนจุดที่อยูบนเสนตรงเดียวกัน
Δ BB’ O ~ ΔDD’ O :
B 0.514 200  x
= 
D 0.300 x
x = 73.7 mm
Δ DD’ O ~ ΔEE’ O :
B 473.7
=
0.300 73.7
B = 1.928 mm ตอบ
2.9 เพลาทําดวยอะลูมิเนียมมีเสนผานศูนยกลาง 80 mm สอดไวภายในทอเหล็กกลาโดยมีจุด
ศูนยกลางตรงกัน จงคํานวณหาเสนผานศูนยกลางภายในต่ําสุดของทอเหล็กกลาซึ่งไมทําใหเกิด
ความดันระหวางผิวสัมผัสระหวางอะลูมิเนียมกับเหล็กกลา เมื่อเพลาอะลูมิเนียมนี้รับแรงกดใน
แนวแกน 400 kN สมมติวา V = 1/3 และ Ea = 70 GPa

หลักการวิเคราะห
ในกรณีของหนวยแรงในแนวแกนเดียว (แกน x) ทําใหเกิดหนวยแรง x  P/ A
และหนวยการยืด-หดตัวตามแนวขวาง εy

การคํานวณ
ที่เพลาอะลูมิเนียม
P
[σ = ]
A
400 x10 3
σx =  = -79.6 MPa (หนวยแรงกด)

(0.08 2 )
4
[εy = -V εx = -V  x ]
E
1   79.6 x10 6 
εy =   9

3  70 x10 
= 379 x 10-6 (ยืดหรือขยาย)
ระยะขยาย
[  = εL]

y = (379 x 10-6) (80) = 0.0303 mm


ดังนั้นเสนผานศูนยกลางภายในของทอเหล็กกลานี้ตองเผื่อระยะขยายตัวตามแนวขวางของ
เพลาอะลูมิเนียมจึงจะไมเกิดการเบียดตัวได
D = 80 + 0.0303 = 80.0303 mm ตอบ

2.10 ทรงกระบอกแข็งมีเสนผานศูนยกลาง d รับแรงในแนวแกน P จะแสดงวาการเปลี่ยนแปลง


ของเสนผานศูนยกลางเทากับ 4PV/  Ed

หลักการวิเคราะห
อาศัยนิยามของอัตราสวนของปวสซอง หนวยการยืด-หดตัวตามยาวคือ εx และหนวย
การยืด-หดตัวดานขางคือ εy

การคํานวณ
เมื่อมีแรงกระทํา P บนแกน x
y y /d y /d
V =   
x x / L 
PL /( d 2 EL)
4
4 PV
y = ตอบ
 Ed

2.11 แทงสี่เหลี่ยมทําดวยอะลูมิเนียมมีความยาวใน
แนวแกน x 100 mm ความกวางในแนวแกน y 75
mm และความหนาในแนวแกน z 50 mm รับแรงใน
แนวแกนทั้งสามทิศทางโดยมีการกระจายของแรง
อยางสม่ําเสมอดังตอไปนี้ รับแรงดึง 200 kN ใน
แนวแกน x รับแรงกด 160 kN ในแนวแกน y และ
รับแรงกด 220 kN ในแนวแกน z ถา V = 1/3, E =
70 GPa จงหาขนาดของแรงเดี่ยวที่กระทําในแนวแกน
x เทานั้นแลวใหผลการผิดรูปในแนวแกน z
เชนเดียวกันกับการใหภาระเดิม
หลักการวิเคราะห
ใชกฎของฮุกแบบทั่วไปบนแกน z กับทั้งสองกรณีของภาระกระทําตอแทงสี่เหลี่ยม
ลูกบาศก

การคํานวณ
P
[σ = ]
A
200
σx = = 53333.3 kPa
75 x50 x10 6
 160
σy = = -32000 kPa
100 x50 x10  6
 220
σz = = -29333.3 kPa
100 x75 x10  6
[εz = 1
E

 z  V ( x   y ) ]
εz = 1  1 
70 x10 6  29333.3  3 (53333.3  32000)

= -5.21 x 10-4m
[  = εL ]
z = (-5.21 x 10-4) (0.05) = -2.605 x 10-5m (ระยะหด)
ถา σ’x ≠ 0 และ σ’y = σ’z = 0 โดยทําใหมีระยะหดในแนวแกน z เทากัน
P
[σ = ]
A
P
σ’x = = 266.67P kN
75 x50 x10 6

[εz = 1
E

 z V ( x   y ) ]
1  1 
-5.21 x 10-4 = 0  3 (266.67 P  0)
70 x10 6
P = 410 kN (แรงดึง) ตอบ
2.12 ถังเหล็กกลารูปทรงกระบอกทําดวยแผนเหล็กหนา 10 mm มีเสนผานศูนยกลางภายใน
1.20m ถาความดันภายในถังทรงกระบอกเทากับ 1.5 MPa จงหาการเปลี่ยนแปลงของเสนผาน
ศูนยกลาง กําหนดใหแผนเหล็กที่ใชมี V = 0.30 และ E = 200 GPa

หลักการวิเคราะห
จากผลของหนวยแรงในแนวแกนและหนวยแรงในแนวเสนรอบวงของภาชนะผิวบางรูป
ทรงกระบอกทําใหเกิดหนวยการยืด-หดตัวบนอีกแกนที่เหลือ

การคํานวณ
pD (1.5 x10 3 ) (1.20)
σz = =
2t 2(0.01)
= 90000 kPa
pD (1.5 x10 3 ) (1.20)
σx = =
4t 4(0.01)
= 45000 kPa
[εy = 1
E

 y  V ( x   z ) ]
εy = 1
0  0.30 (45000  9000)
200 x10 6
= -2.025 x 10-4
[  = εL ]
y = (-2.025 x 10-4) (1.20)
= -2.43 x 10-4m
เสนผานศูนยกลางลดลง 0.243 mm ตอบ
2.13 วงกลมมีเสนผานศูนยกลาง d = 200 mm เขียนลงบนแผนอะลูมิเนียมที่หนา t = 18 mm
ในขณะที่ไมไดรับภาระ ถามีหนวยแรงตั้งฉากกระทําตอแผนอะลูมิเนียม σx = 85 MPa และ σz
= 150 MPa โดยที่มี E = 70 GPa และ V = 1/3 จงหาการเปลี่ยนแปลงใน
ก) ความยาวของเสนผานศูนยกลาง AB ข) ความยาวของเสนผานศูนยกลาง CD
ค) ความหนาของแผนอะลูมิเนียม ง) ปริมาตรของแผนอะลูมิเนียม

หลักการวิเคราะห
ใชสมการ[εx =
1
E

 x V ( y  z ) ] คํานวณตั้งแตขอ ก) ถึง ค) สําหรับขอ ง) คิด
จากการเปลี่ยนแปลงของปริมาตรใน 1 ลูกบาศกหนวย

การคํานวณ
ก) การเปลี่ยนแปลงความยาว AB
[εx =
1
E

 x V ( y  z ) ]
1 
85  ( 0 150)    0.5 x10 3
1
εx = 3 
70 x10  3 
y = εxd
= (+0.5 x 10-3) (200) = +100 m (ระยะยืด) ตอบ

ข) การเปลี่ยนแปลงความยาว CD
[εz=
1
E
 z V ( x  y ) ] 
εz = 1 150  1 (85  0)   1.738 x10 3
 
70 x103  3
z = ε zd
= (+1.738 x 10-3) (200) = +348 m (ระยะยืด) ตอบ
ค) การเปลี่ยนแปลงความหนา
[εy=
1
E

 y V ( z  x ) ]
εy = 1 0  1 (150  85)   1.119 x10 3
 
70 x103  3
y = εyt
= (-1.119 x 10-3) (18) = -20.1 m (ระยะหด) ตอบ

ง) พิจารณาปริมาตรดิน 1 ลูกบาศกหนวย เมื่อไดรับหนวยแรงดึง σx , σy และ σz ปริมาตร


เปลี่ยนเปน
V = (1+ εx) (1+ εy) (1+ εz)
ทั้งนี้ εx , εy และ εz มีคานอยกวา 1 มาก ดังนั้น
V = 1+ εx+ εy+ εz
 ∆V = V-1 = εx+ εy+ εz
= (+0.500 – 1.119 + 1.738)10-3
-3 m3
= +1.119 x 10
m 3 ปริมาตรดิม
ปริมาตรเพิ่มขึ้น ∆V = (∆V)V
= (+1.119 x 10-3) (0.35) (0.35) (0.018)
= +2.47 x 10-6 m3
= +2470 mm3 ตอบ

2.14 แผนเหล็กกลา ABCD ที่มีเนื้อเดียวกันตลอด โดยมีดาน AB = 100 mm และ BC = 75 mm


และมีแรงกระทําสองแกนทําใหเกิดความเคนตั้งฉาก σx = 150 MPa และ σz = 100 MPa
กําหนดใหเหล็กกลามี E = 200 GPa และ V = 0.30 จงหาการเปลี่ยนแปลงของความยาวของ
ก) ขอบ AB ข) ขอบ BC ค) เสนทแยงมุม AC
หลักการวิเคราะห
ใชกฎของฮุกแบบทั่วไปกับหนวยการยืด-หดตัวทั้ง 2 แกน

การคํานวณ

σx = 150 x 103 kPa, σz = 100 x 103 kPa และ σy = 0

ก) การเปลี่ยนแปลงความยาว AB

[εx = 1
E

 x  V ( y   z ) ]
εx = 1
200 x 10 6
150 x10 3
 0.30(0  100 x10 3 ) 
= +0.6 x 10-3
x
= +0.6 x 10-3
L AB
δx = (+0.6 x 10-3) (100 x 10-3)
= +60  m (ระยะยืด) ตอบ
ข) การเปลี่ยนแปลงความยาว BC
[εx = 1
E

 z  V ( x   y ) ]
εx = 1
200 x 10 6
100 x10 3
 0.30(0  150 x10 3  0) 
= +0.275 x 10-3
z
= +0.275 x 10-3
LBC
δz = (+0.275 x 10-3) (75 x 10-3)
= +20.6  m (ระยะยืด) ตอบ
ค) เนื่องจากระยะยืดของดาน AB และ BC นอยมาก จึงสมมติวาทั้ง AB และ BC ทํามุมประมาณ
90˚ เชนเดียวกับในตอนเริ่มตนเมื่อไมไดรับแรง
LAC (เดิม) = 100 2  75 2 = 125 mm
LAC (ใหม) = 100.06 2  75.0206 2 = 125.0604 mm
δAC = 125.0604 – 125 = 0.0604 mm
= +60.4  m (ระยะยืด) ตอบ
2.15 แทงเหล็กกลายาว 2.5 m ยึดอยางมั่นคงระหวางผนังทั้งสอง ถากําหนดใหไมเกิดหนวยแรงที่
20˚C จงคํานวณหาหนวยแรงในแทงเหล็กกลาเมื่ออุณหภูมิลดลงถึง -20˚C กําหนดใหแทงเหล็ก
มีพื้นที่หนาตัด 1200 mm2,  = 11.7 x 10-6˚C-1 และ E = 200 GPa จงหาหนวยแรงทางความ
รอนภายใตเงื่อนไขของ
ก) สมมติวาผนังทั้งสองเปนผนังยึดตรึง
ข) สมมติวาผนังทั้งสองเปนผนังสปริงตัวได กําหนดระยะสปริงตัวไดทั้งหมดของผนังคิดเปน
0.500 mm เมื่ออุณหภูมิลดลง

หลักการวิเคราะห
อาศัยวิธีของการซอนทับวิเคราะหปญหา สําหรับกรณีผนังสปริงตัวไดนั้นตองคํานึงถึง
ระยะสปริงตัวไดดวย

การคํานวณ
ก) ผนังยึดตรึง

รูป (ก)

รูป (ข)

รูป (ค)

อาศัยวิธีของการซอนทับ จากปญหาเดิมนั้นแทงเหล็กกลาปลายตรึงทั้งสองดาน
เปลี่ยนเปนปญหาปลายอิสระดานหนึ่ง เมื่ออุณหภูมิลดลง ∆T แทงเหล็กกลาหดตัวเปนระยะ  T
(รูป ข) และจะตองมีแรง P กระทําจึงทําใหแทงเหล็กกลานั้นยืดตัวกลับสูความยาวเดิม (รูป ค)
 T =  L∆T ……1)
PL
P = ……2)
AE

เนื่องจากผนังยึดตรึง ดังนั้นระยะผิดรูปทั้งหมดเปนศูนย
 =  T-  P = 0
PL
 L∆T - = 0
AE
ดังนั้นหนวยแรงทางความรอนคือ
P
σT = = E  ∆T
A
= (200 x 109) (11.7 x 10-6) (40)
= 93.6 x 106 N/m2 หรือ 93.6 MPa ตอบ
ข) ผนังสปริงตัวได

T =  P +y
TL
 L∆T=  y
E
(11.7 x 10-6) (2.5) (40) =  T ( 2.5) + 0.5 x 10-3
9
200 x 10

σT = 53.6 MPa ตอบ

ขอสังเกต ระยะสปริงตัวไดของผนังจะชวยลดหนวยแรงทางความรอนลงอยางมาก

2.16 แทงเหล็กกลามีพื้นที่หนาตัด 150 mm2 นํามาขึงใหตึงโดยยึดปลายทั้งสองของแทงเหล็กกลา


อยูกับที่ที่อุณหภูมิ 20˚C และแทงเหล็กกลารับแรงดึงเทากับ 5000 N จงหาหนวยแรงในแทง
เหล็กกลาที่อุณหภูมิ -20˚C หนวยแรงมีคาเปนศูนยที่อุณหภูมิเทาใด โดยทั้งนี้กําหนดให  =
11.7 x 10-6˚C-1 และ E = 200 GPa

หลักการวิเคราะห
หนวยแรงทางความรอนที่อุณหภูมิหนึ่งๆ นั้นคํานวณไดจากสมการ
σT = σ20˚C + E  (∆T)
การคํานวณ
ที่ 20˚C
P 5000
σ20˚C = =
A 150 x 10  6
= 33.33 MPa
ที่ -20˚C
เนื่องจากมีอุณหภูมิเปลี่ยนแปลง ∆T = 40˚C แทงเหล็กกลาจะหดตัว เพื่อใหแทง
เหล็กกลายังคงอยูไดจึงตองเพิ่มแรงดึง (หนวยแรงดึง) ใหมากขึ้น เมื่อเปรียบเทียบกับ σ20˚C พบวา
σ-20˚C = σ20˚C - E  (∆T) 20˚C→ -20˚C
= 33.33 + (200 x 103) ( 11.7 x 10-6) (40)
= 127 MPa ตอบ
หนวยแรงทางความรอน (σT) เปนศูนย
σ20˚C = 33.33 MPa โดยที่ σT = 0
σT = σ20˚C - E  ∆T
0 = σ20˚C - E  ∆T
  33.33 x 10 6
∆T = 20 C

E (200 x 10 9 ) (11.7 x 10  6 )
T – 20 = 14.2˚C
T = 34.2˚C ตอบ

2.17 ที่อุณหภูมิ 130˚C หวงบรอนซที่มีขนาดเสนผานศูนยกลางภายใน 600 mm และความหนา


20 mm นั้นรัดแนนรอบหวงเหล็กกลาที่มีความหนา 15 mm โดยหวงทั้งสองมีความกวาง 100 mm
จงคํานวณหาความดันจากการรัดตัวระหวางหวงทั้งสองเมื่ออุณหภูมลิ ดลงถึง 20˚C ทั้งนี้ ไม
คํานึงถึงการโกงงอของหวงตัวใน สําหรับเหล็กกลา Es = 200 GPa และ  s = 11.7 x 10-6˚C-1
และสําหรับบรอนซ Eb = 83 GPa และ b = 19 x 10-6˚C-1
หลักการวิเคราะห
พิจารณาระยะผิดรูปที่เปนผลเนื่องจากอุณหภูมิลดลง (  T) และหนวยแรงรัด (  ) ซึ่ง
บรอนซจะถูกดันขยายออก สวนเหล็กจะถูกบีบใหหดตัวในขณะที่อุณหภูมิของโลหะทั้งสองลดลง

การคํานวณ
สมมติใหหวงทั้งสองรัดแนนพอดี พิจารณาระยะผิดรูปในแตละหวงซึ่งเปนผลจากอุณหภูมิ
ลดลงและจากหนวยแรงรัดที่เกิดขึ้น พบวา
(  T-  )b = (  T+  )S
L L
(  L∆T - ) = (  L∆T - )
E b E S
(19 x 10-6) (  )( 0.600) (130 – 20) -  b (0.600
9
)
83 x 10

= (11.7x10-6) (  )( 0.600) (130 – 20) +  s  (0.6009 )


200 x 10
-11
 2.27 x 10 σb+9.425 x 10-12 σs = 1.514 x 10-3 …….(1)
pD
[σ = ]
2t
(0.600) p
σb =
2(0.020)
(0.600) p
σs =
2(0.015)
แทนคาลงในสมการ (1) และแกสมการจะได
p = 2.86 MPa ตอบ

2.18 กระบอกอะลูมิเนียมและกระบอกบรอนซจัดไวในแนวกึ่งกลางและยึดอยูกับแผนประกบ
แข็งแกร็ง 2 แผนโดยขันแนนดวยสลักเกลียวที่ทําจากเหล็กกลา ดังแสดงในรูปที่ 10˚C นี้ไม
มีแรงในแนวแกนเกิดขึ้น จงหาหนวยแรงในวัสดุแตละชิ้นที่ 90˚C กระบอกอะลูมิเนียมมี Aa
= 1200 mm2, Ea = 70 x 109 N/m2 และ  a = 23 x 10
-6
˚C-1 สําหรับกระบอกบอนซมี Ab =
1800 mm2, Eb = 83 x 109 N/m2 และ  b = 19 x 10
-6
˚C-1 และสําหรับสลักเกลียวเหล็กกลามี
As = 500 mm2, Es = 200 x 109 N/m2 และ  s = 11.7 x 10
-6
˚C-1
หลักการวิเคราะห
เมื่อขันแปนเกลียวแนนพอดี ชิ้นสวนรับแรงกดคืออะลูมิเนียมและบรอนซ และชิ้นสวน
รับแรงดึงคือสลักเกลียวเหล็กกลา ระยะยืดรวมระหวางอะลูมิเนียมและบรอนซเทากับระยะยืดของ
สลักเกลียวเหล็กกลา ระยะยืดที่กลาวถึงนี้คํานึงถึงผลของความรอนและผลของแรงในแตละชิ้นสวน

การคํานวณ
กําหนดใหแรงกดกระทําตออะลูมิเนียม = P
แรงกดกระทําตอบรอนซ = P
P
ดังนั้น เกิดแรงดึงกระทําตอสลักเกลียวเหล็กกลา =
2
ระยะยึดเปนผลมาจาการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิและแรงที่ไดรับในแตละชิ้นสวน

(  T+  P)s = (  T-  P)a + (  T-  P)b

(  L∆T + PL )s = (  L∆T - PL )a + (  L∆T - PL )b


AE AE AE

(11.7 x 10-6) (215 x 10-3) (80) + ( P / 2) (215 x 10 3 )


(500 x 10  6 ) (200 x 10 9 )

= [(23x10-6) (75 x 10-3) (80) ( P) (75 x 10 3 ) ]


(1200 x 10 6 ) (70 x 10 9 )

+ [(19x10-6) (100 x 10-3) (80) - ( P ) (100 x 10 3 ) ]


6 9
(1800 x 10 ) (83 x 10 )
P = 33.65 kN
P
[σ = ]
A
33.65
σa = = 28.04 kPa
1200 x10  6
33.65
σb = = 18.70 kPa ตอบ
1800 x10  6
33.65
σs = = 33.7 kPa
2(500 x10  6 )

2.19 แผนมวลขนาดสม่ําเสมอมีมวล 5 Mg ถูกยึดไวดวยแทงโลหะทั้งสามในตําแหนงโดย


สมมาตรดังรูป จงหาหนวยแรงในแตละแทงโลหะหลังจากอุณหภูมิเพิ่มขึ้น 40˚C กําหนดใหปลาย
แทงโลหะอยูในแนวระดับเดียวกันกอนที่จะนําแผนมวลนั้นมายึดติดและเมื่ออุณหภูมิเปลี่ยนไป
เนื่องจากมีสมมาตรดังนั้นแผนมวลนั้นยังคงอยูในแนวระดับเชนเดิม ขอมูลที่ใช

แทงเหล็กกลาทั้งสอง แทงบรอนซ
พื้นที่หนาตัด (mm2) 500 900
E (N/ m2) 200 x 109 83 x 109
-6 -1
 x 10 ˚C 11.7 18.9

หลักการวิเคราะห
จาก FBD ของแผนมวลและใชสมการของสมดุลแรง 1 สมการ ใชผลทางเรขาคณิตพบวา
ระยะยึดที่เปนผลมาจากน้ําหนักของแผนมวลและการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิในแตละแทงนั้น
เทากันอีก 1 สมการ แกสมการหาแรงในแตละแทงและหาหนวยแรงจาก σ = P/A
การคํานวณ
การผิดรูปของแทงโลหะทั้งสาม ที่เปนผลมา
จากน้ําหนักของแผนมวลและการเปลี่ยนแปลง
ของอุณหภูมิ

ในรูปพบวา
(  T-  P)s = (  T+  P)b
โดยที่ T = ระยะยืดเปนผลมาจากอุณหภูมิเปลี่ยนแปลง
P = ระยะยืดเปนผลมาจากน้ําหนักของแผนมวล

(  L∆T) s +( PL )s = (  L∆T) b +( PL )b
AE AE

(11.7 x 10-6) (0.5) (40) + Ps (0.5)


(500 x 10 6 ) ( 200 x 10 9 )

= (18.9 x 10-6) (1) (40) + Pb (1)


(900 x 10 6 ) (83 x 10 9 )
Ps-2.68Pb = 104 x 103 N

FBD ของแผนมวล

[ΣFy = 0, ↑+ ]
2Ps + Pb = (5000) (9.81) = 49.05 x 103 N
จากสมการที่ (1) และ (2)
Ps = 37.0 kN (แรงดึง)
Pb = -25.0 kN (แรงกด)
P
[σ = ]
A
37 x103
σs = = 74 MPa (หนวยแรงดึง) ตอบ
500 x10 6
25 x103
σb = = 27.8 MPa (หนวยแรงกด) ตอบ
900 x10 6

2.20 ในรูปประกอบดวยคาน 2 ชวง ซึ่งถูกยึดติดกับผนังแข็งเกร็ง แรงในแนวแกน P = 200 kN


กระทําที่ 20˚C จงหาหนวยแรงในแตละคานที่ 60˚C โดยสมมติ  = 11.7 x 10-6˚C-1 สําหรับ
เหล็กกลา และ  = 23.0 x 10-6˚C-1 สําหรับอะลูมิเนียม

หลักการวิเคราะห
พิจารณาคานแตละชวงเปน FBD หาแรงในคานแตละชวง แลวพิจารณารวมกับผลของ
การเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิโดยพิจารณาเปนปลายยึดตรึง

การคํานวณ

สมมติ : คานอะลูมิเนียมรับแรงดึง (R1) และคานเหล็กกลารับแรงกด (R2) เมื่ออุณหภูมิ


เปลี่ยนแปลงพบวาระยะยืดของอะลูมิเนียมเทากับระยะหดตัวของเหล็กกลา
(  T+  P)a = (  p-  T)s
(  L∆T) a +( PL )a = ( PL )s - (  L∆T)s
AE AE

(23 x 10-6) (0.2) (40) + R1 (0.2)


(900 x 10  6 ) (70 x 10 9 )

(200 x103  R1 ) (0.3)


= 6 9
 (11.7 x10  6 ) (0.3) (40)
(1200 x10 ) (200 x10 )

R1 = -16815 N (แรงกด)
R2 = 200 x 103 + 16815 = 216815 N (แรงกด)
P
[σ = ]
A
σa = 16815
= 18.7 MPa ตอบ
900 x10  6
σs = 216815 = 181 MPa
1200 x10  6

2.21 แทงโลหะประกอบดวย 3 ชวง ดังแสดงในรูป ถาแรงในแนวแกน P1 และ P2 มีคาเทากับ


ศูนย จงคํานวณหาหนวยแรงในแตละแทงโลหะเมื่ออุณหภูมิลดลง 30˚C ถากําหนด
ก) ผนังมีลักษณะแข็งเกร็ง ข) ผนังสปริงตัวได 0.300 mm
สมมติวาบรอนซมี  b = 18.9 x 10-6˚C-1 อะลูมิเนียม  a = 23.0 x 10-6˚C-1
และเหล็กกลามี  s = 11.7 x 10-6˚C-1

A = 2400 mm2 A = 1200 mm2 A = 600 mm2


E = 83 x 109 N/m2 E = 70 x 109 N/m2 E = 200 x 109 N/m2

หลักการวิเคราะห
ทํานองเดียวกับการวิเคราะหปญหาขอ 1.54
การคํานวณ
ก) ผนังแข็งเกร็ง

ถา P1 = P2 = 0 พบวาในแตละชิ้นสวนรับแรงเทากับ R1 = R2 = P โดยสมมติใหแต


ละชิ้นสวนรับแรงกด ดังนั้นเมื่ออุณหภูมิเปลี่ยนแปลงพบวา
(  T-  P)b + (  T-  P)a + (  T-  P)s = 0

(  L∆T)b -( PL )b + (  L∆T)a -( PL )a + (  L∆T)s -( PL )s = 0


AE AE AE

แทนคา

(18.9 x 10-6˚) (0.800) (30) - P (0.800)



(2400 x 10 6 ) (83 x 10 9 )

(23.0 x 10-6˚) (0.500) (30) - P (0.500)



(1200 x 10 6 ) (70 x 10 9 )

(11.7 x 10-6˚) (0.400) (30) - P (0.400)


 0
(600 x 10 6 ) (200 x 10 9 )

P = 70.6 kN
P
[σ = ]
A
σb = 70.6
= 29.4 MPa
2400 x10 6
σa = 70.6 = 58.8 MPa ตอบ
1200 x10 6
σs = 70.6
= 118 MPa
600 x10 6

ข) ผนังสปริงตัวได
ใชสมการ
(  L∆T)b -( PL )b + (  L∆T)a -( PL )a + (  L∆T)s -( PL )s = 0.300 x 10-3
AE AE AE
แทนคา
(18.9 x 10-6˚) (0.800) (30) - P (0.800)

(2400 x 10 6 ) (83 x 10 9 )

(23.0 x 10-6˚) (0.500) (30) - P (0.500)



(1200 x 10 6 ) (70 x 10 9 )

(11.7 x 10-6˚) (0.400) (30) - P (0.400)


 0.300 x 10-3
(600 x 10 6 ) ( 200 x 10 9 )
P = 48.04 kN
P
[σ = ]
A
σb = 48.04
= 20.0 MPa
2400 x10 6
σa = 48.04
6
= 40.0 MPa ตอบ
1200 x10
σs = 48.04
= 80.0 MPa
600 x10 6

2.22 แทงชิ้นสวนประกอบดวยแทงเหล็กกลาซึ่งมีเสนผานศูนยกลาง 25 mm ดานนอกหุมไวดวย


ปลอกทองแดงซึ่งมีขนาดเสนผานศูนยกลางภายในและภายนอกเปน 25 mm และ 50 mm
ตามลําดับ ระหวางแทงเหล็กกลากับปลอกทองแดงรอยยึดดวยสลักรอยดังรูป จงหาหนวยแรงที่
เกิดขึ้นในสลักรอยเมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้น 50 ˚C ทั้งนี้ กําหนดให
เหล็กกลามี ES = 210 GPa และ S = 11 x 10-6˚C-1
ทองแดง ECU = 105 GPa และ CU = 17 x 10-6˚C-1

หลักการวิเคราะห
เนื่องจากทองแดงขยายตัวไดมากกวา ดังนั้นทองแดงจึงรับการกดและเหล็กกลารับการดึง
ใชแนวคิดของผลตางของระยะยืดตัวอยางอิสระและสมมติวาแรงกดในทองแดงเทากับแรงดึงใน
เหล็กกลา
การคํานวณ
เนื่องจากทองแดงขยายตัวตามแนวแกนไดมากกวาจึงทําใหสลักรอยรับภาระเฉือนตัดขวาง
กับหนาตัดของสลักรอย ผลคือ แทงเหล็กกลารับการดึงและปลอกทองแดงรับการกด ผลตางของ
ระยะยืดตัวอยางอิสระกําหนดังนี้
ผลตางของระยะ ระยะยืดตัวของ ระยะหดตัวของ
ยืดตัวอยางอิสระ = เหล็กกลา + ทองแดง

 s L  cu L
(CU - S)L∆T = 
Es Ecu

 s  cu
(17 x 10-6-11 x 10-6) (50) =  …(1)
210 105
[σsAs = σcuAcu ]
σs    (0.025 2 ) = σcu    (0.050 2  0.025 2 )
4 4
σs = 3σcu

แทนในสมการ (1) จะได


σcu = 0.0126 GPa (12.6 MPa)
σs = 37.8 MPa

แรงในแทงเหล็กกลา

[Fs = σsAs ]
Fs = (37.8 x 103)    (0.025 2 )
4
= 18.56 kN
สลักรอยรับการเฉือนคู
Fs
[ = ]
2A
 = 18.56
 
2  (0.020 2 )
4
= 29.5 MPa ตอบ
2.23 แทงทองแดงสอดอยูภายในกระบอกอะลูมิเนียม แทงทองแดงนี้เลยออกจากกระบอกสูบไป
เปนระยะ 0.130 mm ดังแสดงในรูป แรง P มีคาสูงสุดเทาไรที่กระทําตอแผนอัด ซึ่งทําใหแผนอัด
กดอัดแทงโลหะทั้งสองทําใหเกิดความเคน โดยมีขอมูลตาง ๆ ดังนี้

ขอมูล ทองแดง อะลูมิเนียม


พื้นที่หนาตัด (mm2) 1200 1800
E (GPa) 120 70
หนวยแรงใชงาน (MPa) 140 70

หลักการวิเคราะห
ใชสมการของสมดุลแรง 1 สมการ โดยสมการเพิ่มเติมใหดูที่ระยะหดทั้งหมดของแทง
ทองแดงซึ่งสัมพันธกบั ระยะหดของกระบอกอะลูมิเนียม

การคํานวณ
สมการเพิ่มเติม
[δc = δa + (0.130 x 10-3)]
 L   L  -3
  =   + (0.130 x 10 )
 E c  E a
 c (0.25)  c (0.25) -3
= + 0.130 x10
120 x 10 9 70 x 10 9
σc = 1.71 σa+ (62.4 x 106)
ถากําหนดให σa = 70 MPa จะได σc = 182 MPa ซึ่งเกินกวาหนวยแรงใชงาน (140
MPa) ดังนั้นจึงกําหนดให σc = 140 MPa
140 x 106 = 1.71 σa + (62.4 x 106)
σa = 45.4 MPa

P
สมการของสมดุลแรง โดยที่ σ =
A
[Σ F = 0, ↑+] PC + Pa – P = 0, P = PC + Pa
P = σCAC+ σaAa
= (140 x106) (1200 x 10-6) + (45.4 x106) (1800 x10-6)
= 250 kN ตอบ

2.24 คานทําดวยเหล็กกลามีเสนผานศูนยกลาง 50 mm และยาว 2 m หุมโดยรอบดวยปลอกที่ทํา


ดวยเหล็กหลอหนา 5 mm จงหาแรงที่ใชกดคานประกอบดังกลาวทําใหมีระยะหดทั้งสิ้น 1 mm
ตลอดความยาว 2 m สําหรับเหล็กกลามี E = 200 x 109 N/m2 และสําหรับเหล็กหลอมี E = 100 x
109 N/m2
หลักการวิเคราะห
ใชสมการของสมดุลแรง 1 สมการและใชสมการเพิ่มเติมอีก 1 สมการ คือ ระยะหดของแทง
เหล็กกลาและของปลอมเหล็กหลอเทากัน δs= δca
การคํานวณ
สมการเพิ่มเติม
δs= δca = 0.001 m

PL
สมการของสมดุลแรง โดยที่ δ =
AE
[Σ F = 0, ↑+] Ps + Pca – P = 0, P = Ps + Pca
 AE   AE 
P =    
 L  s  L  ca
 
(0.001)   (0.05 2 ) (200 x10 9 )
P = 4
2
 
(0.001)   (0.05 2  0.04 2 ) (100 x10 9 )
+ 4
2
= 232 kN ตอบ
2.25 เสาคอนกรีตเสริมเหล็กมีเสนผานศูนยกลาง 250 mm ถูกออกแบบมาเพื่อใชรับแรงกดใน
แนวแกน 400 kN โดยกําหนดใหหนวยแรงใชงานของ σc = 6 MPa และ σs = 120 MPa จงหา
พื้นที่หนาตัดของเหล็กกลาโดยที่ Ec = 14 GPa และ Es = 200 GPa

หลักการวิเคราะห
ใชสมการของสมดุลแรง 1 สมการและใชสมการเพิ่มเติมอีก 1 สมการคือ ระยะหดของ
คอนกรีตของเหล็กกลาเทากัน

การคํานวณ
 sL cL
สมการเพิ่มเติม δs= δc นั่นคือ 
Es Ec
 Es 
  c  
200 
σs =   c
 Ec   15 
ถา σc = 6 MPa   σs = 85.7 MPa (ใชได)
ถา σs = 120 MPa   σc = 8.4 MPa (ใชไมได)
P
สมการของสมดุลแรง โดยที่ σ =
A
[Σ F = 0, ↑+] Ps + Pc – P = 0
P = Ps + Pc
= σsAs + σcAc
400 = (85.7 x 103) As + (6 x 103) [    (0.250 2 )  As ]
4
As = 1.323 x 10-3m2
= 1323 mm2 ตอบ
2.26 แทงวัสดุแข็งเกร็งมีมวล M โดยมีแทงกลมทั้งสามรองรับอยูโดยมีระยะหางระหวางแทง
เทากัน แทงทองแดงแตละแทงมีพื้นที่หนาตัด 900 mm2, Ec = 120 GPa และหนวยแรงใชงาน σc
= 70 MPa แทงเหล็กกลามีพื้นที่หนาตัด 1200 mm2, Es = 200 GPa และหนวยแรงใชงาน σs =
140 MPa จงหาขนาดของมวลสูงสุดที่แทงกลมทั้งสามสามารถรองรับไวได

หลักการวิเคราะห
ใชสมการของสมดุลแรง 1 สมการและใชสมการเพิ่มเติมอีก 1 สมการคือ ระยะหดของ
เหล็กกลาและของทองแดงเทากัน

การคํานวณ
 s Ls  c Lc
สมการเพิ่มเติม δs= δc นั่นคือ 
Es Ec
 s (240)  c (160)
  σs = 1.111 σc
200 120
ถา σc = 70 MPa  σs = 77.78 MPa (ใชได)
ถา σs = 140 MPa  σc = 126.01 MPa (ใชได)
P
สมการของสมดุลแรง โดยที่ σ =
A
[Σ F = 0, ↑+] 2Pc + Ps – Mg = 0
1 1
M = (2 Pc  Ps )  (2 Ac c  As s )
g g
1
= [ (2) (900 x 10-6) (70 x 106) + (1200 x 10-6) (77.88 x 106)]
9.81
= 22.36 x 103 kg ตอบ
2.27 คานระดับไมคิดมวลแขวนไวที่จุด A ดังรูป และสมมติใหเปนวัสดุแข็งเกร็งซึ่งถูกยึดไว
ดวยแทงบรอนซยาว 2 m และแทงเหล็กกลายาว 1 m ใชขอมูลจากตารางตอไปนี้แลวหาหนวยแรง
ในแตละแทง

ขอมูล เหล็กกลา บรอนซ


พื้นที่หนาตัด (mm2) 600 300
E (GPa) 200 83
ขีดจํากัดความเปนสัดสวน (MPa) 240 140

หลักการวิเคราะห
ใชสมการของสมดุลโมเมนต 1 สมการ ที่ตําแหนงสุดทายของคานอาศัยการเปลี่ยน
ตําแหนง และความสัมพันธระหวาง δs และ δL อีก 1 สมการ

การคํานวณ
FBD คานระดับ

[ΣMA = 0, ] 0.6PS + 1.6Pb = 2.4 (50 x 103) …(1)


เมื่อสมมติใหคานเปนวัสดุแข็งเกร็ง จะไดตําแหนงสุดทายดังรูป อาศัยรูปสามเหลี่ยมคลาย
s  1  PL  1  PL 
 b      
0 .6 1 .6 0.6  AE  s 0.6  AE  b
 1  Ps (1)  1  Pb (2)
  =  
 0.6  (600) (200)  0.6  (300) (83)
PS Pb 3.61 Pb …(2)

จากสมการที่ (1) และ (2) เราได


PS = 115 kN, Pb = 31.9 kN
P
[σ = ]
A
Ps 115 x 10 3
σS =  = 192 x 106 N/m2
As 600 x 10  6
= 192 MPa ตอบ
Pb 31.9 x 10 3
σb = 
6
= 106 x 106 N/m2
Ab 300 x 10
= 106 MPa ตอบ

ขอควรจํา
เนื่องจากหนวยแรงที่คํานวณไดทั้งสองคานั้นต่ํากวาขีดจํากัดความเปนสัดสวน คําตอบจึง
ยอมรั บ ได ถ า หน วยแรงของเหล็ ก เกิ นกว า ขีดจํา กั ดความเปนสัดสว น คํา ตอบจะใชไ มไ ด ให
คํานวณใหม โดยเพิ่มความยาวของแทงเหล็กกลาเพื่อทําใหแทงเหล็กกลามีสภาพแข็งเกร็งนอยลง
หลักการเบื้องตนในทฤษฏีของโครงสรางอินดีเทอรมิเนต (indeterminate structure) ก็คือ
หลักการของสภาพแข็งเกร็ง (principle of rigidities) นั่นเอง กลาวคือ ชิ้นสวนในโครงสรางอินดี
เทอรมิเนตที่มีสภาพแข็งเกร็งมากที่สุดนั้นยอมสามารถรับภาระไดมากที่สดุ
2.28 กําหนดแทงวัสดุแข็งเกร็งมีมวล 18 Mg ยึดไวดวยแทงโลหะ 3 แทง โดยที่แทงเหล็กกลาแต
ละแทงมีพื้นที่หนาตัด 600 mm2 และ ES = 200 GPa สําหรับแทงบรอนซมีพื้นที่หนาตัด 900 mm2
และ Eb = 83 GPa จงหาหนวยแรงที่เกิดขึ้นในแตละแทงโลหะ กําหนดใหแทงโลหะแทงกอน
นํามาผูกเขากับแทงวัสดุดังกลาวนั้น ปลายทั้งสามของแทงโลหะอยูในระดับเดียวกัน

หลักการวิเคราะห
ใชสมการของสมดุลแรง 1 สมการและใชสมการเพิ่มเติมอีก 1 สมการ คือ ระยะยืดของ
แทงเหล็กกลาและของแทงบรอนซเทากัน δS = δb

การคํานวณ
 s Ls  b Lb
สมการเพิ่มเติม δS = δb นั่นคือ 
Es Eb
 s (1)  b (1.6)
  σS = 3.855 σb …(1)
200 83

P
สมการของสมดุลแรง โดยที่ σ =
A
[Σ F = 0, ↑+] 2PS + Pb = (18000) (9.81)
σSAS + σbAb = (18000) (9.81)
2(600 x 10-6)σS + (900 x 10-6)σb = (18000) (9.81)
4σS + 3σb = (6000 x 104) (9.81) …(2)
จากสมการที่ (1) และ (2) จะได
σS = 123.4 MPa, σb= 32.0 MPa ตอบ
2.29 จากรูปใชลวดเหล็กกลา 3 เสน ยึดมวล M เอาไว
โดยลวดแตละเสนมีพื้นที่หนาตัด 30 mm2 ความยาว
ของเสนลวด (ยังไมใชงาน) ยาว 19.994 m, และ 20.000m
ก) ถา M = 600 kg จงหาหนวยแรงที่เกิดขึ้นในลวดเสน
ที่ยาวที่สุด
ข) ถา M = 200 kg จงหาหนวยแรงที่เกิดขึ้นในลวดเสน
ที่ส้นั ที่สุด
กําหนดใหใช E = 200 GPa
หลักการวิเคราะห
ใชสมการของสมดุลแรง 1 สมการและใชสมการเพิ่มเติมอีก 2 สมการ คือ ระยะความยาว
ของลวดแตละเสนเทากัน ทั้งนี้ ตัวแปรมีทั้งหมด 3 ตัว คือ δ1 , δ2 และ δ3

การคํานวณ
สมการของสมดุลแรง
[Σ F = 0, ↑+] P1 + P2 + P3 = Mg …(1)
PL
[δ = ]
AE
P1 (19.994)
δ1 = 6 9
= (3.3323 x 10-6) P1
(30 x 10 ) (200 x 10 )
P2 (19.997)
δ2 = 6 9
= (3.3323 x 10-6) P2
(30 x 10 ) (200 x 10 )
P3 (20.000)
δ3 = 6 9
= (3.3323 x 10-6) P3
(30 x 10 ) (200 x 10 )
ความยาวของลวดแตละเสนขณะยึดภาระเทากัน
19.994 + δ1 = 19.997 + δ2
19.994 + (3.3323 x 10-6) P1 = 19.997 + (3.3328 x 10-6)P2
P1 = 900.2791 + P2
19.997 + δ2 = 20 + δ3
19.997 + (3.3328 x 10-6) P2 = 20 + (3.3333 x 10-6)P3
P2 = 900.1440 + P3
ก) ถา M = 600 kg แลวหา σ3
P1 + P2 + P3 = (600) (9.81) = 5886
1800.4231 + P3 + 900.1440 + P3 + P3 = 5886 N
P3 = 1061.8110 N
P2 = 1961.9550 N
P1 = 2862.2341 N
P
[σ = ]
A
1061.8110
σ3 =
30 x 10  6
= 35.4 MPa ตอบ
ข) ถา M = 200 kg แลวหา σ1
P1 + P2 + P3 = (200) (9.81) = 1962 N
2700.5671 + 3P3 = 1962
P3 = -246.189 N (เปนไปไมได)
เนื่องจาก P1 , P2 และ P3 เปนแรงดึงไดเทานั้น ในที่นี้แสดงวาเสนลวดเสนที่ 3 ไมรับ
แรง คือ P3 = 0
 P1 + P2 = 1962
900.2791 + 2P2 = 1962
P2 = 530.8605 N, P1 = 1431.1396 N
P
[σ = ]
A
1431.1396
σ1 =
30 x 10  6
= 47.7 MPa ตอบ
2.30 แทงโลหะกลมแบงเปนสวน ๆ ดังรูป รับแรงในแนวแกน P1 = 120 kN และ P2 = 50 kN จง
หาหนวยแรงในแตละแทงถาผนังดานขางอยูในสภาพแข็งเกร็ง

หลักการวิเคราะห
ใชสมการของสมดุลแรงวิเคราะหในแตละสวนตัดแลวใชสมการเพิ่มเติมคือ ผลรวมของ
ระยะยืดและหดของแทงโลหะกลมทั้งหมดเปนศูนย (ผนังแข็งเกร็ง)

การคํานวณ

สมการของสมดุลแรงในแตละสวนตัด
PL
[δ = ]
AE
 R1 (0.600)
δb = 6 6
= - (3.012 x 10-6)R1
(2400 x 10 ) (83 x 10 )
(120  R1 ) (0.400)
δa = 6 6
= (4.762 x 10-6)(120- R1)
(1200 x 10 ) (70 x 10 )
(170  R1 ) (0.300)
δS = 6 6
= (2.5 x 10-6) (170- R1)
(600 x 10 ) (200 x 10 )
สมการเพิ่มเติม δb+ δa+ δS = 0
-3.012 x 10-6 R1+ (4.762 x 10-6)(120- R1) + (2.5 x 10-6) (170- R1) = 0
R1 = 96.987 kN
R2 = 23.013 kN
R3 = 73.013 kN
P
[σ = ]
A
96.987
σb = = 40.4 MPa
2400 x 10  6
23.013
σa = = 19.2 MPa
1200 x 10  6
73.013
σs = = 121.7 MPa ตอบ
600 x 10  6

2.31 แขวนคานอันหนึ่งดวยลวดโลหะ 3 เสน แต


ละเสนมีพื้นที่หนาตัดเดียวกันและเปนวัสดุชนิด
เดียวกัน จงคํานวณหาแรงในลวดแตละเสน
กําหนดใหคานแข็งเกร็งขนาดสม่ําเสมอและ
หนัก 600 kN

หลักการวิเคราะห
เนื่องจากลวดโลหะ A รับแรงมากที่สุด ภาวการณผิดรูปของคาน คือ คานลาดเอียงไป
ทางดานลวดโลหะ A อาศัยหลักสามเหลี่ยมคลายหาความสัมพันธระหวาง δA , δB และ δC
และอาศัยสมการสมดุล

การคํานวณ
สมการเพิ่มเติม
∆xzx’ ~ ∆yzy’
a  c 6
=  3
 B  c 2
δA - δC = 3 δB - 3δC
δA = 3 δB - 3δC
PL
[δ = ]
AE
PA (5) 3PB (6) 2 PE (6)
= 
AE AE AE
5PA = 18PB – 12PC …(1)
[Σ Fy = 0, ↑+] PA + PB + PC = 600 …(2)
[∑ MA = 0, ] PB (4)+ PC(6) – 600(3) = 0
2 PB + 3PC = 900 …(3)
สมการที่ (1) และ (2) จะได
23 PB - 7PC = 3000 …(4)
สมการที่ (3) และ (4) จะได
PB = 184 kN
PC = 177 kN ตอบ
PA = 239 kN

2.32 ระบบโครงสรางประกอบดวยชิ้นสวนที่ยึดเขาดวยกันโดยสลักยึดดังแสดงในรูป (ก)


กําหนดใหชิ้นสวน CD อยูในสภาพแข็งเกร็งและอยูในแนวระดับกอนแรง P กระทําชิ้นสวน A
ทําจากโลหะอะลูมิเนียมซึ่งมีพื้นที่หนาตัดเทากับ 1000 mm2 และ Ea = 75 GPa ชิ้นสวน B ทํา
จากเหล็กกลาซึ่งมีพื้นที่หนาตัดเทากับ 500 mm2 และ Es = 200 GPa จงหา
ก) หนวยแรงในแนวแกนของชิ้นสวน A และ B
ข) ระยะผิดรูปของสลักยึด D

หลักการวิเคราะห
เขียน FBD ของคาน CD และใชสมการของสมดุลโมเมนต 1 สมการ ที่ตําแหนงสุดทาย
ของคาน CD อาศัยรูปสามเหลี่ยมคลาย (ที่เกิดขึ้นระหวางตําแหนงเดิมและตําแหนงสุดทายของ
คาน CD) สรางความสัมพันธระหวาง δA และ δB ซึ่งเปนสมการเพิ่มเติมอีก 1 สมการ และใช
สมการ δ = PL/AE

การคํานวณ
FBD ของคาน CD

[∑ MC = 0, ]
PB (1.5) + PA (4) – 150 x 103 (5) = 0
4PA + 1.5 PB = 750 x 103 ...(1)

สมการเพิ่มเติม
รูปสามเหลี่ยมคลาย

A B

4 1 .5

PL
[δ = ]
AE
PA (2) PB (1.5)
6
=
4 (1000 x 10 9
) (75 x 10 ) 1.5 (500 x 10  6 ) (200 x 10 9 )
 PA = 1.5 PB
สมการที่ (1) และ (2) จะได
PA = 150 kN, PB = 100 kN
P
[σ = ]
A
150 x 10 3
σA = = 150 x 106 N/m2
1000 x 10  6
= 150 MPa (ความเคนดึง) ตอบ
100 x 10 3
σB = 6
= 200 x 106 N/m2
500 x 10
= 200 MPa (ความเคนดึง) ตอบ
เนื่องจากคานหรือชิ้นสวน CD เปนวัตถุแข็งเกร็งที่สลักยึด D พบวา
5 5  PA L A 
δD = δ =  
4 A 4  AA E A 
5 (150 x 10 3 ) (2)
= = 5.0 x 10-3 m
4 (1000 x 10  6 ) (75 x 10 9 )
= 5.00 mm (ยึดลง) ตอบ

2.33 ในรูปกานยึด CE ที่มีขนาดเสนผานศูนยกลาง


ศูนยกลาง 10 mm และกานยึด DF ที่มีขนาด
เสนผานศูนยกลาง 15 mm ยึดเขากับคาน
ABCD ในที่นี้กานยึดทําดวยอะลูมิเนียมและมี
Ea = 70 GPa จงหา
ก) แรงในกานยึดภายใตการรับภาระดังแสดง
ในรูป
ข) ระยะผิดรูปของจุด A

หลักการวิเคราะห
เขียน FBD ของคาน ABCD และใชสมการของสมดุลโมเมนต 1 สมการ อาศัยรูป
สามเหลี่ยมคลาย (ที่เกิดขึ้นระหวางตําแหนงเดิมและตําแหนงสุดทายของคาน ABCD) สราง
สมการเพิ่มเติม 1 สมการ และใชสมการ δ = PL/AE
การคํานวณ
FBD ของคาน ABCD
[∑ MB = 0, ]
(32) (0.45) – CE(0.3) – DF(0.5) = 0
0.3CE + 0.5DF = 14.4 …(1)

สมการเพิ่มเติม
ABCD เปนตําแหนงเดิมของคาน
A’BC’D’ เปนตําแหนงสุดทายของคาน
∆ BCC’~∆ BDD’
c 
 D,   c  0.6 D …(2)
0 .3 0 .5
PL
[δ = ]
AE
แทนลงในสมการที่ (2)
CE (0.6) 0.6 ( DF ) (0.75)
=
  2   2
  (0.010 ) E   (0.015 ) E
4 4
CE = 0.333 DF …(3)
จากสมการที่ (1) และ (3) จะได
DF = 24 kN
CE = 8 kN
ดังนั้น
(24) (0.75)
δD =
  2 6
  (0.015 ) (70 x 10 )
4
= 1.455 x 10-3
= 1.455 mm ตอบ
∆ BAA’~∆ BDD’
A 
 D   δA = 0.9 δD
0.45 0.5
δA = 0.9 (1.455)
= 1.310 mm ตอบ
2.34 แผนอัดแข็งเกร็ง DEF ถูกยึดไวดวยสลักเกลียว
2 ตัว AD และ CF ซึ่งมีเสนผานศูนยกลาง 18
mm
ใชอัดเขากับอะลูมิเนียมแทงกลมที่มีเสนผาน
ศูนยกลาง 36 mm ระยะชวงเกลียวในแตละ
สลักเกลียวเทากับ 2 mm หลังจากขันเกลียว
แนน
แตละแปนเกลียวหมุนรัดแนน 1 ใน 4 รอบ
กําหนดใหเหล็กกลามี ES = 200 GPa และอะลูมิเนียมมี Ea = 70 GPa จงหาหนวยแรงตั้งฉากใน
แทงอะลูมิเนียม

หลักการวิเคราะห
เขียน FBD ทั้งระบบใชสมการของสมดุลแรง 1 สมการ

การคํานวณ
FBD ทั้งระบบ (จากผลการสมมาตร RA = RC)
[∑ Fx = 0, → + ]
- R A + R B- R C = 0
RB = 2 RA …(1)
เมื่อขันประกบเขาดวยกัน กานสลักเกลียวรับภาระดึงสวนกานอะลูมิเนียมรับภาระกด ดังนั้น

R a La R a L s 1
 = (0.002)
Aa E a As E s 4

R B (0.300) R A (0.375)
 = 0.5 x 10-3
 
(0.036 2 ) (70 x 10 6 ) (0.018 2 ) (200 x 10 6 )
4 4

7.368 x 10-6 RA+4.21 x 10-6 RB = 0.5 x 10-3 …(2)


จากสมการที่ (1) และ (2) จะได
RA = 31.6 kN
RB = 2 RA = 63.34 kN
P
[σ = ]
A
63.34
σrod = = 62.2 MPa ตอบ
  2
  (0.036 )
4
บทที่ 3 แรงบิด (TORSION)

สมการการบิด

รูปที่ 3-1 ความเครียดเฉือนที่ระยะ ρ ใดๆ รูปที่ 3-2 ความเครียดเฉือนที่ผิวนอกของเพรา

T
 
J

เมื่อ = มุมบิดมีหนวยเปนเรเดียน

T = โมเมนตบิดที่กระทําตอเพลากลม

L = ความยาวของเพลากลม

G = โมดูลัสยืดหยุนของแรงเฉือน

J = โมเมนตความเฉื่อยโพลารของพื้นที่หนาตัด

τ = หนวยแรงเฉือน
ρ = ระยะจากศูนยกลางของพื้นที่หนาตัดไปยังตําแหนงที่เกิดหนวยแรงเฉือนบิด

หมายเหตุ ตําแหนงที่หนวยแรงเฉือนบิดมีคามากที่สุด จะอยูที่ผิวของเพลากลม และมีคา


เปนศูนยที่แกนกลางของเพลา

จากความสัมพันธระหวางกําลัง โมเมนตบิด และความเร็วเชิงมุม จะได

P P
T 
 2f
เมื่อ P = กําลัง (Power)
ω = ความเร็วเชิงมุม (Angular Speed) มีหนวยเปนเรเดียนตอหนวยเวลา
f = ความถี่ หนวยรอบตอเวลา
การตอเพลาดวยสลักเกลียว (Flanged Bolt Couplings)

รูปที่ 3-3 คัปปลิงหนาแปลนใชสลักเกลียวยึด

แรงเฉือนในสลักเกลียว (Bolt) จะเปนแรงตานทานแรงบิด


d 2
P  A  
4
เมื่อ P = แรงเฉือนในสลักเกลียว
τ = หนวยแรงเฉือนของสลักเกลียวทิศขวางเพลา
A = พื้นที่หนาตัดของสลักเกลียว
d = เสนผาศูนยกลางของสลักเกลียว
รูปที่ 3-4 ความสัมพันธระหวางแรงเฉือนในสลักเกลียวบนแนววงยึดสลักเกลียวรัศมี R1 และ R2

ถามีสลักเกลียวอยู n ตัว จะทําใหเกิดโมเมนตบิดตานทางทั้งหมดเทากับ


d 2
Tr  nAR  nR  nPR
4
เมื่อ Tr = โมเมนตบิดตานทานของสลักเกลียวทั้งหมด
R = ระยะศูนยกลางเพลาถึงศูนยกลางของสลักเกลียว
ในกรณีที่สลักเกลียวนั้นมีหลายวง แตมีจุดศูนยกลางของวงกลมรวมกัน
d12 d 2
Tr  n1 1 R1  n 2 2 R2 2  ...
4 4
Tr  n1 P1 R1  n 2 P2 R2  ...

1 
และ  2
G1 R1 G2 R2
ถาให   = หนวยแรงเฉือนของสลักเกลียวในแนวยาวของเพลา
จะได    
โดยพิจารณาตามรูปขางลาง

(ก) หนวยแรงเฉือนทีผ่ ิวเพราดานนอก (ข) การกระจายหนวยแรงเฉือนในเพรา

รูปที่ 3-5 หนวยแรงเฉือนตามขวาง (τ ) และตามแนวแกนของเพรา (   )ภายใตภาระบิด


การบิดของทอผนังบางและกระแสเฉือน

รูปที่ 3-6 กระแสเฉือนในทอผนังบาง

ถาให q = แรงเฉือนไหล (Shear Flow)


q  t
เมื่อ τ = หนวยแรงเฉือนบริเวณความหนาใด ๆ
t = ความหนาเปลือกทอ ณ. ตําแหนงใด ๆ
จะได q1  q 2
T
และ 
2 At
เมื่อ A = พื้นที่หนาตัดของทอคิดเพียงแคครึ่งหนึ่งของความหนาทอ
แบบฝกหัดบทที่ 3

3.1 เพลารูปหนาตัดวงแหวนทําดวยเหล็กกลาที่มีเสนผานศูนยกลางภายนอก 100 mm และเสนผาน


ศูนยกางภายใน 75 mm รับภาระบิดดวยทอรกขนาด 7.5 kNm โดยเหล็กกลามีมอดูลัสเฉือน G =
80 GPa จงหา
ก) หนวยแรงเฉือนสูงสุดในเพลา
ข) หนวยแรงเฉือนบนระนาบตัดขวางที่ผิวดานในของเพลากลวงนี้
ค) ขนาดของมุมบิดของเพลาที่ยาว 2 m

หลักการวิเคราะห
หาหนวยแรงเฉือนสูงสุดจาก max = TrO/J หนวยแรงเฉือนที่ผิวดานในของเพลาจาก  =
Tri/J และมุมบิดจาก  = TL/JG

การคํานวณ
สําหรับเพลากลาง
 4
[J = (d 0  d i4 ) ]
32

J = (100 4  75 4 )
32
= 6.711 x 106 mm4
= 6.711 x 10-6 m4
ก) หนวยแรงเฉือนสูงสุดเกิดขึ้นบนระนาบตัดขวางที่ r = rO
Tro
[max = ]
J
(7.5 x10 3 ) (50 x10 3 )
[max =
6.711x10  6
= 55.9 x 106 N/m2 = 55.9 MPa ตอบ

ข) หนวยแรงเฉือนบนระนาบตัดขวางที่ r = ri
Tri
[ = ]
J
(7.5 x10 3 ) (37.5 x10 3 )
 =
6.711x10 6
= 41.9 x 106 N/m2 = 41.9 MPa ตอบ
ค) มุมบิด  ของเพลายาว 2 m
TL
[ = ]
JG
(7.5 x10 3 ) (2)
 =
(6.711x10  6 ) (80 x10 9)
= 0.0279 rad ตอบ

3.2 เพลารูปหนาตัดวงแหวนทําดวยเหล็กกลาที่มีรัศมีภายในและภายนอกเปน 20 และ 30 mm


ตามลําดับ และยาว 1.5 m ดังแสดงในรูป จงหา
ก) ทอรกสูงสุดที่ใสใหกับเพลาโดยไมทําใหหนวยแรงเฉือนเกิน 120 MPa
ข) หนวยแรงเฉือนต่ําสุดในเพลา

หลักการวิเคราะห
ทอรกสําหรับเพลาหนาตัดวงแหวนมีคาสูงสุดที่ r = ro และมีคาต่ําสุดที่ r = ri

การคํานวณ
ก) ทอรกสูงสุดเมื่อ max = 120 MPa
40
ri = = 0.02 m
2000
60
ro = = 0.03 m
2000
 4 4 
[J = (r0  ri ) ] J = (0.03 4  0.02 4 )
2 2
= 1.021 x 10-6 mm4
ดังนั้น
J max (1.021x10 6 ) (120 x10 6 )
[T = ] T =
ro 0.03
= 4.08 kNm ตอบ
ข) หนวยแรงเฉือนต่ําสุดในเพลา
 ri 
[min =   max ]
 ro 
 0.02 
min =   (120)
 0.03 
= 80 MPa ตอบ

3.3 ในการออกแบบขั้นตนเพื่อเลือกใชเพลาซึ่งตอระหวางมอเตอรกับเครื่องกําเนิดไฟฟาโดย
เลือกใชเพลากลวงที่มีเสนผานศูนยกลางภายในและภายนอกเปน 100 mm และ 150 mm
ตามลําดับ กําหนดใหหนวยแรงใชงานเทากับ 85 MPa จงหาทอรกสูงสุดเมื่อ
ก) ใชเพลากลวงดังที่ออกแบบไว (ดูรูป)
ข) ใชเพลาตันที่มีน้ําหนักเทากันแทน
ค) ใชเพลากลวงที่มีน้ําหลักเทากันและมีเสนผานศูนยกลางภายนอกเทากับ 200 mm แทน

หลักการวิเคราะห
ทอรกสูงสุดนั้นพิจารณาที่ r = rO เนื่องจากใชเพลาแทนกันโดยมีน้ําหนักและความยาวเทา
เดิม ดังนั้นพื้นที่หนาตัดของเพลาจะคงเดิมเสมอ
การคํานวณ

ก) เพลากลวงดังที่ออกแบบไว
 4 4
[J = (ro  ri ) ]
2
J =  (0.075 4  0.05 4 )
2
= 39.9 x 10-6 m4
J max
[T = ]
ro
(39.9 x10 6 ) (85 x10 3 )
T =
0.075
= 45.2 kNm ตอบ

ข) ใชเพลาตันที่มีน้ําหนักและความยาวเทากันแทน
นั่นคือ เพลาตันและเพลากลวงเดิมยอมมีพื้นที่หนาตัด
เทากัน
r2 = (752 – 502)
 r = 55.9 mm
 4
[J = r ]
2

J = (0.0559 4 )
2
= 1.534 x 10-5 m4
J max
[T = ]
r
(1.534 x10 5 ) (85 x10 3 )
T =
0.0559
= 23.3 kNm ตอบ
ค) ใชเพลาหลวงใหมที่มีน้ําหนักและความยาว
เทากันแทน นั้นคือ เพลากลวงใหมและเพลากลวง
เดิมยอมมีพื้นที่หนาตัดเทากัน
(1002 - ri2 ) = (752 -502)
 r = 82.92 mm
 4 4
[J = (ro  ri ) ]
2

J = (0.100 4  0.08292 4 )
2
= 82.82 x 10-6 m4
J max
[T = ]
ro
(82.82 x10 6 ) (85 x10 3 )
T =
0.100
= 70.4 kNm ตอบ

3.4 เพลาตันตอกันสองทอนทําจากวัสดุตางชนิดซึ่งยึดกันอยางแนนหนาและปลายทั้งสองยึดเขา
กับผนังแข็งเกร็งดังแสดงในรูป ในเพลาทอนที่เปนอะลูมิเนียมนั้นมีเสนผานศูนยกลาง 75 mm และ
Ga = 28 x 109 N/m2 สวนเพลาทอนที่เปนเหล็กกลานั้นมีเสนผานศูนยกลาง 50 mm และ Gs = 83 x
109 N/m2 ตรงชวงตอของเพลาทั้งสองมีทอรกกระทํา T = 1000 Nm จงคํานวณหาหนวยแรง
เฉือนสูงสุดในอะลูมิเนียม (a) และเหล็กกลา (s)

หลักการวิเคราะห
เลือกเพลาทั้งสองทอนเปน FBD และใชสมการของสมดุลโมเมนต 1 สมการ (ติดตัวแปร
Ts และ Ta) และใชสมการเพิ่มเติมอีก 1 สมการ คือ พิจารณาจากความสัมพันธของมุมบิด
การคํานวณ
FBD ของเพลาทั้งสองทอน

[∑ Mx = 0, + ]
Ts + Ta – T = 0
Ts + Ta = T = 1000 …(1)
พิจารณามุมบิดสัมพัทธระหวางเพลาทั้งสองทอน
A/B = A/C+ C/B = 0
ดังนั้น A/C = -C/B =  B/C
โดยที่
A/C คือ มุมบิดของเพลาชวง AC ซึ่งพิจารณาทอรก TAC บน FBD ของสวนตัด a-a'
ดานขวามือ
 B/C คือ มุมบิดของเพลาชวง BC ซึ่งพิจารณาทอรก TBC บน FBD ของสวนตัด b-b'
ดานขวามือ
 TL   TL  
     
 JG  a  JG  s 

Ts (1.5) Ta (3)
=
 
(0.05 4 ) (83 x10 9 ) (0.075 4 ) (28 x10 9 )
32 32
Ts = 1.17 Ta …(2)
แกสมการที่ (1) และ (2) จะได
Ta = 461 Nm , Ts = 539 Nm
Tr  4
[max = , J= r ]
J 2
max = 2T
= 16T
r 3 d 3
16(461)
a =
 (0.075 3 )
= 5.57 x 106 N/m2
= 5.57 MPa ตอบ
16(539)
และ s =
 (0.050 3 )
= 22 x 106 N/m2
= 22.0 MPa ตอบ

3.5 เพลา BC เปนเพลากลวงที่มีเสนผานศูนยกลางภายในและภายนอกเปน 90 mm และ 120 mm


ตามลําดับ สวนเพลา AB และ CD เปนเพลาตันที่มีเสนผานศูนยกลาง d ภายใตภาระบิดดังรูป
จงหา
ก) หนวยแรงเฉือนสูงสุดและต่ําสุดในเพลา BC
ข) เสนผานศูนยกลางของเพลา AB และ CD ถากําหนดใหหนวยแรงเฉือนใชงานเพลาเทากับ 65
MPa

หลักการวิเคราะห
พิจารณาสมดุลโมเนตในเพลากลวงชวง BC เพื่อหาทอรก หนวยแรงสูงสุดและต่ําสุด
เกิดขึ้นที่ r = ro และ r = ri ตามลําดับ สําหรับเพลากลมตัน AB และ CD ถาทราบทอรกจะหา
ขนาดเสนผานศูนยกลางไดจาก  = Tr/J
การคํานวณ
สวนตัดดานซายในชวง AB เปน FBD
[Σ Mx = 0, ]
6 - TAB = 0
TAB = 6 kNm
สวนตัดดานซายในชวง BC เปน FBD
[Σ Mx = 0, ]
6 + 14 - TBC = 0
TBC = 20 kNm

ก) BC เปนเพลากลวง

 4 4
J= (ro  ri )
2

J= (0.06 4  0.045 4 )
2
= 13.92 x 10-6 m4
ที่ผิวดานนอกใหหนวยแรงเฉือนสูงสุด
TBC ro
max =
J
(20) (0.06)
=
13.92 x 10 6
= 86.2 MPa ตอบ
ที่ผิวดานในใหหนวยแรงเฉือนต่ําสุด
 ri 
min =   max
 ro 
 45 
=   (86.2)
 60 
= 64.7 MPa ตอบ
ข) เพลา AB และ CD
เนื่องจากทั้งเพลา AB และเพลา CD รับภาระ
บิดดวยทอรก T = 6 kNm เทากันและหนวย
แรงเฉือนใชงาน  = 65 MPa
Tr
 =
J
6r
65 x 103 =
 4
r
2
r3 = 58.8 x 10-6m3
r = 38.9 x 103m
d = 2(38.9 x 103)m
= 77.8 x 103m
= 77.8 mm ตอบ

3.6 จงหาทอรกที่ใสใหกับปลายเพลาดังแสดงในรูป ซึ่งทําใหมุมบิด  = 2˚ โดยกําหนดใหเพลา


มี G = 80 GPa และรายละเอียดอื่นดังรูป

หลักการวิเคราะห
เนื่องจากทราบมุมบิด จึงหาทอรกจาก  = TL/JG
การคํานวณ
G = 80 x 109Pa
L = 1.5 m
= 2  2  -3
 = 34.9 x 10 rad
 360 
 4 4
J = (ro  ri )
2

= (0.03 4  0.02 4 )  1.021 x 10 6 m 4
2
JG
[T = ]
L
(1.021x10 6 ) (80 x10 9 ) (34.9 x10 3 )
T =
1.5
= 1.90 kNm ตอบ

3.7 เพลาตอสองชวงทําจากเหล็กกลาซึ่งประกอบดวยเพลากลวงยาว 2 m ซึ่งมีเสนผานศูนยกลาง


ภายใน 70 mm และภายนอก 100 mm สวนเพลาอีกชวงหนึ่งเปนเพลาตันยาว 1.5 m และเสน
ผานศูนยกลาง 70 mm จงหาทอรกสูงสุดที่เพลาสามารถรับไดโดยไมเกินความเคนเฉือน 70 MPa
หรือมุมบิด 2.5˚ ในความยาว 3.5 m และกําหนดใหใช G = 83 GPa

หลักการวิเคราะห
พิจารณาทอรกจากการผิดรูปเชิงมุมในเพลาแตละชวงและจากการผิดรูปเชิงมุมของเพลา
ทั้งหมด แลวเลือกทอรกต่ําสุดเปนคําตอบ
การคํานวณ
เพลากลวง AC
2Tro 16Td o
max = 
 (ro  ri )  (d o4  d i4 )
4 4

  max  (d o4  d i4 ) 
T  
 16d o 
(70 x10 3 ) (0.14  0.07 4 )
T =
16(0.1)
= 10.44 kNm
เพลาตัน CB
16T
[max = ]
d 3
 max d 3
T =
16
(70 x10 3 ) (0.07 3 )
=
16
= 4.71 kNm
การผิดรูปเชิงมุมของเพลาทั้งหมด กําหนดใหการผิดรูปในทิศตามแกน x เปนบวก

(ก) FBD ของเพลาชวง AC


ดานซายมือ (TAC = +T)

(ข) FBD ของเพลาชวง BC


ดานซายมือ (TBC = +T)

[B/A = B/C+ C/A]


2.5
B/A = = 0.0436 rad
180
 TL 
B/C =   , C/A =  TL 
 JG  BC  JG  AC
ดังนั้น
T (1.5) T (2)
0.0436 = 
 
(0.07 4 )(83x10 6 ) (0.14  0.07 4 )(83 x10 6 )
32 32
 T = 4.0 kNm
ทอรกสูงสุดที่เพลาสามารถรับไดคือ 4.0 kNm ตอบ
3.8 เพลา AD ในแนวดิ่งถูกยึดติดกับพื้นที่จุด D ซึ่งรับภาระบิดดวยทอรก สําหรับเพลาชวง BC
นั้นเจาะรูที่มีขนาดเสนผานศูนยกลางเทากับ 44 mm โดยมีความลึกเทากับ CD (วัดจากฐาน
ของเพลา) ดังแสดงในรูปเพลาทําดวยเหล็กกลาซึ่งมี G = 80 GPa จงหามุมบิดที่จุด A

หลักการวิเคราะห
เพลามีทั้งหมด 3 ชวง AB, BC และ CD เพลาแตละชวงมีพื้นที่หนาตัดสม่ําเสมอและ
ทอรกภายในคงที่ จึงใชสมการ A/D = Σ(TL/JG)

การคํานวณ
ก) FBD ของสวนตัดชวง AB ดานบน

[Σ My = 0, ]
250 – TAB = 0
TAB = 250 Nm
ข) FBD ของสวนตัดชวง BC ดานบน

[Σ My = 0, ]
250 +2000 – TBC = 0
TBC = 2250 Nm
FBD ของสวนตัดชวง CD ดานบน

[Σ My = 0, ]
250 +2000 – TCD = 0
 TCD = 2250 Nm
ในที่นี้โมเมนตของความเฉื่อยเชิงขั้ว คือ
 4 
JAB = r  (0.015 4 )
2 2
= 0.0795 x 10-6m4

JBC = (0.03 4 )
2
= 1.272 x 10-6m4
 4 4
JCD = (ro  ri )
2

= (0.03 4  0.022 4 )
2
= 0.904 x 10-6 m4
มุมบิด

 TL 
[A/D = Σ  ]
 JG 
T AB L AB TBC LBC TCD LCD
A/D =  
GJ AB GJ BC GJ CD
1  (250) (0.4) (2250) (0.2) (2250) (0.6) 
= 9 
 
80 x10  0.0795 x10 6
1.272 x10  6 0.904 x10  6 
= 0.0388 rad = 2.22˚ ตอบ
3.9 เพลาดังแสดงในรูปประกอบดวยเพลาชวง AC, CD และ DB ซึ่งตอเขาดวยกันอยางแนน
หนาและรับภาระบิดดังแสดงในรูป เหล็กกลามี G = 83 GPa อะลูมิเนียมมี G = 28 GPa และ
สําหรับบรอนซมี G = 35 GPa จงหาหนวยแรงเฉือนสูงสุดที่เกิดขึ้นในเพลาแตละชวง

หลักการวิเคราะห
ใชสมการ A/B = Σ (TL/JG) ไดความสัมพันธของ TA และ TB1 สมการเลือก FBD
ของเพลาประกอบทั้งหมดไดความสัมพันธของ TA และ TB อีก 1 สมการ เมื่อหา TA และ TB
ไดแลวนําไปคํานวณหาหนวยแรงเฉือนตอไป
การคํานวณ
(ก) FBD ของสวนตัดในชวง AC ดานขวา

(ข) FBD ของสวนตัดในชวง CD ดานขวา

(ค) FBD ของสวนตัดในชวง DB ดานขวา


 TL 
[A/B = Σ  , T- ]
 JG 
A/B = 0 = A/C+C/D+D/B
D/B = A/C+C/D …(1)
 4
[J= r ]
2

J1 = (0.0125 4 )  3.835 x10 8 m 4
2

J2 = (0.025 4 )  6.136 x10  7 m 4
2

J3 = (0.0125 4 )  3.835 x10 8 m 4
2
แทนคาลงในสมการ (1)
TB (1) T A (2) (T A  TC )(1.5)
 
(3.835 x10 ) (35 x10 ) (3.835 x10 ) (83x10 ) (6.136 x10 7 ) (28 x10 9 )
8 9 8 9

7.156 x 10-4 TA – 7.450 x 10-4 TB = 0.0262


7.156 TA – 7.450 TB = 261.92 …(2)
FBD ของเพลาทั้งหมดจะได

TA + TB = 300+700 = 1000 …(3)

จากสมการที่ (2) และ (3) จะได


TB = 472 Nm
TA = 528 Nm
16T
[ = ]
d 3
16(528)
s = = 172.1 MPa
 (0.025 3 )
16(528  300)
a = = 9.3 MPa
 (0.050 3 )
16(472)
b = = 153.8 MPa ตอบ
 (0.025 3 )
3.10 เพลาตันทําดวยเหล็กกลาสองทอนหมุนสงภาระบิดโดยใชเฟองดังแสดงในรูป ซึ่งกําหนดให
แตละเพลามี G = 80 GPa และหนวยแรงเฉือนใชงานเทากับ 55 MPa จงหา
ก) ทอรกสูงสุด To ซึ่งกระทําที่ปลาย A ของเพลา
ข) จงหามุมบิดที่ปลาย A ของเพลา AB ขณะหมุน

หลักการวิเคราะห
พิจารณาทอรกในแตละชวงเพลาโดยมีเฟอง B และ C เปนตัวถายทอดทอรกเลือกชวง
เพลาที่สามารถรับทอรกที่ต่ําที่สุดเปนคําตอบ จากนั้นหามุมบิดปลาย A เทียบกับปลาย B

การคํานวณ
FBD ในเฟองแตละตัว

เฟอง B
[∑ MB = 0 ]
F(20) – To = 0
เฟอง C
[∑ MC = 0 ]
F(56) – TCD = 0
 TCD = 2.8 To …(2)
ผลจากการเคลื่อนที่ในแนวเสนรอบวงของเฟองขบกันคูหนึ่งโดยปราศจากการไถลจะพบวา
rBB = rCC
 56 
B = C  rC  C  
r    20 
 B
B = 2.8 C …(2)

ก) หาทอรกสูงสุด

FBD เพลาชวง AB

เพลา AB ซึ่ง TAB = TO และ r = 0.009 m โดยมีหนวยแรงเฉือนใชงาน = 55 MPa ดังนั้น


Tr
[ = ]
J
TO (0.009)
55 x 106 =

(0.009 4 )
2
TO = 63.0 Nm
เพลา CD จากสมการที่ (1) โดยที่ r = 0.012 m และหนวยแรงเฉือนใชงาน  = 55 MPa
ดังนั้น
Tr
[ = ]
J
2.8TO (0.012)
55 x 106 =

(0.012 4 )
2
TO = 53.0 Nm
เลือกคาต่ําสุดเปนคําตอบ ดังนั้นทอรกสูงสุด TO = 53.0 Nm ตอบ

ข) หามุมบิด

เพลา AB โดยที่ TAB = TO = 53.0 Nm


TL
[ = , ]
JG
A/B = (53.3) (0.6)
 
(80 x10 9 )   (0.009 4 )
2
= 0.0388 rad
= 2.22

เพลา CD โดยที่ TCD = 2.8 TO


TL
[ = , ]
JG
(2.8) (53.3)(0.9)
C/D =
 
(80 x10 9 )   (0.012 4 )
2
= -0.0515 rad
= -2.95
C
เนื่องจากปลาย D ของเพลาถูกยึดไวกับที่ ดังนั้น C/D = C = 0.0515 rad (2.95˚)
แลวใชสมการ (2) จะได
B = -2.8C = -(2.8) (-2.95)
= 8.26˚

เพลา AB ปลาย A เคลื่อนที่เทียบกับปลาย B


[ A = B + A/B ]
= 8.26˚ + 2.22˚
= 10.48 ตอบ
ขอสังเกต
1. การหามุมบิดที่ดานใดดานหนึ่งของเพลาเทียบกับอีกดานหนึ่ง ซึ่งอยูกับที่หรือเรียก
ปลายตรึง (fixed end) เชน เพลา CD ในปญหาขอ 3.10
C/D = C- D
เมื่อปลาย D ตรึง D = 0
C = C/D
2. ถาปลายทั้งสองขางของเพลาสามารถหมุนได เชน เพลา AB ในปญหาขอ 3.10 มุม
บิดสัมพัทธที่ไดคือ
A/B = A- B (ปลาย A สัมพัทธกับปลาย B)
หรือ B/A = B- A (ปลาย B สัมพัทธกับปลาย A)

3.11 เพลาทําดวยเหล็กกลา 2 ทอน มีเสนผานศูนยกลาง 35 mm โดยเปนระบบเพลาขับที่ใชใน


โรงงานแหงหนึ่ง และตอถึงกันโดยใชเฟองขับ ดังแสดงในรูป เสนผานศูนยกลางของเฟอง B
และ C เปน 250 mm และ 150 mm ตามลําดับ ถาทอรกปอนเขาที่หนาตัดปลาย A ของเพลา
AB เทากับ 1.5 kNm กําหนดใหเหล็กกลามี G = 80 GPa จงหา
ก) หนวยแรงเฉือนสูงสุดที่หนาตัด D ของเพลา CD
ข) มุมบิดของหนาตัด A ของเพลา AB เทียบกับหนาตัด D ของเพลา CD
หลักการวิเคราะห
พิจารณา FBD ในแตละเฟองเพื่อหาทอรกกระทําตอเพลา CD แลวแทนคาหา max =
Tr/J พิจารณามุมบิด A/D = A/B + B/D

การคํานวณ
ก) หนวยแรงเฉือนสูงสุดที่หนาตัด D
FBD ของเฟอง B ที่ติดกับเพลา AB
[∑ MB = 0 ]
TA – rBF = 0 …(1)
FBD ของเฟอง C ที่ติดกับเพลา CD
[∑ MC = 0 ]
TD – rCF = 0 …(2)
จากสมการทั้งสอง
 rC 
TD =   T A
 rB 
 75 
=   (1.5 x10 )
3

 125 
= 900 Nm
เพลา CD
Tr
max =
J
900 (17.5 x10 3 )
=

(17.5 x10 3 ) 4
2
= 106.9 x 106 N/m2
= 106.9 MPa ตอบ
ข) หา A/D
ในที่นี้พิจารณาใหหนาตัด D อยูกับที่
เพลา CD

TL
[C/D = ]
JG
C/D = 900(1.6)

(35 x10 3 ) 4 (80 x10 9 )
32
= 0.12218 rad
เนื่องจากฟนบนเฟอง B และ C เคลื่อนที่ไปบนระยะทางที่เทากัน

S = rB B/D = rC C/D


 rC 
[ B/D =    C/D ]
 rB 
 75 
 B/D =   (0.12218) = 0.07331 rad
 125 
เพลา AB
มุมบิดที่หนาตัด A เทียบกับหนาตัด B คือ
TL
[A/B = ]
JG
(1.5 x10 3 ) (2)
A/B =

(35 x10 3 ) 4 (80 x10 9 )
32
= 0.2545 rad
[A/D = A/B+  B/D]
A/D = 0.07331 + 0.2545
= 0.328 rad
= 18.78˚ ตอบ

3.12 เพลากลมตันเรียวลดหนาตัด (tapered shaft) รับภาระบิดที่ปลายเพลาดวยทอรกกระทําที่


ระนาบตัดขวาง จงหาขนาดของมุมบิดในเทอมของ T, L, G และ r

หลักการวิเคราะห
สมมติใหเพลาเรียวลดหนาตัดเพียงเล็กนอย แลวพิจารณาขนาดมุมบิดจากสมการเชิง
อนุพันธโดยรัศมีของชิ้นสวนยอยที่เลือกพิจารณาเปนฟงกชันเชิงเสนกับแนวแกนของเพลา

การคํานวณ
จากสมการ (3.5)
 =  d =  d
dL dx
 
d = dx = dx …(1)
 G
T 2T 2T
 = = =
J  4  3
แทนคาลงในสมการที่ (1)
 2T
d = dx = dx …(2)
G  4
รัศมีของชิ้นสวนยอยเขียนเปนฟงกชันของ x คือ
L x
y = r 
 L 
 = 2r – r  L  x 
 L 
r
= ( L  x)
L
แทนคาลงในสมการที่ (2)
2TL4
d = dx
Gr 4 ( L  x) 4
 2TL4  1 1
L
2TL4
 = 4 
dx
 4 
 3
Gr O ( L  x) 4
3Gr  8L 3
L 
7TL
= ตอบ
12Gr 4

3.13 เพลากลมตันยาว 5 m รับความเคนเฉือนขนาด 60 MPa ทําใหบิดไปเปนมุม 4˚


กําหนดใหใช G = 83 GPa จงคํานวณหาเสนผานศูนยกลางของเพลา และกําลังที่เพลาถายทอดที่
รอบทํางาน 20 รอบตอวินาที

หลักการวิเคราะห
คํานวณหาขนาดเสนผานศูนยกลางของเพลาจากสมการของ max และมุมบิดและกําลัง
ของเพลาคํานวณจาก P = Tω

การคํานวณ
TL
[ = ]
GJ
4  2
 = T (5)
 360   
(83 x10 9 )  d 4 
 32 
d4 = 8.790 x 10-9T
16T
[ = ]
 d3
6 16T 16d 4
60 x 10 = =
 d3 (d 3 )(8.790 x 10 9 )
d = 0.104 m
= 104 mm ตอบ
ω = 2f
 0.104 4 
G = Tω =   (2 ) (20)
9 
 8.790 x10 
P = 1.67 MW ตอบ

3.14 คัปปลิงหนาแปลนใชสลักเกลียวยึดซึ่งมีแนววงยึดสลักเกลียววงเดียว สลักเกลียวมีทั้งหมด 8


ตัว ทําจากเหล็กกลาซึ่งมีเสนผานศูนยกลาง 20 mm และเสนผานศูนยกลางของแนววงยึดสลัก
เกลียวเทากับ 300 mm จงหาความสามารถรับทอรกของคัปปลิง ถาหนวยแรงเฉือนใชงานในสลัก
เกลียว 1 ตัว เปน 40 MPa

หลักการวิเคราะห
คํานวณทอรกจากสมการ T = PRn

การคํานวณ
[T = PRn]
 2
T = d Rn
2

= (0.02 2 ) (40 x10 3 ) (0.150) (8)
4
= 15.1 k Nm ตอบ

3.15 คัปปลิงหนาแปลนใชสลักเกลียวยึดซึ่งมีแนววงยึดสลักเกลียว 2 วง รวมศูนยกลาง ใชสลัก


เกลียวเสนผานศูนยกลาง 10 mm จํานวน 6 ตัว ซึ่งยึดบนแนววงยึดที่มีเสนผานศูนยกลาง 300
mm และสลักเกลียวเสนผานศูนยกลาง 10 mm จํานวน 4 ตัวซึ่งยึดบนแนววงยึดที่มีเสนผาน
ศูนยกลาง 130 mm รวมศูนยกลางดังแสดงในรูป สลักเกลียวทั้งหมดทําจากเหล็กกลา จงหาทอรก
ที่สามารถใสใหกับคัปปลิงไดโดยไมทําใหหนวยแรงเฉือนเกิน 60 MPa ในสลักเกลียว
หลักการวิเคราะห
เนื่องจากมีแนววงยึดสลักเกลียว 2 วง จึงหาทอรกโดยใชสมการ T = Σ PiRini

การคํานวณ
[T = Σ PiRini]
T = P1R1n1 + P2R2n2
 2 
= d  R1n1  d 2 R2 n2
4 4
 
= (0.012 ) (60 x10 3 ) (0.150) (6)  (0.012 ) (60 x10 3 ) (0.065) (4)
4 4
= 5.50 k Nm ตอบ

3.16 จงหาจํานวนของสลักเกลียวที่มีเสนผานศูนยกลาง 10 mm ซึ่งใชยึดบนแนววงยึดที่เสนผาน


ศูนยกลาง 300 mm ของคัปปลิงในปญหาขอ 3.22 และทําใหคัปปลิงสามารถรับทอรกไดถึง 8
kNm กําหนดใหสลักเกลียวทําจากเหล็กกลา

หลักการวิเคราะห
พิจารณาเชนเดียวกับปญหาขอ 3.22

การคํานวณ
[T = Σ PiRini]
T = P1R1n1 + P2R2n2
 
8 x 103 = (0.012 ) (60 x10 3 ) (0.150)n1  (0.012 ) (60 x10 3 ) (0.065) (4)
4 4
n1 = 9.58
จํานวนสลักเกลียวที่ใช 10 ตัว ตอบ
3.17 ใชหมุดย้ําขนาดเสนผานศูนยกลาง 20 mm จํานวน 6 ตัว ซึ่งยึดแผนโลหะเขากับชิ้นสวน
ตรึงดังแสดงในรูป ใชผลจากการวิเคราะหในขอ 3.16 จงหาหนวยแรงเฉือนเฉลี่ยในหมุดย้ําแตละ
ตัวภายใตแรงคูควบ 40 kN และจะสามารถเพิ่มแรงคูควบ P ไดเทาใดกอนที่หนวยแรงเฉือนเฉลี่ย
ในหมุดย้ําเกิน 60 MPa

หลักการวิเคราะห
 2
เนื่องจากมีสองแนวยึดสลักเกลียว พิจารณาจาก T = Σ PiRini โดยที่ Pi = d 1
4

การคํานวณ
1
R1 = 150 2  100 2
2
= 90.14 mm
R2 = 50 mm

1  2 R 
   1  1  2 
 R1 R2 R2 

1 =  90.14  2 = 1.803 2
 50 
ดังนั้นหนวยแรงสูงสุดเกิดขึ้นที่แนววงยึดสลักเกลียววงนอกสุด
ภายใตแรงคูควบ 40 kN อยางเดียว
[ T = P1R1n1 + P2R2n2 ]
 2 
T = d  1 R1 n1  d 2 2 R2 n 2
4 4
  
(40x103) (0.150) = (0.02 2 ) 1 (0.09014) (4)  (0.02 2 ) ( 1 ) (0.05) (2)
4 4 1.803
1 = 45.9 MPa ตอบ
ภายใตแรงคูควบ 40 kN และแรงคูควบ P
เนื่องจากหนวยแรงสูงสุดเกิดที่แนวยึดหมุดย้ําภายนอกกอน ดังนั้น
1 = 60 x 106N/m2
[T = ΣMO]
T = P (0.250) – (40 x 103) (0.150)
[ T = P1R1n1 + P2R2n2 ]
 2  
T = d  1 R1n1  d 2 ( 1 ) R2 n 2
4 4 1.803

P(0.250) – (40 x 103) (0.150) = (0.02 2 )(60 x10 6 ) (0.09014) (4) 
4
 60 x10 6
= 2
(0.02 ) ( ) (0.05) (2)
4 1.803
P = 55.4 kN ตอบ
ขอสังเกต
 เหตุที่ไมเลือก T = (40 x 103) (0.150) – P (0.250) เนื่องจากภายใตภาระบิดดวยทอรก T = (40 x 103)
(0.150) Nm นั้นเปนผลใหเกิดหนวยแรงเฉือนสูงสุด 1 = 45.9 MPa เทานั้น

3.18 แผนโลหะใชหมุดย้ําดังแสดงในรูปซึ่งยึดเขากับชิ้นสวนตรึงโดยใชหมุดย้ําทั้งสิ้น 3 ตัว แต


ละตัวมีขนาดเสนผานศูนยกลาง 10 mm จงคํานวณหาแรง P ที่กระทําตอแผนโลหะแลวไมทํา
ใหหนวยแรงเฉือนในหมุดย้ําตัวใดตัวหนึ่งเกิน 70 MPa

หลักการวิเคราะห
หาจุดเซนทรอยดในกลุมของหมุดย้ําทั้งหมด ทอรกทั้งหมดเกิดจากแรง P ซึ่งพิจารณาดวย
สมการ T = Σ PiRini
การคํานวณ
C = จุดเซนทรอยดของกลุมหมุดย้ํา
2
R1 = (150) = 100 mm
3
R2 = 75 2  50 2 = 90.14 mm
[T = Σ MC]
T = P(0.225)
1  2 
  
 R1 R2 
1 =  100  2 = 1.1092
 90.14 
 2 
[T = d  1 R1 n1  d 2 2 R2 n 2 ]
4 4
แทนคา

P(0.225) = (0.012 ) (70 x10 3 ) (0.100) (1)
4
 70 x10 3
=  (0.012 ) ( ) (0.09014) (2)
4 1.109
P = 6.42 kN ตอบ

3.19 ทอกลวงทําจากอะลูมิเนียมมีหนาตัดเปนสี่เหลี่ยมมุมฉากขนาด 60 x 100 mm ดังแสดงในรูป


(ก) และ (ข) โดยในรูป (ก) ทอกลวงมีความหนาสม่ําเสมอ 4 mm โดยใชกระบวนการอัดรีด
(extrusion) รูป (ข) ผนัง AB และ AC หนา 3 mm และผนัง BD และ CD หนา 5 mm โดย
ใชกระบวนการดีเฟกทีฟแฟบริเคชัน (defective frabrication) จงหาหนวยแรงเฉือนในผนังแตละ
ดานของทอกลวงภายใตทอรก 3 kNm
หลักการวิเคราะห
พิจารณาเปนทอกลวงผนังบาง หนวยแรงเฉือนในผนังทอมาจาก  = T/(2At) โดยที่ A
คือพื้นที่หนาตัดขวางซึ่งอยูในวงรอบของเสนศูนยกลางของความหนาทอ

การคํานวณ
ก) สําหรับทอกลวงที่มีความหนาสม่ําเสมอ
 100  4   60  4 
A =  
3
  5.376 x10 m
2

 1000   1000 
[ = T ]
2 At

3 x10 3
=
2(5.376 x10 3 ) (4 x10 3 )

= 69.8 MPa (ทุกดาน) ตอบ

ข) สําหรับทอกลวงที่มีความหนาไมสม่ําเสมอ
ใชศูนยกลางของความหนาเชนเดียวกับกรณีในขอ (ก)
3 x10 3
AB = AC =
2(5.376 x10 3 ) (3 x10 3 )
= 93.0 MPa ตอบ
3x10 3
BD = CD =
2(5.376 x10 3 ) (5 x10 3 )
= 55.8 MPa ตอบ

3.20 ทอกลวงหนาตัดรูปครึ่งวงกลมดังแสดงในรูป สมมติวาไมคิดผลของหนวยแรงหนาแนนที่


มุม จงหาทอรกซึ่งทําใหเกิดหนวยแรงเฉือนเทากับ 40 MPa
หลักการวิเคราะห
พิจารณาเชนเดียวกับปญหาขอ 3.19

การคํานวณ
[ = 2 At ]
ที่แนวเสนศูนยกลางของความหนา r = 0.025 m
 
T = 2  r 2 t
2
 
=  
2  0.025 2 (0.002) (40 x10 6 )
2
= 157 Nm ตอบ
3.21 ทอกลวงหนาตัดรูปวงรีหนา 3 mm ดังแสดงในรูป จงหาทอรกซึ่งทําใหเกิดหนวยแรง
เฉือนเทากับ 60 MPa

หลักการวิเคราะห
พื้นที่ของวงรีหาจาก A = ab (a = ความยาวครึ่งหนึ่งของแกนหลัก, b = ความยาว
ครึ่งหนึ่งของแกนรอง) โดยวัดขนาดของวงรีที่เสนศูนยกลางของความหนาของทอ

การคํานวณ
[A = ab ]
A = 75 mm, b = 37.5 mm
A = (0.0375) (0.075)
= 8.836 x 10-3m2
T
[max = ]
2 At
T
60 x 106 =
2(8.836 x10 3 ) (0.003)
= 3.18 kNm ตอบ
3.22 จงหาขนาดของ a ถามีทอรกขนาด 600 Nm กระทําตอทอกลวงหนา 3 mm และมีหนา
ตัดดังแสดงในรูป แลวทําใหเกิดหนวยแรงเฉือนเทากับ 70 MPa

หลักการวิเคราะห
ใชสมการ max = T / (2At) หาพื้นที่หนาตัดขวาง A

การคํานวณ
A = r2+2ra
= (0.012) + 2 (0.01) (a)
= 3.1416 x 10-4+0.02a
T
[max = ]
2 At
600
70 x 106 = 4
2(3.1416 x10  0.02a ) (0.003)
a = 0.0557 m
= 55.7 m ตอบ

3.23 กําหนดใหหนวยแรงเฉือนใชงานเทากับ 35 MPa จงหาทอรกสูงสุดที่กระทําตอแทง


ทองเหลืองแตละแทงและมุมบิด ทั้งนี้ใช G = 40 MPa สําหรับทองเหลือง
หลักการวิเคราะห
สําหรับแทงวัสดุหนาตัดสี่เหลี่ยมมุมฉากหาทอรกจาก max = T / (c1ab2) และมุมบิดจาก
 = TL/(c2ab3G)
การคํานวณ
แทงทองเหลือง (1)
ตารางที่ 3.1
A = 50 mm, b = 50 mm, a/b = 1.0
 c1 = 0.208, c2 = 0.1406
T
[max = ]
c1ab 2
T
35 x 106 =
(0.208) (0.05 3 )
= 910 Nm ตอบ
TL
[ = ]
c 2 ab 3G

 = (910) (0.325)
(0.1406) (0.05 4 ) (40 x10 9 )
= 8.414 x 10-3rad
= 0.482˚ ตอบ
แทงทองเหลือง (2)
ตารางที่ 3.1
70
a = 70 mm, b = 35 mm, a/b = = 2.0
35
 c1 = 0.246, c2 = 0.229
T
[max = ]
c1ab 2
T
35 x 106 =
(0.246) (0.070)(0.035 2 )
T = 738.3 Nm ตอบ
TL
[ = ]
c 2 ab 3G

 = (738.8) (0.325)
(0.229)(0.070) (0.035 3 ) (40 x10 9 )
 = 8.728 x 10-3rad
= 0.5˚ ตอบ
3.24 ทอรก T = 300 Nm กระทําตอแทงอะลูมิเนียมแตละแทงโดยกําหนดใหหนวยแรงเฉือน
ใชงานเทากับ 60 MPa จงหาขนาดของ d ในแตละแทงอะลูมิเนียม

หลักการวิเคราะห
แทงหนาตัดวงกลมใชสมการ max = 16T/(d3) สวนแทงหนาตัดสี่เหลี่ยมมุมฉากใช
สมการ max = T / (c1ab2)

การคํานวณ
แทงอะลูมิเนียม (1)
16T
[max = ]
d 3
(16)(300)
60 x 106 =
d 3
d = 0.0294
= 29.4 mm ตอบ
แทงอะลูมิเนียม (2)
ตารางที่ 3.1
a = d, b = d, a/b = 1.0
 c1 = 0.208
T
[max = ]
c1ab 2
300
60 x 106 =
0.208d 3
d = 0.0289 m
= 28.9 mm ตอบ
แทงอะลูมิเนียม (3)
ตารางที่ 3.1
a = 2d, b = d, a/b = 2.0
 c1 = 0.246
T
[max = ]
c1ab 2
300
60 x 106 =
(0.246)(2d )(d 2 )
d = 0.0217 m
= 21.7 mm ตอบ

3.25 กําหนดใหใชหนวยแรงเฉือนใชงานเทากับ 40 MPa จงหาทอรกสูงสุดซึ่งกระทําตอแทง


ทองเหลืองตันและทอทองเหลืองดังแสดงในรูปกําหนดใหแทงทองเหลืองตันทั้งสองมีพื้นที่หนาตัด
เทากัน สวนทอทองเหลืองมีหนาตัดเปนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสหนา t

หลักการวิเคราะห
สําหรับแทงทองเหลืองตันหนาตัดรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากใชสมการ max = T / (c1ab2)
และทอทองเหลืองกลวงใชสมการ max = T / (2At)
การคํานวณ
1) แทงทองเหลืองหนาตัดเปนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส

a
a = b = 0.04 m, = 1.00 อานได c1 = 0.208
b
T
[max = ]
c1ab 2
T
40 x 106 =
(0.208) (0.04 3 )
T = 532 Nm ตอบ
2) แทงทองเหลืองหนาตัดเปนรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก
a
A = 0.064 m, b = 0.025 m, = 2.56
b
ประมาณคาในชวงในตารางที่ 3.1 c1 = 0.259
T
[max = ]
c1ab 2
T
40 x 106 =
(0.259)(0.064) (0.025 2 )
T = 414 Nm ตอบ
3) ทอทองเหลืองหนาตัดเปนรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก

A คือพื้นหนาตัดขวางถูกลอมรอบดวยเสนศูนยกลางของความหนา ดังนั้น
A = (0.034) (0.034)
= 1.156 x 10-3m2
T
[max = ]
2 At
T
40 x 106 =
2(1.156 x10 3 ) (0.006)
T = 555 Nm ตอบ
บทที่ 4 แรงเฉือนและโมเมนตดัดในคาน (SHEAR AND BENDING MOMENT IN BEAMS)

ลักษณะคาน
1. คานดีเทอรมิเนตเชิงสถิต (Statically Determinate Beam) หมายถึง คานที่สามารถ
วิเคราะหหาแรงปฏิกิริยาตางๆ ไดโดยการใชสมการสมดุลหรือสมการ Fx  0, Fy  0 และ
M  0
1.1 คานอยางงาย (Simple Beam)
1.2 คานปลายยื่น (Cantilever Beam)
1.3 คานปลายยื่นเลย (Overhanging Beam)

รูปที่ 4-1 คานดีเทอรมิเนตเชิงสถิต


2. คานอินดีเทอรมิเนตเชิงสถิต (Statically Indeterminate Beam) หมายถึงคานที่ไมสามารถ
วิเคราะห เพื่อหาแรงปฏิกิริยาไดโดยใชสมการสมดุลแตเพียงลําพังตองอาศัย วิธีอื่นเขามาชวย
2.1 คานแบบมีค้ํายัน (Propped Beam)
2.2 คานปลายตรึง (Fixed or Restrained Beam)
2.3 คานตอเนื่อง (Cantinuous Beam)

รูปที่ 4-2 คานอินดีเทอรมิเนตเชิงสถิต

ลักษณะของฐานรองรับของคาน
1. ฐานรองรับหมุนและเคลื่อนที่ได (Roller Support)

รูปที่ 4-3 ฐานรองรับหมุนและเคลื่อนที่ได


2. ฐานรองรับชนิดยึดหมุน (Hinge or Pinned Support)

รูปที่ 4-4 ฐานรองรับชนิดยึดหมุน

1. ฐานรองรับชนิดยึดแนน (Fixed Support)

รูปที่ 4-5 ฐานรองรับชนิดยึดแนน


แรงเฉือนและโมเมนตดัดในคาน
จากรูปขางตน FBDของคานรูป (ก) มแี รงกระทําเปนจุด P ซึ่งสมดุลกับแรงปฏิกิริยาที่จุด
รองรับ R1 และ R2 (ไมคิดน้ําหนักของคาน) ที่สว นตัด a-a แบงคานออกเปน 2 สวน ในสภาพสมดุล
ของสวนตัดแตละดานจําเปนตองมีแรงเฉือนตาน (Resisting Shear, Vr) และโมเมนตตาน (Resisting
Moment, Mr) กระทําดังแสดงในรูป (ข) และ (ค)

รูปที่ 4-6 สภาพสมดุลของสวนตัดทางดานซายและขวาของคาน


เมื่อพิจารณาจาก FBD สวนตัดของคานดานซาย แรงเฉือนบนหนาตัดของ FBD สวนตัด
ของคานดานซายคํานวณจาก
V  Fy L ,  
ความหมายของสมการคือ แรงเฉือนในคานเทากับผลรวมของแรงภายนอกที่กระทําตอ
FBD สวนตัดของคานดานซาย และกําหนดใหแรงภายนอกที่มีทิศขึ้นนั้นเปนบวกเสมอ
การกําหนดเครื่องหมายของแรงเฉือนในคาน (V) ใหพิจารณาจากผลของการกระทําของ
แรงภายนอก ดังรูปตอไปนี้
รูปที่ 4-7 เครื่องหมายของแรงเฉือนในคาน

และเมื่อพิจารณาโมเมนตดัดบนหนาตัดของ FBDสวนตัดของคานดานซาย พบวา


M  M L , +
ความหมายของสมการ คือ โมเมนตดัดในคานเทากับผลรวมของโมเมนต เนื่องจากแรง
ภายนอกรอบหนาตัดของ FBD สวนตัดของคานดานซาย และกําหนดใหโมเมนตในทิศตามเข็ม
นาฬิกานั้นเปนบวกเสมอ
การกําหนดเครื่องหมายของโมเมนตดัดในคานใหพิจารณาจากผลการกระทําของแรง
ภายนอก ดังรูปตอไปนี้

รูปที่ 4-8 เครื่องหมายของโมเมนตดัดในคาน

แผนภาพแรงเฉือน (Shearing Force Diagram, SFD) และแผนภาพโมเมนตดัด (Bending


Moment Diagram, BMD) ในคาน ขึ้นอยูกับชนิดของแรงกระทํา

ขั้นตอนในการสรางแผนภาพแรงเฉือน
1. จาก FBD ของคานทั้งหมด ใชสมการของสภาพสมดุลหาแรงปฏิกิริยาที่จุดรองรับ
2. เลือกสวนตัดของคานแตละชวงที่มีการเปลี่ยนแปลงของแรงกระทํา โดยในแตละชวงนั้น
จะเลือก FBD ของสวนตัดของคานดานซายพิจารณาแรงเฉือนในคาน และใชสมการ
V  Fy L ,   แตอยาลืมวาการพิจารณาในแตละชวงคานนั้น พิจารณาตําแหนงของสวนตัดดวย
ระยะทาง x วัดจากปลายคานดานซายเสมอ
3. นําผลการคํานวณของแรงเฉือนในขั้นตอน 2 มาเขียน SFD พรอมคํานวณตําแหนงที่แรง
เฉือนเปนศูนย
ขั้นตอนในการสรางแผนภาพโมเมนตดัด
1. จาก FBD ของคานทั้งหมด ใชสมการของสภาพสมดุลหาแรงปฏิกิริยาที่จุดรองรับ
2. เลือก FBD ของสวนตัดของคานดานซาย และหาโมเมนตดัดบนหนาตัดของคานจาก
สมการ M  M L , +
3. นําผลการคํานวณของโมเมนตดัดในขั้นตอน 2 มาเขียน BMD พรอมหาโมเมนตสูงสุด
หรือต่ําสุดที่ตําแหนงที่แรงเฉือนเปนศูนย

น้ําหนักบรรทุกเคลื่อนที่ (Moving Loads)

รูปที่ 4-9 น้ําหนักบรรทุกเคลื่อนที่กระทําบนคานรองรับแบบธรรมดา

น้ําหนักบรรทุกเคลื่อนที่ (Moving Loads)ที่เห็นไดชัดเจนคือ รถยนต รถบรรทุกหรือรถไฟ


ซึ่งเปนระบบของน้ําหนักกระทําแบบเปนจุด ตามปกติถาหากมีนํา้ หนักกระทําแบบเปนจุดเพียงอัน
เดียว กระทําบนคานรองรับแบบธรรมดา จะทําใหเกิดโมเมนตดัดสูงสุดในคานภายใตน้ําหนัก
กระทํานั้น และจําใหเกิดแรงเฉือนสูงสุด มีคาเทากับแรงปฏิกิริยาที่ฐานรองรับ ซึ่งอยูใกลน้ําหนัก
กระทํานั้น แตในกรณีที่มีน้ําหนักกระทําแบบเปนจุดหลาย ๆ อันเคลื่อนที่ไปบนคานรองรับแบบ
ธรรมดา ตําแหนงที่จะเกิดโมเมนตดัดสูงสุดภายใตนํา้ หนักกระทําแตละอัน ขึ้นอยูกับการวาง
น้ําหนักบรรทุกนั้น ๆ เชน มีนํา้ หนักบรรทุก และ เคลื่อนที่ไปบนคานรองรับแบบ
ธรรมดา เราสามารถจะวางน้ําหนักบรรทุกเหลานี้ใหเกิดโมเมนตดัดสูงสุดใตน้ําหนัก หรือ
หรือ หรือ ก็ไดแตโมเมนตดัดสูงสุดภายใตน้ําหนักเหลานี้ จะมีอันหนึ่งซึ่งมีคามากที่สุด
เรียกวา โมเมนตดัดสูงสุดสมบูรณสวนแรงเฉือนสูงสุดก็คือแรงปฏิกิริยาสูงสุด นั่นเองเราใชโมเมนต
ดัดสูงสุดสมบูรณและแรงเฉือนสูงสุดสมบูรณในการออกแบบคานที่รับน้ําหนักบรรทุกเคลื่อนที่

โมเมนตดัดสูงสุดสมบูรณ จะเกิดขึ้นภายใตน้ําหนักบรรทุกหนึ่งในสองของน้ําหนักบรรทุก
ที่อยูใกลกับน้ําหนักบรรทุกรวม ของน้ําหนักบรรทุกทั้งหมดบนคาน ถาน้ําหนักบรรทุกอันที่หนัก
กวาอยูใกลกับน้ําหนักบรรทุกรวมมากกวาอีกอันหนึ่ง ก็จะเกิดโมเมนตดัดสูงสุดสัมบูรณภายใต
น้ําหนักบรรทุกอันที่หนักกวานั้น แตถาน้ําหนักบรรทุกอันที่เบากวาตองหาโมเมนตดัดสูงสุดภายใต
น้ําหนักบรรทุกทั้งสอง แลวนํามาเปรียบเทียบกันเพื่อหาคาโมเมนตดัดสูงสุดสัมบูรณตอไป
แรงเฉือนสูงสุดสัมบูรณ หาไดจาก น้ําหนักบรรทุกตัวนอกสุดของกลุมน้ําหนัก วางอยูบน
ฐานรองรับอันที่อยูใกลกับน้ําหนักบรรทุกรวมมากกวา ตามรูป

รูปที่ 4-10 ตําแหนงของน้ําหนักบรรทุกที่ทําใหเกิดแรงเฉือนสูงสุด


แบบฝกหัดบทที่ 4

4.1 (คานรับแรงกระทําเปนจุดและโมเมนตแรงคูควบ) จากรูป คานมีจุดรองรับที่ตําแหนงของแรง


ปฏิกิริยา R1 และ R2 ถาไมคิดน้ําหนักของคาน จงเขียน SFD และ BMD พรอมทั้งหาโมเมนต
ดัดสูงสุดและตําแหนงในคานที่ใหโมเมนตดัดสูงสุด

หลักการวิเคราะห
เขียน FBD ของคานทั้งหมดและใชสมการของสภาพสมดุลหาแรงปฏิกิริยา จากนั้นให
เลือกสวนตัดของคานพิจารณา V และ M ในทุก ๆ ชวงที่มีการเปลี่ยนแปลงจุดกระทําของแรง

การคํานวณ
FBD ของคานทั้งหมด

[Σ MA= 0 ] R2(5) + 200 – 50(7) = 0


R2 = 30 kN
[Σ Fy = 0, ↑+] R1 + 30 – 50 = 0
R1 = 20 kN
สวนตัดดานซายของคานชวง AB (O < x < 2)
[V = (Σ Fy)L ,↑+]
VAB = 20 kN
[M = (Σ M)L , ]
MAB = 20x kNm
สวนตัดดานซายของคานชวง BC (2 < x < 5)
[V = (Σ Fy)L ,↑+]
VBC = 20 kN
[M = (Σ M)L , ]
MBC = 20x-200 kNm
สวนตัดดานซายของคานชวง CD (5 < x < 7)
[V = (Σ Fy)L ,↑+]
VCD = 20 + 30
= 50 kN
[M = (Σ M)L , ]
MCD = 20x + 30 (x-5)-200
= 50x - 350 kNm
นําเอาสมการของ V และ M ในคานแตละชวงมาเขียนแผนภาพ จะไดดังรูปตอไปนี้

ขอสังเกตจาก SFD และ BMD


SFD เนื่องจากแรงกระทําตอคานเปนแรงกระทําเปนจุด แบงคานเปนสองชวงคือ ชวง
AC โดยมี VAC = 20 kN และชวง CD โดยมี VCD = 50 kN ซึ่งใหกราฟรูปสี่เหลี่ยมเหนือ
แกน x 2 รูปใสคานสองชวงดังกลาว
BMD แบงพิจารณาทั้งสิ้น 3 ชงง ชวง AB, BC และ CD ชวง AB เปนกราฟรูป
สามเหลี่ยมตามสมการ MAB = 20x เนื่องจากจุด B มีโมเมนตแรงคูควบ - 200 kNm (ทิศทวน
เข็มนาฬิกา) กระทํา ดังนั้นโมเมนตลัพธที่จุด B คือ -160 kNm (ทิศทวนเข็มนาฬิกา) จึงได
กราฟรูสี่เหลี่ยมคางหมูในชวง BC ตามสมการ MBC = 20x-200 และที่จุด C มีโมเมนตลัพธ =
20(5) – 200 = -100 kNm (ทิศทวนเข็มนาฬิกา) และชวง CD ไดกราฟรูปสามเหลี่ยมตาม
สมการ MCD = 50x - 350 และโมเมนตดัดเปนศูนยที่ x = 70 m หรือที่จุด D
โมเมนตสูงสุดเทากับ 160 kNm ทิศตามเข็มนาฬิกา ที่ตําแหนง x = 2 m วัดจาก
ปลายคานดานซาย ตอบ

4.2 (คานรับแรงกระทําเปนจุดและแรงกระทําเปนบริเวณ) จากรูป คานมีจุดรองรับที่ตําแหนง


ของแรงปฏิกิริยา R1 และ R2 ถาไมคิดน้ําหนักของคาน จงเขียน FBD และ BMD

หลักการวิเคราะห
เลือกคานทั้งหมดเปน FBD และใชสมการของสภาพสมดุลหาแรงปฏิกิริยา จากนั้นให
เลือกสวนตัดของคานพิจารณา V และ M ในทุกๆ ชวงที่มีการเปลี่นแปลงจุดกระทําของแรง

การคํานวณ
FBD ของคานทั้งหมด
[Σ MA= 0 ]
-(30) (14) – (20) (5) (2.5)+10R2 = 0
R2 = 67 kN
[Σ Fy = 0, ↑+]
R1 + R2 – 30 – 100 = 0
R1 = 130 – 67 = 63 kN
สวนตัด a – a ดานซาย (คานในชวง AB คือ O < x < 5)
[V = (Σ Fy)L ,↑+]
VAB = 63 – 20x kN
[M = (Σ M)L , ]
MAB = 63x - (20x)  x 
2
= 63x – 10x2 kNm

สวนตัด b - b ดานซาย (คานในชวง BC คือ 5 < x < 10)


[V = (Σ Fy)L ,↑+]
VBC = 63 – 100
= -37 kN
[M = (Σ M)L , ]
MBC = 63x - 100(x-2.5)
= -37x + 250 kNm
สวนตัด c - c ดานซาย (คานในชวง CD คือ 10 < x < 14)

[V = (Σ Fy)L ,↑+] VCD = 63 – 100 + 67 = +30 kN


[M = (Σ M)L , ] MCD = 63x – 100(x-2.5) + 67(x- 10)
= 30x – 420 kNm
นําเอาสมการของ V และ M ในคานแตละชวงมาเขียนแผนภาพ จะไดดังรูป
ขอสังเกตจาก SFD และ BMD
SFD ในชวง AB คานรับแรงกระทําเปนบริเวณจึงไดกราฟรูปสามเหลี่ยมตามสมการ VAB
= 63 – 20x ซึ่ง VAB = 0 ที่ x = 63/20 = 3.15 m และที่จุด B พบวา VB = 63 – 20(5) = -37
kN คานในชวง BC พิจารณาวาเปนผลมาจากแรงกระทําเปนจุด จึงไดกราฟรูปสี่เหลี่ยมใตแกน x
ตามสมการ VAB = -37 kN จุด C เปนจุดรองรับและ R2 = 67 kN ดังนั้นแรงเฉือนลัพธ VC =
+67 – 37 = +30 kN คานในชวง CD พิจารณาวาเปนผลมาจากแรงกระทําเปนจุด จึงไดกราฟรูป
สี่เหลี่ยมเหนือแกน x ตามสมการ VCD = 30 kN
BMD ในชวง AB คานรับแรงกระทําเปนบริเวณ จึงไดกราฟรูปพาราโบลาตามสมการ
MAB = 63x – 10x2 ในชวงนี้โมเมนตสูงสุดอยูที่จุด x = 3.15 m และมีคาเทากับ 99.23 kNm ที่
จุด B พบวา MB = 63(5) – 10(5) 2 = 65 kNm ในชวง BC พิจารณาวาเปนผลมาจากแรง
กระทําเปนจุด จึงไดกราฟรูปสามเหลี่ยมตามสมการ MBC = 250 – 37x พบวาโมเมนตดัดเปน
ศูนยที่ x = 6.76 m ที่จุด C คํานวณ MC = 250 – 37(10) = -120 kNm ในชวง CD พิจารณา
วาเปนผลมาจากแรงกระทําเปนจุด จึงไดกราฟรูปสามเหลี่ยมใตแกน x ตามสมการ MCD = 30x –
420 (ทิศทวนเข็มนาฬิกาเสมอ) และที่จุด D คํานวณ MD = 30(14) – 420 = 0
พบวาโมเมนตสูงสุดเทากับ 120 kNm ทิศตามเข็มนาฬิกาที่ตําแหนง x = 10 m วัดจาก
ปลายคานดานซาย ตอบ
4.3 (คานรับแรงกระทําเปนบริเวณ) จากรูปคานมจุด
รองรับตรงตําแหนงของแรงปฏิกิริยา R1 และ R2
ถาไมคิดน้ําหนักคาน จงเขียน SFD และ BMD
พรอมทั้งหาโมเมนตดัดสูงสุดและตําแหนง

หลักการวิเคราะห
เขียน FBD ของคานทั้งหมดและใชสมการของสภาพสมดุลหาแรงปฏิกิริยา จากนั้นให
เลือกสวนตัดของคาน พิจารณา V และ M ในทุก ๆ ชวงที่มีการเปลี่ยนแปลงจุดกระทําของแรง

การคํานวณ
FBD ของคานทั้งหมด
[Σ MA= 0 ]
R2 (5) – 60(3) = 0
R2 = 36 kN
[Σ Fy = 0, ↑+]
R1 +36 – 60 = 0
R1 = 24 kN
สวนตัดดานซายของคานชวง AB (O < x < 2)
[V = (Σ Fy)L ,↑+]
VAB = 24 kN
[M = (Σ M)L , ]
MAB = 24x kNm
สวนตัดดานซายของคานชวง BC (2 < x < 4)
[V = (Σ Fy)L ,↑+]
VBC = 24 – 30(x-2)
= -30 + 84 kN
[M = (Σ M)L , ]
MBC = 24x – 30(x-2)  x  2 
 2 
= 24x – 15(x-2)2 kNm
สวนตัดดานซายของคานชวง CD (4 < x < 5)
[V = (Σ Fy)L ,↑+]
VCD = 24 - 60 = -36 kN
= 50 kN
[M = (Σ M)L , ]
MCD = 24x - 60 (x-3)
= 180 – 36x kNm

นําเอาสมการของ V และ M ในคานแตละชวงมาเขียนแผนภาพไดดังนี้

ขอสังเกตจาก SFD และ BMD


SFD คานในชวง AB เนื่องจาก VAB = 24 kN และมีคา คงที่ ดังนั้นจึงไดกราฟรูป
สี่เหลี่ยมเหนือแกน x ในชวง BC เปนแรงกระทําเปนบริเวณ จึงไดกราฟรูปสามเหลี่ยมตาม
สมการ VBC = 84 – 30x กราฟนี้ตัดแกน x ที่ x = 2.8 m และในชวง CD นั้นพิจารณาวาแรง
กระทําเปนจุด จึงไดกราฟรูปสี่เหลี่ยมใตแกน x โดยที่ VCD = 36 kN
BMD คานในชวง AB พิจารณาวาแรงกระทําเปนจุด จึงไดกราฟรูปสามเหลี่ยมตาม
สมการ MAB = 24x ในชวง BC เปนแรงกระทําเปนบริเวณ จึงไดกราฟรูปพาราโบลาตามสมการ
MBC = 24x – 15 (x-2)2 และในชวง CD นั้นเปนผลมาจากแรงกระทําเปนจุด จึงไดกราฟรูป
สามเหลี่ยมตามสมการ 180 – 36x และโมเมนตดัดเปนศูนยที่จุด D
สําหรับในชวง BC นั้นที่จุด x = 2.8 m (V = 0) พบวาโมเมนตสูงสุดคือ
Mmax = 24(2.8) – 15(2.8-2) 2
= 57.6 kNm ทิศทวนเข็มนาฬิกา ตอบ

4.4 (คานรับแรงกระทําเปนบริเวณ) จากรูป คานมีจุดรองรับตรงตําแหนงของแรงปฏิกิริยา R1


และ R2 ถาไมคิดน้ําหนักคาน จงเขียน SFD และ BMD พรอมทั้งหาโมเมนตตัดสูงสุดและ
ตําแหนง

หลักการวิเคราะห
เขียน FBD ของคานทั้งหมดและใชสมการของสภาพสมดุลหาแรงปฏิกิริยา จากนั้นให
เลือกสวนตัดของคาน พิจารณา V และ M ในทุกๆ ชวงที่มีการเปลี่ยนแปลงจุดกระทําของแรง

การคํานวณ
FBD ของคานทั้งหมด

[Σ MA= 0 ]
R2 (6) – 60(5) = 0
R2 = 50 kN
[Σ Fy = 0, ↑+]
R1 +50 – 60 = 0
R1 = 10 kN
สวนตัดดานซายของคานชวง AB (O < x < 2)
[V = (Σ Fy)L ,↑+]
VAB = 10 kN
[M = (Σ M)L , ]
MAB = 10x kNm
สวนตัดดานซายของคานชวง BC (2 < x < 6)
[V = (Σ Fy)L ,↑+]
VBC = 10-10(x-2)
= 30 – 10x kN
[M = (Σ M)L , ]
MBC = 10x
– 10(x-2)  x  2 
 2 
= 10x – 5(x-2)2 kNm
สวนตัดดานซายของคานชวง CD (6 < x < 8)
[V = (Σ Fy)L ,↑+]
VCD = 10+50-10 (x-2)
= 80-10x kN
[M = (Σ M)L , ]
MCD = 10x + 50 (x-6)-10(x-2)  x  2 
 2 
= -300 – 60x
-5(x-2)2 kNm
นําเอาสมการของ V และ M ในคานแตละชวงมาเขียนแผนภาพไดดังแสดงในหนาถัดไป
ขอสังเกตจาก SFD และ BMD
พิจารณาในคานแตละชวงดังนี้
ชวง AB เนื่องจากพิจารณาเปนผลมาจากแรงกระทําเปนจุด SFD จึงไดเปนกราฟรูป
สี่เหลี่ยมเหนือแกน x เทากับ + 10 kN และใน BMD ไดเปนกราฟรูปสามเหลี่ยมตามสมการ MAB
= 10x
ชวง BC เนื่องจากเปนผลมาจากแรงกระทําเปนบริเวณ SFD จึงไดเปนกราฟรูป
สามเหลี่ยมตามสมการ VBC = 30 – 10x แรงเฉือนเปนศูนยที่ x = 3m และที่จุด C แรงเฉือน
ลัพธ VC = 50 – 30 = +20 kN ใน BMD นั้นจะไดกราฟรูปพาราโบลาตามสมการ MBC = 10x
– 5 (x-2) 2 ที่ระยะ x = 3m พบวา Mmax = +25 kNm และเมื่อโมเมนตดัดเปนศูนยคํานวณจาก
สมการ 0 = 10x – 5 (x-2) 2 จะได x = 5.24 m
ชวง CD เนื่องจากเปนผลมาจากแรงกระทําเปนบริเวณ ดังนั้น SFD และ BMD จึงได
เปนกราฟรูปสามเหลี่ยมและรูปพาราโบลาตามลําดับ
พบวา Mmax = 25 kNm (ทิศทวนเข็มนาฬิกา) ที่ระยะ 3m วัดจากปลายคานดานซาย
ตอบ

4.5 (คานรับแรงกระทําเปนบริเวณ 2 ชวง) จากรูป คานมีจุดรองรับตรงตําแหนงของแรงปฏิกิริยา


R1 และ R2 จงเขียน SFD และ BMD พรอมทั้งคํานวณหาโมเมนตสูงสุดและตําแหนง ทั้งนี้ไม
คิดน้ําหนักคาน
หลักการวิเคราะห
เขียน FBD ของคานทั้งหมดและใชสมการของสภาพสมดุลหาแรงปฏิกิริยา จากนั้นให
เลือกสวนตัดของคาน พิจารณา V และ M ในทุกๆ ชวงที่มีการเปลี่ยนแปลงจุดกระทําของแรง

การคํานวณ
FBD ของคานทั้งหมด
[Σ MA= 0 ]
R2 (6) – 60(1) - 60(4) = 0
R2 = 50 kN
[Σ Fy = 0, ↑+]
R1 +50 – 60 - 60 = 0
R1 = 70 kN

สวนตัดดานซายของคานชวง AB (O < x < 1)


[V = (Σ Fy)L ,↑+]
VAB = 70-30x
[M = (Σ M)L , ]
MAB = 70x- 30x  x 
2
2
= 70x- 15x
สวนตัดดานซายของคานชวง BC (2 < x < 6)
[V = (Σ Fy)L ,↑+]
VBC = 70-60-15(x-2)
= 40 – 15x
[M = (Σ M)L , ]
MBC = 70x – 60(x-1)-15(x-2)  x  2 
 2 
= 10 +60-7.5(x-2)2
นําเอาสมการของ V และ M ในคานแตละชวงมาเขียนแผนภาพไดดังนี้

ขอสังเกตจาก SFD และ BMD


เนื่องจากเปนผลมาจากแรงกระทําเปนบริเวณ 2 ชวง SFD จึงไดเปนกราฟรูปสามเหลี่ยม
ทั้ง 2 รูป และ BMD ก็จะไดกราฟรูปพาราโบลาทั้ง 2 รูปเชนกัน
ในชวง BC นั้น V = 0 ที่ x = 2.67 m และพบวา Mmax = 10(2.67) + 60 – 7.5(2.67 –
2) 2 = 83.33 kNm
Mmax = 83.33 kNm (ทิศทวนเข็มนาฬิกา) ที่ระยะ 2.67m วัดจากปลายคานดานซาย
ตอบ

4.6 (คานรับแรงกระทําเปนบริเวณและแรงกระทําเปนจุด) จากรูป คานมีจุดรองรับที่ตําแหนงของ


แรงปฏิกิริยา R1 และ R2 ถาไมคิดน้ําหนักของคาน จงเขียน SFD และ BMD พรอมทั้งหา
โมเมนตตัดสูงสุดในคานและตําแหนง

หลักการวิเคราะห
เลือกสวนตัดของคาน พิจารณา V และ M ในทุกๆ ชวงที่มีการเปลี่ยนแปลงจุดกระทํา
ของแรง
การคํานวณ
สวนตัดดานซายของคานชวง AB (O < x < 3)
[V = (Σ Fy)L ,↑+]
VAB = -2x
[M = (Σ M)L , ]
MAB = -2x  x 
2
2
= -x kNm
สวนตัดดานซายของคานชวง BC (3 < x < 12)
[V = (Σ Fy)L ,↑+]
VBC = 20-2x kN
[M = (Σ M)L , ]
MBC = 20(x – 3)-2x  x 
2
2
= 20(x – 3)-x kNm

สวนตัดดานซายของคานชวง CD (12 < x < 15)

[V = (Σ Fy)L ,↑+]
VCD = 20 – 24 - 8
= -12 kN
[M = (Σ M)L , ]
MCD = 20(x – 3)- 24(x-6)-8(x-2)
= -12x + 180 kNm
นําเอาสมการของ V และ M ในคานแตละชวงมาเขียนแผนภาพ จะไดดังรูป

ขอสังเกตจาก SFD และ BMD


1) แบงพิจารณาคานเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงของแรงกระทํา 3 ชวง ชวง AB และ BC
เปนผลมาจากแรงกระทําเปนบริเวณ จึงได SFD และ BMD เปนกราฟรูปสามเหลี่ยมและรูป
พาราโบลาตามลําดับทั้ง 2 ชวง และพบวาในชวง BC นั้น V = 0 = 20 – 2x ดังนั้นจึงคํานวณ
ไดคา x = 10 m แทนคาในสมการจะได MBC = 20(10-3) – 102 = 40 kNm ซึ่งเปนโมเมนตดัด
สูงสุด สวน ชวง CD เปนผลจากแรงกระทําเปนจุด ทั้ง SFD และ BMD จึงไดเปนกราฟรูป
สี่เหลี่ยมและรูปสามเหลี่ยมตามลําดับ
Mmax = 40 kNm (ทิศทวนเข็มนาฬิกา) ที่ระยะ 10m วัดจากปลายคานดานซาย ตอบ

2) จาก SFD พบวาพื้นที่เหนือแกน x และใตแกน x มีดังนี้


1
A1 = (3) (-6) = -9 kNm
2
1
A2 = (7) (14) = +49 kNm
2
1
A3 = (2) (-4) = -4 kNm
2
A4 = 3 (-12) = -36 kNm
เนื่องจากโมเมนตดัดรอบจุด A เปนศูนย (MA = 0) ดังนั้น
MB = MA + M = 0 + A1 = -9 kNm
ME = MB + M = -9 + A2 = +40 kNm
MC = ME + M = +40 + A3= +36 kNm
MD = MC + M = +36 + A4= 0 kNm

4.7 (คานรับแรงกระทําเปนจุด แรงกระทําเปนบริเวณ และโมเมนตแรงคูควบ) จากรูป คานมีจุด


รองรับที่ตําแหนงของแรงปฏิกิริยา R1 และ R2 ถาไมคิดน้ําหนักของคาน จงเขียน SFD และ
BMD พรอมทั้งหาโมเมนตตัดสูงสุดในคานและตําแหนง

หลักการวิเคราะห
เขียน FBD ของคานทั้งหมดและใชสมการของสภาพสมดุลหาแรงปฏิกิริยา จากนั้นให
เลือกสวนตัดของคาน พิจารณา V และ M ในทุกๆ ชวงที่มีการเปลี่ยนแปลงจุดกระทําของแรง

การคํานวณ
FBD ของคานทั้งหมด

[Σ ME= 0 ]
30(6) + 60(3.5) – 60 - R1(5) = 0
R1 = 66 kN
[Σ Fy = 0, ↑+]
R2 +66 – 30 - 60 =0
R2 = 24 kN
สวนตัดดานซายของคานชวง AB (O < x < 1)
[V = (Σ Fy)L ,↑+]
VAB = -30 kN
[M = (Σ M)L , ]
MAB = -30x kNm
สวนตัดดานซายของคานชวง BC (1 < x < 4)
[V = (Σ Fy)L ,↑+]
VBC = 66 – 30 - 20(x – 1)
= 56 - 20x kN
[M = (Σ M)L , ]
MBC = 66(x – 1) -30x-20(x - 1)  x  1 
 2 
2
= -66 + 36x-10(x – 1) kNm
สวนตัดดานซายของคานชวง CD (4 < x < 5)

[V = (Σ Fy)L ,↑+]
VCD = 66 – 30 - 60
= -24 kN
[M = (Σ M)L , ]
MCD = 66(x – 1)- 30x -60(x-2.5)
= 84 – 24x kNm
สวนตัดดานซายของคานชวง DE (5 < x < 6)

[V = (Σ Fy)L ,↑+]
VDE = 66 – 30 - 60
= -24 kN
[M = (Σ M)L , ]
MDE = 66(x – 1)- 60 -30x - 60(x-2.5)
= 144 – 24x kNm
นําเอาสมการของ V และ M ในคานแตละชวงมาเขียนแผนภาพ จะไดดังรูป

ขอสังเกตจาก SFD และ BMD


ชวง AB พิจารณาวาเปนผลของแรงกระทําเปนจุด SFD และ BMD จะไดกราฟรูป
สี่เหลี่ยมและสามเหลี่ยมตามลําดับ
ชวง BC พิจารณาวาเปนผลมาจากแรงกระทําเปนบริเวณ SFD ไดกราฟรูปสามเหลี่ยม
ตามสมการ VBC = 56 – 20x และแรงเฉือน V = 0 ที่ x = 2.8 m สวน BMD นั้นไดกราฟรูป
พาราโบลาตามสมการ MBC = -66 + 36x – 10(x-1) 2 ซึ่งในชวง BC นี้โมเมนตเปนศูนยที่ x =
2.31 และ 3.28 m ตามลําดับและที่จุด x = 2.8 m นั้น M = -66 + 36(2.8) – 10(2.8 – 1) 2 =
+2.4 kNm
ชวง CE พิจารณาวาเปนผลมาจากแรงกระทําเปนจุด SFD จึงไดกราฟรูปสี่เหลี่ยมใตแกน
x เทากับ -24 kN
สําหรับ BMD ในชวง CD เปนกราฟรูปสี่เหลี่ยมคางหมูตามสมการ MCD = 84 – 24x
และ MD = 84 – 24(5) = -36 kNm สวนในชวง DE เปนกราฟรูปสามเหลี่ยมตามสมการ MDE
=144 – 24x ซึ่งพบวา MD = +24 kNm และ ME = 0
Mmax = 36 kNm (ทิศตามเข็มนาฬิกา) ที่ระยะ 5m วัดจากปลายคานดานซาย ตอบ
4.8 (คานปลายยื่นรับแรงกระทําเปนจุดและแรงกระทําเปนบริเวณ) จากรูป คานปลายยื่นรับแรง
กระทําเปนบริเวณขนาด 48 kN/m กระทําในชวง 2 m และแรง 40 kN ที่จุด E จงเขียน SFD
และ BMD

หลักการวิเคราะห
ใหยายแรง 40 kN มาไวที่จุด D พิจารณาคานทั้งหมดเปน FBD หาแรงปฏิกิริยาที่จุด B
จากนั้นใหเลือกสวนตัดของคานพิจารณา V และ M ในทุกๆ ชวงที่มีการเปลี่ยนแปลงจุดกระทํา
ของแรง

การคํานวณ
FBD ของคานทั้งหมด
[Σ Fy = 0, ↑+]
R – 40 – (48) (2) = 0
R = 136 kN
[Σ MB= 0 ] หาโมเมนตตาน
ที่จุด B
MB+40(1.25)+96(3) - 20 = 0
MB = -318 kNm
MB = -318 kNm (ทิศตามเข็มนาฬิกา)
สวนตัดดานซายของคานชวง AC (O < x < 2
[V = (Σ Fy)L ,↑+]
VAC = -48 kN
[M = (Σ M)L , ]
MAC = -(48x)  x 
2
2
= -24x kNm
สวนตัดดานซายของคานชวง CD (2 < x < 2.75)
[V = (Σ Fy)L ,↑+]
VCD = -96 kN
[M = (Σ M)L , ]
MCD = -96(x-1)
= 96-96x kNm
สวนตัดดานซายของคานชวง DB
(2.75 < x < 4)

[V = (Σ Fy)L ,↑+]
VDB = -96 – 40
= -136 kN
[M = (Σ M)L , ]
MDB = -96(x – 1)- 40x (x-2.75)+20
= 226-136 kNm

นําเอาสมการของ V และ M ในคานแตละชวงมาเขียนแผนภาพไดดังนี้


4.9 (คานรับแรงกระทําเปนบริเวณ) จากรูป คานปลายตรึงปลายยื่นเลยมีจุดรองรับอยูตรงตําแหนง
ของแรงปฏิกิริยา 20 kN ถาไมคิดน้ําหนักของคาน จงเขียน SFD และ BMD ในคาน

หลักการวิเคราะห
เลือกสวนตัดของคานในชวง AB และ BC พิจารณา V และ M

การคํานวณ
สวนตัดดานซายของคานชวง AB (O < x < 2)
[V = (Σ Fy)L ,↑+]
VAB = -8x
[M = (Σ M)L , ]
MAB = -8x  x  = -4x2
2

สวนตัดดานซายของคานชวง BC (2 < x < 5)


[V = (Σ Fy)L ,↑+]
VBC = 20 - 8x
[M = (Σ M)L , ]
 x
MBC = 20(x-2) – 8  
2
= -4x2 +20x - 40
นําเอาสมการของ V และ M ในคานแตละชวงมาเขียนแผนภาพไดดังนี้

ขอสังเกตจาก SFD และ BMD


เนื่องจากไดรับแรงกระทําเปนบริเวณตลอดทั้งคาน SFD และ BMD จึงไดเปนกราฟรูป
สามเหลี่ยมและรูปพาราโบลาตามลําดับ
โดยเฉพาะจุด B เปนแระงกระทําเปนจุด 20 kN ทําให V = -16 kN เปลี่ยนเปน V =
+4 kN จากนั้นในชวง BC นั้น V = 0 ที่ x = 20/8 = 2.5 m และคํานวณโมเมนตดัด MD = -4(2.52)
+ 20 (2.5) – 40 = -15 kNm และโมเมนตดัดที่จุด C คือ MC = -40 kNm

4.10 จากแผนภาพแรงเฉือนที่กําหนดให จงเขียน SFD และ BMD


หลักการวิเคราะห
สําหรับ SFD ที่มีกราฟรูปพาราโบลาและสามเหลี่ยมใช w = dV/dx สวนโมเมนตดัดหา
ไดจาก M =  V dx

การคํานวณ

แผนภาพแรงเฉือน (SFD)
4 2
ชวง AB (0 < x < 3) VAB =  x  10
3
ชวง BC (3 < x < 4) VBC = -2 kN
ชวง CD (4 < x < 5) VCD = -8 kN
ชวง DE (5 < x < 7) VDE = 4x - 28 kN

แผนภาพแรงกระทํา (FBD)
8
ชวง AB (0 < x < 3) W =  x, w = -8 kN ที่ x = 3
3
RA = 10
ชวง BC (3 < x < 4) VC = -2 - PC = -8 kN ที่ x = 4
PC = 6 kN
ชวง DE (5 < x < 7) W = 4 kN/m

แผนภาพโมเมนตดัด (BMD)
4 3
ชวง AB (0 < x < 3) MAB = 10 x  x
9
ชวง BC (3 < x < 4) MBC = 10x – 12 (x - 2) = 24 – 2x
ชวง CD (4 < x < 5) MCD = 10x – 12 (x - 2) - 6 (x – 4)
= 48 – 8x
ชวง DE (5 < x < 7) MDE = 10x – 12 (x - 2) - 6 (x – 4) + 4 (x – 5)  x  5 
 2 
2
= 48 – 8x + 2(x – 5)
= 2x2 - 28x + 98

4.11 จากแผนภาพแรงเฉือนที่กําหนดให จงเขียน SFD และ BMD พรอมทั้งหาโมเมนตดัดสูงสุด


ในคาน

หลักการวิเคราะห
วิเคราะหเชนเดียวกับปญหาขอ 4.10
การคํานวณ

แผนภาพแรงเฉือน (SFD)
ชวง AB (0 < x < 2) VAB = 10x
ชวง BC (2 < x < 2.5) VBC = -80x + 180
ชวง CD (2.5 < x < 6.5) VCD = 10x - 45
ชวง DE (6.5 < x < 7) VDE = -80(x-6.5) +20
ชวง EF (7 < x < 9) VEF = 10(x - 7) -20

แผนภาพแรงกระทํา (FBD)
ชวง AB (0 < x < 2) WAB = 10 kN/m
ชวง BC (2 < x < 2.5) WBC = -80 kN/m
ชวง CD (2.5 < x < 6.5) WCD = 10 kN/m
ชวง DE (6.5 < x < 7) WDE = -80 kN/m
ชวง EF (7 < x < 9) WEF = 10 kN/m

แผนภาพโมเมนตดัด (BMD)
ชวง AB (0 < x < 2) MAB = 5 x2
ชวง BC (2 < x < 2.5) MBC = 20 (x - 1) -40(x - 2) 2
ชวง CD (2.5 < x < 6.5) MCD = 20 (x - 1) - 40 (x – 2.25) + 10 (x – 25) 2
2
ชวง DE (6.5 < x < 7) MDE = 20 (x - 1) - 40 (x – 2.25) + 40 (x – 4.5) – 40 (x – 6.5) 2
ชวง EF (7 < x < 9) MEF = 5 (9 – x) 2
โมเมนตสูงสุดในชวง BC และ DE ซึ่ง V = 0 ที่ 2.25 m และ 6.75 m
M = 20 (2.25 – 1) – 40 (2.25 – 2) 2
= 22.5 kNm ตอบ

4.12 (คานรับแรงกระทําเปนบริเวณรูปสามเหลี่ยมและสี่เหลี่ยม และแรงกระทําเปนจุด) จากรูป


คานมีจุดรองรับตรงตําแหนงของ R1 และ R2 จงเขียน SFD และ BMD พรอมทั้งหาโมเมนตตัด
สูงสุดและตําแหนง ทั้งนี้ ไมคิดน้ําหนักคาน

หลักการวิเคราะห
จากแผนภาพแรงกระทําของโจทย ใหเลือกสวนตัดของคาน พิจารณา V และ M ใน
ทุกๆ ชวงที่มีการเปลี่ยนแปลงจุดกระทําของแรง

การคํานวณ
สวนตัดดานซายของคานชวง AB (O < x < 9)
[V = (Σ Fy)L ,↑+]
2 2
VAB = 24 - x
3
[M = (Σ M)L , ]
MAB = 24x -  2 x 2   x  = 24x - 2 x3
3  3  9
สวนตัดดานซายของคานชวง BC (9 < x < 10)
[V = (Σ Fy)L ,↑+]
VBC = 24 - 54
= -30 kN
[M = (Σ M)L , ]
MBC = 24x – 54(x - 6)
= 324 - 30x kNm
สวนตัดดานซายของคานชวง CD (10 < x < 14)
[V = (Σ Fy)L ,↑+]
VCD = 24+10.5 (x - 10) - 54
= 10.5x - 135 kN
[M = (Σ M)L , ]
MCD = 24x + 10.5 (x-10)
 x2
  -54 (x-6)
 2 
= 324 – 30x + 5.25 (x – 10)2 kNm
สวนตัดดานซายของคานชวง DE (14 < x < 15)

[V = (Σ Fy)L ,↑+]
VDE = 24 + 42 – 54 = 12 kN
[M = (Σ M)L , ]
MDE = 24x + 42(x – 12)- 54 (x – 6)
= 12x – 180 kNm

นําเอาสมการของ V และ M ในคานแตละชวงมาเขียนแผนภาพจะไดดังรูป


ขอสังเกตจาก SFD และ BMD
จากแรงกระทําเปนบริเวณรูปสามเหลี่ยมในชวง AB นั้น SFD จะไดกราฟรูปพาราโบลา
ตัดแกน x (V = 0) ที่ x = 6 m สวน BMD จะไดกราฟเสนโคงระดับขั้นที่ 3 (3rd degree curve)
2 3
และพบวาโมเมนตดัดสูงสุด MF = 24 (6) - (6 ) = 96 kNm
9
สวนแรงกระทําเปนบริเวณรูปสี่เหลี่ยมในชวง CD นั้น SFD จะไดกราฟรูปสามเหลี่ยม
และตัดแกน x ที่จุด G ซึ่ง x = 135/10.5 = 12.86 m สวน BMD จะไดกราฟรูปพาราโบลา
(หรือเสนโคงระดับขั้นที่ 2) และพบวา MG = 324 – 30 (12.86) + 5.25 (12.86 – 10)2 = -18.86
kNm
สวนชวง BC และ DE พิจารณาเสมือนเปนผลมาจากแรงกระทําเปนจุด
พบวา Mmax = 96 kNm (ทิศทวนเข็มนาฬิกา) ที่ระยะ 6 m วัดจากปลายคานดานซาย ตอบ
4.13 (คานยื่นรับแรงกระทําเปนบริเวณรูปสามเหลี่ยมและแรงกระทําเปนจุด) จากรูปคานไมคิด
น้ําหนักคาน จงเขียน SFD และ BMD

หลักการวิเคราะห
ที่ FBD ของคานทั้งหมดปลายคานดาน D มีแรงเฉือน V และโมเมนตดาน M กระทํา
จากนั้นใหเลือกสวนตัดของคาน พิจารณา V และ M ในทุกๆ ชวงที่มีการเปลี่ยนแปลงจุดกระทํา
ของแรง

การคํานวณ
สวนตัดดานซายของคานชวง AB (O < x < 6)
[V = (Σ Fy)L ,↑+]
x2
VAB = - kN
2
[M = (Σ M)L , ]
  x 
2
MAB = -  x   
 2  3 
3
= - x kNm
6
สวนตัดดานซายของคานชวง BC (6 < x < 8)
[V = (Σ Fy)L ,↑+]
VBC = -18 kN
[M = (Σ M)L , ]
MBC = -18 (x - 4)
= -18x + 72 kNm
สวนตัดดานซายของคานชวง CD (8 < x < 10)
[V = (Σ Fy)L ,↑+]
VCD = -18 - 20
= -38 kN
[M = (Σ M)L , ]
MCD = -18 (x-4) - 20 (x-8)
= -38x + 232 kNm
นําเอาสมการของ V และ M ในคานแตละชวงมาเขียนแผนภาพจะไดดังรูป

ขอสังเกตจาก SFD และ BMD


ในชวง AB เปนผลมาจากแรงกระทําเปนบริเวณรูปสามเหลี่ยม ใน SFD และ BMD จึง
ไดกราฟเสนโคงระดับขั้นที่ 2 และขั้นที่ 3 ตามลําดับ จากนั้นในชวง BC และ CD นั้นจะเปนผล
จากแรงกระทําเปนจุด ใน SFD ไดกราฟรูปสามเหลี่ยม สวน BMD จะไดกราฟรูปสี่เหลี่ยมคางหมู
ทั้งนี้ เนื่องจากโมเมนตที่จุด B คือ MB = -36 kNm และ MBC = -18x + 72 ชวง CD ก็
วิเคราะหในทํานองเดียวกัน
4.14 (คานรับแรงกระทําเปนบริเวณรูปสามเหลี่ยมแบบสมมาตร) จากรูป คานมีจุดรองรับอยูตรง
ตําแหนงของแรงปฏิกิริยา R1 และ R2 ถาไมคิดน้ําหนักคาน จงเขียน SFD และ BMD พรอมทั้ง
หาโมเมนตดัดสูงสุดในคานและตําแหนง

หลักการวิเคราะห
เขียน FBD ของคานทั้งหมดและใชสมการของสภาพสมดุลหาแรงปฏิกิริยา จากนั้นให
เลือกสวนตัดของคาน พิจารณา V และ M ในทุกๆ ชวงที่มีการเปลี่ยนแปลงจุดกระทําของแรง

การคํานวณ
FBD ของคานทั้งหมด

เนื่องจากแรงกระจายอยางสม่ําเสมอและสมมาตรรอบจุดกึ่งกลางของคาน ดังนั้น
Lw
R1 = R2 =
4
L
สวนตัดดานซายของคานชวง AB (O < x < )
2
1 x y
P1 = xy, 
2 L/2 w
y = 2 xw
L
wx 2
P1 =
L
[V = (Σ Fy)L ,↑+]
Lw wx 2
VAB = 
4 L
[M = (Σ M)L , ]
Lw wx 2  x Lw wx 3
MAB =    = 
4 L 3 4 3L
สวนตัดดานซายของคานชวง BC ( L < x < L)
2

Lx y 2( L  x ) w
รูปสามเหลี่ยมคลาย   y 
L/2 w L
P2 = 1 (L – x)y = 1 (L – x) 2( L  x)w
2 2 L
= w (L – x)2
L
ใชสวนตัดดานขวา
[V = (Σ Fy) R ,↓+]
w Lw
VBC = (L – x)2 -
L 4
[M = (Σ M)R , ]
MBC = Lw
(L – x) - w (L – x)2  L  x 
4 L  3 
Lw
= (L – x) - w (L – x)3
4 3L

นําเอาสมการของ V และ M ในคานแตละชวงมาเขียนแผนภาพจะไดดังรูป


ขอสังเกตจาก SFD และ BMD
เนื่องจากแรงกระทําเปนบริเวณรูปสามเหลี่ยมอยางสมมาตร ดังนั้น SFD และ BMD จึง
ไดกราฟเสนโคงระดับขั้นที่ 2 และขั้นที่ 3 อยางสมมาตร ตามลําดับ ที่จุด B นั้น VB = 0 และ
MB = Mmax =  wL2
พบวา Mmax =  wL2 ที่ระยะ x = L
เมตร ตอบ
2

4.15 (คานรับแรงกระทําเปนบริเวณรูปสามเหลี่ยมแบบสมมาตร) จากรูป คานมีจุดรองรับอยูตรง


ตําแหนงของแรงปฏิกิริยา R1 และ R2 ถาไมคิดน้ําหนักคาน จงเขียน SFD และ BMD พรอมทั้ง
หาโมเมนตดัดสูงสุดในคานและตําแหนง

หลักการวิเคราะห
วิเคราะหเชนเดียวกับปญหาขอ 4.14

การคํานวณ
FBD ของคานทั้งหมด

เนื่องจากแรงกระจายอยางสม่ําเสมอและสมมาตรรอบจุดกึ่งกลางของคาน ดังนั้น
Lw
R1 = R2 =
4
L
สวนตัดดานซายของคานชวง AB (O < x < )
2
รูปสามเหลี่ยมคลาย
y ( L  2 x) / 2
=
w L/2
 L  2x 
y =  w
 L 
1  L  2x 
P1 =  y
2 2 
1  L  2x 
= ( L  2 x)  w
4  2 
1 w
=  ( L  2 x )
2

4 L
[V = (Σ Fy) R ,↓+]
1 w 2 Lw Lw
VAB =   (L – x) + -
4 L 4 4
1 w 2
=   (L – x)
4 L
[M = (Σ M)R , ]
MAB = Lw
(L – x) - Lw  5  w
 L  x - (L – x)2  L  2x 
4 4 6  4L  6 
wL2 w
= - (L – x)3
24 24 L
สวนตัดดานซายของคานชวง BC ( L < x < L)
2
รูปสามเหลี่ยมคลาย
y 2x  L
=
w L
(2 x  L) w
Y =
L
P2 = 1  x  L  y
2 2
1  2x  L 
= (2 x  L) w
4  L 
w
= (2 x  L) 2
4L
[V = (Σ Fy)L ,↑+]
Lw Lw w
VBC =   (2 x  L) 2
4 4 4L
w
=  ( 2 x  L) 2
4L
[M = (Σ M)L , ]
Lw Lw  L w  1  L
MAB = ( x)  x   (2 x  L) 2    x  
4 4  6  4L  3 6
2
wL w
=  (2 x  L ) 3
24 24 L
นําเอาสมการของ V และ M ในคานแตละชวงมาเขียนแผนภาพจะไดดังนี้

เนื่องจากแรงกระทําเปนบริเวณรูปสามเหลี่ยมอยางสมมาตร จึงได SFD และ BMD เปน


กราฟเสนโคงพาราโบลาและเสนโคงระดับขั้นที่ 3 แบบสมมาตร ตามลําดับเชนกัน ซึ่งพบวา ที่
1
จุดกึ่งกลางของคาน (จุด B) VB = 0 และ MB = Mmax = wL2
24
1 L
พบวา Mmax = wL2 ที่ระยะ x = เมตร ตอบ
24 2
4.16 (คานรับแรงกระทําเปนบริเวณรูปสามเหลี่ยมแบบสมมาตร) จากรูป คานมีจุดรองรับอยูตรง
ตําแหนงของแรงปฏิกิริยา R1 และ R2 ถาไมคิดน้ําหนักคาน จงเขียน SFD และ BMD พรอมทั้ง
หาโมเมนตดัดสูงสุดในคานและตําแหนง

หลักการวิเคราะห
หลังจากพิจารณาหา R1 และ R2 ไดแลว จะใช FBD สวนตัดดานขวาพิจารณาหา V
และ M ในทุกๆ ชวงที่มีการเปลี่ยนแปลงของแรงกระทําในชวง AB และ BC สวนชวง CD
และ DE นั้นใหพิจารณาจาก FBD สวนตัดดานซาย

การคํานวณ
FBD ของคานทั้งหมด

เนื่องจากแรงกระจายอยางสมมาตร ดังนั้น
R1 = R2 = 36 kN

สวนตัดดานซายของคานชวง AB (O < x < 3)

y 6 x
รูปสามเหลี่ยมคลาย   y  2( 6  x )
12 6
1
P1 = ( 6  x ) ( 2) ( 6  x )  ( 6  x ) 2
2
[V = (Σ Fy) R ,↓+]
VAB = (6 - x)2 + 36 – 36 – 36 = (6 - x)2– 36
[M = (Σ M)R , ]
MAB = 36 (3 – x) + 36(9 – x) – 36(10 – x)-(6 – x) 2  1  (6 – x)
3
= 36 (2 – x) -  1  (6 – x) 3
3
สวนตัดดานซายของคานชวง BC (3 < x < 6)

y 6 x
รูปสามเหลี่ยมคลาย   y  2( 6  x )
12 6
1
P2 = ( 6  x ) ( 2) ( 6  x )  ( 6  x ) 2
2
[V = (Σ Fy) R ,↓+]
VBC = (6 - x)2 + 36 – 36 = (6 - x)2
[M = (Σ M)R , ]
MBC = 36 (9 – x) -(6 – x) 2  1  (6 – x) – 36(10 – x)
3
= -36 - 1 (6 – x) 3
3
สวนตัดดานซายของคานชวง CD (6 < x < 9)

y x6
รูปสามเหลี่ยมคลาย   y  2( x  6)
12 6
1
P3 = ( x  6) ( 2) ( x  6)  ( x  6) 2
2
[V = (Σ Fy)L ,↑+]
VCD = 36 – 36 - (x - 6)2 = - (x - 6)2
[M = (Σ M)L , ]
MCD = 36 (x - 3) - 36(x - 2) - (x - 6)2  1  (x - 6)
3
= -36 -  1  (x - 6) 3
3
สวนตัดดานซายของคานชวง DE (9 < x < 12)

y x6
รูปสามเหลี่ยมคลาย   y  2( x  6)
12 6
1
P4 = ( x  6) ( 2) ( x  6)  ( x  6) 2
2
[V = (Σ Fy)L ,↑+]
VDE = – 36 - (x - 6)2 + 36 + 36 = 36 - (x - 6)2
[M = (Σ M)L , ]
MDE = 36 (x - 3) + 36(x - 9) - 36(x - 2) - (x - 6)2  1  (x - 6)
3
= 36 (x - 10) -  1  (x - 6) 3
3
นําเอาสมการของ V และ M ในคานแตละชวงมาเขียนแผนภาพ จะไดดังนี้
ขอสังเกตจาก SFD และ BMD
เนื่องจากแรงกระทําเปนบริเวณรูปสามเหลี่ยม ดังนั้นใน SFD และ BMD จะใหกราฟรูป
พาราโบลาและเสนโคงระดับขั้นที่ 3 ตามลําดับ แตเนื่องจากมีแรงกระทําเปนจุดกระทําที่จุด B
และ D ใน SFD จึงมีขั้นตอนแรงเฉือนจาก -27 kN เปน 9 kN ที่จุด B และขั้นของแรงเฉือน
จาก -9 kN เปน 27 kN สวนใน BMD นั้นที่จุด B และ D มีโมเมนตดัดสูงสุดเทากับ 45
kNm ทิศทวนเข็มนาฬิกา เมื่อพิจารณาจาก FBD สวนตัดดานซาย
Mmax = 45 kNm (ทิศตามเข็มนาฬิกา) ที่ระยะ x = 3 และ 9 m วัดจากปลายคาน
ดานซาย ตอบ

4.17 (คานยื่นรับแรงกระทําเปนบริเวณรูปสามเหลี่ยม) จากรูปใหเขียน SFD และ BMD ทั้งนี้ไม


คิดน้ําหนักของคาน

หลักการวิเคราะห
เลือกสวนตัดของคานดานซายพิจารณา V และ M

การคํานวณ
สวนตัดของคานดานซาย

y Lx L x
รูปสามเหลี่ยมคลาย =    y  w
w  L   L 
1  L x  1 w 2
P1 =  w  w ( x )    x
2   L   2 L
Lx w
P2 =   wx  ( Lx  x )
2

 L  L
[V = (Σ Fy)L ,↑+]
1 w 2 w
V =   x  ( Lx  x )
2

2 L L
1 wx 2
= - wx +
2 L
[M = (Σ M)L , ]
1 w 2 2  w 2  x
M =   x  x   ( Lx  x ) 
2 L 3  L  2
1 w 1 1 w
=    x 3  wx 3    x 3
3 L  2 2 L
1 wx 3 1 2
=  wx ตอบ
6 L 2
นําเอาสมการของ V และ M ในคานมาเขียนแผนภาพไดดังนี้

4.18 (คานอยางงายรับแรงกระทําเปนบริเวณรูปสามเหลี่ยม 2 ชวง) จากรูป คานมีจุดรองรับตรง


ตําแหนงของ R1 และ R2 ถาไมคิดน้ําหนักของคาน จงเขียน SFD และ BMD พรอมทั้งหา
โมเมนตตัดสูงสุดในคานและตําแหนง

หลักการวิเคราะห
ใช FBD เปนคานทั้งหมดและใชสมการของสภาพสมดุลหาแรงปฏิกิริยา จากนั้นเลือก
สวนตัดของคาน พิจารณา V และ M ในทุกๆ ชวงที่มกี ารเปลี่ยนแปลงจุดกระทําของแรง
การคํานวณ
FBD ของคานทั้งหมด

[Σ MA = 0, ]
R2(9) – 36(2) – 27(8) = 0
R2 = 32 kN
[Σ Fy = 0, ↑+]
R1 + 32 – 36 - 27 = 0
R1 = 31 kN

สวนตัดดานซายของคานชวง AB (O < x < 6)


y 6x
รูปสามเหลี่ยมคลาย =  
12  6 
y = 2(6 – x)
1
P1 = (12 – 12 + 2x) (x) = x2
2
P2 = 2(6 – x) (x)
= 12x – 2x2
[V = (Σ Fy)L ,↑+]
VAB = 31 – x2 – 12x + 2x2
= 31 – 12x + x2
[M = (Σ M)L , ]
MAB = 31x – (x2)  2 x  - (12x – 2x2)  1 x 
3  2 
2 3 2 3
= 31x – x - 6x + x
3
= 31x – 6x2 + 1 x 3
3
สวนตัดดานซายของคานชวง BC (6 < x < 9)
รูปสามเหลี่ยมคลาย
y  x 6
=    y  6( x  6)
18  3 
1
P3 = (x – 6) (6) (x - 6) = 3(x – 6) 2
2
[V = (Σ Fy)L ,↑+]
VBC = 31 – 36 – 3(x – 6) 2
= -5 – 3 (x – 6) 2
[M = (Σ M)L , ]
MBC = 31x – 36(x – 2) – 3(x – 6) 2 1 ( x  6)
3
3
= 31x – 36x + 72 - (x – 6)
= 72 – 5x - (x – 6) 3

นําเอาสมการของ V และ M ในคานแตละชวงมาเขียนแผนภาพจะไดดังนี้

ขอสังเกตจาก SFD และ BMD


เนื่องจากแรงกระทําเปนบริเวณรูปสามเหลี่ยมทั้ง 2 ชวง SFD จึงไดเปนกราฟเสนโคงรูป
พาราโบลาทั้ง 2 ชวงดังกลาว และที่จุด D แรงเฉือน V = 0 ซึ่งตําแหนงหาจากสมการ 0 = 31 –
12x + x2 และจะได x = 3.763 m จากปลายคานดานซาย สวน BMD นั้นไดกราฟเสนโคงระดับ
ขั้นที่ 3 ทั้ง 2 ชวงเชนกันที่จุด D นั้นโมเมนตดัดสูงสุดคือ MD = 31(3.763) – 6(3.7632) +
(3.7632) = 49.5 kNm
Mmax = 49.5 kNm (ทิศทวนเข็มนาฬิกา) ที่ระยะ x = 3.763 m วัดจากปลายคาน
ดานซาย ตอบ

4.19 กําหนดภาระและแรงกระทําจากตัวรองรับของคานดังรูป จงเขียน SFD และ BMD พรอม


ทั้งหาโมเมนตสงู สุดและตําแหนง

หลักการวิเคราะห
เขียน FBD ของคานทั้งหมด ใชสมการของสภาพสมดุลหาแรงปฏิกิริยา ที่จุด
รองรับจากนั้นเลือกสวนตัดของคาน พิจารณา V และ M ในทุกๆ ชวงที่มีการเปลี่ยนแปลงจุด
กระทําของแรง

การคํานวณ
FBD ของคานทั้งหมด

[Σ Fy = 0, ↑+]
4w + 1w – 80 – 50 – 50 = 0
W = 36 kN/m

สวนตัดดานซายของคานชวง AB (O < x < 1)


รูปสามเหลี่ยมคลาย
y x
=  y  36 x
36 1
1
P1 = x (36 x)
2
= 18x2
[V = (Σ Fy)L ,↑+]
VAB = 18x2 kN
[M = (Σ M)L , ]
MAB = 18x2  x  = 6x2 kNm
3
สวนตัดดานซายของคานชวง BC (1 < x < 5)

[V = (Σ Fy)L ,↑+]
VBC= 18 + 36(x - 1) – 50-20(x – 1)
= -48 + 16x
[M = (Σ M)L , ]
MAB= 18  x  2   36( x  1) x  1 
 3  2 
-50(x – 1) – 20(x – 1)  x  1 
 2 
= -32x + 38 + 8 (x – 1)2 kNm
สวนตัดดานซายของคานชวง CD (5 < x < 6)
รูปสามเหลี่ยมคลาย
y 6x
=  y  36(6  x)
36 1
1
P2 = (6  x) (36) (6  x)  18(6  x) 2
2
[V = (Σ Fy) R ,↓+]
VCD = -18(6 - x) 2 kN
[M = (Σ M)R , ]
MCD = 18(6 - x) 2  6  x 
 3 
3
= 6(6 - x) kNm
นําเอาสมการของ V และ M ในคานแตละชวงมาเขียนแผนภาพจะไดดังนี้

4.20 (คานรับแรงกระทําเปนจุดและแรงกระทําเปนบริเวณ) จากรูป คานมีจุดรองรับอยูตรง


ตําแหนงของ R1 และ R2 ถาไมคิดน้ําหนักของคาน จงเขียน SFD และ BMD พรอมทั้งหา
โมเมนตดัดสูงสุดในคานและตําแหนง

หลักการวิเคราะห
เลือกสวนตัดของคาน พิจารณา V และ M ในทุกๆ ชวงที่มีการเปลี่ยนแปลงจุดกระทํา
ของแรง
การคํานวณ

จาก FBD 1
[Σ MA = 0, ]
5(1) + 20(2.5) + 7(4) – R2(5) + 2(6) = 0
R2 = 19 kN
[Σ Fy = 0, ↑+]
19 + R1- 5 – 20 – 7 – 2 = 0
R1 = 15 kN
วิเคราะห V และ M ในแตละชวงของคาน โดยใชสมการ
[V = (Σ Fy)L ,↑+] และ [M = (Σ M)L , ]

ชวง AE (FBD2)
V = 15 – 4x kN, M = 15x – 2x2 kNm
ชวง ED (FBD3)
V = 15 – 5 - 4x = 10 – 4x kN
M = 15x – 5(x – 1) – 2x2 kNm
ชวง DB (FBD4)
V = 15 – 5 - 4x - 7 = 3 – 4x kN
M = 15x – 5(x – 1) – 2x2- 7(x – 4) kNm
ชวง BC (FBD5)
V = 15 – 5 - 20 - 7 + 19 = +2 kN
M = 15x – 5(x – 1) – 20(x – 2.5) - 7(x – 4) + 19(x – 5)
= -2(6 – x) kNm
คํานวณโมเมนตดัด
MA = MC = 0
MB = 15(5) – 5(4) – 2(52) - 7(1) = -2 kNm
MD = 15(4) – 5(3) – 2(42) = +13 kNm
ME = 15(1) – 2(12) = +13 kNm
MF = 15(2.5) – 5(1.5) – 2(2.52) = +17.5 kNm(Mmax)
จาก SFD ในชวง ED นั้น VED = 0 = 10 – 4x x = 2.5 m
Mmax = 17.5 kNm (ทิศทวนเข็มนาฬิกา) ที่ระยะ x = 2.5 m วัดจากปลายคานดานซาย
ตอบ
นําเอาสมการของ V และ M ในคานแตละชวงมาเขียนแผนภาพจะไดดังนี้

เนื่องจากแรงกระทําเปนบริเวณรูปสามเหลี่ยมอยางสมมาตร จึงได SFD และ BMD เปน


กราฟเสนโคงพาราโบลาและเสนโคงระดับขั้นที่ 3 แบบสมมาตร ตามลําดับเชนกัน ซึ่งพบวา ที่
1
จุดกึ่งกลางของคาน (จุด B) VB = 0 และ MB = Mmax = wL2
24
1 L
พบวา Mmax = wL2 ที่ระยะ x = เมตร ตอบ
24 2
บทที่ 5 หนวยแรงในคาน (STRESSES IN BEAMS)
หนวยแรงดัด (Flexural Stress)

รูปที่ 5-1 สมดุลของ FBD สวนตัดของคานภายใตภาระดัด

เมื่อ = หนวยแรงดัด (Flexural stress) หรือใชสัญลักษณ

M = โมเมนตดัดที่กระทําบนพื้นที่หนาตัด

y = ระยะจากแกนสะเทินไปยังตําแหนงที่ตองการหาหนวยแรงดัด

I = โมเมนตความเฉื่อยรอบแกนสะเทิน

สมการขางตน เปนสูตรหนวยแรงดัด จะเห็นวาหนวยแรงดัดขึ้นอยูกับ y ถาหาก y มีคา


มากที่สุดจะไดหนวยแรงดัดสูงสุด (Maximum flexural stress) คามากที่สุดของ y คือ ระยะจากแกน
สะเทินไปยังเสนใยนอกสุดของคาน ใชสัญลักษณ c ดังนั้น

Mc M
 max  
I S

I
โดย S = คาโมดูลัสของหนาตัด (Section Modulus) =
C

สําหรับคานหนาตัดรูปสี่เหลี่ยมผืนผาหรือหนาตัดคานรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส สามารถหาคา
หนวยแรงดัดสูงสุดไดจากสมการดังนี้
รูปที่ 5-2 คานหนาตัดรูปสี่เหลี่ยมผืนผา

6M
 max 
bh 2

หนาตัดคานแบบประหยัด

คาหนวยแรงดัดมากสุดจะเกิดที่บริเวณผิวบนสุดและลางสุดของหนาตัด และจากสูตร
I
M  จะเห็นไดวาในกรณี คานที่หนาตัดรูปสี่เหลี่ยม การเพิ่มความลึกเพียงเล็กนอยและลดสวน
c
ของหนาตัดในชวงกลางลงก็ยังคงทําใหโมเมนตตานทานเพิ่มขึ้นได ซึ่งทําใหหนาตัดมีรูปรางที่ดู
แปลกออกไป แตประหยัดเนื้อวัสดุที่ใชทําคานมากขึ้น รูปรางของคานแบบประหยัดไดแสดงไว
ตามรูปขางลาง

รูปที่ 5-3 คานหนาตัดประหยัด

การเลือกหนาตัดคานในงานโครงสรางจะเลือกโดยพิจารณาจากคาโมดูลัสหนาตัดโดย
M
S

เมื่อ S = โมดูลัสหนาตัด (Section Modulus)

M = โมเมนตดัดที่เกิดขึ้น

σ = ความเคนใชงาน
เนื่องจากคานในงานโครงสรางมีน้ําหนัก ดังนั้นจะแบงพิจารณาโมเมนตดัดกระทําตอคาน
เปนผลมาจากภาระตาย หรือน้ําหนัก (Md) สวนโมเมนตดัดกระทําตอคานเปนผลมาจากภาระ
กระทําภายนอก (M  ) ดังนั้นโมเมนตตานในคานที่เลือกใช (Mr) นั้น จะมีคา
Mr  Md + M 
Mr Md M
 +
  

ดังนั้น S  Sd + S
ขั้นตอนในการเลือกหนาตัดคาน
1) จากภาระกระภายนอก (ไมคิดน้ําหนักของคาน) หาโมเมนตดัดสูงสุดในคานจาก
BMD (M)
2) คํานวณคาของมอดุลัสหนาตัด S    /  a โดยที่  a คือความเคนดัดใชงานที่
กําหนด
3) เลือกคานหนาตัดรูปมาตรฐานจากตาราง B ในภาคผนวก โดยเลือกขนาดระบุที่มี
มอดุลัสหนาตัด S > S  ที่คํานวณไดในขอ 2) จะได S select
4) ตรวจสอบคาของมอดุลัสของคานหนาตัดรูปมาตรฐานที่เลือกไดโดยคํานวณ Sd จาก
โมเมนตดัดในคานที่เปนผลเนื่องจากภาระตาย (หรือน้ําหนักของคาน) อยางเดียว ดังนั้นมอดุลัส
หนาตัดเนื่องจากภาระทั้งหมดคือ Sload = S  + S d ซึ่งตองพบวา

S select  Sload  S  + sd

5) คํานวณหาความเคนดัดจริง (  ac ) ในคานหนาตัดมาตรฐานที่เลือกขึ้นจากสมการ

 ac S select   a ( S   S d )
คานที่มีหนาตัดแบบไมสมมาตร (Unsymmetrical Section)
คานที่มีหนาตัดแบบไมสมมาตร หมายถึง คานที่มีสวนของหนาตัด ระหวางสวนบนและ
สวนลางของแกนสะเทินไมเทากัน
เกณฑในการกําหนดวาสวนไหนของหนาตัดควรจะมีคาเทาไรเปนไปตามสมการดังนี้

รูปที่ 5-4 คานหนาตัดแบบไมสมมาตร

yc  c

yt  t
เมื่อ  c และ  t คือคาหนวยแรงใชงาน เนื่องจากการกดและดึงตามลําดับ
อยาลืมวาตองคํานวณหาตําแหนงของแกนสะเทินกอน โดยใชสมการสมดุลโมเมนตของ
_ _
พื้นที่ A y  Ai y i

หนวยแรงเฉือน (Shearing Stress)

รูปที่ 5-5 พื้นที่หนาตัดคานสวนเหนือชั้นระนาบแนวระดับในคานที่ระยะ y1

VQ
 h 
Ib
เมื่อ τ or τh คือหนวยแรงเฉือนในแนวราบ
V คือแรงเฉือนในแนวดิ่งของหนาตัดคาน
I คือโมเมนตอินเนอรเชียรของหนาตัดคาน
Q คือโมเมนตของพื้นที่หนาตัดคานสวนที่อยูเหนือจุดที่กําลังพิจารณาคาความเคน
_
รอบแกนสะเทิน ซึ่งมีคาเทากับ Ai' y i
สําหรับคานหนาตัดรูปสี่เหลี่ยมนั้น จากสามการขางตนสามารถแปลงใหมไดเปน

รูปที่ 5-6 หนาตัดคานรูปสี่เหลี่ยมผืนผา

V  h2 
 h    y 2 
2I  4 
สําหรับหนวยแรงเฉือนในแนวราบสูงสุดสําหรับคานหนาตัดสี่เหลี่ยม สามารถหาไดจาก
สมการดังนี้
3V
 hmax 
2 bh
VQ
จากสูตร  h  พบวาเหมาะสําหรับคํานวณกับคานที่มีระยะ b บนหนาตัดวัด
Ib
ขนานกับแกนสะเทิน ถาหนาตัดเปนดังรูปขางลาง พบวาระยะ b บนหนาตัดวัดไมขนานกับแกน
สะเทิน ดังนั้นจึงจําเปนตองอาศัยแนวคิดของกระแสเฉือน (shear flow) ดังนี้

รูปที่ 5-7 หนาตัดคานแบบตาง ๆ ที่มีระยะ b ไมขนานกับแกน


VQ
q  b 
I
โดยที่ q ก็คือแรงเฉือนตอ 1 หนวยความยาวของคานที่หนาตัดที่พิจารณา ถาทราบกระแส
เฉือนจะสามารถคํานวณความเคนเฉือนไดจาก

q
 
b

รูปที่ 5-8 หนวยแรงเฉือนแนวราบและหนวยแรงเฉือนแนวตั้งบนชิ้นสวนเล็ก ๆ

ใหเราพิจารณาผลตอแผนภูมิแรงของชิ้นสวนในรูปขางตน รูปสาธิตจะอยูในรูป a และรูป


ดานหนาอยูในรูป b ความสมดุลของชิ้นสวนนี้นั้นเกิดจากการที่หนวยแรงเฉือน τhทางผิวลาง
จะตองมีหนวยแรงเฉือนที่เทากับผิวบน แรงที่ทําใหเกิดหนวยแรงเฉือนเชนนี้ จะทําใหเกิดโมเมนตคู
ควบในทิศทางทวนเข็มนาฬิกา และตองมีโมเมนตคูควบในทิศทางตามเข็มนาฬิกาเพื่อทําใหเกิด
ความสมดุล โมเมนตคูควบตามเข็มนาฬิกาจะทําใหเกิดหนวยแรงเฉือน τv ในผิวดิ่งของชิ้นสวน
h v
ดังนั้น เราจึงสรุปไดวาหนวยแรงเฉือนที่กระทําตอผิวหนึ่งของชิ้นสวนมักจะติดตามดวย
หนวยแรงเฉือนที่มีคาเทากันซึ่งกระทําตอผิวที่ตั้งฉาก

การออกแบบเพื่อตานทานหนวยแรงดัดและหนวยแรงเฉือน
โดยทั่วไปคานที่มีชวงสั้น เมื่อรับน้ําหนักบรรทุกมาก ๆ คาหนวยแรงเฉือนที่เกิดขึ้นจะเปน
ปจจัยสําคัญตอการเสียหายของคานมากกวาหนวยแรงดัด ในทางกลับกัน หากเปนคานที่มีชวงยาว
ๆ หนวยแรงดัดจะมีผลมากกวา นอกจากนี้วัสดุตางชนิดกันก็มีขีดความสามารถทนทานตอหนวย
แรงไดตางกัน เชนไมทนทานตอคาหนวยแรงเฉือนไดนอยกวาเหล็ก เปนตน

ขั้นตอนการคํานวณหาความสามารถรับแรงของคาน
ภายใตการกําหนดความเคนใชงาน  และ  ภายใตภาระกระทําขวาง W (W คือแรง
กระทําไมรูคา)
1) คํานวณหาโมเมนตความเฉื่อยรอบแกนสะเทิน (I) และโมเมนตสถิตของพื้นที่ (Q)
2) จาก SFD และ BMD หาแรงเฉือนสูงสุด (V) และโมเมนตดัดสูงสุด (M) ซึ่งติดตัว
แปร W
3) คํานวณ W จากสมการทั้งสองคือ  = VQ/Ib และ  = Mc/I
4) เลือกคาต่ําสุดของ W ที่คํานวณไดเปนคําตอบ
การกําหนดระยะหางของสลักเกลียวหรือหมุดย้ําที่ใชในคานประกอบ (Determination of Bolts or
Rivets Spacing in Built-Up Beam)

รูปที่ 5-9 ระยะหางของสลักเกลียวหรือหมุดย้ําในคานประกอบ

VQe
R
I
เมื่อ R = แรงตานทานสมดุลจากตัวยึดหรือแรงเฉือนในแนวราบ
V = แรงเฉือนสูงสุดในชวงคานที่มีตัวยึดติดตั้งอยู
Q = โมเมนตของหนาตัดรอบแกนสะเทิน
e = ระยะหางของตัวยึด
I = โมเมนตอินเนอรเชียรของพื้นที่หนาตัดรอบแกนสะเทิน
แบบฝกหัดบทที่ 5
5.1 เหล็กกลาแทงหนึ่งมีหนาตัดรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากขนาด 20 x 60 mm ภายใตโมเมนตแรงคูควบที่
ขนาดเทากันและทิศตรงกันขาม ซึ่งกระทําในระนาบสมมาตรในแนวดิ่งของแทงเหล็กกลานั้นดัง
รูป กําหนดแทงเหล็กนี้มีหนวยแรงคราก (yield strength) เทากับ 250 MPa จงหาขนาดของ
โมเมนตแรงคูควบนี้

หลักการวิเคราะห
แกนสะเทินของหนาตัดแกน z ผานจุดเซนทรอยดของหนาตัดแทง
เหล็ก จึงทราบคาของ c แทนคาในสมการ  max  Mc / I

การคํานวณ

โมเมนตความเฉื่อยรอบแกนสะเทิน (แกน Z)
 1 3
 I  12 bh 
 
I 
1
12
 
20  10 3 60  10 3 
3
 360  10 9 m 4

 max  Mc / I 
I  max
M 
c

 
360  10 9 250  10 3 
30  10 3
 3 kN  m ตอบ

5.2 แทงอลูมิเนียมมีพื้นที่หนาตัดเปนครึ่งวงกลม
และรัศมี r = 12 mm ดังรูป ถูกดัดใหเปน
สวนโคงของวงกลมซึ่งมีรัศมี   2.5 m
หันดานแบนของแทงอะลูมิเนียมเขาหาจุด
ศูนยกลางของสวนโคงนั้น กําหนดให E = 70
GPa จงหาความเครียดสูงสุด ความเคนกด
สูงสุด และความเคนดึงสูงสุด

หลักการวิเคราะห
เนื่องจากทราบรัศมีความโคงของการดัด   จึงหาหนวยการยืด-หดตัวสูงสุดจากสมการ
 max  c /  บนหนาตัดของแทงอลูมิเนียมจะทราบตําแหนงของจุดเซนทรอยด (จะ
ทราบคาระยะ C) จากนั้นใชสมการ  max  E max หาหนวยแรงดัดสูงสุด

การคํานวณ

หาระยะทางสูงสุดวัดจากผิวสะเทินไปยังขอบผิวคาน (c)
4r 4(12)
y   5.09 mm
3 3
c  r  y  12  5.09  6.91 mm
 c
 max  p 
 
6.91 10 3
 max   2.76 10 3 ตอบ
2.5
 max  E max 
 max  70  10 9 2.76  10 3 
 193.2 MPa (คาสัมบูรณ)
  t  193.2  a (หนวยแรงดึงสูงสุด) ตอบ

 c  y max / c 

c 
5.09  10 193.2
3

6.91  10 3
 142.3  a (หนวยแรงกดสูงสุด) ตอบ

5.3 คานหนาตัดรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากขนาด 150 mm x 250 mm มีจุดรองรับที่ตําแหนงของ R 1


และ R 2 รับแรงดังรูป จงหาความเคนดัดสูงสุดในคาน

หลักการวิเคราะห
พื้นที่ใตกราฟ SFD ในชวงใดยอมเทากับการเปลี่ยนแปลงของโมเมนตดัดในชวงนั้น
ซึ่งจะหาโมเมนตดัดสูงสุด (M max) ได จากนั้นคํานวณโมเมนตดัดสูงจาก  max  M max / S

การคํานวณ
ชวง AB MB - MA = พื้นที่ใตกราฟ SFD ในชวง AB
MB - 0 = 1
14  22   16 kN  m
2
B   16 kN  m (โมเมนตดัดสูงสุด)
ชวง BC MC - MB = พื้นที่ใตกราฟ SFD ในชวง BC
MC - 16 = - 1
13  191
2
 Mc  0
มอดุลัสหนาตัด (S)
 1 2
 S  6 bh 
 
S = 0.150 0.250 2
1
6
 
= 1.5625  10 3 m 3
 
 max  S 
 

16
 max 
1.5625  10 3
= 10240 kPa
= 10.24 MPa ตอบ
ขอควรจําเพิ่มเติม

เนื่องจากในชวง AC คานมีโมเมนตดัดเปนบวก ดังนั้นคานจะดัดโคงหงายขึ้นในชวง AC


จึงพบวา หนาตัดคานสวนเหนือผิ วสะเทินจะรับการกด และสวนใตผิวสะเทินจะรับการดึง ซึ่ง
พิจารณาที่ระยะ X ใดๆ (0 < x < 3m) จะไดดังรูป
5.4 คานยื่นมีหนาตัดเปนรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากขนาด 60 mm x 200 mm และยาว 6 m รับแรง
กระทําเปนบริเวณรูปสามเหลี่ยมโดยที่ปลายคานดานขวา มี w = 1000 N/m (ดานติดกับ
ผนัง) จงหา
ก) ขนาดและตําแหนงของหนวยแรงดัดสูงสุด
ข) ขนาดและชนิดของหนวยแรงดัดในคานที่ระยะ 40 mm หางจากขอบผิวคานดานบน และ
ตําแหนง x = 3 m วัดจากปลายคานดานซาย

หลักการวิเคราะห
หาสมการของโมเมนตดัดในชวง AB และ M max ที่ x = 6 m เนื่องจากโมเมนตดัด
เปนลบในชวง AB ดังนั้นคานจึงดัดโคงคว่ําลง ในที่น่ีจะคํานวณหนวยแรงดัดสูงสุดจาก
 max  M / S และโมเมนตดัดที่ตําแหนงใดๆ จาก  x   My / I

การคํานวณ
ก) สวนตัดดานซายของคานในชวง AB
x y xw
รูปสามเหลี่ยมคลาย   y 
6 x 6

P = 1 xy  1 x 2 w
2 12
[M = (∑ M) L , +]
M = -P  x 
3
= - 1  3w
36
1000 3
= - x
36
 ที่ระยะ X = 6 m, M = -6000 N  m ดังนั้น M max = 6000 N  m
 M max 6 M max 
 max  S  bh 2 
 
 66000 
 max   15  10 6 a 
 
0.060 0.200 2
 
= 15 MPa
พบวาความเคนดัดสูงสุด  max  15 MPa ที่ระยะ x = 6 m ตอบ
ขอควรจํา
เนื่องจากใน BMD นั้นโมเมนตดัดเปนลบตลอดชวง AB แสดงวาคานจะถูกดัด
โค ง คว่ํ า ลงทํ า หน า ตั ดคานบริ เวณเหนื อผิวสะเทินรับ การดึง และบริเวณใตผิวสะเทินรับ การกด
พิจารณาที่หนาตัดผานจุด B จะได

ข) เมื่อ x = 3 m และ y = 100 – 40 = 60 mm

M =
1000 3
- 36
 
3   750   m
I = 1 3
12
bh 
1
12

0.060 0.200 3 
= 4 x 10 -5 m 4
 My 
 x   I 
 
  750 0.060 
x    1.125  10 6 a
4  10 5
= +1.13 MPa (หนวยแรงดึง) ตอบ

5.5 คานแบนทําจากเหล็กกลาขนาดกวาง 25 mm หนา 6 mm และยาว 1 m ถูกดัดโคงดวย


โมเมนตแรงคูควบกระทําที่ปลายคาน ทําใหเกิดระยะโกงตรวจจุดกึ่งกลางคานเปน 20 mm จง
คํานวณหาหนวยแรงดัดสูงสุดในคานและขนาดของโมเมนตแรงคูควบโดยกําหนดให E = 200
GPa

หลักการวิเคราะห
เขียนรูปการดัดโคงของคานและใชตรีโกณมิติคํานวณหาระยะรัศมีความโคงการดัด  
 c
จากนั้นคํานวณหาโมเมนตแรงคูควบและหนวยแรงดัดสูงสุดจากสมการ  max    c =
 I

การคํานวณ
 ABO เปนสามเหลี่ยมมุมฉาก
OB2 = AO2 + AB2
 2    0.02   0.5 2
2

  6.26 m
 E Mc 
 max   c  
  p I 
 bh 3 E
M = 
 12 

= 0.0250.006 3 200  10 9 
126.26
= 14.37 N  m ตอบ
 6M 
 max  bh 2 
 
614.37 
 max   95.8  10 6 Pa

0.025 0.006 2 
= 95.8 MPa ตอบ
ขอควรจํา
หนวยแรงดัดสูงสุดสามารถคํานวณไดจากสมการ
E
 max   c 
200  10 0.003 
9
95.8 MPa
 6.26

5.6 ทอกลวงหนาตัดรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากทําจากโลหะผสมอะลูมิเนียม ซึ่งมีความเคนคราก


 y 150  Pa ความเคนประลัย  u  300 MPa และมอดุลัสยืดหยุน E = 70 GPa ถาไม
คิดผลของฟลเลต จงหา
ก) โมเมนตดัดสูงสุด ทั้งนี้ ใชคาความปลอดภัย F.S. = 3.0
ข) รัศมีความโคงการดัดของทอ (  )

หลักการวิเคราะห
พิจารณาภาระดัดในชวงยืดหยุนได ดังนั้นคํานวณโมเมนตดัดจากสมการ S = M/  a
การคํานวณ
ก)

โมเมนตความเฉื่อย
I = 1
12
  2

0.080 0.120 3  1 0.064 0.104 3 
= 5.52 x 10 -6 m 4
ความเคนดัดใชงาน
u
a   100 MPa
F .S .
เนื่องจาก a   y ภายใตภาระดัดทออยูในชวงยืดหยุนได

 I M
S   
 c a 
5.52  10 6 M

0.060 100  10 3
M = 9.2 kN  m ตอบ
ข)
 EI 
  M 
 

 
 
70  10 9 5.52  10 6 
9.2  10 3
  42.0 m ตอบ
5.7 คานทิมเบอรมีขนาดกวาง 100 mm หนา 300 mm และยาว 8 m รับแรงดังรูป ถา
เปนหนวยแรงดัดเนื่องจากโมเมนตดัดสูงที่สุดเทากับ 9 MPa จงหาคาสูงสุดของ w ที่
ทําใหแรงเฉือนเปนศูนยที่ตาํ แหนงกระทําของแรง P และจงหาคาของ P

หลักการวิเคราะห
ในชวง AB ใช  V = พื้นที่ใตกราฟแรงกระทําโดยกําหนดให V B = 0 จากนั้นคํานวณ
M B โดยอาศัย  M = พื้นที่ใตกราฟแรงเฉือนชวง AB จากนั้นใชสมการ  max  M / S
การคํานวณ
[  V = พื้นที่ใตกราฟแรงกระทําในชวง AB]
 P
0-  4w     6w
 4
4w + P  6w
4
P = 8w …(1)
[ M = พื้นที่ใตกราฟ SFD ในชวง AB] โดยที่ MA = 0 และ MB = M max
Mmax = 1
66w  18w …(2)
2
  max bh 2 
 M   max S  
 6 

18W = 9  10 0.1000.300 
6 2

6
W = 750 N/m ตอบ
แทนคาลงในสมการ (1)
P = 8w = 8(750)
= 6000 N ตอบ
5.8 จากแรงกระทําตอคานหนาตัดสี่เหลี่ยมมุมฉาก ทั้งนี้ หนวยแรงดัดตองไมเกิน 10 MPa จงหา
ขนาดกวางต่ําสุดของหนาตัด

หลักการวิเคราะห
พิจารณาโมเมนตดัดสูงสุดจาก BMD จากนั้นแทนคาในสมการ  max   / S

การคํานวณ
FBD ของคานทั้งหมดได R1 = 7000 N, R2 = 6000 N

สวนตัดดานซายของคานชวง AB
   M L ,  
MAB = -2000(x)  x    1000 x 2
2
สวนตัดดานซายของคานชวง BC
   M L ,  
M BC = 7000(x – 1) – 2000(x)  x 
2
= 7000(x – 1) – 1000x2
สวนตัดดานซายของคานชวง CD
   M L ,  
MCD = 7000(x – 1) - 5000(x – 3) – 2000(x)  x 
2
2
= 7000(x – 1) – 5000(x – 3) – 1000x
พิจารณาโมเมนตดัดเปนศูนยในชวง BC หาจาก
MBC = 0 = 70000(x – 1) – 1000x2
 x  1 .2 m
พิจารณาโมเมนตดัดสูงสุดในชวง BC ที่ x = 3 m
M max = 7000(3 – 1 ) – 1000(32)
= +5000 N  m
 M 6M 
 max  S  bh 2 
 
6M 6(5000)
b = 
 max h 2
 
10  10 6 0.200 2 
= 0.075 m (75 mm) ตอบ

5.9 การทดสอบคานภายใตโมเมนตดัดที่ปลายทั้งสอง ปรากฏวาในเนื้อคานชั้น AB ยืดออก


เทากับ 30 x 10 -3 mm ในขณะเดียวกันชั้น CD หดลงเทากับ 90 x 10-3 mm ในความยาวเดิมที่
วัดได 200 mm กําหนดให E = 100 GPa จงหาหนวยแรงดัดที่ขอบดานบนและลางของคาน

หลักการวิเคราะห
L
ใช ส มการ   และรู ป สามเหลี่ย มหาตํา แหนง ของผิวสะเทิน จากนั้นใช ส มการ
E
My
»   หาหนวยแรง
I
การคํานวณ

ชวง AB ยืดออก ดังนั้น  AB เปนความเคนดึง , มีเครื่องหมายบวก


ชวง CD หดเขา ดังนั้น  CD เปนความเคนกด , มีเครื่องหมายลบ
 L 
  E 
 
 AB 200 
คานชั้น AB 30 x 10 -3 =
E
 AB 200 
คานชั้น CD 90 x 10 -3 =
E
 AB 1
 =
 CD 3
หา N.A. (อาศัยรูปสามเหลี่ยมคลาย)

BE  1
 AB   DE  3BE
DE  CD 3
 BE DE  BE  3BE  100
BE  25 mm
DE  75 mm
ลาก N.A. ขนานกับ AB และผานจุด E ดังกลาว
 AB 200 
คานชั้น AB 30 x 10 -3 =
100  10 9
 AB = 1.5 x 107 N/m2
เนื่องจากพบวาคานอยูในลักษณะดัดโคงคว่ําลง โมเมนตดัดจึงมีเครื่องหมายลบ
ดังนั้นจึงเปลี่ยนสมการ  x   My / I เปน  x  M y / I แทน (M เปนคาสัมบูรณ
ของโมเมนตดัด)
 M y 
 x  I 
 
M
คานชั้น AB 1.5 x 107 =
I

 25  10 3 

  6  10 8 N / m 3
I
สมการความเคนในชั้นใด คือ
x = 6 x 108 y
ที่ขอบดานบน  top = (6 x 108)(+75 x 10-3)
= +45 MPa (หนวยแรงดึง)ตอบ
ที่ขอบดานลาง  bot = (6 x 108)(-150 x 10-3)
= -90 MPa (หนวยแรงกด) ตอบ

5.10 คานหนาตัดรูปวงกลมมีเสนผานศูนยกลาง 40 mm และยาว 2 m รับแรงดังรูป จงหาขนาด


สูงสุดของภาระกระจาย (w) โดยกําหนดใหหนวยแรงสูงสุดในคานเทากับ 60 MPa

หลักการวิเคราะห
พิจารณาโมเมนตดัดสูงสุดจาก BMD จากนั้นแทนคาในสมการ  max  M / S โดย S=
d 3 / 32 สําหรับคานหนาตัดกลมตัน

การคํานวณ
1 3
FBD คานทั้งหมดจะได R1 = w และ R2 = w
4 4
BMD
W
ในชวง AB MAB = x
4
 x 1 
x  w x 1
W
ในชวง BC MBC = 
4  2 
 w
x    x  1
W
= 2

4 2
2
5  w  5   w  5 
ที่ x = m Mmax =        1
4  4  4   2  4 
9
= w
32
d 3
คานหนาตัดกลมตัน S =
32
 M 32 M 
 max  S  d 3 
 
329 w / 32 
60 x 10 3 =

 0.040 3 
W = 1.340 kN/m ตอบ

5.11 คานหนาตัดรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากซึ่งมีขนาด 120 mm x 400 mm รับแรงดังรูป ถาแรง


กระทําเปนบริเวณมี w = 3kN/m จงหาแรง P ที่เปนผลทําใหเกิดหนวยแรงดัดสูงสุดใน
คานเทากับ 10 MPa

หลักการวิเคราะห
พิจารณาโมเมนตดัดสูงสุดจาก BMD จากนั้นแทนคาลงในสมการ  max  6M/bh2
การคํานวณ

FBD ของคานทั้งหมด จะได


1 15 4 15
R1 =  , R2 = 
5 2 5 2
BMD ของคานแตละชวง
   M L ,  
คานชวง AB MAB = (0.2P + 7.5)x – 1.5x2
คานชวง BC MBC = (0.2P + 7.5)x – 1.5x2 – P(x – 4)
ที่ระยะ x = 4 m Mmax = (0.2P + 7.5)(4) – 1.5(42)
= (0.8P + 6) kN  m
 6 
 max  bh 2 
 
60.8 P  6 
10 x 103 =

0.120 0.400 2 
P = 32.5 kN ตอบ

5.12 คานทําดวยไมมีหนาตัดรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากขนาด 150 mm x 300 mm และรับแรงดังรูป


กําหนดหนวยแรงดัดสูงสุดเทากับ 8 MPa จงหาคาสูงสุดของ w และ P
หลักการวิเคราะห
พิจารณาโมเมนตดัดสูงสุดจาก BMD จากนั้นใชสมการ  max  6  / bh 2

การคํานวณ

FBD ของคานทั้งหมด
   M L ,  
P w
R1(6) + P(3) + 2w(1) = 0   R1  
2 3
 F y  0,   
 w p 7w
  R2    2 w = 0   R2  
2 3 2 3
BMD ของคานแตละชวง
   M L ,  
 w
คานชวง AB MAB =   x
2 3
 p w
คานชวง BC MBC =    x  P  x  3
2 3
   M L ,  
คานชวง CD MCD = -  w 8  x 2
2
 w
ที่ x = 6 m M =  8  x    2 w
2

2
 6 c 
 
bh 2 
max

62 w
8 x 103 =

0.150 0.300 2 
W = 9 kN/m ตอบ
 6 B 
 max  bh 2 
 
61.5 P  9 
8 x 103 =

0.150 0.300 2 
P = 18 kN ตอบ

5.13 ใชโจทยเชนเดียวกับปญหาขอ 5.12 แตกําหนดใหภาระกระจายกระทําดวยขนาดเทากับ 10


kN/m และคานยื่นเลยพนตําแหนง R2 เทากับ a เมตร จงหาคาสูงสุดของ P และระยะ a
นั้น และระยะ a นั้น และกําหนดใชหนวยแรงดัดสูงสุดเทากับ 8 MPa

หลักการวิเคราะห
ทํานองเดียวกับการวิเคราะหปญหาขอ 5.12

การคํานวณ
FBD ของคานทั้งหมดจะได
 5 2
R1 =  a
2 6
 5
R2 =  10a  a 2
2 6
BMD ของคานแตละชวง
 w
คานชวง AB MAB =   x
2 3
 5 2
ที่ระยะ x = 3m M =   a (3) …(1)
2 6 
 p 5 2
คานชวง BC MBC =   a  x  P  x  3
2 6 
 5 2
ที่ระยะ x = 6m M =   a ( 6)  P (3)   5a
2
…(2)
2 6 
 6 
 max  bh 2 
 
6(5a 2 )
ที่ระยะ x = 6m 8 x 103 =
(0.150)(0.300 2 )
a = 1.897 m ตอบ
P 5 
6   (1.897 2 ) (3)
ที่ระยะ x = 3m 8 x 103 = 2 6 
2
(0.150)(0.300 )
P = 18 kN ตอบ

5.14 คานหนาตัดรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสรับภาระดังรูป จงหาขนาดของหนาตัดคาน ถากําหนดความ


หนวยแรงสูงสุดในคานเทากับ 8 MPa

หลักการวิเคราะห
หา w ของแรงกระทําเปนบริเวณทิศขึ้นจากสภาพสมดุลของ FBD รวมของคาน
จากนั้นหาโมเมนตดัดสูงสุดใน BMD แลวแทนคาในสมการ  max  6 M / bh 2

การคํานวณ
จาก FBD ของคานทั้งหมด
 Fy  0 2.4 w = 2(48)
W= 40 kN/m
พิจารณาโมเมนตดัดในคานแตละชวงพบวา
2
คานชวง AB MAB = 40 x  20 x 2
2
 48   x  0.5
2
2
คานชวง BC MBC = 20x -  
 0.2  2
คานชวง CD MCD = 20x2 - 48(x – 0.6)
เนื่องจากชวง DE และ EF นั้นมีภาระสมมาตรกับชวง BC และ AB ตามลําดับ จึงไม
จําเปนตองพิจารณาอีก
ที่ x = 0.6 m; Mmax = 20(0.62) – 120 (0.6 – 0.5)2
= 6 kN  m
CD
และ M = 20x2 – 48(x – 0.6) = 0
5x2 – 12x + 7.2 = 0
50x2 – 120x + 72 = 0
25x2 – 60x + 36 = 0
(5x – 6)2 = 0
X = 1.2 m

ดังนั้นจะได BMD ดังนี้


 6 
 max  bh 2  โดยที่ h = b
 
6( 6 )
8 x 103 =
b3
b = 0.165 m
หนาตัดคานมีขนาด 165 mm x 165 mm ตอบ

5.15 จงเลือกขนาดของคานหนาตัดรูปมาตรฐาน W โดยรับแรงกระทําเปนจุดดังรูป ทั้งนี้ตองไม


เกินคาหนวยแรงดัด 120 MPa โดยไมคิดการโกงตัวดานขางของคาน และจงหาหนวยแรง
ดัดจริงในคาน

หลักการวิเคราะห
ดูขั้นตอนในการเลือกคานหนาตัดรูปมาตรฐาน

การคํานวณ
เขียน SFD และ BMD โดยไมคิดน้ําหนักคาน จะไดดังรูป

จาก BMD โมเมนตดัดสูงสุด M = 15(4) = 60 kN  m


คํานวณ S  และเลือกขนาดของคาน
 
S  
 a 
60  10 3
S   500  10 3 m 3
120  10 6

จากตาราง B – 2 (ภาคผนวก) สําหรับหนาตัดรูปมาตรฐาน W โดยเลือกให S >500 x 10 3


mm3 พบวา
W 200 x 52  S = 512 x 103 mm3 , ภาระตาย = 0.513 kN/m
หรือ W 250 x 45  S = 543 x 103 mm3 , ภาระตาย = 0.440 kN/m
หรือ W 310 x 39  S = 549 x 103 mm3 , ภาระตาย = 0.380 kN/m
จึงเลือกใชคาน W 310 x 39 เนื่องจากน้ําหนักเบาที่สุด (ทั้งนี้ อาจตองพิจารณาถึงระยะ
เผื่อเพดานของหองดวย ระยะความสูงของหองจึงเปนปจจัยหนึ่งที่ใชเลือกคานดวยเชนกัน)
ตรวจสอบคา S select
หา Sd จากน้ําหนักของคาน W 310 x 39 ที่เลือกขึ้นมา

ที่ x = 4 m ; M   M L ,  
Md = 1.14(4) – 0.380(4)(2) = 1.52 kN  m
 Md 
S d   
 
1.52  10 3
Sd = = 12.7 x 10 -6 m3
120  10 6
= 12.7 x 103 mm3
S load = S + S d
= 500 x 103 + 12.7 x103 = 512.7 x 103 mm3
 S select = 549 x 103 mm3
S select > S load แสดงวาคานขนาด W 310 x 39 ที่เลือกนั้นใชได ตอบ
คํานวณหนวยแรงดัดจริง
 ac S select   a (S   S d 
 ac 549  10 3   (120)(512.7  10 3)
 ac  112 MPa ตอบ

5.16 จงเลือกขนาดและหนวยแรงดัดจริงของคานหนาตัดรูปมาตรฐาน W โดยกําหนดแรง


กระทําบริเวณอยางสม่ําเสมอ 16 kN/m ตลอดทั้งความยาวบนคานดังรูป ทั้งนี้ตองไมเกิน
คาหนวยแรงดัด 120 MPa โดยไมคิดการโกงตัวดานขางของคาน

หลักการวิเคราะห
ดูขั้นตอนในการเลือกคานหนาตัดรูปมาตรฐาน

การคํานวณ
เขียน SFD และ BMD โดยไมคิดน้ําหนักคาน จะไดดังรูป

จาก BMD โมเมนตดัดสูงสุด M = 80(5) - 16(5)(2.5) = 200 kN  m


คํานวณ S  และเลือกขนาดของคาน
 
S  
 a 
200  10 3
S   1.667  10 3 m 3
120  10 6
= 1667 x 103 mm3
จากตาราง B-2 (ภาคผนวก) สําหรับหนาตัดรูปมาตรฐาน W โดยเลือกให S > 1667 x 103
mm3
W 610 x 82  S = 1870 x 103 mm3 , ภาระตาย = 0.803 kN/m
W 530 x 82  S = 1810 x 103 mm3 , ภาระตาย = 0.808 kN/m
W 460 x 89  S = 1770 x 103 mm3 , ภาระตาย = 0.876 kN/m
เลือกคาน W 610 x 82 เนื่องจากมีนํา้ หนักเบาที่สุด
ตรวจสอบคา S select
หา Sd จากน้ําหนักของคาน W 610 x 39 ที่เลือกขึ้นมา

จาก BMD โมเมนตดัดสูงสุด M = 4.015 (5) – 0.803 (5)(2.5) = 10.04 kN  m


 Md 
S d   
 
10.04  10 3
Sd = = 8.367 x 10 -5 m3
120  10 6
= 83.67 x 103 mm3
S load = S + S d
= 1667 x 103 + 83.67 x103
= 1750.67 x 103 mm3
 S select = 1870 x 103 mm3
S select > S load แสดงวาคานขนาด W 160 x 82 ที่เลือกนั้นใชได ตอบ
คํานวณหนวยแรงดัดจริง
 ac S select   a (S   S d 
 ac 1870  10 3   (120)(1750.67  10 3)
 ac  112.34 MPa ตอบ
5.17 คานยาว 12 m มีจุดรองรับที่ปลายทั้งสองขางและมีแรงกระทําเปนบริเวณขนาด 30 kN/m
กระทําบริเวณกึ่งคานตลอดความยาว 6 m ดังรูป กําหนดหนวยแรงใชงานเทากับ 140
MPa จงหาขนาดของคานหนาตัดมาตรฐานรูป W ซึ่งมีน้ําหนักเบาที่สุดและคํานวณหา
หนวยแรงดัดจริงในคาน

หลักการวิเคราะห
เพื่อสะดวกตอการวิเคราะหยิ่งขึ้นจึงเขียน BMD เปนผลมาจากภาระภายนอกและ
น้ําหนักคานที่เลือกพรอมๆ กัน แลวพิจารณาเชนเดียวกับขอ 5.16

การคํานวณ
เขียน SFD และ BMD โดยคิดน้ําหนักคานขนาด w kN/m

พิจารณาโมเมนตดัดสูงสุดที่ x = 6 m วัดจากปลายคานดานซาย
M max = (90 + 6w)6- (6w)(3) – (30)(3)(1.5)
= 405 + 18w kN  m
คํานวณ S  และเลือกขนาดของคาน (ไมคิดน้ําหนัก ดังนั้น mmax = 405 kN  m )
 
S  
 a 
405  10 3
S   2.893  10 3 m 3
140  10 6

= 2893 x 103 mm3


สําหรับหนาตัดรูปมาตรฐาน W โดยเลือกให S > 2893 x 103 mm3 พบวาคานน้ําหนักเบา
ที่สดุ คือ
W 610 x 125  S = 3220 x 103 mm3 , ภาระตาย = 1.227 kN/m
ตรวจสอบคา S select
หา Sd จากน้ําหนักของคาน W 610 x 125 , w = 1.227 kN/m
ที่ x = 6m  Md = 18w = 18(1.227) = 22.086 kN  m
 
S  
 a 
22.086  10 3
S   1.578  10  4 m 3
140  10 6

= 157.8 x 103 mm3


S load = S + S d
= 2893 x 103 + 157.8 x103
= 3050.8 x 103 mm3
 S select = 3220 x 103 mm3
S select > S load แสดงวาคานขนาด W 160 x 25 ที่เลือกนั้นใชได ตอบ
คํานวณหนวยแรงดัดจริง
 ac S select   a (S   S d 
 ac 3220  10 3   (140  10 6 )(3050.8  10 3)
 ac  113 MPa ตอบ
5.18 คานหน าตั ดรู ป ตัวที ทํา จากเหล็ กหลอ โดยรับ อรงกระจายเปนบริเวณรูป สี่เหลี่ยมมีภาระ
กระจาย w kN/m ดังรูป กําหนดความเคนใชงาน หนวยแรงกด  c  90 MPa และความเคน
ดึง  t  30 MPa ทั้งนี้ กําหนดใหคานรับแรงจนถึงหนวยแรงใชงานพรอมกัน จงคํานวณหา
ขนาดความกวางของหนาแปลน (ระยะ b)
หลักการวิเคราะห
หาตําแหนงของจุดเซนทรอยดของหนาตัดคานจากสมการ Ay   Ai y i ทั้งนี้ตองอาศัย
ความสัมพันธ yc/yt =  c /  t

การคํานวณ
หาตําแหนงของจุดเซนทรอยด
ทั้งนี้ กําหนด A 1 = 120 x 20 mm2 , A2 = b x 20 mm2 , y 1 = 60 + 20 = 80 mm, y 2 =
10 mm
เนื่องจากคานรับโมเมนตดัดแลวคานโคงหงายขึ้น ดังนั้นหนาตัดคานบริเวณเหนือแกน
สะเทินรับการกด และบริเวณใตแกนสะทินหนาตัดคานรับการดึง ดังนั้นระยะ yc จึงอยูเหนือแกน
สะเทิน และพบวา y  yt นั่นเอง
Ay   Ai yi 
Ay = A1 y 1 + A2 y 2
[120(20) + 20b]yt = 120(20)(80)+20b(10)
(120 +b)yt = 10(960 + b) ….(1)
 yt  t 
  
 yc  c 
yt 30 1
 
yc 90 3
y c  3 y t
จากรูปหนาตัด yc + yt = 140 mm
4yt = 140  yt = 35 mm
แทนคาในสมการ (1)
(120+)35 = 10(960+b)
ดังนั้น b = 216 mm ตอบ
5.19 คานรั บ แรงกระจายเป นบริ เวณและแรงกระทํา เปนจุดดัง รูป มีจุดรองรับ อยูตรงตํา แหน ง
กระทําของ R1 และ R2 จงคํานวณหาหนวยแรงดึงสูงสุดและหนวยแรงกดสูงสุดในคาน
หนาตัดรูปตัวทีกลับดาน

หลักการวิเคราะห
เขียน BMD เพื่อพิจารณาลักษณะดัดโคงของคาน ถาพบวาคานดัดโคงมีลักษณะตางกัน
พึงระลึกเสมอวาบนหนาตัดที่มีโมเมนตดัดสูงสุดนั้นหนวยแรงสูงสุดไมจําเปนตองเกิดขึ้นบนหนา
ตัดนั้น

การคํานวณ
เขียน BFD และ BMD จะไดดังรูป
แบงพิจารณาคาน 2 ชวง คือชวง AC และชวง CB
ชวง AC คานมีโมเมนตดัดเปนบวก คานถูกดัดโคงหงายขึ้น แสดงวาหนาตัดคานบริเวณเหนือผิว
สะเทินรับความเคนกด (  c ) และบริเวณใตผิวสะเทินรับความเคนดึง (  t )
 My 
  I 
 
c 
16.20.120  97.2 MPa
20  10 6
t 
16.20.050  40.5 MPa
20  10 6
ชวง CB คานมีโมเมนตดัดเปนลบ คานถูกดัดโคงคว่ําลง แสดงวาหนาตัดคานบริเวณเหนือผิว
สะเทินรับความเคนดึง (  t ) และบริเวณใตผิวสะเทินรับความเคนกด (  c )
 My 
  I 
 
t 
8.00.120  48.0 MPa
20  10 6
c 
8.00.050  20.0 MPa
20  10 6
ความเคนกดสูงสุดเทากับ 97.2 MPa เกิดที่ระยะ x = 1.8 m และความเคนดึงสูงสุดเทากับ
48.0 MPa เกิดที่ระยะ x = 4.0 m ตอบ

5.20 คานปลายยื่นเลย (overhanging beam) ดังรูปทําจากเหล็กหลอ กําหนดใหหนวยแรงใช


งาน  t  40 MPa และ  c  100 MPa และกําหนดคุณสมบัติของหนาตัดดังรูป
จงหาขนาดของแรงกระจายเปนบริเวณ (w) คาสูงสุดที่คานสามารถรับได

หลักการวิเคราะห
พิจารณาเชนเดียวกับปญหาขอที่ผานมาและโมเมนตดัดตานคํานวณจากM = I / y เลือก
w คาต่ําสุดเปนคาปลอดภัย
การคํานวณ
เขียน SFD และ BMD จะไดดังรูป

จาก BMD
ที่ x = 1.2 m M1.2 = -w(1.2) 1.2   0.72 w kN  m
2
ที่ x = 4.2 m M4.2 =  0.72 w kN  m

ที่ x = 2.7 m M2.7 = 2.7w(1.5) -w(2.7) 2.7   0.405w kN  m


2

แบงพิจารณาคาน 2 ชวง คือ


ชวง AB (หรือ CD) คานมีดมเมนตดัดเปนลบ คานถูกดัดโคงคว่ําลง แสดงวาหนาตัดคานบริเวณ
เหนือผิวสะเทินรับหนวยแรงดึง (  t ) และบริเวณใตผิวสะเทินรับความเคนกด (  c )
 I 
M  y 
 
Mt 
40  10 50  10  
3 6
25.0 kN  m
0.080
Mc 
 
100  10 3 50  10 6 
 27.8 kN  m
0.180
เลือกโมเมนตตานคาปลอดภัยเทากับ 25.0 kN  m
M  Mr
0.72 w = 25
w = 34.7 kN/m …(1)
ชวง BC คานมีโมเมนตดัดเปนบวก คานถูกดัดโคงหงายขึ้น แสดงวาหนาตัดคานบริเวณเหนือผิว
สะเทินรับหนวยแรงกด (  c ) และบริเวณใตผิวสะเทินรับหนวยแรงดึง (  t )
 I 
M  y 
 
Mc 
100  10 50  10 
3 6
 62.5 kN  m
0.080
Mt 
  
40  10 3 50  10 6
 11.1 kN  m
0.180
เลือกโมเมนตตานคาปลอดภัยเทากับ 11.1 kN  m
M  Mr
0.405 w = 11.1
w = 27.4 kN/m ...(2)
เลือกคาปลอดภัย w = 27.4 kN  m ตอบ

5.21 จงหาคาปลอดภัยสูงสุดของ W ซึ่งคานสามารถรับไดดังรูป โดยกําหนดให


 t  20 MPa และ  á  6 0 MPa

หลักการวิเคราะห
พิจารณาเชนเดียวกับปญหาขอที่ผานมา ใชสมการ  = My / I ในคานชวงที่มีลักษณะ
การดัดโคงตางกัน และเลือก W คาต่ําสุดเปนคําตอบ

การคํานวณ
เขียน SFD และ BMD จะไดดังรูป
จาก BMD
ที่ x = 2 m M2 = -2 W(1.2) kN  m
ที่ x = 4 m M6 = 4 W kN  m
ที่ x = 10 m M10 = -2 W kN  m
แบงพิจารณาคาน 2 ชวง คือ
ชวง AE (หรือ FD) คานมีโมเมนตดัดเปนลบ คานถูกดัดโคงคว่ําลง แสดงวาหนาตัดคานบริเวณ
เหนือผิวสะเทินรับหนวยแรงดึง (  t ) และบริเวณใตผิวสะเทินรับหนวยแรงกด (  c )
 My 
 t  I 
 
4W (0.200)
60 x 103 =
60  10 6
W= 3 kN
 My 
 c  I 
 
2W (0.080)
20 x 103 =
60  10 6
W= 22.5 kN
ชวง EF คานมีโมเมนตดัดเปนบวก คานถูกดัดโคงหงายขึ้น แสดงวาหนาตัดคานบริเวณ
เหนือผิวสะเทินรับความเคนกด (  c ) และบริเวณใตผิวสะเทินรับหนวยแรงดึง (  t )
 My 
 c  I 
 
4W (0.200)
60 x 103 =
60  10 6
W= 4.5 kN
 My 
 
I 
t

2W (0.080)
20 x 103 =
60  10 6
W= 3.75 kN
เลือกคาปลอดภัย W = 3 kN ตอบ
5.22 จงหาหนวยแรงกดและหนวยแรงดึงสูงสุดบนหนาตัดขวางของคานภายใตภาระกระทําดัง
รูป โดยกําหนดคุณสมบัติของหนาตัดดังรูป

หลักการวิเคราะห
เขี ย น BMD ของคาน พิ จ ารณาโมเมนต ดั ด ในคานแต ล ะช ว ง และใช ส มการ
  My / I คํานวณหนวยแรงกดและหนวยแรงดึงในแตละชวง เลือกคําตอบที่ใหคาสูงสุด

การคํานวณ
เขียน SFD และ BMD จะไดดังรูป

พิจารณาคานชวง ED
จาก BMD ที่ไดพบวาโมเมนตดัดสูงสุด M max = +4 kN  m ที่ x = 3 m วัดจากปลาย
คานดานซาย
เนื่องจากชวง ED นั้นโมเมนตดัดเปนบวก พบวาคานบริเวรดังกลาวถูกดัดโคงหงายขึ้น
แสดงวาหนาตัดคานบริเวณเหนือผิวสะเทินรับความเคนกด (  c ) และบริเวณใตผิวสะเทินรับความ
เคนดึง (  t )
 My 
 c  I 
 
c = 4.0(0.060) = 6.0 MPa
6
40  10
 My 
 t  I 
 
t = 4.0(0.200) = 20.0 MPa
6
40  10
พิจารณาคานชวง BE
เนื่องจากคานมีโมเมนตดัดเปนลบ คานจะถูกดัดโคงคว่ําลง แสดงวาหนาตัดบริเวณใตผิว
สะเทินความเคนกด และบริเวณเหนือผิวสะเทินรับความเคนดึง โดยใช M = 2 kN  m
 My 
 c  I 
 
c = 2.0(0.200) = 10 MPa
6
40  10
 My 
 
I 
t

t = 2.0(0.060) = 3 MPa
6
40  10
พบวาความเคนดึงสูงสุดคือ 20 MPa ที่ระยะ x = 3 m และความเคนกดสูงสุดคือ 10
MPa ที่ระยะ x = 1 m วัดจากปลายคานดานซาย ตอบ

5.23 คานหนาตัดรูปตัวทีรับแรงกระทํา 3 จุด และแรงปฏิกิริยาที่จุดรองรับ 2 จุด ดังรูป จงหา


คาสูงสุดของแรง P ทั้งนี้ กําหนดให  t  30 MPa และ  c  70 MPa

หลักการวิเคราะห
พิจารณาทํานองเดียวกับปญหาขอ 5.22
การคํานวณ
เขียน FBD และ BMD จะไดดังรูป

แบงพิจารณาคาน 2 ชวง คือ ชวง AB (หรือ CD) และชวง BC ตาม BMD


ที่ x = 1 m หรือ 3 m M = -P kN  m
ที่ x = 2 m M = P kN  m
หาโมเมนตความเฉื่อย

พิจารณาพื้นที่หนาตัดเหนือขอบดานลาง โดยแบงพื้นที่เปน A1 = 160 x 20 mm2 , y1 =


80 mm, A2 = 80 x 20 mm2 และ y 2 = 170 mm
Ay   Ai yi 
160(20)  (80)(20)y = (160)(20)(80) + (80)(20)(170)
y = 110 mm
I  I  Ad 
2

1 2 
I = 12 (20)(160 )  (160)(20)(30 )
3

A1

= +  1 (80)(20 3 )  (80)(20)(60 2 )


12  A2
= 15.52 x 10 6 mm4
พิจารณาคานชวง AB
จาก BMD โมเมนตเปนลบ พบวาคานถูกดัดโคงคว่ําลง หนาตัดของคานบริเวณเหนือผิว
สะเทินรับหนวยแรงดึง (  t ) และบริเวณใตผิวสะเทินรับหนวยแรงกด (  t )
 Mc 
 c  I 
 
P0.110 
70 x 103 =
15.52  10  6
P= 9.876 kN
 My 
 t  I 
 
P0.070 
30 x 103 =
15.52  10  6
P= 6.651 kN
พิจารณาชวง BC
จาก BMD โมเมนตเปนลบ พบวาคานถูกดัดโคงคว่ําลง หนาตัดของคานบริเวณเหนือผิว
สะเทินรับหนวยแรงดึง (  c ) และบริเวณใตผิวสะเทินรับหนวยแรงกด (  t )
 My 
 c  I 
 
P0.070 
70 x 103 =
15.52  10  6
P= 15.52 kN
 Mc 
 t  I 
 
P0.110 
30 x 103 =
15.52  10  6
P= 4.23 kN
เลือกขนาดของแรงปลอดภัย P = 4.23 kN ตอบ
5.24 กําหนดใหคานทําจากเหล็กหลอยาว 10 m รับแรงดังรูป สําหรับแรงกระทําเปนบริเวณ
สม่ําเสมอตลอดคาน w N/m (รวมน้ําหนักของคานดวย) ทั้งนี้ กําหนดใหหนวยแรงใช
งานเปน  t  20 MPa และ  c  80 MPa จงหาคาปลอดภัยของ x0 และ w

หลักการวิเคราะห
เขียน BMD พิจารณาคานในแตละชวง โดยคานแตละชวงจะใชสมการ   My / I
กําหนดความสัมพันธระหวางตัวแปร x0 และ w จะเลือกใชสมการที่ใหคาต่ําสุดของ x0 และ w
เทานั้น

การคํานวณ
เขียน FBD และ BMD จะไดดังรูป

จาก BMD พบวา ที่ x = x0 นั้น M = -wx 02 /2 และ = 5 m นั้น M = 5w (2.5 – x0)
พิจารณาจาก BMD เปน 2 ชวง คือ ชวง AB และ BC

พิจารณาคานชวง AB
จาก BMD โมเมนตดัดเปนลบ พบวาคานถูกดัดโคงคว่ําลง หนาตัดของคานบริเวณเหนือ
ผิวสะเทินรับหนวยแรงดึง (  t ) และบริเวณใตผิวสะเทินรับหนวยแรงกด (  c )
 Mc 
 t  I 
 
1 2
 wx 0 0.180 
20 x 103 = 2 
30  10 6
wx 02 = 8.0
 My 
 c  I 
 
1 2
 wx 0 0.050 
80 x 103 = 2 
36  10 6
wx 02 = 115.2
wx 02 = 8.0 …(1)
พิจารณาคานชวง BC
จาก BMD โมเมนตดัดเปนบวก พบวาคานถูกดัดโคงหงายขึ้น หนาตัดของคานบริเวณ
เหนือผิวสะเทินรับหนวยแรงกด (  c ) และบริเวณใตผิวสะเทินรับหนวยแรงดึง (  t )
 Mc 
 c  I 
 
5w(2.5  x0 )0.180 
80 x 103 =
36  10  6
(2.5 – x0)w = 3.2
 My 
 t  I 
 
5w(2.5  x0 )0.050 
20 x 103 =
36  10  6
(2.5 – x0)w = 2.88
เลือกใชสมการ (2.5 – x0)w = 2.88 ...(2)
จากสมการ (1) และ (2) แกสมการจะได
 50  50 2  4(18)(125)
x0 =
2(18)
 50  107.24
=
2(18)
= 1.59 m (ใชคาเปนบวก)
W = 3.16 kN/m
ดังนั้น x0 = 1.59 m และ w = 3.16 kN/m ตอบ
5.25 คานรองรับอยางงาย (simply supported beam) หนาตัด b = 120 mm, h = 180 mm
และยาว 6 m รับภาระกระจายอยางสม่ําเสมอ 4 kN/m จงหา

ก) หนวยแรงเฉือนกระทําตอชั้นระนาบของหนาตัดที่วัดจากขอบดานบนลงมาเปนระยะ
30 mm และที่ระยะ 1 m วัดจากปลายคานดานซาย (หนาตัด n – n)
ข) หนวยแรงเฉือนสูงสุดที่เกิดขึ้นในคาน

หลักการวิเคราะห
หนวยแรงเฉือนในคานพิจารณาจาก  = VQ/Ib และหนวยแรงเฉือนสูงสุด
จาก  max  3V / 2 A ทั้งนี้ แรงเฉือน V พิจารณาจาก SFD

การคํานวณ
ก) หนวยแรงเฉือนที่ระยะ y1 = 90-30 = 60 mm
จาก SFD
V   F ,  
y

x = 1 m, V = 12 – 4 = 8 kn
โมเมนตความเฉื่อยรอบแกนสะเทิน
 bh 3 
I  
 12 
120(180 3 )
I = = 58.32 x 106 mm4
12
= 58.32 x 10-6 m4
พิจารณาพื้นที่เหนือแกนสะเทินระหวาง y1 = 60 mm ถึง c = 90 mm พบวา A = 120 x
30 mm2, y = 75 mm ดังนั้นโมเมนตสถิตของพื้นที่คือ
Q  A' y 
Q = (120)(30)(75) = 2.70 x 105 mm3
= 2.70 x 10-4 m3
 VQ 
  Ib 
 
(8.0)(2.70 x10 4 )
 =
(58.32 x10  6 )(0.120)
= 308.6 kPa ตอบ
ข) หนวยแรงเฉือนสูงสุดในคาน
หนวยแรงเฉือนสูงสุดในคานเกิดที่แกนสะเทินที่ระยะ x = 0 หาจากสมการ
 3V 
 max  2 A 
 
(3)(12.0)
 max =
(2)(0.120)(0.180)
= 833.3 kPa ตอบ
ขอควรจํา
พิจารณาการกระจายหนวยแรงเฉือนในคานรูปหนาตัดสี่เหลี่ยมมุมฉากที่ระยะ y = 30 mm
ในรูป(ก) หรือ (ข) และที่ระยะ y1 = 0 ในรูป (ค) ในคานที่ตําแหนง x = 1 m

(ก) (ข) (ค)


รูป (ก) ที่รยะ y1 = 30 mm ถึง c = 90 mm ดังนั้น A = 120 x 60 mm2 , y = 60 mm
ดังนั้น Q = (120)(60)(60) = 4.32 x 105 mm3 = 4.32 x 10-4 m3
 VQ 
  Ib 
 
(8.0)(4.32  10 4 )
  = 493.8 kPa
(58.32  10  6 )(0.120)
สําหรับคาของ Q นั้นอาจหาจากสมการ Q = โดยพิจารณาจากรูป (ข) นั่นคือ
 Ai' yi
A1'  120  30 mm 2 , y1  45 mm, A2'  120  30 mm 2 , y 2  75 mm ดั ง นั้ น Q =
(120)(30)(45) + (120)(30)(75) = 4.32 x 105 mm3
รูป (ค) ที่ระยะ y1 = 0 ถึง c = 90 mm ดังนั้น A= 120 x 90 mm2 , y = 45 mm
ดังนั้น Q = (120)(90)(45) = 4.86 x 105 mm3 = 4.86 x 10-4 m3
 VQ 
  Ib 
 
(8.0)(4.86  10 4 )
  = 555.6 kPa
(58.32  10  6 )(0.120)
ถานําหนวยแรงเฉือนที่ระยะ y1 คาตาง ๆ มาพลอตกราฟการกระจายจะไดดังรูป (พิจารณา
คานที่ตําแหนง x = 1 m วัดจากปลายคานดานซาย)

ตอบ

5.26 คานยื่นรับแรง 6 kN ที่ปลายคานดังรูป คานมีหนาตัดเปนรูปตัวที ที่หนาตัดคาน n-n


ระยะ 300 mm จากปลายคานดานซาย จงหา
ก) หนวยแรงกดสูงสุดที่หนาตัด n-n
ข) หนวยแรงเฉือนสูงสุดที่หนาตัด n-n
ค) จงเขียนรูปการกระจายของหนวยแรงเฉือนในคาน
หลักการวิเคราะห
ที่หนาตัด n-n จะทราบ V และ M ในคาน จากนั้นหาตําแหนงของแกนสะเทินและ
โมเมนตความเฉื่อยรอบแกนสะเทิน คํานวณหนวยแรงกดจาก   My / I และหนวยแรงเฉือนจาก
  VQ / Ib

การคํานวณ
พิจารณาแรงเฉือนและโมเมนตดัดบนหนาตัด n-n ของ FBD คานสวนตัดดานซาย จะได
V = -6 kN, M = -6(0.300) = -1.8 kN  m
ตําแหนงของแกนสะเทินและโมเมนตความเฉื่อยรอบแกนสะเทิน

พื้นที่เหนือขอบดานลางของหนาตัดแบงออกเปน A1 = 48 x 12 mm2, y 1 = 24 mm,


A2 = 96 x 12 mm2 และ y 2 = 54 mm
Ay   Ai yi 
[(48)(12) + (96) (12)] y = (48)(12)(24) + (96)(12)(54)
y = 44 mm
โมเมนตความเฉื่อยรอบแกนสะเทินหาจาก
I  I  Ad 
2

1 2 
I =  2 (12)(48 )  (12)(48)(20 )
3

 
+  1 (96)(12 3 )  (12)(96)(10 2 )
12 
= 4.70 x 105 mm4 = 4.70 x 10-7 m4
ก) พิจารณาหนวยแรงกดในคาน
เนื่องจาก M = -1.8 kN  m แสดงวาคานในชวงดังกลาวถูกดัดโคงคว่ําลง ขอบคาน
ดานลางรับการกด และระยะ c = 44 mm
 Mc 
 c  I 
 
(1.8)(0.044)
 c ,max =
4.70  10  7
= 168.5 x 103 kPa = 168.5 MPa ตอบ
ข) พิจารณาหนวยแรงเฉือนในคาน
พิจารณาหนาตัดคานใตแกนสะเทิน โดยมีพื้นที่ A = 44 x 12 mm2 และ y = 22 mm
ดังนั้นโมเมนตสถิตของพื้นที่คือ
Q  A' y 
Q = (44)(12)(22) = 1.162 x 104 mm3
= 1.162 x 10-5 m3
ที่หนาตัด n-n นั้นพบวา V = -6 kN
 VQ 
  Ib 
 
(6.0)(1.162 x10 5 )
 max =
(4.70 x10 7 )(0.012)
= 12.36 x 103 kPa
= 12.36 MPa ตอบ

การกระจายของหนวยแรงเฉือนในคานหนาตัดรูปตัวที

5.27 คานรองรับอยางงายยาว 4 m รับแรงกระทําเปนบริเวณอยางสม่ําเสมอขนาด w kN/m


กําหนดหนวยแรงใชงาน   1.2MPa จงหาขนาดของแรงกระทํา w
หลักการวิเคราะห
จาก SFD จะทราบแรงเฉือนสูงสุด (V) ถาทราบตําแหนงของแกนสะเทินจะทราบคาของ
I และ Q แลวแทนคาในสมการ   VQ / Ib

การคํานวณ
จาก FBD นํามาเขียน SFD จะไดดังนี้

จาก SFD พบวาแรงเฉือนสูงสุด V = 2w kN


ตําแหนงของแกนสะเทินและโมเมนตความเฉื่อยรอบแกนสะเทิน

เนื่องจากหนาตัดคานสมมาตรรอบแกนสะเทิน ดังนั้นจึงทราบตําแหนงของแกนสะเทิน
พิจารณาโมเมนตความเฉื่อยรอบแกนสะเทิน โดยแบงพิจารณาพื้นที่เปน A1 = 150 x 200 mm2
และ A2 = 100 x 150 mm2 ดังนั้น
 1 3
 I   12 bh 
 
1 1
I = (150)(200 3 )  (100)(150 3 )
12 12
= 7.1875 x 107 mm4
= 7.1875 x 10-5 m4
โมเมนตสถิตของพื้นที่
พิจารณาหนาตัดเหนือแกนสะเทิน โดยแบงเปนพื้นที่ A1'  100  25 mm 2 (จํานวน 2
รูป) y1  50 mm, A2'  100  25 mm 2 และ y 2  100  12.5  87.5 mm ดังนั้น
Q   A y i
'
i

Q = 2(100)(25)(50) + (100)(25)(87.5)
= 4.6875 x 105 mm3 = 4.6875 x 10-4 m3
 VQ 
  Ib 
 
2w(4.6875  10 4 )
1.2 x 103 =
(7.1875  10 5 )(0.050)
W = 4.6 kN/m ตอบ

5.28 คานหนาตัดรูปสี่เหลี่ยมขนมเปยกปูนดังรูปจงพิสูจนวา หนวย


แรงเฉือนสูงสุดเกิดขึ้นที่ระยะy = h/8 ดานบนหรือดานลางของ
แกนสะเทิน

หลักการวิเคราะห
พิจารณาหนาตัดเหนือชั้นระนาบ y1 = y ใดๆจากแกนสะเทิน จากนั้นหาโมเมนต Q
และ I แทนคาลงในสมการ   VQ / Ib' หลังจากนั้นให d  / dy  0

การคํานวณ

h
y
z
จากรูปสามเหลี่ยมคลาย = 2
b h/2
2b  h 
Z =   y
h 2 
2
1 h  bh 
ในที่นี้ A = z  y  =   y
2 2  h2 
y = y + 1  h  y  = 2 1
y h
3 2  3 6
Q  A' y 
2
bh  2 1 
Q =   y  y  h
h2  3 6 
 1 3
 I  12 bh 
 
3

I = 2  1 (b) 1 h  = 1
bh 3
 12   2  48
 VQ 
  Ib' 
 
ในที่นี้ b = z = 2b  h  y 
h 2 
2
 b  h  2 1 
V    y   y  h 
 =  h  2  3 6 
 1 3  2b  h 
 bh    y 
 48  h  2 
 24V  h  2 1 
=  3   y  y  h 
 bh  2  3 6 
2V 2
 = 3
(h +2yh-8y2)
bh
d
 มีคาสูงสุดเมื่อ  0 ดังนั้น
dy
d 2V
= (+2h – 16y) = 0
dy bh 3
1
y = h
8
1
ดังนั้น  มีคาสูงสุดที่ระยะ y = h วัดจากแกนสะเทินทั้งดานบนหรือดานลาง
8
5.29 คานหนาตัดแบบหนาแปลนกวางดังรูป ที่หนาตัดของคานพบวาแรงเฉือนในแนวดิ่ง V =
70 kN จงคํานวณหา
ก) หนวยแรงเฉือนสูงสุดที่ตําแหนงดังกลาว
ข) หนวยแรงเฉือนที่จุดตอระหวางหนาแปลนกับเว็บ (web)
ค) จงพลอตรุปการกระจายของหนวยแรงในเว็บ และหาเปอรเซ็นตของแรงเฉือนที่เว็บรับ
ได

หลักการวิเคราะห
พิ จารณาหน วยแรงเฉื อนจาก   VQ / Ib จุดต อระหวา งหนา แปลนกั บ เว็ บ จะได ก าร
กระจายหนวยแรงอยางไมตอเนื่อง เนื่องจากระยะ b ในสมการขางตนนั้นไมใชคาเดียวกัน

การคํานวณ
ก) ตําแหนงของแกนสะเทินและโมเมนตความเฉื่อยรอบแกนสะเทิน
เนื่องจากหนาตัดคานสมมาตรรอบแกนสะเทิน ดังนั้นจึงทราบตําแหนงของแกนสะเทิน
พิจารณาโมเมนตความเฉื่อยรอบแกนสะเทิน โดยแบงพิจารณาพื้นที่เปน A1 = 160 x 240 mm2
และ A2 = -70 x 200 mm2 (จํานวน 2 รูป)
 1 3
 I   12 bh 
 
1 2
= (160)(240 3 )  (70)(200 3 )
12 12
= 9.10 x107 mm4 = 9.10 x 10-5 m4
โมเมนตสถิตของพื้นที่
พิจารณาหนา ตัดเหนื อแกนสะเทิน โดยแบง เปนพื้นที่ A1' = 100 x 20 mm2 ,
y1  50 mm, A2'  160  20 mm 2 และ y 2  110 mm ดังนั้น
Q   A y i
'
i

Q = (100)(20)(50) + (160)(20)(110)
= 4.52 x 105 mm3 = 4.52 x 10-4 m3
ความเคนเฉือนสูงสุด
 VQ 
  Ib 
 
(70)(4.52  10 4 )
 =
(9.10  10 5 )(0.020)
= 17.4 MPa ตอบ
ข) ที่จุดตอระหวางหนาแปลนและเว็บ
การกระจายของหนวยแรงเฉือนจะไมตอเนื่อง (discontinuity) เนื่องจากถาคํานวณหนวย
แรงเฉือนในหนาแปลนจะใช b=160 mm สวนคํานวณหนวยแรงเฉือนในเว็บจะใช b = 20 mm
ดังนั้น
ในเว็บ Q = (0.160)(0.020)(0.110) = 3.52 x 10-4 m3 , b = 0.020 m
 VQ 
  Ib 
 
(70)(3.52  10 4 )
 = = 13.5 MPa
(9.10  10 5 )(0.020)
ในหนาแปลน Q = 3.52 x 10-4 m3 , b = 0.160 m
 VQ 
  Ib 
 
(70)(3.52  10 4 )
 = = 1.69 MPa
(9.10  10 5 )(0.160)
ค) พลอตรูปการกระจายของหนวยแรง
การกระจายหนวยแรงเฉือนในเว็บนั้นเปลี่ยนแปลงในรูปพาราโบลา โดยมีหนวยแรงเฉือน
ตรงจุดตอกับหนาแปลน  = 13.5 MPa และหนวยแรงสูงสุดบนแกนสะเทิน  max = 17.4 MPa
ซึ่งเขียนไวในโจทย โดยมี  av = 13.5 + 2 (17.4 – 13.5) = 16.1 MPa
3
แรงเฉือนในเว็บ
P  A av 
Vweb = (0.200)(0.020)(16.1 x 103) = 64.4 kN
64.4
%Vweb = (100) = 92.0 % ตอบ
70
ขอควรจํา
หนาตัดคานในสวนที่ออกแบบเปนหนาแปลนนั้นมีสวนรับแรงเฉือนในแนวดิ่งไดนอยมาก
เมื่อเปรียบเทียบกับในสวนเว็บของคาน ถาสมมติใหแรงเฉือนในแนวดิ่งทั้งหมดรับโดยเว็บเทานั้น
หนวยแรงเฉือนสูงสุดในคานสามารถคํานวณโดยตรงไดจาก
 V 
  
 Aweb 
70  10 3
 = = 17.5 MPa
(0.200)(0.020)
ซึ่งคาที่คํานวณไดใกลเคียงกับหนวยแรงเฉือนสูงสุดจริง 17.4 MPa ปกติตามหนาตัด
มาตรฐานนั้นความสูงของเว็บจะไมรวมในสวนของหนาแปลน ในการคํานวณอาจใชความหนา
ของคาน (depth) แทนได ซึ่งจะไดความเคนเฉือนสูงสุดต่ํากวา 17.5 MPa และเขาใกลคาสูงสุด
จริง

5.30 คานหนาตัดรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากรับแรงกระทําเปนบริเวณอยางสม่ําเสมอขนาด w N/m มี


ความยาว L เมตร ที่ปลายคานทั้งสองดานวางอยูบนตัวรองรับ กําหนดความเคนใชงาน
สําหรับความเคนดัดเทากับ  และสําหรับความเคนเฉือนเทากับ  ถาสมมติวาความเคนใน
คานเคนในคานถึงความเคนใชงานพรอมกัน จงหาความยาววิกฤตของคาน

หลักการวิเคราะห
พิจารณาความสามารถรับแรงสูงสุดจากแรงเฉือนคาสูงสุดใน SFD และความสามารถรับ
โมเมนตดัดสูงสุดจากสมการ  = Mc/I ทั้งนี้ M ก็คือโมเมนตดัดสูงสุดในคาน
การคํานวณ

 3V 
 max  2bh 
 
3 W / 2 
 =  
2  bh 
3
W = bh ....(1)
4
ใน SFD จุดซึ่ง V = 0 นั้นใหโมเมนตดัดสูงสุด ดังนั้น
1  W  L  WL
M =    = N m
2  2  2  8

 I 
M  c 
 
bh 2
M =
6
WL bh 2
ดังนั้น =
8 6
จากสมการที่ (1) แทนลงในสมการที่ (2) จะได
3  L  bh 2
 bh   =
4  8  6
h
L = ตอบ

ขอควรจํา
 ในสมการ (1) ขนาดของ W นั้นไมขึ้นกับความยาวของคาน
h
 ความยาววิกฤตในที่น้คี ือ L = ถาคานที่ใชมีความยาวมากวาความยาววิกฤต การ

ออกแบบจะขึ้นอยูกับหนวยแรงดัดตั้งฉาก ถาคานที่ใชมีความยาวนอยกวาความยาววิกฤต
การออกแบบจะขึ้นอยูกับหนวยแรงเฉือน

5.31 กําหนดคานหนาแปลนกวางดังรูปอยูบนตัวรองรับอยางงาย ภายใตกระทําเปนจุด W และ


แรงกระทําเปนบริเวณตลอดคานขนาด 2W จงหาคาสูงสุดที่ปลอดภัยของ W ถา
  10 MPa และ   1.4 MPa

หลักการวิเคราะห
หาแรงเฉือนสูงสุ ดและโมเมนตดัดสูงสุดในคาน จากนั้นนําไปคํานวณหา W จาก
สมการ  VQ / Ib และ   Mc / I และเลือกคาต่ําสุดเปนคําตอบ

การคํานวณ
FBD คานทั้งหมด R1 = 2W , R2 = W
พิจารณาแรงเฉือนและโมเมนตดัดในคานชวงตาง ๆ
W 2
AB  V = 2W - Wx , M = 2Wx - x
2
BC  V = 0 , M = 2W
CD  V = -W , M = 5W – Wx
นํามาเขียน SFD และ BMD จะไดดังนี้

ตําแหนงของแกนสะเทินและโมเมนตความเฉี่ยวรอบแกนสะเทิน

โมเมนตความเฉื่อยของหนาตัดรอบแกนสะเทิน; พิจารณา A1 = 200 x 220 mm2 และ A2


= -90 x 180 mm2 (2 รูป) ดังนั้น
1 3 0.200(0.220 3 ) 2(0.090)(0.180 3 
I =  bh = 
2 12 12
-5 4
= 9 x 10 m
พิจารณาหนวยแรงเฉือนในคาน
กํ า หนดพิ จ ารณาหน า ตั ด เหนื อ แกนสะเทิ น โดยแบ ง พื้ น ที่ เ ป น A1'  200 x20 mm 2 ,
y1  100 mm, A2'  90 x 20 mm 2 , y 2  45 mm ดังนั้นโมเมนตสถิตของพื้นที่คือ
Q   A y 
i
'
i

Q = (200 x 20)(100) + (90 x 20)(45)


= 4.81 x 105 mm3 = 4.81 x 10-4 m3
ใน SFD นั้นแรงเฉือนสูงสุด V = 2W kN
 VQ 
  Ib 
 
3 2 w(4.81  10 4 )
1.4 x 10 =
(9  10 5 )(0.020)
 W = 2.62 kN
พิจารณาจากหนวยแรงดัดในคาน
ใน BMD นั้นโมเมนตดัดสูงสุด M = 2W kN  m
 Mc 
  I 
 
2W (0.110)
10 x 103 =
9  10 5
W = 4.09 kN
เลือกแรงกระทําคาปลอดภัย W = 2.62 kN ตอบ

5.32 คานหนาตัดรูปตัวยูดังรูปรับน้ําหนัก W กระทําที่ปลายทั้งสอง และแรงกระทําเปนบริเวณ


อยางสม่ําเสมอขนาดรวม 8W กําหนดหนวยแรงใชงาน  t  30 MPa,  c  70 MPa
และ   20 MPa จงหาขนาดของ W คาปลอดภัย3

หลักการวิเคราะห
หาตําแหนงของแกนสะเทินและโมเมนตความเฉื่อยรอบแกนสะเทิน วิเคราะหเปรียบเทียบ
W ระหวางคาที่คํานวณไดจากหนวยแรงเฉือน   VQ / Ib และคาคํานวณจากหนวยแรงดัด
  My / I เลือกคาต่ําสุดเปนคําตอบ
การคํานวณ
FBD ของคานทั้งหมด R1 = R2 = 5W
พิจารณาแรงเฉือนและโมเมนตดัดในคานชวงตาง ๆ
AB  V = W , M = -Wx
BC  V = 6W – 2Wx , M = W(-x2 + 6x – 6)
CD  V = +W , M = -W (6 – x )
นํามาเขียน SFD และ BMD จะไดดังนี้

ตําแหนงของแกนสะเทินและโมเมนตความเฉื่อยรอบแกนสะเทิน

กําหนดหนาตัดเปนพื้นที่เหนือขอบดานลางของหนาตัด โดยแบงพื้นที่เปน A1 = 140 x 20


2
mm (2 รูป) , y1  70 mm, A2  140  20 mm 2 และ y 2  10 mm
Ay   Ai yi 
[(140)(20) + 2(140)(20)] y = 2(140)(20)(70) + (140)(20)(10)
 y = 50 mm
โมเมนตความเฉื่อยรอบแกนสะเทินหาจาก
I  I  Ad 
2

1 2 
I = 12 (140)(20 )  (140)(20)(40 )
3

  A2
+ 2  1 
(20)(140 3 )  (140)(20)(20 2 )
12  A1
= 15.96 x 106 mm4 = 15.96 x 10-6 m4
พิจารณาจากหนวยแรงเฉือนในคาน
กําหนดพิจารณาหนาตัดเหนือแกนสะเทิน โดยแบงพื้นที่เปน A1'  90  20 mm 2 (2 รูป)
และ y1  45 mm ดังนั้นโมเมนตสถิตของพื้นที่คือ
Q   A y i
'
i

= Q 2(90)(20)(45)
= 1.62 x 105 mm3 = 1.62 x 10-4 m3
ใน SFD นั้นแรงเฉือนสูงสุด V = 4 W kN
 VQ 
  Ib 
 
(4W )(1.62  10 4 )
20 x 103 =
(15.96  10  6 )(0.040)
W = 19.70 kN ตอบ
พิจารณาจากความเคนดัดในคาน
ใน BMD นั้นชวง EF ใหโมเมนตดัดสูงสุด M = + 3W ซึ่งแสดงวาคานชวงนี้ถูกดัดให
โคงหงายขึ้น ดัง นั้นขอบดานบนเหนือแกนสะเทินรับหนวยแรงกด (  c ) และขอบดานลางรับ
หนวยแรงดึง  t 
 My 
 c  I 
 
(3W )(0.090)
ที่ขอบดานบน 70 x 103 =
(15.96)  10 6
W = 4.14 kN
 My 
 t  I 
 
(3W )(0.090)
ที่ขอบดานลาง 30 x 103 =
(15.96)  10 6
W = 3.19 kN
ใน BMD ชวง AE หรือ FD นั้น โมเมนตดัดสูงสุด M = -W โดยคานถูกดัดใหโคงคว่ํา
ลงดังนั้นขอบดานบนเหนือแกนสะเทินรับหนวยแรงดึง  t  และขอบดานลางรับหนวยแรงกด (  c )
 My 
 t  I 
 
W (0.090)
ที่ขอบดานบน 30 x 103 =
(15.96)  10 6
W = 5.32 kN
 My 
 c  I 
 
W (0.050)
ที่ขอบดานลาง 70 x 103 =
(15.96)  10 6
W = 22.34 kN
เลือกขนาดน้ําหนักคาปลอดภัย W = 3.19 kN ตอบ
บทที่ 6 การโกงตัวของคาน (Beam Deflections)
วิธีการอินทิเกรต 2 ครั้ง (Double Integration Method)
วิธีนี้มีวัตถุประสงคเพื่อหารูปของสมการการโคงของเสนแกนตามยาวของชวงคาน
(Longitudinal Axis) โดยการกําหนดใหแกน X เปนแกนตามยาวของคาน แกน Y เปนแกนตั้ง
ดังนั้นรูปสมการของการโกงตัวของคานจะออกมาในรูป Y  f ( X ) โดยที่ X คือระยะของคาน
และ Y คือระยะการโกงของคาน
ขั้นตอนการสรางสมการเสนโคงการโกงตัวของคาน
1. จากสภาพคานและน้ําหนักบรรทุกของคานที่มีอยูใหหารูปสมการทั่วไปของโมเมนตดัด
M=f(X) ตามวิธีที่ไดจากบทที่ 4 ทั้งนี้เทอมไหนของสมการโมเมนตที่ไดนี้ ถามีรูปแบบลบอยูกับคา
X ใหเขียนเทอมนั้นอยูในรูปเครื่องหมายวงเล็บ () ทั้งนี้เพื่อไวเปนขอสังเกตวาเมื่อแทนคา X
ลงในวงเล็บดังกลาวแลว คาในวงเล็บจะมีการติดลบ
d2y
2. เขียนความสัมพันธระหวางสมการโมเมนต จากขอ 1 ใหเทากับ EI 2
dx
3. ทําการอินทิเกรตสมการในขอ 2 จํานวน 2 ครั้ง ในที่สุดจะไดสมการขึ้นมา 3 สมการ ใน
รูป
d2y
M  EI 2
dx
dy
 Mdx  C1  EI
dx
  Mdxdx  C1 x  C 2  EIy
4. พิจารณาจากสภาพของคาน หาเงื่อนไขไปแทนคาในสมการตามขอ 3 เพื่อหาคาคงที่
C1 ,C 2
5. จากสมการที่ไดตามขอ 4 เมื่อตองการหาคาการโกงตัวของคานที่ระยะ Xใด ๆ ก็นําคา X
ไปแทนคาในสมการรูป EIy โดยตัดเทอมที่เมื่อแทนคา X ลงในวงเล็บ () แลวใหคาติดลบออกไป
(ไมนํามาคิด) ก็จะไดคา y (คาการโกงตัว) ที่ระยะนั้น ๆ
การหารูปสมการทั่วไปของโมเมนตดัด สามารถพิจารณาไดตามตัวอยางดังนี้

รูปที่ 6-1 รูปตัวอยางในการหาสมการทั่วไปของโมเมนตดัด

จากคานในรูป (b) สมการที่จะนํามาใชงานก็คือ M DE โดยที่


M DE  500 X 
400
 X  12  400  X  4 2  1300 X  6........N .m.
2 2

วิธีพื้นที่-โมเมนต (Area-Moment Method)


วิธีนี้อาศัยคุณสมบัติทางเรขาคณิตของเสนโคงยืดหยุน ใชวิเคราะหหาระยะโกงตัวและ
ความลาดชันที่จุดหนึ่ง ๆ บนคานโดยตองอาศัยทฤษฎีของพื้นที่และโมเมนตดังนี้
ทฤษฎีที่ 1
ทฤษฎีที่ 1 นี้กลาววา การเปลี่ยนแปลงของความลาดชันของเสนโคงยืดหยุนระหวางจุด 2
จุด ใดๆ นั้นยอมเทากับพื้นที่ใตแผนภาพ M/EI ระหวางจุดทั้งสองนั้น
รูปขางลางแสดงใหเห็น ภายใตภาระหนึ่งที่กระทําตอคาน ระหวางจุด C และ D บนเสน
โคงยืดหยุนพบวา
D/C = พื้นที่ใตแผนภาพ M/EI ระหวางจุด C และ D
รูปที่ 6-2 แสดงทฤษฎีที่ 1
ทฤษฎีที่ 2
ทฤษฎีที่ 2 นี้กลาววา คาเบี่ยงเบนวัดในแนวดิ่งของจุด C ใด ๆ ซึ่งวัดเทียบกับเสนสัมผัส
ของเสนโคงยืดหยุนที่จุด D อีกจุดหนึ่ง (tC/D) เทากับโมเมนตอันดับแรก (first moment) รอบ
แกนในแนวดิ่งซึ่งผานจุด C ของพื้นที่ใตแผนภาพ M/EI ระหวางจุด C และ D ดังกลาว พิจารณา
ในรูปขางลาง (ก)
tC/D = (พื้นที่ใตแผนภาพระหวางจุด C และ D) x 1

ในทํานองเดียวพบวา

tC/D = (พื้นที่ใตแผนภาพระหวางจุด C และ D) x2


รูปที่ 6-3 แสดงทฤษฎีที่ 2
เครื่องหมายของ tC/D และ  D/C มีวิธีพิจารณาดังตอไปนี้

ก) คาเบี่ยงเบนเปนบวก จุด D ข) เบี่ยงเบนเปนลบ จุด D


อยูสูงกวาเสนสัมผัสอางอิง อยูต่ํากวาเสนสัมผัสอางอิง

ค) การเปลี่ยนแปลงของความลาดชัน ง) การเปลี่ยนแปลงของความลาดชัน
เปนบวก วัดจากเสนสัมผัสอางอิงใน เปนลบวัดจากเสนสัมผัสอางอิงใน
ทิศทวนเข็มนาฬิกา ทิศตามเข็มนาฬิกา

การประยุกตกับคานยื่นและคานอยางงายที่มีแรงกระทําสมมาตร
1) คานยื่น

รูปที่ 6-4 คานยื่น


ในรูปดังกลาว ใชเสนสัมผัสที่จุด A เปนเสนสัมผัสอางอิงและ A = 0 ความลาดชันที่จุด D
ใดๆ คือ D = D/A หาไดจากทฤษฎีที่ 1 และระยะโกงตัว yD ของจุดD ก็คือ tD/A โดยที่ tD/A นั้นวัด
จากเสนสัมผัสอางอิงที่จุด A ซึ่งหาไดจากทฤษฎีที่ 2
2) คานอยางงายที่มีแรงกระทําสมมาตร
รูป (ก) ใชจุดสัมผัสที่ต่ําสุด (จุด C) ของคานเปนเสนสัมผัสอางอิง ในรูป (ข) พบวา C =
0 ดังนั้นความลาดชันที่จุดรองรับ B คือ B = B/C และหาไดจากทฤษฎีที่ 1 ระยะโกงตัวสูงสุด
lyl max มีขนาดเทากับ tB/C ซึ่งหาไดจากทฤษฎีที่ 2 สําหรับความลาดชันที่จดุ D ใดๆ ของคานใน
รูปที่ 6.5 (ค) คือ D = D/C และระยะโกงตัวที่จุด D หาไดจาก
y D  t B / C t D / C

(ก) (ข)

(ค)

รูปที่ 6-5 คานอยางงายที่มีแรงกระทําสมมาตร

ภายใตภาระกระทําตอคานที่มากกวาหนึ่งอยางการคํานวณหา D/C และ tD/C นั้น


อาจจะยุงยากเพื่อใหคํานวณงายขึ้นสําหรับแตละภาระนั้น ๆ จะแยกแผนภาพ M/EI โดยใหคํานึงถึง
หลักที่วา
D/C ก็คือผลรวมทางพืชคณิตของพื้นที่ใตแผนภาพ M/EI ที่แยกคํานวณเหลานั้น
tD/C ก็คือผลรวมทางพืชคณิตของโมเมนตอันดับแรกของพื้นที่ใตกราฟ M/EI เหลานั้น
สําหรับแผนภาพโมเมนตของคานยื่นบนภาระกระทําในลักษณะตาง ๆ พิจารณาจากตาราง
ที่แสดงภาระบนคานยื่นและรูปทรงเรขาคณิตบนแผนภาพโมเมนต
วิธีคานเสมือน (Conjugate Beam)

รูปที่ 6-6 หลักการของวิธีคานเสมือน

หลักการของวิธีคานเสมือน คือ
1. คาความลาดชัน (Slope) ของเสนโคงการโกงตัว ณ. จุดใดของคานจริง จะมีคาเทากับ
แรงเฉือน ณ. จุดนั้นของคานเสมือน
2. คาการโกงตัว ณ. จุดใด ๆ บนคานจริง มีคาเทากับคาโมเมนต ณ. จุดนั้นบนคานเสมือน
โดยขอกําหนดเกี่ยวกับเรื่องเครื่องหมายมีดังนี้
M
1. คา ไดอะแกรมที่มีคาเปนบวก เมื่อนําไปเปน Elastic Weight บนคานเสมือนใหถือวา
EI
M
มีทิศกระทําลงบนคานและคา มีคาลบเมื่อเปน Elastic Weight ใหมีทิศขึ้น
EI
2. คาโมเมนตดัดที่จุดใด ๆ บนคานเสมือน เมื่อมีคาเปนบวก แสดงวาเสนโคงการโกงตัว
ของคานจริง ณ. จุดนั้น มีลักษณะโกงลงขางลาง
3. ถาคาแรงเฉือนในคานเสมือน มีคาเปนบวก (เครื่องหมายของน้ําหนักบรรทุกเสมือน
โมเมนตดัด และแรงเฉือน กําหนดโดยอาศัยหลักเกณฑในบทที่ 4) แสดงวามุมลาดเอียงของจุดนั้น
บนเสนโคงการโกงตัวหมุนทวนเข็มนาฬิกา (หมายถึงเสนสัมผัสสวนโคงที่จุดนั้นหมุนเขาหาเสน
แกนแนวราบในลักษณะทวนเข็มนาฬิกา)

A B
A B

หมุนทวนเข็ม
หมุนตามเข็ม
เสนสัมผัส

ในการเปลี่ยนสภาพจากคานจริงเปนคานเสมือนนั้น ใหยึดถือตามเงื่อนไข ตามที่ไดแสดง


ไวในตารางที่แสดงความสัมพันธระหวางคานจริงกับคานเสมือน

วิธีตําแหนงซอนทับ (Superposition)

วิธีการซอนทับนี้มักนิยมใชวิเคราะหกับปญหาที่มีภาระกระทําซับซอนหรือปญหาของคาน
อินดีเทอรมิเนตเชิงสถิต โดยการแยกปญหาเดิมออกเปนปญหายอยที่มีภาระกระทําอยางงายจํานวน
2 ปญหา หรือมากกวา แตตองไมลืมวา ความลาดชันหรือระยะโกงตัวที่จุดใดจุดหนึ่งบนคาน
ภายใตภาระเดิม ก็คือ ผลรวมของความลาดชันหรือระยะโกงตัวที่จุดนั้นภายใตภาระกระทําอยาง
งายที่แยกยอยออกไป สําหรับความลาดชันและระยะโกงตัวของคานภายใตภาระกระทําอยางงาย
นั้นใหเลือกใชไดจากตารางที่ แสดงภาระที่กระทําตอคานยื่นและคานอยางงาย หลักการแยกภาระ
กระทําอยางงายตอคานภายใตภาระกระทําเดิมพิจารณาจากตัวอยางในตามรูปดังนี้ ทั้งนี้ ตอง
คํานึงถึงภาระกระทําอยางงายทั้ง 12 กรณีที่มีอยูในตารางที่ แสดงภาระที่กระทําตอคานยื่นและคาน
อยางงาย

รูปที่ 6-7 หลักการของวิธีซอนทับ


แบบฝกหัดบทที่ 6
6.1 แรง 300 N กระทําเปนจุดบนคานดังแสดงในรูป จงหาสมการของระยะโกงตัว และ
ระยะโกงตัวสูงสุดในคาน

หลักการวิเคราะห
โมเมนตที่ใชแทนในสมการจะเปน MBC ของสวนตัดของคานชวงสุดทาย โดยแทนคาลง
ในสมการที่ (6.2) และ (6.3) กําหนดเงื่อนไขขอบเขตคาคงที่ C1 และ C2

การคํานวณ
BC เปนคานชวงสุดทาย (นับจากปลายคานดานซาย) พบวา
MBC = 100x – 300 x  2 N  m
เครื่องหมายวงเล็บ .... ใชเนนใหทราบวาคาของ x ที่ใชนั้นตองไมทําใหนิพจนใน
วงเล็บติดคาลบ ถานําไปใชกับชวงที่มีระยะ x < 2 นิพจน x  2 นี้จะตองตัดทิ้งไป
d2y
 = M = 100x – 300 x2 N m …(2)
dx 2
dy
 = 50x2 - 150 x2
2
+C1   m2 …(3)
dx
50 3
y = x  50 x  2
3
+ C1x + C2   m 3 …(4)
3
ที่จุด A (x = 0) นั้นระยะโกงตัวเปนศูนย (y = 0) แทนคาลงในสมการที่ (4) โดยใหตัด
นิพจน x  2 3 นี้ทิ้งไป จะได C2 = 0
ที่จุด C (x = 3m) นั้นระยะโกงตัวเปนศูนย (y = 0) แทนคาลงในสมการที่ (4) จะได
0 = 50 3
(3 )  50(3  2) 3  3C1
3
C1 = - 133 N  m 2
ดังนั้นพบวา
คานชวง AB (0    2m ) ใหตัดนิพจนของ -150 x2
2
ทิ้งไป

dy
 = 50x2 - 133 …(5)
dx
50 3
 y = x  133 x …(6)
3
คานชวง BC (2    3m ) ใหเปลี่ยนวงเล็บจาก ....
2
เปน (...)2
dy
 = 50x2 - 150(x – 2)2 - 133 …(7)
dx
 y = 50 3
x  50( x  2) 3 133 x …(8)
3
หาตําแหนงของระยะโกงตัวสูงสุด (dy/dx = 0)
ในชวง AB; สมการที่ (5)
0 = 50x2 - 133  x = 1.63 m
เนื่องจาก x = 1.63 m อยูในคานชวง AB (0    2) ดังนั้นระยะโกงตัวสูงสุด
เกิดขึ้นในชวง AB จริง จากสมการที่ (6) จะไดวา
(1.633 )  1331.63   145 N  m 3
50
y =
3
ระยะโกงตัวติดลบแสดงวาระยะโกงตัว y วัดลงใตแกน x
ในที่นี้ถากําหนดให E =10 x 109 N/m2 และ I = 1.5 x 106 mm4 = 1.5 x 10-6 m4
ดังนั้น
(10 x 109)(1.5 x 10-6) y = - 145
y = -9.67 x 10-3m = - 9.67 mm ตอบ
ขอสังเกต
ตําแหนงของระยะโกงตัวสูงสุดในชวง BC (2  x  3) พิจารณาให dy/dx = 0 กับ
สมการที่ (7) พบวา x = 1.7 หรือ 4.3 m ซึ่งพบวาตําแหนงนั้นไมไดอยูในคานชวง BC คําตอบจึง
ใชไมได

6.2 จงหาคาของ EIy ที่ตําแหนงกึ่งกลางระหวางตัวรองรับและที่ปลายยื่นของคาน ดังแสดง


ในรูป
หลักการวิเคราะห
M ในสมการที่ (6.1) เปน MDE ในสวนตัดของคานชวงสุดทาย อินทิเกรตสมการที่ (6.1) 2
ครั้ง และใชเงื่อนไขขอบเขตที่จุด A และ D หาคาคงที่ C1 และ C2

การคํานวณ
DE เปนคานชวงสุดทาย (นับจากปลายคานดานซาย) พบวา
400 400
MBC = 500x – x 1 
2
x  4  1300 x  6
2

2 2
d2y 400 400
 = 500X - x 1 
2
x  4  1300 x  6 N  m …(1)
2

dx 2 2 2
dy 200 200
 = 250x2 - x 1 +
3
x  4  650 x  6 +C1   m 2
3 2

dx 3 3
…(2)
250 3 50
y = x  x 1
4
+ 50 x4
4

650
x6
3
+C1x + C2
3 3 3 3
  m3 …(3)
ที่จุด A ((x = 0) นั้นระยะโกงตัวเปนศูนย (y=0) แทนคาลงในสมการที่ (3) โดยที่นิพจน
x  1 , x  4 และ x  6 ใหตัดทิ้งไป และจะได C2 = 0
4 4 3

ที่จุด D (x = 6m) นั้นระยะโกงตัวเปนศูนย (y = 0) แทนคาลงในสมการที่ (3) พบวา


0 = 250 3 50 4
(6 )  (5 ) 
50 4
(2 )  6C1
3 3 3
C1 = - 1308 N  m 2

ที่ x = 3m (อยูในชวง BC ) ใหตัดนิพจนของ x4


4
และ x6
3
ทิ้งไป ดังนั้น
สมการของระยะโกงตัวที่ใชคือ
250 3 50
y = x  x 1
4
- 1308x
3 3
= 250 3 50 4
(3 )  (2 )  1308(3)
3 3
= - 1941 N  m 3 ตอบ
ที่ x = 8m (อยูในชวง DE ) ดังนั้นสมการของระยะโกงตัวที่ใชคือ
250 3 50
y = x  x 1
4
+ 50 x4
4

650
x6
3
- 1308x
3 3 3 3
= 250 3 50 4
(8 )  (7 ) 
50 4
(4 ) 
650 3
(2 )  1308(8)
3 3 3 3
= - 1814 N  m 3 ตอบ
6.3 จงหาระยะโกงตัวสูงสุดสําหรับคานซึ่งมีจุดรองรับที่ปลายคานทั้งสอง คานมีความยาว L
และรับแรงกระทําเปนจุดมีขนาดเทากับ P ที่ตําแหนงกึ่งกลางของคาน

หลักการวิเคราะห
เนื่องจากคานมีสมมาตรรอบจุดกึ่งกลาง ระยะโกงตัวสูงสุดเกิดขึ้นที่จดุ กึ่งกลางของคาน
ใชสมการที่ (6.1) พิจารณาในคานชวง AB
การคํานวณ
P
พิจารณา M ในคานชวง AB; M = x
2
d2y P
 = M = x …(1)
dx 2 2
dy P 2
 = x +C1 …(2)
dx 4
 3
y = x +C1x + C2 …(3)
2
dy
ที่ x = L/2; 0 แทนคาในสมการที่ (2) จะได
dx
L
2
0 =    C1
42
2
C1 = - PL
16
ที่ x = o;y = 0 แทนคาในสมการที่ (3) จะได
C2 = 0
สมการของระยะโกงตัวคือ
 3 PL2
y = x - x …(4)
2 16
ที่ x = L/2; y =  max แทนคาในสมการที่ (4) จะได
 PL2  L   PL3 
3
 P  L 
EI  max =    -    =  
 12  2   6  2   48 
PL3
  max = (ใตแกน x) ตอบ
48 EI
6.4 คานอยางงายรับแรงกระทําเปนจุดในตําแหนง
สมมาตรดังรูป จงหาระยะโกงตัวสูงสุดและให
ตรวจสอบคําตอบโดยกําหนด a = L/2 โดย
เปรียบเทียบกับคําตอบที่ไดในปญหาขอ 6.3

หลักการวิเคราะห
ใชสมการที่ (6.1) พิจารณาในคานชวงสุดทาย (L-a < x < L) ซึ่ง x เปนพิกัดวัดจาก
ปลายคานดานซาย

การคํานวณ

จาก FBD ของคานทั้งหมด


เนื่องจากตําแหนงกระทําของแรง P สมมาตร ดังนั้นแรงปฏิกิริยาที่จุดรองรัยคือ
R1 = R2 = P
สมการที่ (6.1) M นั้นพิจารณาในคานชวงสุดทาย (L-a< x < L) วัดจากปลายคานดานซาย
โดยที่    M L,   ดังนั้น
d2y
 = M = Px – P xa P xLa …(1)
dx 2
dy P 2 P
 = x- xa
2
-P xLa
2
+C1 …(2)
dx 2 2 2
P 3 P
y = x  xa
3
- P x  L  a 3 +C1x + C2 …(3)
6 6 6
ที่ x = 0; y = 0 โดยนิพจนของ x  a และ x  L  a ใหตัดทิ้งไป แทนคาลงใน
3 3

สมการที่ (3) จะได C2 = 0


ที่ x = L; y = 0 แทนคาลงในสมการที่ (3) จะได
PL3 P
0 = P
 ( L  a) 3  (a 3 )C1 L
6 6 6
C1L = - P L3  P ( L3  3L2 a  3La 2  a 3 )  P a 3
6 6 6
Pa
C1 = - ( L  a)
2
ดังนั้น
P 3 P
y = x  xa
3
-P xLa
3
- Pa ( L  a) x
6 6 6 2
ที่ x = L/2 อยูในคานชวง (a < x < L-a) ดังนั้น
P 3 P Pa
y = x  xa -
3
( L  a) x
6 6 2
 P  L   P  L
3

L  a  L 
3
Pa
EI  max =  
       a  
 6  8   6  2  2 2
PL3  P  L3 L2 L  PaL2 Pa 2 L
=     3 a  3 a 2  a 3  - 
48  6  8 4 2  4 4

= - Pa (3L2  4a 2 )
24
Pa
 max = (3L2  4a 2 ) ตอบ
24 EI
ขอสังเกต
ถา a = L/2; จะได
Pa  L  2
 max =  (3L  L )
2

24 EI  2 
2 PL3 ' L3
= 
48 EI 48 EI
คําตอบที่ไดเชนเดียวกับคําตอบในปญหาขอ 6.3 โดยที่ P = 2P

6.5 คานอยางงายรับแรงกระจายเปนบริเวณบน
คานบางสวน ดังรูป ถากําหนดให E = 10
GPa จงหาคาของ EIy ที่จุดกึ่งกลางของคาน
และเพื่อใหระยะโกงตัวที่จุดกึ่งกลางมีคาเทากับ
1 ใน 360 ของความยาวของคานนั้น I ควรมี
คาเทาไร

หลักการวิเคราะห
ใชสมการที่ (6.1) พิจารณาในคานชวงสุดทาย (2 < x < 4m) โดยที่พิกัด x นั้นวัดจากปลาย
คานดานขวา
การคํานวณ
จาก FBD ของคานทั้งหมด
 M A  0,   R1(4)-600(3) = 0
R1 = 450 N
 Fy  0,    R2 = 600-450 = 150 N

สมการที่ (6.1) M นั้นพิจารณาในคานชวงสุดทาย ( 2 < x < 4) วัดจากลายคานดานขวา


โดยที่ [ M  ( M ) R , ]
d2y 300
 = M = 150x – x2
2
…(1)
dx 2 2
dy 150 2 300
 = x- x  2 +C1
3
…(2)
dx 2 6
150 3 300
y = x  x  2 +C1x + C2
4
…(3)
6 24
ที่ x = 0; y = 0 โดยนิพจน x  2 4 นั้นใหตัดทิ้งไป แทนคาลงในสมการที่ (3) จะได
C2 = 0
ที่ x = L; y = 0 แทนคาลงในสมการที่ (3) จะได
0 = 4   (2 )  C1 (4)
150 3 300 4
6 24
C1 = -350
150 3 300
ดังนั้น y = x  x2
4
- 350x
6 24
ที่ x = 2m อยูในคานชวง ( 2 < x < 4) ใหตัดนิพจน x2
4
ทิ้งไป
150 3
y = x  350 x
6
150 3
y = (2 )  350(2)
6
y = -500 N  m 3 ตอบ
1 1
ถา y = ( 4)  m ดังนั้น
360 90
y = 500
500
I =
1
(10  10 9 )
90
= 4.5 x 10-6 m4
= 4.5 x 10-6 m4 ตอบ

6.6 คานอยางงายรับแรงกระจายเปนบริเวณรูปสามเหลี่ยมดังรูป จงหาสมการของระยะโกงตัว


และระยะโกงตัวสูงสุด

หลักการวิเคราะห
เนื่องจากการกระจายแรงสมมาตรบนคาน M จึงใชสมการ (6.1) พิจารณาในคานชวง AB

การคํานวณ
1
เนื่องจากการกระจายแรงสมมาตร แรงกระทําตอคานทั้งหมด คือ wL และแรง
2
ปฏิกิริยา R1  R2 
1
wL
4

สมการ (6.1) M นั้นพิจารณาในคานชวง AB (0< x < L ) วัดจากปลายคานดานซาย โดยที่


2
[M =  M L , ] ดังนั้น
d2y
x – wx  x 
2
wL
 = M = …(1)
dx 2 4 L 3
dy wLx 2 wx 4
 = - +C1 …(2)
dx 8 12 L
wLx 3 wx 5
y = - +C1x + C2 …(3)
24 60 L
ที่ x = 0; y = 0 แทนคาลงในสมการที่ (3) จะได C2 = 0
L dy
ที่ x = ; =0 แทนคาลงในสมการที่ (2) จะได
2 dx
2 4
wL  L  w L
0 =       C1
8 2 12 L  2 
3
C1 = - 5wL
192
ดังนั้นระยะโกงตัวของคานชวง AB คือ
wLx 3 wx 5 5wL3 x
y = - -
24 60 L 192
y = - wx (25L4  40 L2 x 2  16 x 4 )
960 L
L
ที่ x = ; แทนคาลงในสมการที่ได พบวา
2
4
WL3
y = - wL  ตอบ
120 60
1
(โดยที่ W = wL คือแรงกระทําทั้งหมด)
2

6.7 จงหาสมการของเสนโคงยืดหยุนของคานยื่น ซึ่งรับแรงกระจายเปนบริเวณ w N/m บน


คานบางสวนดังแสดงในรูป

หลักการวิเคราะห
จาก FBD ของคานทั้งหมดหา VA และ MA จากนั้นใช M เปนโมเมนตดัดบนสวนตัด
ของคานดานซายในชวง BC(a < x < L) แทนคาลงในสมการที่(6.1)หาระยะโกงตัว
การคํานวณ
FBD ของคานทั้งหมด ที่จุด A ปลายสอดฝงในกําแพงพบวา
VA = W(L-a)
MA = - w(L-a)  a  L  a    w ( L2  a 2 )
 2  2
สมการที่ (6.1); พิจารณา M ในคานชวง BC(a < x < L) โดยที่ [M =  M L , ]
ดังนั้น
d2y
 2 = w(L-a)x - w ( L2  a 2 )  w xa
2
…(1)
dx 2 2
2

dy
= w(L-a) x - w ( L2  a 2 ) x  w xa
3
 C1 …(2)
dx 2 2 6
3
y = w(L-a) x - w ( L2  a 2 ) x 2  w x  a 4
 C1 x  C 2 …(3)
6 4 24
dy
ที่ x = 0; = 0 (สําหรับคานยื่น) โดยนิพจนของ xa
3
ใหตัดทิ้งไป แทนคาลง
dx
ในสมการที่ (2) จะได C1 = 0
ที่ x = 0; y = 0 โดยใหตัดนิพจน xa
4
นี้ทิ้งไปแทนคาลงในสมการที่ (3) จะได
C2 = 0
ดังนั้นสมการของระยะโงตัวคือ
3
y = w(L-a) x - w ( L2  a 2 ) x 2  w
xa
4
…(4)
6 4 24
ที่ x = L; จะใหระยะโกงตัวสูงสุด และกําหนดให    y
3
EI  = -EIy = w(L-a) L + w ( L2  a 2 ) L2  w
La
4

6 4 24
wL  a   4 3 1 3
=   L  2( L  a ) L  ( L  a ) 
2

8  3 3 
wL  a   4 3 1 3 1 3
=   L  2 L  2aL  L  L a  La  a ) 
3 2 2 2

8  3 3 3 
wL  a   3 a3 
=  L  L2 a  La 2   ตอบ
8  3 
6.8 คานอยางงายมีปลายหอยรับแรง P กระทําที่ปลายคานดังแสดงในรูป
ก) จงหาระยะโกงตัวและความลาดชันของเสนโคงยืดหยุน และ
ข) จงหาระยะโกงตัวสูงสุดระหวางตัวรองรับทั้งสอง

หลักการวิเคราะห
จาก FBD ของคานทั้งหมดหา RA และ RB จากนั้นใช M เปนโมเมนตดัดบนสวนตัด
ของคานดานซายในชวง BC (a < x < L) แทนคาลงในสมการที่ (6.1) เพื่อหาระยะโกงตัวและ
ความลาดชันตอไป และระยะโกงตัวสูงสุดคือที่จุด dy/dx = 0

การคํานวณ
จาก FBD ของคานทั้งหมด
[  M B  0, ] -RAa + Pb = 0
b
RA = P
a
[  Fy  0,   ] -RA – P + RB = 0
b
RB = P+ P
a

สมการที่(6.1) พิจารณา M ในคานชวง BC (a < x < L) โดยที่ [ M =  M L , ]


ดังนั้น
d2y b  b
 2 = M = Px +P 1   x  a …(1)
dx a  a

dy
= - bP x 2  P 1  b  x  a 2  c1 …(2)
dx 2a 2  a

y = - bP x 3  P 1  b  x  a 3 C1x + C2 …(3)


6a 6  a
ที่ x = 0; y = 0 โดยใหตัดนิพจน x  a 3 ใหตัดทิ้งไป และแทนคาลงในสมการที่ (3)
จะได C2 = 0
ที่ x = a; y = 0 แทนคาลงในสมการที่ (3) จะได
0 = 
bP 3
a   0  C1a
6a
abP
C1 =
6
ดังนั้นสมการของระยะโกงตัวและความลาดชัน คือ
y = - bP x 3  P 1  b  xa
3
+ ab Px ตอบ
6a 6  a 6


dy
= - bP x 2  P 1  b  x  a 2

abP
ตอบ
dx 2a 2  a 6
ในชวง AB (0 < x < a) ใหตัดนิพจนของ xa
2
ทิ้งไป และระยะโกงตัวสูงสุดคือ
dy
 = - bP x 2  abP  0
dx 2a 6
a2 a
x2 =  x=
3 3
3

y = - bP  a 
 
abP  a 
 
6a  3  6  3 
a 2 bP
y = +
9 3

พบวา y + แสดงวาเสนโคงยืดหยุนในชวง AB มีลักษณะโกงคว่ําอยูเหนือแกน x


ดังแสดงในรูป
6.9 จงหาระยะโกงตัวที่จุดกึ่งกลางของคานอยางงาย ซึ่งรับแรงกระจายเปนบริเวณรูป
สามเหลี่ยม

หลักการวิเคราะห
เนื่องจากการกระจายแรงสมมาตร M ในสมการที่ (6.1) จึงพิจารณาในคานชวง AB

การคํานวณ
1
เนื่องจากการกระจายแรงสมมาตร แรงกระทําตอคานทั้งหมดคือ wL และแรงปฏิกิริยา
2
1
R1 = R2 = wL
4

พิจารณาสวนตัดของคานชวง AB (0 < x < L )


2
L
x
Z Z L 
รูปสามเหลี่ยมคลาย;  2 Z=    x
w L w 2 
2
x 2w  L  wx 2
P1 =     
2  
w x
L 2  L
2w  L  2wx 2
P2 =   x  x   wx 
L 2  L
สมการที่ (6.1) พิจารณา M ในคานชวง AB (0 < x < L )
2
โดยที่ [ M =  M L , ] ดังนั้น
d2y wL wx 2  2 x   2wx 2  x 
 = M = x     wx   
dx 2 4 L  3   L  2 
wLx w 2 wx 3
=  x  …(1)
4 2 3L
dy wL 2 w 3 w 4
 = x  x  x  C1 …(2)
dx 8 6 12 L
wL 3 w 4 w 5
y = x  x  x +C1x + C2 …(3)
24 24 60 L
ที่ x = 0; y = 0 แทนคาลงในสมการที่ (3) จะได C2 = 0
L dy
ที่ x = ; 0 แทนคาลงในสมการที่ (2) จะได
2 dx
wL3 wL3 wL3
0 =    C1
32 48 192
wL3
C1 = -
64
ดังนั้นสมการของระยะโกงตัว
wL 3 w 4 w 5 wL3
y = x  x  x  x
24 24 60 L 64
ที่จุดกึ่งกลางของคาน (x = L/2) จะได
wL4 wL4 wL4 wL4 36
y =      wL4
192 384 1920 128 7680
= - 3 wL4
640
-y =  3  wL
4
 = ตอบ
 640  EI
6.10 จงหาคาของ EIy ที่จุดกึ่งกลางของคานอยางงายรับแรงกระจายเปนบริเวณอยาง
สม่ําเสมอบนคานบางชวง ดังแสดงในรูป

หลักการวิเคราะห
พิจารณาแรงกระจายโดยอาศัยการซอนทับ และพิจารณา M ในสมการที่ (6.1) ในชวง CD

การคํานวณ
จาก FBD ของคานทั้งหมด
เนื่องจากแรงกระจายสมมาตร ดังนั้น R1 = R2 = 800 N
สมการที่ (6.1) พิจารณา M ในคานชวง CD ดังรูป โดยที่ [ M =  M L , ]
d2y x 2 400 400
 = M = 800 x  400  x4 
2
x  2 …(1)
2

dx 2 2 2 2
dy 800 2 400 3 400 400
 = x  x  x4 
3
x  2  C1 …(2)
3

dx 2 6 6 6
800 3 400 4 400 400
y = x  x  x4 
4
x  2 +C1x + C2 …(3)
4

6 24 24 24
ที่ x = 0; y = 0 โดยใหตัดนิพจน x  4 และ x  2 4 ทิ้งไป แทนคาลงในสมการที่
4

(3) จะได C2 = 0
dy
ที่ x = 3; 0 โดยใหตัดนิพจน x4
3
ทิ้งไป แทนคาลงในสมการที่ (2) จะได
dx
0 =
2
 
800 2 400 3 400 3
3 
6
3 
6
 
1  C1  
C1 = - 11200
6
ดังนั้นสมการของระยะโกงตัวคือ
800 3 400 4 400 400 11200
y = x  x  x4
4
 x2
4
 x
6 24 24 24 6
ที่จุดกึ่งกลาง x = 3 m
y =
6
  24
3   
800 3 400 4 400 4 11200
3 
24
1 
6
(3)  
= - 3333.33 N  m 3 = - 3.33 kN  m 3 ตอบ

6.11 จงหาความลาดชันและระยะโกงตัวของคาน
ยื่นที่ปลายคาน B ดังแสดงในรูป ทั้งนี้
กําหนดให EI = 10 MN  m 2 โดยวิธีพื้นที่
และโมเมนต

หลักการวิเคราะห
เขียนแผนภาพ M/EI แลวใชทฤษฎีที่ 1 และ 2 ของพื้นที่และโมเมนตเพื่อหาB และ yB
โดยประยุกตกับคานยื่น
การคํานวณ
รูป (ก) FBD ของคานทั้งหมด
ใชสมการ  Fy  0 จะได RA=50
kN และใชสมการ  M A = 0 จะได M =
60 kN  m ในทิศทวนเข็มนาฬิกา
รูป (ข) เขียนแผนภาพโมเมนตดัด โดย
อาศัย [M = (  M ) L, ] M AB = 50x – 60
(ตัดแกน x ที่ x = 1.2 m)
รูป (ค) เขียนแผนภาพ M/EI โดยพิจารณา
จากรูป (ข) แลวหารดวย EI กําหนดพื้นที่
ใตกราฟเหนือแกน x เปนบวก และใตแกน
x เปนลบ
 B/A = B - A
= พื้นที่ใตกราฟตั้งแตจุด A
ถึง B
= A1+A2
B - A = - 1 (1.2)(6  10 3 )
2
+ 1 (1.8)(9  10 3 )
2
B - B/A = +4.5 x 10-3 rad = -3.6 x 10-3+8.1 x 10-3
 B/A = +4.5 x 10-3 rad
เนื่องจากจุด A เปนจุดอยูกับที่

 A = 0
yB= tB/A= -4.5 mm B = 4.5 x 10-3 rad ตอบ
tB/A คือโมเมนตอันดับแรกรอบแกนใน
แนวดิ่งซึ่งผานจุด B ของพื้นที่ทั้งหมด
ระหวาง A และ B
tB/A = A1 x1  A2 x 2
= (- 3.6 x 10 -3)(2.6)+(8.1 x 10-3)(0.6)
= - 4.50 mm
รูป (ง) เนื่องจากเสนสัมผัสอางอิงอยูในแนวระดับที่จุด A ดังนั้น
yB = tB/A = 4.50 mm (ทิศลง) ตอบ

6.12 ในปญหาขอ 6.11 กําหนดใหใชแผนภาพโมเมนตดัดแยกคํานวณหาความลาดชันและระยะ


โกงตัวที่จุด B

หลักการวิเคราะห
พิจารณาสมมูลกับคานภายใตภาระกระทําเดี่ยว 2 อยาง แลวแยกเขียนแผนภาพM/EI โดยที่
 B/A คือผลรวมทางพีชคณิตของพื้นที่ใตกราฟ M/EI และ t B/A คือผมรวมทางพีชคณิตของ
โมเมนตอันดับแรกของพื้นที่ใตกราฟ M/EI

การคํานวณ

พิจารณาเปนแตละภาระกระทําตอคานแลวเขียนแผนภาพโมเมนต และแผนภาพ M/EI


ในแตละภาระที่กระทําตอคานนั้น
ที่แผนภาพ M/EI

 A = 0 ดังนั้น
B =  B/A = A1 + A2
= (9 x 10-3)(3) - 1 (15  10 3 )(3)
2
= 27 x 10 -22.5 x 10-3
-3

= 4.5 x 10-3 rad


โมเมนตอันดับแรกรอบแกนในแนวดิ่ง ที่ผานจุด B
yB = tB/A = A1 x1  A2 x 2
= (27 x 10-3)(1.5) – (22.5 x 10-3)(2)
= 4.5 mm (ทิศลง) ตอบ

6.13 คานแทงรูปปริซึม AD และ DB เชื่อมตอเขา


ดวยกันเปนคานยื่น ADB สภาพแข็งเกร็งของ
คานชวง AD คือ EI และชวง DB คือ 2EI
ภายใตภาระกระทําดังรูป จงหาความลาดชัน
และระยะโกงตัวที่ปลายคาน A โดยวิธีพื้นที่
และโมเมนต
หลักการวิเคราะห
เขียนแผนภาพ M/EI จากแผนภาพโมเมนตดัดภายใตภาระกระทําทั้งหมด และเลือกสัมผัส
อางอิงเปนเสนสัมผัสในแนวระดับที่จุดตรึงปลายคานดานขวา

การคํานวณ
เขียนแผนภาพโมเมนตดัดจากภาระกระทําทั้งหมดบนคาน จากนั้นเขียนแผนภาพ M/EI
โดยหารคาของ M แตละจุดบนคานดวยคาของ EI ตามกําหนดในคานแตละชวง
เลือกเสนสัมผัสอางอิงเปนเสนสัมผัสในแนวระดับที่จุดตรึงปลายคาน Bนั่นคือ B = 0 และ
yB = 0 ดังนั้น
B - A =  B/A
 A = -  B/A
พื้นที่ใตกราฟ
= M/EI ตั้งแต A ถึง B
และ yA = tA/B
แบงแผนภาพ M/EI ออกเปนสามเหลี่ยม 3 รูป
และเขียนเปน (ดังรูป (ฉ))
1 Pa Pa 2
A1 = - a  
2 EI 2 EI
2
A2 = - 1 Pa a   Pa
2 2 EI 4 EI
2
เสนสัมผัสอางอิง (B = 0) A3 = - 1 3Pa a   3Pa
2 2 EI 4 EI

ทฤษฎีที่ 1 หาความลาดชันที่จุด A (ดูรูป (จ))


  B/A = A1 + A2+A3
Pa 2 Pa 2 3Pa 2
=   
2 EI 4 EI 4 EI
2
3Pa
= 
2 EI
3Pa 2
A = -  B/A =  ตอบ
2 EI
ทฤษฎีที่ 2 หาระยะโกงตัวที่จุด A
yA = tA/B = A1  2 a   A2  4 a   A3  5 a 
3  3  3 
 Pa  2   Pa 2
2
 4   3Pa 2  5 
=    a      a      a 
 2 EI  3   4 EI  3   4 EI  3 
3
23Pa
yA = (ทิศลง) ตอบ
12 EI

6.14
สําหรับคานยื่นรับแรงดังรูป กําหนดให E =
12 GPa, I = 10 x 106 mm4 จงหาขนาด
ของแรง P ที่เปนผลใหที่ปลายคานอิสระมี
ระยะโกงตัวเทากับ 20 mm โดยใชแผนภาพ
โมเมนตดัดแยกคํานวณ
หลักการวิเคราะห
พิจารณาสมมูลกับคานภายใตภาระกระทําเดี่ยว 2 อยาง และเลือกเสนสัมผัสอางอิงเปนเสน
สัมผัสในแนวระดับที่จุดตรึงปลายคานดานขวา

การคํานวณ
พิจารณาเปนแตละภาระกระทําตอคาน
ในที่นี้คิดเปนคานยื่นรับแรง 400 N อยาง
เดียว และรับแรง P อยางเดียว
จากแผนภาพโมเมนต หารดวย EI จะได
แผนภาพ M/EI และพื้นที่ใตกราฟของแผนภาพ
M/EI คือ
A1 = - 1 (2) 2 P   
2P
2  EI  EI

A2 = - 1 (3) 1200   
1800
2  EI  EI
ทฤษฎีที่ 2 หาระยะโกงตัวที่จุด A
เลือกเสนสัมผัสอางอิงเปนเสนสัมผัสในแนวระดับที่จุด C
tA/C คือโมเมนตอันดับแรกรอบแกนในแนวดิ่งซึ่งผานจุด A ของพื้นที่ทั้งหมดระหวาง A และ C
tA/C = A1 1  4   A2 (2)
 3
tA/C = - 1 4.667 P  3600
EI
 yA = -tA/C
4.667 P  3600
20 x 10-3 =
(12 x10 9 )(10  10 6 )
P = -257 N
เครื่องหมายของแรง P เปนลบแสดงวาแรง P กระทําใหทิศตรงกันขามกับทิศทางซึ่ง
กําหนดไวในตอนแรก นั่นคือแรง P กระทําขึ้นในแนวดิ่ง ตอบ

6.15
สําหรับคานยื่นรับแรงกระจายเปนบริเวณรูป
สามเหลี่ยมดังรูป ซึ่งที่ผนังนั้นแรงเปนศูนย
และที่ปลายอิสระมีแรง w N/m จงหาความ
ลาดชันและระยะโกงตัวสูงสุดของคานโดยใช
แผนภาพโมเมนตดัดแยกคํานวณ

หลักการวิเคราะห
พิจารณาสมมูลกับคานภายใตภาระกระทําเดี่ยว 2 อยาง (แรงกระจายอยางสม่ําเสมอและ
แรงกระจายรูปสามเหลี่ยม) โดยใหเลือกเสนสัมผัสอางอิงเปนเสนสัมผัสในแนวระดับที่จุด B
การคํานวณ

พิจารณาเปนแตละภาระกระทําตอคาน ในที่นี้คิดเปนคานยื่นรับแรงกระจายเปนบริเวณรูป
สามเหลี่ยม โดยที่ปลายอิสระมีแรงเปนศูนยอยางเดียว และรับแรงกระจายเปนบริเวณตลอดทั้งคาน
อยางเดียว
จากแผนภาพโมเมนต อาศัยแผนภาพสําหรับรูปในตารางที่ 6.1 ในกรณีของแรงกระจาย
อยางสม่ําเสมอและแรงกระจายรูปสามเหลี่ยมในรูป (ค)และนําแผนภาพโมเมนตเหลานั้นมาพลอตบน
แผนภาพเดียวกันในรูป (ข)
ในรูป (ก) ปลายอิสระของคาน A เปนจุดซึ่งมีความลาดชันและระยะโกงตัวสูงสุด ในที่น้ี
เลือกเสนสัมผัสอางอิงเปนเสนสัมผัสอางอิงเปนเสนสัมผัสในแนวระดับที่จุด B ดังนั้น A=A/B
จากแผนภาพโมเมนตในรูป (ข) หารดวย EI จะไดแผนภาพ M/EI ในรูป (ง) จะได

1  wL2  wL3
A1 = ( L)   
4  6 EI  24 EI
 2
  wL3
A2 = - 1 ( L) wL   
3  2 EI  6 EI
ทฤษฎีที่ 1 หาความลาดชันที่จุด A
 A/B = A1 + A2
wL3 wL3 wL3
=  
24 EI 6 EI 8 EI
3
 A
wL
=  ตอบ
8 EI
ทฤษฎีที่ 2 หาระยะโกงตัวที่จุด A
tA/B = A1  4 L   A2 3 L  (รอบแกนในแนวดิ่งผานจุด A)
5  4 
 wL3  4   wL3  3 
=   L      L 
 24 EI  5   6 EI  4 
11 wL4
= -
120 EI
11 wL4
Lylmax = -tA/B = (ทิศลง) ตอบ
120 EI

6.16
จงหาระยะโกงตัวสูงสุดสําหรับคานยื่นดังรูป
ถากําหนดพื้นที่หนาตัดกวาง 50 mm และ
หนา 150 mm และใช E = 69 GPa โดยใช
แผนภาพโมเมนตดัดแยกคํานวณ

หลักการวิเคราะห
เขียน FBD ของคานหาโมเมนตและแรงเฉือนที่ปลายตรึงของคาน พิจารณาสมมูลกับคาน
ภายใตภาระกระทํา 3 อยาง คือ โมเมนต 1 อยาง แรงเฉือน 1 อยาง และแรงกระจาย 1 ยาง แลว
เลือกเสนสัมผัสอางอิงเปนเสนสัมผัสในแนวระดับที่จุดตรึงปลายคานดานซาย

การคํานวณ
FBD ของคานทั้งหมด จะได
 Fy  0,    V = 4 kN
 M A 
 0,   M A  4(2.5)  0
MA = 10 kN  m

พิจารณาเปนแตละภาระกระทําตอคาน
ทั้งหมดมีภาระ 3 อยาง คือ โมเมนต 1 อยาง
แรงเฉือน 1 ยาง และแรงกระจาย 1 อยาง ใช
แผนภาพโมเมนตในตารางที่ 6.1 หารแผนภาพ
โมเมนตที่ไดดวยEI จะไดแผนภาพM/EI พบวา
1  12 
A1 = (3)  
18
2  EI  EI
A2 = - 3 10   
30
 EI  EI
A3 = - 1 (1) 2   
2
3  EI  3EI
ทฤษฎีที่ 2 หาระยะโกงตัวที่จุด C
เลือกเสนสัมผัสอางอิงเปนเสนสัมผัสในแนวระดับที่
จุด A นั่นคือ
yC = tC/A
= A1 x1  A2 x 2  A3 x3
(รอบแกนในแนวดิ่งที่ผานจุด C)
=  18 (1)    30 (1.5) +   2 (0.25)
 EI   EI   3EI 
=- 27.2
EI
27.2
lylmax = lyCl =
EI
1 3 1
I  bh  (50)(150 3 )
12 2
I = 14.06
x 106 mm4 (14.06 x 10-6 m4)
E =
69 x 106 kPa
 lylmax= = 0.028 m
27.2
 
69  10 14.06  10 6
6

= 28 mm (ทิศลง) ตอบ
6.17 จงหาระยะโกงตัวสูสุดสําหรับคานยื่นดังรูป โดยใชแผนภาพโมเมนตดัดแยกคํานวณ

หลักการวิเคราะห
พิจารณาสมมูลกับการซอนทับของภาระ 2 อยาง คือ แรงกระจายเต็มคานทิศลง1 อยาง
และแรงกระจายครึ่งคานทิศขึ้น 1 อยาง แลวเลือกเสนสัมผัสอางอิงเปนเสนสัมผัสในแนวระดับที่จุด
ตรึงปลายคานดานขวา

การคํานวณ

พิจารณาเปนการซอนทับของภาระ 2 อยาง
คือแรงกระจายเต็มคานทิศลง 1 อยาง และแรง
กระจายครึ่งคานทิศขึ้น 1 อยาง
ใชตารางที่ 6.1 เขียนแผนภาพ M/EI โดย
หารแผนภาพโมเมนตดัดในตารางดวยEIพบวา
A1 =

1  L  wL2  wL3
   
3  2  8 EI  48 EI

A2 = - 1 ( L) wL 
2
wL3
  
3  2 EI  6 EI

ทฤษฎีที่ 2 หาระยะโกงตัวที่จุด Aเลือกเสนสัมผัสอางอิงเปนเสนสัมผัสในแนวระดับที่จุด B นัน่


คือ
yA = tA/B (คิดโมเมนตของพื้นที่รอบจุด A)
 wL3  L   wL3  3 
=   L       L 
 48 EI  8   6 EI  4 
7 wL4 3wL4 41wL4
=   
384 EI 24 EI 384 EI
4
41wL
lylmax = lyCl = (ทิศลง) ตอบ
384 EI
6.18 คานยื่นรับแรงกระจายเปนบริเวณรูปสามเหลี่ยม โดยแรงเปนศูนยที่จุดตรึงปลายคาน
ดานซาย และเทากับ 1200 N/m ที่ปลายอิสระกําหนดให E = 10 GPa และ I = 30 x 106 mm4 จงหา
ระยะโกงตัวและความลาดชันที่จุด 2 เมตร หางจากผนัง โดยใชแผนภาพโมเมนตแยกคํานวณ

หลักการวิเคราะห
จาก FBD ของคาน หาโมเมนตและ
แรงเฉือนที่ปลายเฉือนที่ปลายตรึงของคาน
แลวพิจารณาสมมูลกับคานภายใตภาระกระทํา
3 อยาง คือ โมเมนต 1 อยาง แรงเฉือน 1 อยาง
และแรงกระจายรูปสามเหลี่ยม 1 อยาง ควร
ระวังขณะพิจารณาในชวง 2 เมตร นับจากจุด
ตรึงปลายคานดานซาย

การคํานวณ
FBD ของคานทั้งหมด จะได
 Fy  0,    V = 1800 N
 M A  0,  M - 1800 x 2 = 0
M = 3600 N  m
พิจารณาเปนภาระกระทําตอคาน 3
อยาง คือ โมเมนต 1 อยาง แรงเฉือน 1 อยาง
และแรงกระจายรูปสามเหลี่ยม 1 อยาง
เขียนแผนภาพ M/EI โดยหารแผนภาพโมเมนต
ดัดในตารางดวย EI
แลวพิจารณาพื้นที่ใตกราฟในชวง A ถึง C
พบวา
1  3600 
A1 = (2)  
3600
2  EI  EI
A2 = - (2) 3600   
7200
 EI  EI
A3 = - 1 (2) 533.33 
4  EI 
 266.67
=
EI
เลือกเสนสัมผัสอางอิงเปนเสนสัมผัสในแนวระดับที่จุด A
ทฤษฎีที่ 1 หาความลาดชันที่จุด C (ระยะ 2 m นับจากจุด A)
C =  C/A A1 + A2+A3
= 3600 7200 266 .67
 
EI EI EI
= 
3866.67
EI
=  3866.67 = -0.01288 rad
10  10 9 30  10 6 
= - 0.739 ° ตอบ

ทฤษฎีที่ 2 หาระยะโกงตัวที่จุด C

yC = tC/A = A1 x1  A2 x 2  A3 x3

=  3600  2     7200 (1)    266.67  2 


 EI  3   EI   EI  5 
 4906.67  4906.67
= 
EI  
10  10 9 30  10 6 
= - 0.0164 m
= 16.4 mm (ทิศลง) ตอบ

6.19
คานยื่นรับแรงกระจายเปนบางบริเวณรูปสามเหลี่ยม
ดังรูป จงหาคาสูงสุดของ EI สําหรับคานยื่นนี้ (
คือระยะโกงตัวของคาน) โดยใชแผนภาพโมเมนต
ดัดแยกคํานวณ
หลักการวิเคราะห
เขียน FBD ของคาน หาโมเมนตและแรงเฉือนที่ปลายตรึงของคาน พิจารณาสมมูลกับ
คานภายใตภาระกระทํา 3 อยาง คือ โมเมนต 1 อยาง แรงเฉือน 1 อยาง และแรงกระจายรูป
สามเหลี่ยม 1 อยาง พิจารณาคาสูงสุดของ EI จากตําแหนงที่ใหระยะโกงตัวสูงสุด แลวเลือก
เสนสัมผัสอางอิงเปนเสนสัมผัสในแนวระดับที่จุดตรึงปลายคานดานขวา

การคํานวณ
FBD ของคานทั้งหมด จะได
1  L  wL
V= w   N
2 2 4
 wL  L
M=   L  
 4  6
2
5wL
= N m
24

พิจารณาเปนภาระกระทําตอคาน 3
อยาง คือ โมเมนต 1 อยาง แรง
เฉือน 1 อยาง และกระจายรูป
สามเหลี่ยม 1 อยาง
ขอสังเกต วิเคราะหแผนภาพ
โมเมนตจากสวนตัดดานขวา โดยใช
สมการดังนี้
สําหรับหาแรงเฉือน ใช
V   F  ,  
y R 

สําหรับหาโมเมนตดัด ใช
M   M R , 
พิจารณาแผนภาพโมเมนตแลวหาร
แผนภาพโมเมนตดวย EI จะได
แผนภาพ M/EI และพบวา
 wL2  wL3
A1 = 1
( L )  
2  4 EI  8 EI

A2 = - L 5wL 
2
5wL3
  
 24 EI  24 EI
A3 = - 1 ( L ) wL2 
  
wL3
4 2  24 EI  192 EI
เลือกเสนสัมผัสอางอิงเปนเสนสัมผัสในแนวระดับที่จุดตรึงปลายคานดานขวา (จุด A)
ทฤษฎีที่ 2 หาระยะโกงตัวสูงสุด
yB = tB/A = A1 x1  A2 x 2  A3 x3
 wL3  L   5wL3  L   wL3  L 
=             
 8EI  3   24 EI  2   192 EI  10 
wL4 5wL4 wL4
=  
24 EI 48 EI 1920 EI
121wL4
= (ทิศลง)
1920 EI
121wL4
ซึ่ง lylmax =
1920 EI
121
EI lylmax = (EI)max = wL4 ตอบ
1920

6.20 คานแทงรูปปริซึมรับแรงกระทําดังรูป จงหา


ความลาดชันและระยะโกงตัวที่ปลายคานจุด E
โดยใชวิธีพื้นที่และโมเมนต

หลักการวิเคราะห
เขียนแผนภาพ M/EI จากแผนภาพโมเมนตดัดภายใตภาระกระทําทั้งหมดเนื่องจากคาน
และภาระกระทําบนคานสมมาตรรอบจุดกึ่งกลางคาน จึงเลือกเสนสัมผัสอางอิงเปนเสนสัมผัสใน
แนวระดับที่จุด C

การคํานวณ
เขียนแผนภาพโมเมนตดัดจากภาระกระทําทั้งหมด จากนั้นเขียนแผนภาพ M/EI โดยหาร
คาของ M แตละจุดบนคานดวยคาของ EI
เนื่องจากคานและภาระกระทําตอคานนั้นสมมาตรรอบจุดกึ่งกลางคาน (จุด C) จึงเลือกเสน
สัมผัสอางอิงเปนเสนสัมผัสในแนวระดับที่จุด C นั่นคือ C = 0 ดังนั้น
E = C + E/C = E/C ...(1)
yE = tE/C – tD/C ...(2)
ทฤษฎีที่ 1 หาความลาดชันที่จุด E
wa 2  L  wa 2 L
 A1 =    
2 EI  2  4 EI
1  wa 2  wa 3
A2 =   a   
3  2 EI  6 EI
แทนคาลงในสมการที่ (1)
E = E/C = A1 + A2
wa 2 L wa 3
=  
4 EI 6 EI
wa 2
=  (3L  2a ) ตอบ
12 EI
ทฤษฎีที่ 2 หาระยะโกงตัวที่จุด E
tD/C = A1  L    wa 2 L  L 
  
4  4 EI  4 
wa 2 L2
= 
16 EI
tE/C = A1  a  L   A2  3a 
 4  4 
 wa L 
2
L   wa 3  3a 
=    a       
 4 EI  4   6 EI  4 
wa 3 L wa 2 L2 wa 4
=   
4 EI 16 EI 8EI
แทนคาลงในสมการที่ (2)
yE = tE/C – tD/C
wa 3 L wa 4
=  
4 EI 8 EI
3
= 
wa
2 L  a 
8EI
wa 3
yE = 2 L  a  (ทิศลง) ตอบ
8EI
6.21 คานแทงรูปปริซึม AB รับแรงกระทําดังรูป
จงหาความลาดชันที่จุดรองรับและระยะโกงตัวสูงสุดของ
คาน โดยใชแผนภาพโมเมนตดัดแยกคํานวณ

หลักการวิเคราะห
พิจารณาสมมูลกับคานภายใตภาระกระทําเดี่ยว 2 อยางและพลอตกราฟลงบนแผนภาพ
เดียวกัน ใหเลือกเสนสัมผัสอางอิงเปนเสนสัมผัสในแนวระดับที่จุดกึ่งกลางของคาน(คานและภาระ
กระทําสมมาตร)

การคํานวณ

จาก FBD ของคานทั้งหมด คํานวณได RA = RB = wa


เนื่องจากคานและภาระกระทําตอคานนั้นสมมาตรรอบจุดกึ่งกลางคาน (จุด C) จึงเลือกเสน
สัมผัสอางอิงเปนเสนสัมผัสในแนวระดับที่จุด C นั่นคือ C = 0 ดังนั้น
C/A = C-A = -A
A = -C/A
พิจารณาเปนภาระกระทําตอคาน 2 อยาง
ในที่นี้คิดเปนคานรับแรงปฏิกิริยา RA 1
อยาง และรับแรงกระจายเปนบริเวณ w N/m
อีก 1 อยาง กําหนดใหพลอตบนแผนภาพ
เดียวกัน
แผนภาพโมเมนต อาศัยแผนภาพสําเร็จรูป
ในตารางที่ 6.1 สําหรับแรงกระทําเปนจุดนั้น
แผนภาพโมเมนตเปนรูปสามเหลี่ยมโดย h =
2wa2 , b = 2a สําหรับแรงกระจายเปนบริเวณ
เปนรูปพาราโบลาโดย h = -wa2/2, b= a หารแผนภาพโมเมนตดวย EI จะไดแผนภาพ M/EI
แผนภาพ M/EI
1  2wa 2  2wa 3
A1 = 
(2a) 
  EI
2  EI 
1  wa 2  wa 3
A2 =  (a)   
3  2 EI  6 EI
ทฤษฎีที่ 1 หาความลาดชันที่จุด A
2 wa 3 wa 3
 C/A = A1 + A2 = 
EI 6 EI
11wa 3
=
6 EI
ในที่นี้ a = 1
L และ A = C/A
4
11wa 3 11wa 3
A =   ตอบ
6 EI 384 EI
ทฤษฎีที่ 2 หาระยะโกงตัวสูงสุด
 tA/C = A1  4a    7a 
A2  
 3   4 
 2 wa  4a   wa 3  7a 
3
=        
 EI  3   6 EI  4 
19wa 4
=
8 EI
19wa 4
lylmax = tA/C =
8 EI
4
19wa
= (ทิศขึ้น) ตอบ
2048 EI

6.22 คานอยางงายรับแรงกระทําดังรูป คานมี E = 200 GPa จงคํานวณหาขนาดและตําแหนง


ของระยะโกงตัวสูงสุดในคาน
หลักการวิเคราะห
พิจารณาตําแหนงของระยะโกงตัวสูงสุดอยูที่จุด K ซึ่งหางจากจุด A เปนระยะxm ซึ่ง K =
A+K/A = 0 โดยที่ A หาจากคานชวง AB และ K/A หาจากคานชวง AK ในแตละชวงจะใชเสน
สัมผัสอางอิงคนและเสน

การคํานวณ
FBD ของคานทั้งหมด จะได
wb 2
RA =  16.81 kN 
2L
wb 2
RB = wb   38.2 kN 
2L

พิจารณาเปนภาระกระทําตอคาน 2
อยาง คือ แรงกระทําเปนจุด RA 1 อยาง และ
แรงกระจายตลอดชวงระยะ b ของคาน 1 อยาง
เขียนแผนภาพ M/EI โดยหารแผนภาพโมเมนต
ดัดในตารางดวย EI พิจารณาพื้นที่ใตกราฟ
ในชวง A ถึง B พบวา
1  RA L  R L2
A1 =   ( L)  A
2  EI  2 EI
1   wa 2  wa 3
A2 =  (b)  
3  2 EI  6 EI
เลือกเสนสัมผัสอางอิงเปนเสนสัมผัสที่จุด A

ทฤษฎีที่ 2 พิจารณาคาเบี่ยงเบนในแนวดิ่งของ
จุดรองรับ B เทียบกับจุดรองรับ A
tB/A = A1 x1  A2 x 2
(รอบแกนในแนวดิ่งผานจุด B)
 R A L2  L    wb 3  b 
tB/A =       
 2 EI  3   6 EI  4 
R A L3 wb 4
= 
6 EI 24 EI
ความลาดชันที่จุด A คือ
 tB / A
A =
L
 R L2 wb 4 
=   A   …(1)
 6 EI 24 EIL 
ระยะโกงตัวสูงสุด
กําหนดใหระยะโกงตัวสูงสุดเกิดขึ้นที่จุด K ซึ่งจุด K นั้นความลาดชันของคานเปนศูนย
และสามารถเขียนอยูในรูปของ
K = A + K/A = 0 …(2)

จากทฤษฎีที่ 1 ความลาดชันในชวง A ถึง K คือ


R A x m2
K/A = A3+a4 = 
w
( xm  a) 3 …(3)
2 EI 6 EI
แทนคา A และ K/A ลงในสมการที่ (2) จะได
 R A L2 wb 4  R A x m2

    
w
xm  a 3  0
 6 EI 24 EIL  2 EI 6 EI
แทนคาตัวเลขจะได
 10 3  2  10 
3
3  10 
3

 29.53   8.405 x m  EI   4.167 x m  1.4  EI   0
   
 EI     
ใช trial & error จะได
xm = 1.890 m ตอบ
เลือกเสนสัมผัสอางอิงเปนเสนสัมผัสในแนวระดับที่จุด K (K = 0) พิจารณาโมเมนตของ
A3 และ A4 รอบแกนในแนวดิ่งที่ผานจุด A
tA/K = A3 x3  A4 x 4
 R A x m2
 2   w
=   x m    xm  a 3  a  3 xm  a 
 2 EI  3   6 EI  4 
 R x3 
tA/K =  A m   wa ( xm  a) 3  w ( xm  a) 4
 3EI  6 EI 8EI
แทนคา RA = 16.81 kN และ I = 28.7 x 10-6 m4 จะได
tA/K = - 6.44 mm
lylm = 6.44 mm (ทิศลง) ตอบ
6.23 คานอยางงายมีปลายหอยดานขวา รับแรงกระทําเปนจุด 500 N และ 100 N ดังรูป จงหา
ระยะโกงตัวที่จุด D ปลายคานดานขวา โดยใชแผนภาพโมเมนตดัดแยกคํานวณ

หลักการวิเคราะห
สมมติรูปรางของเสนโคงยืดหยุนที่นาจะเปนไปได พรอมเขียนแผนภาพ M/EI
เลือกเสนสัมผัสอางอิงเปนเสนสัมผัสที่จุด A พิจารณา tC/A และ tD/A และใชรูปสามเหลี่ยม
คลายหาระยะโกงตัวที่จุด D

การคํานวณ
FBD ของคานทั้งหมด จะได
R1 = 300 N, R2 = 300 N
เขียนแผนภาพ M/EI พิจารณาพื้นที่ใตกราฟในชวง A ถึง D พบวา
1  900  1350
A1 = (3)  
2  EI  EI
1  1000   1000
A2 =  (2)  
2  EI  EI
1  100   50
A3 =  (1)  
2  EI  EI
1) ในกรณีที่เลือกเสนสัมผัสอางอิงเปนเสนสัมผัสที่จุด C
เสนโคงยืดหยุนจะปรากฏดังรูป (ก) พิจารณาโมเมนตของพื้นที่ M/EI ระหวางจุด
A และ C รอบจุด A
t A / C   Ai x Ai 
tA/C = A1 x A1  A2 x A2
1350   1000  4
= ( 2)   1  
EI  EI  3
367
=
EI
อาศัย ACE คลายกับ CDF ในรูป (ก) ดังนั้น
DF t 367
 A/C   DF =
1 3 3EI
พิจารณาโมเมนตของพื้นที่ M/EI ระหวางจุด D และ C รอบจุด D
t D / C  A3 x D 3 
  50  2   100
tD/C =    
 EI  3  3EI
เนื่องจาก tD/C มีเครื่องหมายลบ แสดงวาจุด D บนเสนโคงยืดหยุนจะอยูต่ํากวา
เสนสัมผัสอางอิง และถาขนาดของ DF มากกวาคาสัมบูรณของ tD/C ระยะโกงตัวของจุด
D จะวัดขึ้นจากตําแหนงเดิม
 = DF - ltD/Cl
367 100
= 
3EI 3EI
89
= (ทิศขึ้น) ตอบ
EI
2) ในกรณีเลือกเสนสัมผัสอางอิงเปนเสนสัมผัสที่จุด A
เสนโคงยืดหยุนจะปรากฏดังรูป (ค) พิจารณาโมเมนตของพื้นที่ M/EI ระหวางจุด
A และ C รอบจุด C
t C / A   Ai xCi 
tC/A = A1 xC1  A2 xC 2
1350   1000  2 
= (1)    
EI  EI  3 
683
=
EI
พิจารณาโมเมนตของพื้นที่ M/EI ระหวางจุด A และ D รอบจุด D
t C/A   Ai x D i 
tD/A = A1 x D1  A2 x D 2  A3 x D 3
1350   1000  2    50  2 
= (1  1)   1    
EI  EI  3   EI  3 
1000
=
EI
อาศัย ACE คลายกับ ADF ในรูป (ค) ดังนั้น
DF t 911
 C/A   DF =
4 3 EI
ระยะโกงตัวของจุด D บนเสนโคงยืดหยุนในกรณีนี้
 = DF - ltD/Al
911 1000 89
=   
EI EI EI
ในกรณีสมมติเสนโคงยืดหยุนมีลักษณะเปนรูป (ค) นั้นเปนจริงเมื่อ DF ตอง
มากกวา ltD/Al แตผลปรากฏตรงกันขาม แสดงวาระยะโกงตัวของจุด D บนเสนโคงยืดหยุนจะอยู
สูงกวาตําแหนงเดิมอยู 89/EI ตอบ

6.24 คานแทงรูปปริซึมรับแรงกระทําดังรูป
จงหาระยะโกงตัวที่ปลาย A โดยใชวิธี
พื้นที่และโมเมนต

หลักการวิเคราะห
เขียนแผนภาพ M/EI พิจารณารวมกับรูปรางของเสนโคงยืดหยุนที่เปนไปได และเลือกเสน
สัมผัสอางอิงเปนเสนสัมผัสที่จุด B
การคํานวณ
FBD ของคานทั้งหมด จะได
wa 2
RC = 
2L
เขียนแผนภาพ M/EI โดยหารแผนภาพ
โมเมนตดัดดวย EI พบวา
1  wa 2  wa 3
A1 =  (a)  
3  2 EI  6 EI
1  wa 2  wa 2 L
A2 =  ( L )  
2  2 EI  4 EI
เลือกเสนสัมผัสอางอิงเปนเสน
สัมผัสที่จุด B
ทฤษฎีที่ 2 พิจารณาคา
เบี่ยงเบนในแนวดิ่งของ
จุด C เทียบกับจุด B
tC/B = A2 xC 2
 wa 2  2 L 
=    
 4 EI  3 
wa 2 L2
= 
6 EI

รูปสามเหลี่ยมคลาย AAB~CCB จะได


a
AA = tC/B  a  = 
wa 2 L2
 
L 6 EI L
wa 3 L
= 
6 EI
ทฤษฎีที่ 2 พิจารณาคาเบี่ยงเบนในแนวดิ่งของจุด A เทียบกับจุด B
 wa 3  3a 
tA/B = A1 x A1 =    
 6 EI  4 
4
= - wa
8EI
ระยะโกงตัวที่ปลาย A
wa 3 L wa 4
yA = AA + tA/B=  
6 EI 8 EI
wa 4  4 L 
=   1 (ทิศลง) ตอบ
8EI  3 a 
6.25 คานอยางงายรับแรงกระจายเปน
บริเวณ ดังรูป จงหาระยะโกงตัวสูง
สุดของคาน ถา a = 1 ใหตรวจสอบ
2
คําตอบ โดยเปรียบเทียบกับกรณีที่ 8
ในตารางที่ 6.2

หลักการวิเคราะห
พิจารณาสมมูลกับการซอนทับของภาระ 2 อยางคือ แรงกระจายเต็มคานทิศลง 1 อยาง
และแรงกระจายในชวง a < x < L – a ทิศขึ้น 1 อยาง

การคํานวณ
FBD ของคานทั้งหมด จะได
R1 = R2 = aw N

พิจารณาเปนภาระกระทําตอคาน3 อยาง
ทางดานซายหรือดานขวารอบจุดกึ่งกลาง
คือแรงกระทําเปนจุด (R1 หรือ R2) 1
อยาง แรงกระจายเปนบริเวณ(0 < x < L )
2
หรือ L 
  x  L 1อยาง (ทิศลง) และแรง
2 

กระจายเปนบริเวณ ( a < x < L ) หรือ


2
L 
  x  L
อีก 1 อยาง (ทิศขึ้น)
2 

เขียนแผนภาพ M/EI โดยอาศัยแผนภาพ


โมเมนตสําเร็จรูปในแลวหารดวย EI
และ
พิจารณาพื้นที่ใตกราฟ
 L  
2

A1 = A4 = W   a  
1 2   ( L a)
3 2 EI  2
 
 
3
L 
w  a 
= 2 
6 EI
1  L  waL  waL
A2 = A5 =    
2  2  2 EI  8 EL
1  L  wL2  wL3
A3 = A6 = -     
3  2  8EI  48EI
เลือกเสนสัมผัสอางอิงเปนเสนสัมผัสในแนวระดับที่จุด C
ทฤษฎีที่ 2 พิจารณาคาเบี่ยงเบนในแนวดิ่งของจุด B เทียบกับจุด C
tB/C = A1 x B1  A2 x B 2  A3 x B 3
3
L 
w  a 
   3  L  a   a    waL  2 L   wL3  3 L 
2
= 2
4 2    8 EI         
6 EI       3 2   48EI  4 2 
4 3
L  L 
w  a  wa  a 
= 2   2   waL  wL
3 4

8EI 6 EI 24 EI 128EI
lylmax = tB/C ตอบ

L
ถากําหนดให a = จะได
2
wL4 wL4
lylmax = 0+0+ 
48 EI 128 EI
5wL4
= ซึ่งตรงกับกรณีที่ 8 ในตารางที่ 6.2 O.K.
384 EI

6.26 คานอยางงายรับแรงกระทําเปนจุด P ดังแสดงในรูป


กําหนดให x เปนพิกัดที่วัดจากปลายคานดาน A จง
แสดงใหเห็นวาระยะโกงตัวสูงสุดเกิดขึ้นที่ x =
L2  b 2
3

หลักการวิเคราะห
พิจารณาตําแหนงของระยะโกงตัวสูงสุดอยูที่จุด D ซึ่งหางจากจุด A เปนระยะ xซึ่ง D =
A+D/A = 0 โดยที่ A หาจากคานชวง AB และ D/A หาจากคานชวง AD
การคํานวณ
FBD ของคานทั้งหมด จะได
Pb Pa
R1 = , R2 
L L
พิจารณาเปนภาระกระทําตอคาน 2 อยาง คือ แรง
กระทําเปนจุด R1 1 อยางและแรงกระทําเปนจุด P
อีก 1 อยาง (พิกัด x วัดจากปลาย A)
เขียนแผนภาพ M/EI โดยอาศัยแผนภาพโมเมนต
สําเร็จรูป แลวหารดวย EI และพิจารณาพื้นที่ใต
กราฟ
A1 = 1 ( L) Pb   PbL
2  EI  2 EI
1  Pb 
A2 =  (b)  
Pb 2
2  EI  2 EI

1  Pbx  Pbx 2
A3 = ( x)  
2  EIL  2 EIL

ทฤษฎีที่ 2 พิจารณาคาเบี่ยงเบนใน
แนวดิ่งของจุด B เทียบกับจุด A
tB/C = A1 x B1  A2 x B 2
 PbL  L    Pb b
2
=      
 2 EI  3   2 EI 3
= Pb 2
6 EI
L  b2 

ความลาดชันที่จุด A คือ
tB / A
A =   
Pb
( L2  b 2 ) …(1)
L 6 EIL
ระยะโกงตัวสูงสุด
กําหนดใหระยะโกงตัวสูงสุดเกิดขึ้นที่จุด D ซึ่งจุด D นั้นความลาดชันเปนศูนย และ
สามารถเขียนอยูในรูปของ
D = A+D/A = 0 ….(2)
จากทฤษฎีที่ 1 ความลาดชันในชวง A ถึง D คือ
Pbx 2
D/A = A3 = …..(3)
2 EIL
แทนคา A และ D/A ลงในสมการที่ (2)
Pb Pbx 2
 ( L2  b 2 )   0
6 EIL 2 EIL
L2  b 2
 x  ตอบ
3

6.27 คานอยางงายรับแรงกระจายเปนบริเวณ
ดังรูป จงหาระยะโกงตังสูงสุดของคาน ถา
2b = L ใหตรวจสอบคําตอบ โดยเปรียบ-
เทียบกับกรณีที่ 8 ในตารางที่ 6.2

หลักการวิเคราะห
พิจารณาเปนภาระกระทําตอคาน 2 อยาง ซึ่งสมมาตรรอบจุดกึ่งกลางคาน เขียนแผนภาพ
M/EI โดยอาศัยแผนภาพโมเมนตสําเร็จรูปจากตารางที่ 6.1 ระยะโกงตัวสูงสุดเกิดที่จุดกึ่งกลางคาน
เลือกเสนสัมผัสอางอิงเปนเสนสัมผัสที่จุดปลายคานดานซาย

การคํานวณ
FBD ของคานทั้งหมด จะได
R1 = R2 = wb
พิจารณาเปนภาระกระทําตอคาน 2อยางทางดาน
ซายหรือดานขวารอบจุดกึ่งกลางคาน คือ แรง
กระทําเปนจุด (R1 หรือ R2) 1อยาง และแรง
กระจายเปนบริเวณ (a < x < a+b) และ ( L < x <
2
a+2b) อีก 1 อยาง
เขียนแผนภาพ M/EI โดยอาศัยแผนภาพ
โมเมนตสําเร็จ แลวหารดวย EI
1  wbL 
A1= A3 = (a  b) 
2  2 EI 
wbL(a  b)
=
4 EI
1  wb 2 
A2 = A4 =  (b) 
3  2 EI 
wb 3
= 
6 EI
เลือกเสนสัมผัสอางอิงเปนเสนสัมผัสที่จุด A
ทฤษฎีที่ 2 พิจารณาคาเบี่ยงเบนในแนวดิ่งของจุด B เทียบกับจุด A
tB/C = A1 x B1  A2 x B 2  A3 x B 3  A4 x B 4
wbL(a  b)  2  wb 
3
b
=  2 a  2b  ( a  b )   a  b  
4 EI  3  6 EI  4

+ wbL(a  b)  2 (a  b)  wb 3 
3

 b  a
4 EI 3  6 EI  4 
wbL(a  b) 2
wb 3
=  ( a  b)
2 EI 3EI
L
 ab 
2
wbL3 wb 3 L
tB/C = 
8 EI 6 EI
wbL
= (3L2  4b 2 )
24 EI
DF = tD/A = A1 x D1  A2 x D 2
wbL2  a  b  wb 3  b 
=    
8EI  3  6 EI  4 
wbL3 wb 4
= 
48EI 24 EI
wb
= ( L3  2b 3 )
48 EI
รูปสามเหลี่ยมคลาย : ACF ~ ABE ในแผนภาพระยะโกงตัว
CF 1 1
   CF  tB / A
tB / A 2 2
wbL
 CF  (3L2  4b 2 )
48 EI
ดังนั้นระยะโกงตัวสูงสุด
max = CF - tD/A
= wb
(3L3  4b 2 L  L3  2b 3 )
48 EI
= wb
( L3  2b 2 L  b 3 ) ตอบ
24 EI
ถา 2b = L แทนคาลงในสมการของ max
L3 L3 5wL4
max = wL
(L 
3
 )
48 EI 2 8 384 EI
5WL3
= Q.E.D
384 EI
(ในที่นี้ W = wL)

6.28
คานอยางงายยาว L รับแรงกระจายเปนบริเวณ
รูปสามเหลี่ยมซึ่งเปลี่ยนแปลงเชิงเสนจากศูนย
ที่ปลายคานดานซายเปน w N/m ที่ปลายคาน
ดานขวา จงหาระยะโกงตัวที่จุดกึ่งกลางคาน
หลักการวิเคราะห
สรางภาระกระทําสมมาตรตอคาน
ทําใหระยะโกงตัวที่จุดกึ่งกลางเปน 2
เทาของระยะโกงตัวจริง ใชทฤษฎีที่ 2
ของวิธีพื้นที่และโมเมนตกับแผนภาพ
M/EI ซึ่งพิจารณาไดจาก FBD ของ
สวนตัดครึ่งของคานดานขวา
การคํานวณ
สรางภาระกระทําสมมาตรตอคาน
โดยเติมแรงกระจายเปนรูปสามเหลี่ยม ซึ่ง
เปลี่ยนแปลงเชิงเสนจากศูนยที่ปลายคานดาน
ขวาเปน w N/m ที่ปลายคานดานซายพบวา
คาเบี่ยงเบนของ C เทียบ B เปนระยะ 2
(2 เทาของระยะโกงตัวจริงที่จุดกึ่งกลางคาน)

รูป (ค) เปนแผนภาพ M/EI ที่ไดจากแผนภาพโมเมนตดัดแยกคํานวณ


รูป (ง) เปนแผนภาพ M/EI ที่ไดจากการเขียน FBD ของสวนตัดครึ่งหนึ่งของคาน
ดานขวาในรูป (ข) ซึ่งที่หนาตัดนั้น V = 0 และ M = wL2/8
แผนภาพ M/EI ในรูป (ง) พบวา
 wL2  L 
A1 =    
wL3
 8 EI  2  16 EI
1  wL2  L  wL3
A2 =      
3  8EI  2  48EI
ทฤษฎีที่ 2 แผนภาพ M/EI รูป (ง) จะได
2 = tC/B = A1 xC1  A2 xC 2
 wL3  L   wL3  L 
=       
 16 EI  4   48 EI  8 
4
5wL
2 =
384 EI
5wL4
 = ตอบ
768EI

6.29 คานยางงายรับแรงกระทําดังรูป จงหาคาของ EI ที่จุดกึ่งกลางคาน

หลักการวิเคราะห
วิเคราะหในทํานองเดียวกับปญหาขอ 6.28 แตในนี้เลือกเขียนแผนภาพ M/EI จากFBD
ของสวนตัดครึ่งหนึ่งของคานดานซาย โดยแยกภาระกระทําตอคานเปนอยาง ๆ ไป

การคํานวณ
สรางภาระกระทําสมมาตรตอคาน จะไดดังรูป (ข) แผนภาพ M/EI สําหรับคานนั้น
พิจารณาจาก FBD ของสวนตัดครึ่งหนึ่งของคานดานซาย จะไดแผนภาพดังรูป (ค)
1  1200  800
A1 =  (2)   
3  EI  EI
1  1200  1800
A2 =  (3)   
2  EI  EI
 2400  7200
A3 =  (3) 
 EI  EI
ทฤษฎีที่ 2 แผนภาพ M/EI รูป (ค) จะได
2 = tA/B = A1 x A1  A2 x A 2  A3 x A3 (รอบจุด A)
 800  2   1800  3   7200  3 
=            
 EI  4   EI  3   EI  2 
 = 4300
EI
 EI = 4300 N  m 3 ตอบ

6.30
คานอยางงายรับแรงกระทําเปนจุดดัง
รูป จงหาระยะโกงตัวที่จุดกึ่งกลางคาน

หลักการวิเคราะห
ใชการวิเคราะหในทํานองเดียวกับปญหาขอ 6.29
การคํานวณ
สรางภาระกระทําสมมาตรตอคาน
จะไดดังรูป (ก) พิจารณาFBD ของสวน
ตัดครึ่งหนึ่งของคานดานซายจะไดรูป(ข)
V   F  ,  
y L

V = P-P = 0
M   M L , 
P ( a  b) P ( a  b )
M= 
2 2
= Pb
เขียนแผนภาพ M/EI จะไดรูป (ค)
และพื้นที่ใตกราฟในชวง AB คือ

 Pb  a  b  Pb(a  b)
A1 =   
 EI  2  2 EI
1  Pb  Pb 2
A2 =   (b)  
2  EI  2 EI
ทฤษฎีที่ 2 แผนภาพ M/EI รูป (ค) จะได
2 = tA/B = A1 x A1  A2 x A 2
Pb(a  b)  a  b  Pb 2  b 
=    
2 EI  4  2 EI  3 
PbL2 Pb 3
= 
8 EI 6 EI
Pb
= (3L2  4b 2 )
24 EI
ดังนั้น  = Pb
(3L2  4b 2 )
48 EI

6.31
คานอยางงายมีปลายหอยรับแรงกระจาย
เปนบริเวณดังรูป จงหาระยะโกงตัวที่
จุดกึ่งกลางของคาน

หลักการวิเคราะห
ใชการวิเคราะหในทํานองเดียวกับปญหาขอ 6.29
การคํานวณ

จะไดดังรูป (ก) พิจารณา FBD ของ


สวนตัดครึ่งหนึ่งของคานดานซาย
V   F  ,   y L

V = wa – wa = 0
M   M L , 
M = wa L  wa a  L 
2 2 2
2
wa
= 
2
เขียนแผนภาพ M/EI ในรูป (ค) จากแรงเฉือนในแตละชวงคานจากปลายคานดานซาย
(จุด A ) ในรูป (ข)
1  wa 2  wa 3
A1 =  a    
3  2 EI  6 EI
L  wa 2  wa 2 L
A2 =     
2  2 EI  4 EI
ทฤษฎีที่ 2 แผนภาพ M/EI รูป (ค) ระหวางจุด B และ C จะได
wa 2  L 
2 = tA/B = A2 xB 2 =  
4 EI  4 
wa 2 L2
 = (จุด B อยูต่ํากวาเสนสัมผัสที่จุด C)
32 EI
wa 2 L2
 = (ทิศขึ้น) ตอบ
32 EI
6.32
คานอยางงายรับแรงกระจายเปนบริเวณรูป
สามเหลี่ยมดังรูป จงหาคาของ EI ที่จุด3
กึ่งกลางคาน

หลักการวิเคราะห
ใชการวิเคราะหในทํานองเดียวกับปญหาขอ 6.29

การคํานวณ

สรางภาระกระทําสมมาตรตอคาน
จะไดดังรูป (ก) พิจารณา FBD ของ
สวนตัดครึ่งหนึ่งของคานดานซาย
ในรูป (ค) เปนแผนภาพ M/EI ที่ได
จากแผนภาพโมเมนตดัดแยกคํานวณ
ซึ่งคิดเปนภาระกระทําตอคาน (FBD
คานครึ่งเดียว) คือแรง R1 = 900 N 1
อยาง แรงกระจายอยางสม่ําเสมอทิศ
ลง (ในชวง 1  x  3) 1อยางและ
แรงกระจายรูปสามเหลี่ยมทิศขึ้น
(ในชวง 1  x  3) อีก 1 อยาง
A1 = 1  600 
( 2)  
300
4  EI  EI
A2 = 1  2700  4050
(3)  
2  EI  EI
A3 = 1  1800 
 (2) 
1200
3  EI  EI
ทฤษฎีที่ 2 แผนภาพ M/EI รูป (ค) จะได
2 = tA/B = A1 x A1  A2 x A 2  A3 x A3

=  800  4   4050  2   1200  3 


 1   2      3     1   2 
 EI  5   EI  3   EI  4 
5880
2 =
EI
EI = 2940 N  m 3 ตอบ

6.33 คานรูปรางสม่ําเสมอรับแรงกระจาย
เปนบริเวณดังรูป จงหา
ก) แรงปฏิกิริยาในแตละจุดรองรับ
ข) ความลาดชันที่จุด A

หลักการวิเคราะห
เลือกแรงปฏิกิริยา RB เปนแรงกระทําสวนเกิน ใชหลักการซอนทับแบงพิจารณาเปนคาน
รับแรงกระจายเปนบริเวณ 1 อยาง และคานรับแรง RB อีก 1 อยาง ที่จุดรองรับB พบวา yB = (yB)W
+ (yB)R = 0 และความลาดชันที่จุด A; A = (A)W + (A)R

การคํานวณ
หลักการซอนทับ กําหนดให RB เปนแรงกระทําสวนเกินซึ่งไมรูคา ระยะโกงตัวเปนผล
จากแรงกระจายอยางสม่ําเสมอตลอดคาน 1 อยาง รวมกับผลจากแรงปฏิกิริยา RB อีก 1 อยาง
ดังแสดงในรูปขางตน ใชตารางที่ 6.2 หาระยะโกงตัวที่จุด B
แรงกระจายอยางสม่ําเสมอตลอดคาน กรณีที่ 8 ในตารางที่ 6.2
w
y =  ( x 4  2 Lx 3  L3 x)
24 EI
2
ที่ x = L พบวา
3
 2  4 2 
3
3 2 
(yB)W = 
w
 L   2 L L   L  L 
35EI  3  3   3 
wL4
= -0.01132
EI
2 1
แรงปฏิกิริยาสวนเกิน กรณีที่ 7 ในตารางที่ 6.2 โดยที่ a = L และ b = L
3 3
Pa 2 b 2
(yB)R = 
3EI
2 2
RB  2   L 
=  L  
3EIL  3   3 
3
= 0.01646 RB L
EI
ก) ระยะโกงตัวรวมที่จุด B yB = (yB)w + (yB)R = 0
wL4 RB L3
yB = -0.01132  0.01646  0
EI EI
RB = 0.688 wL (ทิศขึ้น) ตอบ
จาก FBD ของคานทั้งหมด
2  L
 M A 0,  = -0.688 wL  L  RC ( L)  wL   0
3  2
RC = 0.0413 wL (ทิศขึ้น) ตอบ
 F y  0,    RA + 0.688 wL + 0.0416 wL – wL = 0
RA = 0.271 wL (ทิศขึ้น) ตอบ
ข) ความลาดชันที่จุด A
แรงกระจายอยางสม่ําเสมอตลอดคาน กรณีที่ 8 ในตารางที่ 6.2
wL3 3
(A)W =  = -0.04167 wL
24 EI EI
1
แรงปฏิกิริยาสวนเกิน กรณีที่ 7 ในตารางที่ 6.2 โดยที่ P = -RB = -0.688 wL และ b = L
3
(A)R = Pb( L2  b 2 )

6 EIL
= + 0.688wL  L  L 
2
 L
2
  
6 EIL  3   3 

(A)R = 0.03398 wL3


EI
ความลาดชันรวมที่จุด B
A = (A)R + (A)W
= 0.03398 wL3
- 0.04167 wL3
EI EI
= - 0.00769 wL ตอบ
3

EI

6.34
คานปลายยึดตรึงทั้งสองดานรับแรงกระทําเปนจุด ดังรูป
จงหาแรงปฏิกิริยาที่จุดยึด

หลักการวิเคราะห
เลือกปฏิกิริยา 2 อยาง (RC และ MC) เปนภาระกระทําสวนเกิน โดยมี P เปนแรงที่
กําหนดให เงื่อนไขขอบเขตที่จุด C พบวา C = (C)P + (C)R + (C)M = 0 และ yC= (yC)P +
(yC)R + (yC)M = 0

การคํานวณ
หลักการซอนทับ กําหนดให RC และ MC เปนภาระกระทําสวนเกินซึ่งไมรูคาระยะโกง
ตัวที่เปนผลจากแรงปฏิกิริยา RC แรงกระทํา P และโมเมนตแรงคูควบ MC
แรงกระทํา P กรณีที่ 1 ในตารางที่ 6.2
Pa 2
(C)P = (B)P = 
2 EI
(yC)P = (B)P + (B)P b
Pa 3 Pa 2 b
=  
3EI 2 EI
2
Pa
=  (2a  3b)
6 EI
แรง RC กรณีที่ 1 ในตารางที่ 6.2
2 3
(C)R = + Rc L (yC)R = + Rc L
2 EI 3EI
โมเมนตคูควบ MC กรณีที่ 5 ในตารางที่ 6.2
M c L2
(C)M = + McL (yC)M = +
EI 2 EI
ความลาดชันและระยะโกงตัวรวมที่จุด C คือ
C = (C)P + (C)R + (C)M = 0
Pa 2 RC L2 M C L
    0
2 EI 2 EI EI
yC = (yC)P + (yC)R + (yC)M = 0 …(1)
2 3 2

Pa
(2a  3b) 
RcL McL
  0 …(2)
6 EI 3EI 2 EI
จากสมการที่ (1) และ (2) จะได
Pa 2
RC = (a  3b) (ทิศขึ้น) ตอบ
L3
Pa 2 b
MC =  2
L
Pa 2 b
=  2 (ตามเข็มนาฬิกา) ตอบ
L
6.35
คานแทงรูปปริซึมรับแรงดังรูป จงหาแรง
ปฏิกิริยาที่จุดรองรับ

หลักการวิเคราะห
เลือกโมเมนตแรงคูควบ MA เปนภาระสวนเกิน ใชหลักการซอนทับแบงพิจารณาเปน 2
อยาง คือ คานรับแรงกระจายเปนบริเวณ 1 อยาง และคานรับโมเมนตอีก 1 อยาง เลือกเสนสัมผัส
ในแนวระดับที่จุด A เปนเสนสัมผัสอางอิง เงื่อนไขขอบเขตที่จุด B เทียบกับจุด A พบวา tB/A = 0

การคํานวณ
หลักการซอนทับ กําหนดให MA
เปนแรงกระทํา สวนเกิน และแยก
พิ จ าณาสมมู ล กั บ คานรั บ แรงกระทํ า เป น
บริเวณ 1 อยาง และคานรับโมเมนตแรงคู
ควบอีก 1 อยาง ดัง รูป เลือกเสนสัม ผัส ใน
แนวระดับที่จุด A เปนเสนสัมผัสอางอิง
ในแต ล ะภาระที่ พิ จ ารณา เขี ย น
แผนภาพ M/EI แลวหา tB/A
คานรับแรงกระทําเปนบริเวณอยาง
เดียว
(tB/A)W = A1  L 
8
 1 wL2 L  L 
=   . .  
 3 8 EI 2  8 
wL4
= 
384 EI
คานรับโมเมนตแรงคูควบอยางเดียว
(tB/A)M = A2  2L 
 3 
=  1 w A L  2 L 
 .  
 2 EI  3 
M A L2
=
3EI

ภายใตเงื่อนไขของระยะโกงตัวรวมที่จุด B
tB/A = (tB/A)W + (tB/A)M = 0
wL4 M A L2
 + = 0
384 EI 3EI
wL2
MA = (ตามเข็มนาฬิกา) ตอบ
128
จาก FBD ของคานรับโมเมนตแรงคูควบอยางเดียว โดยแทนคา MA จะได
wL
(RA)M = (RB)M =
128
จาก FBD ของคานรับแรงกระทําเปนบริเวณอยางเดียว จะได
(RA)W = 0, (RB)M = wL
ดังนั้น
wL2
RA = (RA)W + (RA)M = 0 
128
wL
RA = (ทิศลง) ตอบ
128
wL
RB = (RB)W + (RB)M = wL +
128
129
RB = wL (ทิศขึ้น) ตอบ
128

6.36
คานรูปรางสม่ําเสมอรับแรงกระจาย
เต็มบริเวณคาน ดังรูป จงหาแรงปฏิกิริยาที่จุด B
หลักการวิเคราะห
พิจารราเชนเดียวกับปญหาขอ 6.33 ใหเลือกเสนสัมผัสที่จุด A เปนเสนสัมผัส
อางอิง แลวใชเรขาคณิตพิจารณาความสัมพันธระหวาง tC/A กับ tB/A

การคํานวณ
หลักการซอนทับ กําหนดให RB เปนปรงกรทําสวนเกิน และแยกพิจารณาสมมูลกับคาน
รับแรงกระจายเปนบริเวณ 1 อยาง และคานรับแรงกระทําที่จุด B อีก 1 ยาง เลือกเสนสัมผัสที่ A
เปนเสนสัมผัสอางอิง

จากรูปสามเหลี่ยมคลาย : ΔABB~ ACC


tC / A t
 B/ A
L 2L / 3
tC/A = 3 t B / A …(1)
2
ในแตละภาระที่พิจารณา เขียนแผนภาพ M/EI แลวหา tB/A และ tC/A
คานรับแรงกระจายเปนบริเวณอยางเดียว
(tX/A)W = A1  x   A2  x 
3 4
 wLx 2
 x   wx 3  x 
=        
 4 EI  3   6 EI  4 
wx 3
= 2 L  X 
24 EI
ที่ x = L และ x = 2 L จะได
3
4
wL
(tC/A )W =
24 EI
4wL4
(tB/A )W =
243EI
คานรับแรงกระทําที่จุด B อยางเดียว
(tC/A )R =A3  L   A4  L 
9 3
=  R  L   RB L2  L 
2
L B
      
 18 EI  9   6 EI  3 
4 RB L3
= 
81EI
(tB/A )R = A5  2L 
 9 
 1 2 RB L  2 L  2 L 
=    
 2 9 EI  3  9 
4 R B L3
= 
243EI
ดังนั้น
tC/A = (tC/A )W + (tC/A )R
wL4 4 RB L3
= - 
24 EI 81EI
tB/A = (tB/A )W + (tB/A )R
4( wL4  RB L3 )
=
243EI
แทนคาลงในสมการที่ (1)
wL4 3
3 4( wL4  RB L3 )
-  4 RB L =
24 EI 81EI 2 243EI
 RB = 0.6875 wL
(ทิศขึ้น) ตอบ
บทที่ 7 หนวยแรงรวม (COMBINED STRESSES)
ภาระรวมระหวางภาระในแนวแกนและภาระดัด
ภายใตภาระรวมระหวางภาระในแนวแกนกับภาระดัดบนหนาตัดคานจะเกิดการกระจาย
หนวยแรงดังรูป หนวยแรงลัพธที่ตําแหนงหนึ่ง ๆ นั้นเกิดจากการซอนทับระหวางหนวยแรงดึง
(  a = P/A) และหนวยแรงดัด (  f = My/I) ดังนั้นหนวยแรงลัพธคือ

P My
  a  f  
A I

ขอควรจําเกี่ยวกับการใชสมการ
 สําหรับเครื่องหมายของ  a นั้น ใชเครื่องหมายบวกเมื่อ P เปนแรงดึง และใช
เครื่องหมายลบเมื่อ P เปนแรงกด
 สําหรับเครื่องหมายดานหนาของ  f เมื่อคานถูกดัดโคงหงายขึ้น บริเวณหนาตัดเหนือ

รูปที่ 7-1 หนวยแรงรวมภายใตภาระในแนวแกนและภาระดัด

แกนสะเทินใชเครื่องหมายลบ และบริเวณหนาตัดใตแกนสะเทินใชเครื่องหมายบวก สวน


เมื่อคานถูกดัดโคงคว่ําลงนั้นพิจารณาตรงกันขาม
ภาระรวมอันเกิดจากแรงกระทําเยื้องศูนยกลาง
ภาระรวมอันเกิดจากแรงกระทําเยื้องศูนยกลางสามารถแบงพิจารณาตามตําแหนงกระทํา
ออกเปนดังนี้
1 แรงกระทําเยื้องศูนยกลางกับแกนหลักเดียว

รูปที่ 7-2 ผลของแรงกระทําเยื้องศูนยกลาง

พิจารณาแรง P กระทําที่ตําแหนงเยื้องศูนยกลางบนแกน y เปนระยะ e ถายายแรง P มายัง


จุด O จะเกิดภาระรวมระหวางแรง P (ที่จุด O) กับโมเมนตดัด M = Pe จึงทําใหเกิดหนวยแรงรวม
ระหวางหนวยแรงดึง (  a ) กับหนวยแรงดัด (  f ) ดังรูป หนวยแรงรวมคํานวณไดดังนี้

P ( Pe) y
  
A I

ถาหากหนวยแรงดัดสูงสุดมีคามากกวาหนวยแรงดึง หนวยแรงรวมที่ไดจะมีลักษณะดังรูป
(จ) และตําแหนงของแกนสะเทินใหมจะหางจากแกน x เปนระยะ a (จุด N) ซึ่งหาไดจากสมการ
P/A = (Pe)a/I ดังนั้น
I
a
Ae

ในกรณีออกแบบอิฐกอตึกหรือชิ้นสวนโครงสรางเพื่อรับแรงกดไดดีนั้น หนวยแรงกดตอง
มีคาเทากับหรือมากกวาหนวยแรงดัดสูงสุด ระยะเยื้องศูนยกลางของแรงลัพธภายนอกที่กระทําบน
คานหนาตัดรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากขนาดกวาง b หนา h คือ

P Mc ( Pe)(h / 2)
 
A I bh 3 / 12
h
e
6
2. แรงกระทําเยื้องศูนยกลางกับแกนหลัก 2 แกน

รูปที่ 7-3 แรง P กระทําเยื้องศูนยกลางที่ตําแหนง e x , e y

พิจารณาแรง P กระทําดึงตั้งฉากกับหนาตัดคานที่ตําแหนง e x และ e y วัดเทียบกับแกน x


และ y ตามลําดับ ซึ่งสมมูลกับระบบแรงที่มีแรง P กระทําผานจุด O และโมเมนตของแรง P รอบ
แกน x ( Pe y ) และรอบแกน y ( Pe z ) ดังนั้นความเคนผสมที่ตําแหนง (x,y) คือ

P ( Pe x ) x (Pr y ) y
   
A Iy Ix

พิจารณาตําแหนงของแกนสะเทิน สําหรับคานหนาตัดรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากขนาด b คูณ h


ถาใหที่ตําแหนงของแกนสะเทินหรือแกนหนวยแรงเปนศูนย พบวา

Ae x x ( Ae y ) y
  1
Iy Ix

สมการนี้คือสมการของแกนสะเทินซึ่งเปนสมการเชิงเสน และพบวาแกนสะเทินนี้อาจจะ
ตัดผานหนาตัดหรือไมก็ได
รูปที่ 7-4 ผลของแรงกระทําเยื้องศูนยกลางกับแกน x และ y

ขอควรจํา
 พิจารณาตัวยางในรูปที่แสดงผลของแรงกระทําเยื้องศูนยกลางกับแกน x และ y ถา
P เปนแรงกดบนคานหนาตัดรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก ขนาด b คูณ h พิจารณาที่ตําแหนง x และ y
ตามรูป (ก) พบวาหนวยแรงรวมที่ไดคือ
P ( Pe x ) x ( Pe y ) y
    
A Iy Ix
ที่ตําแหนงใด ๆ บนแกนสะเทิน พบวา
 = 0 ดังนั้น
Ae x Ae y y
0  1 x 
Iy Ix
ดังนั้นแกนสะเทินตัดแกน x และแกน y ที่
Iy ry2
U =   
Ae x ex
Ix ry2
และ V =   
Ae y ey
โดยที่ rx และ ry นั้นคือรัศมีไจเรชันรอบแกน x และแกน y ตามลําดับ
จากสมการ U และ V พบวา แกนสะเทินนั้นจะอยูในจตุภาค (quadrant) ตรงกัน
ขามกับจตุภาคของตําแหนงกระทําของแรง P และไมตั้งฉากกับแนวเสนตรง OP หลังจากคํานวณ
หนวยแรงรวมที่จุด A, B,C และ D จุด A ใหหนวยแรงกด จุด B ใหหนวยแรงดึงสูงสุด จุด C ให
หนวยแรงกดและจุด D ใหหนวยแรงกดสูงสุด
 กรณี ที่จุด B อยูที่ตําแหนง x = -h/2 และ y = -b/2 ซึ่ง  = 0 ดังนั้น จะได
ex ey
  1
h/6 b/6
สมการ นี้เปนสมการแสดงตําแหนงของแรง P ซึ่งทําใหมุม B มีหนวยแรงรวมเปนศูนย
โฟกัสของจุดกระทําของแรง P แสดงดวยเสนตรง mn ในทํานองเดียวกัน ถาโฟกัสของจุดกระทํา
ของแรง P อยูบนเสนตรง m1n1 มุม C จะมีหนวยแรงรวมเปนศูนยเชนกัน
 พื้นที่แรงเงาระหวางเสนตรง mn และ m1n1 นั้นก็คือเคิรนของหนาตัด (kern of
section) ดังรูปตอไปนี้

รูปที่ 7-5 เคิรนของหนาตัดรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากและวงกลม

กฎของเคิรน (กฎของ middle third และ middle quarter) กลาววา ถาแรงกดลัพธกระทํา


บนหนาตัดคานที่ขอบหรือภายในเคิรน พบวาจะไมเกิดหนวยแรงดึงบนหนาตัดนั้นเลย

การแปลงหนวยแรงระนาบ

รูปที่ 7-6 การแปลงหนวยแรงระนาบจากแกน x-y เปนแกน x’-y’


หนวยแรงระนาบบนชิ้นสวนดังรูป (ก) มีองคประกอบเปน  x ,  y และ  xy ถาชิ้นสวน
ดังกลาวหมุนไปเปนมุม  จากเดิม (รอบแกน z) ทําใหองคประกอบเปลี่ยนไปเปน  x ' ,  y '
และ  x ' y '
พิจารณาสมดุลสถิตของชิ้นสวนรูปสามเหลี่ยมในรูปตอไปนี้ จะไดผลดังนี้

รูปที่ 7-7 แสดงสมดุลสถิตของชิ้นสวนรูปสามเหลี่ยม

x  y  x  y
 x'   cos 2   xy sin 2
2 2

x  y  x  y
 y'   cos 2   xy sin 2
2 2

 x  y
 x'y'   sin 2   xy con2
2

และ  x'   y '   x   y


ระนาบหนวยแรงหลักและระนาบหนวยแรงเฉือนสูงสุด

รูปที่ 7-8 ความสัมพันธของหนวยแรงบนวงกลมของมอร

ในรูป (ก) แกนแนวตั้งเปน  x ' y ' และแกนแนวนอนเปน  x ' จุด M มีพิกัดอยูที่ (  x' ,
 x ' y ' ) ทุก ๆ จุดจะอยูบนเสนรอบวงตามคากําหนดของมุม 
จากสมการ
  y   y
2 2
  
  x  x    x2y   x    xy2 = (รัศมีของกราฟวงกลม)2
 2   2 
กําหนดให
 x  y  x  y
2

 ave  , R      xy2
2  2 
ดังนั้น
 x   ave 2   x2y  R 2
สมการที่ไดนี้ไดแสดงตามรูปที่ (ข)รูปกราฟวงกลม โดยมีจุด C เปนจุดศูนยกลางซึ่งอยูที่
พิกัด (  ave , 0) และที่จุด N บนเสนรอบวงอยูที่พิกัด (  x ' , - x ' y ' )

1 ระนาบหนวยแรงหลัก
ในรูปที่แสดงความสัมพันธของหนวยแรงบนวงกลมของมอร (ก) จุด A คือ หนวยแรงตั้ง
ฉากสูงสุด (  max ) และจุด B คือหนวยแรงตั้งฉากต่ําสุด (  min ) ซึ่งที่จุดทั้งสองนี้หนวยแรงเฉือน
( x ' y ' ) เปนศูนย สภาวะหนวยแรงนี้เรียกวา หนวยแรงหลัก จะได

2 xy
ตําแหนงของหนวยแรงหลัก; tan 2p =
 x  y
ขอควรจํา
 ระนาบที่ใหหนวยแรงตั้งฉากสูงสุดหรือต่ําสุดนี้เรียกวาระนาบหนวยแรงหลัก
 ระนาบหนวยแรงหลักทํามุมกับระนาบเดิม (แกน x หรือ y ทํามุมกับแกน x )
เทากับ p หรือ p โดยที่ p = 90 + p ดังรูปที่ 7.9
 บนระนาบหนวยแรงหลักนั้นหนวยแรงเฉือนเปนศูนยเสมอ
 มุมในกราฟวงกลมปรากฏเปน 2 แตมุมระหวางระนาบเปน 

รูปที่ 7-9 ระนาบหนวยแรงหลัก

ในรูป แสดงระนาบหนวยแรงหลักที่จุด Q ซึ่งมี  max และ  min เปนหนวยแรงตั้งฉาก


กระทําตอระนาบนั้นจะเห็นไดชัดเจนวาไมมีหนวยแรงเฉือนบนระนาบหนวยแรงหลักนี้
หนวยแรงหลักสูงสุดและต่ําสุดหาจาก
 x  y  x  y
2
 
 max , min         xy2
 2   2 
2. ระนาบหนวยแรงเฉือนสูงสุด
ในรูปที่แสดงความสัมพันธของหนวยแรงบนวงกลมของมอร (ก) จุด D และ E บนเสน
ผานศูนยกลางในแนวดิ่งของวงกลมนั้น ใหคาตัวเลขสูงสุดของหนวยแรงเฉือน และอยูที่พิกัด
 x '   ave  ( x   y ) / 2 โดยที่ระนาบหนวยแรงเฉือนสูงสุดทํามุมกับระนาบเดิม (ซึ่งมี
สภาวะหนวยแรงเปน  x ,  y และ  xy ) เทากับ  s ซึ่งสามารถหาไดจากสมการ ดังนี้
 x  y
cos 2 s   xy sin 2 s =0
2
  y 
ดังนั้น tan 2s = x

2 xy
รูปที่ 7-10 ระนาบหนวยแรงเฉือนสูงสุด

หนวยแรงเฉือนสูงสุดเกิดขึ้นที่สองคาของ  s ซึ่งคาทั้งสองนั้นตางกันอยู 90 ดังแสดงใน


รูปขางตนหนวยแรงเฉือนสูงสุดนี้มีคาเทากับรัศมีของวงกลมคือ
 x  y
2

 max      xy2
 2 

 x  y
และ  
2
สภาวะของหนวยแรงบนระนาบความเคนเฉือนสูงสุดนี้จะมีหนวยแรงตั้งฉาก
(  ' ) อยูดวย ซึ่งหาไดจาก
 x  y
    ave 
2

ขอควรจํา
 เมื่อพิจารณาแลวพบวา tan 2  s = -1/tan 2  p แสดงวาในกราฟวงกลมมุม 2  s
และ 2  p นั้นตางกันอยู 90 นั่นคือ ระนาบหนวยแรงเฉือนสูงสุดทํามุม 45 กับ
ระนาบหนวยแรงหลักเสมอ
 บนระนาบหนวยแรงเฉือนสูงสุดจะมีสภาวะของหนวยแรงเปน
 ' x   ' y   ave , xy   max
วงกลมของมอร

รูปที่ 7-11 วงกลมของมอรสําหรับสภาวะทั่วไปของหนวยแรง

กฎเกณฑการเสรางวงกลมของมอรกับหนวยแรงรวม
1) ตั้งแกนพิกัดฉาก    พลอตจุด A ที่พิกัด ( x , y ) และจุด B ที่พิกัด ( x , y )
จุดเหลานี้ (A และ B) ใชแสดงหนวยแรงตั้งฉากและหนวยแรงเฉือนบนระนาบทั้งสองของชิ้นสวน
ซึ่งตั้งฉากกับแกน x และ y กําหนดใหหนวยแรงดึงเปนบวก หนวยแรงกดเปนลบ และหนวยแรง
เฉื อนเป นบวก เมื่ อโมเมนต รอบจุ ดศู นยก ลางของชิ้นสวนเนื่องจากแรงเฉือนนั้นมีทิศ ตามเข็ม
นาฬิกา
2) เชื่อมเสนตรงระหวางจุดทั้งสองในขอ 1 จะไดเสนตรง AB
เสนตรง AB ก็คือเสนผานศูนยกลางของวงกลมที่มีจุดศูนยกลางอยูบนแกน  จึงสราง
วงกลมของมอรได
3) กําหนดตําแหนงของระนาบที่ตองการหาองคประกอบของหนวยแรงลงบนวงกลมของ
มอร
ถาทราบแนวเสนตั้งฉากของระนาบนั้นทํากับแกน x เปนมุม  ใหหมุนเสนตรง AB ไป
เปนมุม 2 (สําหรับ  ซึ่งเปนบวกใหหมุนทวนเข็มนาฬิกา และ  เปนลบใหหมุนตามเข็มนาฬิกา
โดยวัดออกจากแกน x )
ขอควรจํา
1. มุมระหวางรัศมีของวงกลมของมอรนั้นจะกางเปน 2 เทาของมุมระหวางแนวเสนตั้ง
ฉากของระนาบ (normal to the planes) เสมอ
2. สําหรับการหมุนของมุมระหวางรัศมีเพื่อบอกตําแหนงของสภาวะหนวยแรงบนวงกลม
ของมอร เชน ถาเสนตั้งฉากของระนาบหนึ่งเปนแกน x ทํามุม  ในทิศทวนเข็ม
นาฬิกากับเสนตั้งฉากเดิมของอีกระนาบหนึ่ง ในวงกลมของมอรตําแหนงของรัศมีบน
แกน x นั้นจะทํามุม 2 ในทิศทวนเข็มนาฬิกาดวยเชนกัน สวนแกน y จะทํามุมกับ
แกน x เทากับ 180 ดังรูปที่ 7.11
3. พิจารณาสภาวะของหนวยแรงหลัก ถาแกน a ของระนาบหนึ่งทํามุม  p กับแกน x
ของอีกระนาบหนึ่งพอดี ในวงกลมของมอรมุมระหวางแกน a กับแกน x เปน 2  p
(วัดทวนเข็มนาฬิกาจากแกน x ) ซึ่งจะใหสภาวะของหนวยแรงหลักดังรูปตอไปนี้

รูปที่ 7-12 สภาวะของหนวยแรงหลักบนวงกลมมอร

4. สภาวะของหนวยแรงแอนสูงสุดจะเกิดที่ระนาบหนึ่งซึ่งทํามุม 45 กับระนาบหนวย


แรงหลักพิจารณาจากรูปตอไปนี้ มุมระหวางแกน d กับแกน a จะมีคาเทากับ 90 ใน
วงกลมของโมร

รูปที่ 7-13 สภาวะของหนวยแรงเฉือนสูงสุดบนวงกลมของมอร


แบบฝกหัดบทที่ 7

7.1 คานโคงแทงยาวที่มีหนาตัดรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสขนาด 10 mm x 10 mm ภายใตแรง P กระทํา


เยื้องแนวเสนศูนยกลางเปนระยะ 10 mm จงเปรียบเทียบหนวยแรงสูงสุดในคานโคงกับ
หนวยแรงสูงสุดที่เกิดขึ้นในคานตรงภายใตแรงกระทําในแนวแกน

หลักการวิเคราะห
หนวยแรงสูงสุดของคานโคงคํานวณจาก  = P Mc
 และใชสมการ  = -P/A
A I
คํานวณหนวยแรงสูงสุดของคานตรง

การคํานวณ
โมเมนตความเฉื่อยรอบแกนสะเทิน
1 3
I = bh
12
1
= (10  10 3 )(10  10 3 ) 3
12
1
=  10 8 m 4
12
หนวยแรงสูงสุดของคานโคง
 P Mc 
  
 A I 
 = 
P Mc
 
P Pec

A I A I
P(10  10 3 )(5  10 3 )
 = - P

 
10  10 3 (10  10 3 ) 1
  10 
8 

 12 
= -7 x 104 P
หนวยแรงสูงสุดของคานตรง
 P
   A 
 
a = P
  1  10 4 P
 33
10  10 (10  10 ) 
 7
 = ตอบ
a 1
7.2 ขอตอที่ใชในเครื่องจักรกลดังแสดงในรูป โดยออกแบบขอตอตรงหนาตัด A-B ใหลดลง
ครึ่งหนึ่ง จงคํานวณหาหนวยแรงดึงสูงสุดที่เกิดขึ้นบนหนาตัด A- B ถา
ก) หนาตัดของขอตอเปนสี่เหลี่ยมจัตุรัสยาวดานละ 160 mm
ข) หนาตัดของขอตอเปนวงกลมที่มีเสนผานศูนยกลางเทากับ 160 mm

หลักการวิเคราะห
เปนภาระผสมระหวางภาระดึงกับภาระดัดบนหนาตัด A-B

การคํานวณ
ก) หนาตัดของขอตอเปนสี่เหลี่ยมจัตุรัสยาวดานละ 160 mm หนาตัด A- B
โมเมนตความเฉื่อยรอบแกนสะเทิน

 1 3
 I  12 bh 
 
I = 1
12
 
160  10 3 80  10 3 
3

= 6.827 x 10-6 m4
หนวยแรงสูงสุดบนหนาตัด AB
 P Pec 
  
 A I 

 = 240


(240)(40  10 3 ) 40  10 3 
 
160  10 3 80  10 3 6.827  10 6
= 75 MPa ตอบ
ข) หนาตัดของขอตอเปนวงกลมที่มีเสนผานศูนยกลางเทากับ 160 mm
โมเมนตความเฉื่อยรอบแกนสะเทิน
2
1 4  1 2  4r 
I = r   r  
8 2  3 
= 0.11 r4
= (0.11)(80 x 10-3)4
= 4.506 x 10-6 m4
หนวยแรงสูงสุดบนหนาตัด
 P Mc  P 4r
  A  I  โดยที่ M = Pe =
  3

 4  80  10 3  4  80  10 3 
(240)  
 3  3 
 = 240

 4.506  10 6
(80  10 3 ) 2
2
= 85.3 MPa ตอบ

7.3 จงหาขนาดสูงสุดของแรง P ซึ่งถูกรองรับดวยแปนรับของแบรกเกต (bracket) ที่


ทําจากเหล็กหลอดังแสดงในรูป ทั้งนี้ กําหนดให  t  30 MPa และ  c  70 MPa

หลักการวิเคราะห
ใหยายแรง P ไปตําแหนงที่ผานจุดเซนทรอยดของหนาตัด A-B จะไดภาระผสม

การคํานวณ
ยายแรง P ใหกระทําบนตําแหนงผานจุดเซนทรอยของหนาตัด
ภาระใหมที่ไดหลังยายแรง P ก็คือภาระผสมระหวางภาระในแนวแกน (P) และภาระดัด
(M = Pd = 0.300P) บนหนาตัด A – B โดยดาน A รับการดึง และดาน B รับการกด
หนวยแรงดึงดาน A t = P My

A I
30 x 106 = P

0.300 P 0.050
6
8000  10 20  10 6
P = 34.3 kN
หนวยแรงดึงดาน B c = P Mc

A I
-70 x 106 = P

0.300 P 0.150
6
8000  10 20  10 6
P = 32.9 kN
 แรงกระทําสูงสุดคาปลอดภัย P = 32.9 kN ตอบ

7.4 คานทิมเบอร AD หนากวาง 100 mm และหนา 300 mm รับแรงดังรูป ปลาย A ยึด


ดวยสลัก และใชเคเบิลในแนวระดับ CE ซึ่งยึดคานไวที่จุด C จงหาหนวยแรงกดสูงสุดใน
คาน

หลักการวิเคราะห
จากสมดุลของ FBD ของคานทั้งหมดหาแรงตึง T ที่จุด C อาศัยหลักการยายแรงหา
หนวยแรงผสมที่สวนตัดผานจุด C,B และจุดกึ่งกลางของ CD เลือกหนวยแรงสูงสุดเปนคําตอบ
การคํานวณ

FBD ของคานทั้งหมด
 M A  0,  -3T + 15(2) + 10(6) = 0
 T = 30 kN

พิจารณาที่สวนตัด a-a
อาศัยหลักการยายแรง 30 kN ที่จุด C ไปไวที่จุด D จะไดรูป (ข) จากนั้นเลือกสวนตัด
a-a ดานขวาเปน FBD

 P Pec 
  A  I 
 
max = - 30

(20)(0.150)
  14.3MPa
(0.100)(0.300) 2.25  10  4
max = 14.3 MPa (หนวยแรงกด)
พิจารณาที่สวนตัด b-b
อาศัยหลักการยายแรง 15 kN ที่จุด B ไปไวที่จุด D จากนั้นเลือกสวนตัด b-b ดานขวาเปน
FBD

 P Mc 
  A  I 
 
max = - 39

5(0.150)
  4.63 MPa
(0.100)(0.300) 2.25  10  4
max = 4.63 MPa (หนวยแรงกด)

พิจารณาสวนตัด c-c ซึ่งผานจุดกึ่งกลางของ CD


 P Mc 
  A  I 
 
max = - 6

10(0.150)
  6.87 MPa
(0.100)(0.300) 2.25  10  4
max = 4.87 MPa (หนวยแรงกด)
หนวยแรงกดสูงสุดในคานเทากับ 14.3 MPa ตอบ
7.5 แรง P กระทําตอแบรกเกตดังรูป จงหาคาสูงสุดปลอดภัยของแรง P ถากําหนดความเคน
ใชงานที่หนาตัด A-B มีคาดังนี้คือ t  8 MPa และ C  12 MPa

หลักการวิเคราะห
แตกแรง P เปนแรงยอย Px และ Py อาศัยหลักการยายแรง Px ไปบนตําแหนงผานแกน
สะเทินแลวพิจารณาสมดุลของสวนตัดดานขวาของหนาตัด A- B

การคํานวณ
พิจารณา FBD สวนตัดดานขวาของหนาตัด A- B

แตกแรง P เปน Px = 4
P และ Py = 3
P ยายแรง Px ไปที่จุด D ซึ่งอยูบนแนวแกน
5 5
สะเทิน พิจารณาสมดุลของ FBD สวนตัดดานขวาของหนาตัด A-B ผลลัพธของแรงบนหนาตัด
A-B ผลลัพธของแรงบนหนาตัด A-B ก็คือแรงดึง 4 P และโมเมนตดัดซึ่งหาจาก
5
MA-B = -M1 + M2
3 4
M=  P (0.500)  P (0.200)
5 5
= -0.14 P kN  m
ดังนั้นดาน A รับการกด และดาน B รับการดึง (โมเมนตดัดเปนบวก)
หนวยแรงดึงสูงสุด (จุด B)
 P My B 
 t  A  I 
 
4
P
3 0.14 P(0.200)
8 x 10 = 5
6

8000  10 50  10 6
P= 12.1 kN
หนวยแรงกดสูงสุด (จุด A)
 P My A 
 c  A  I 
 
4
P
0.14 P(0.100)
-12 x 103 = 5
6

8000  10 50  10 6
P = 66.67 kN
เลือกคาสูงสุดปลอดภัย P = 12.1 kN ตอบ

7.6 จงคํานวณหาหนวยแรงที่จุด A และ B สําหรับชิ้นสวนรับแรงกระทํา

หลักการวิเคราะห
เขียน FBD ของชิ้นสวนทั้งหมดแลวหา RC สวน FBD ของสวนตัดดานซายของหนาตัด
A-B หาโมเมนตดัด (M) และแรงในแนวแกน (P) โดยอาศัยหลักการยายแรงใหไปอยูในแนวแกน
สะเทินของหนาตัดคาน
การคํานวณ
FBD ของชิ้นสวนทั้งหมด
 M D  0, 
RC(1000)-  4  20 (600)   3  20 (200)   3  100 (200)   4  100 (800)  0
5  5  5  5 
 RC = 83.2 kN
FBD ของสวนตัดดานซายของหนาตัด A-B

M   M L , 
M = 83.2(0.600)+2.4 – 12 – 16(0.200) – 80(0.400)
= +5.12 kN  m
โมเมนตดัดเปนบวกแสดงวาคานถูกดัดโคงหงายขึ้น ดาน A จึงรับหนวยแรงดัดกด และ
ดาน B รับหนวยแรงดัดดึง
 P My 
  A  I 
 
ขอบคานซาย A A = P My A

A I
= - 72

5.12(0.100)
(0.080)(0.200) 1
(0.080)(0.200 3 )
12
= -14.1 MPa
= 14.1 MPa (หนวยแรงกด) ตอบ
ขอบคานซาย B B = P My B

A I
= 72

5.12(0.100)
(0.080)(0.200) 1
(0.080)(0.200 3 )
12
= 0.10 MPa (หนวยแรงดึง) ตอบ
7.7 ขอตอโซเกิดจากการดัดโคงของแทงเหล็กกลา
องคประกอบคารบอนต่ํา ซึ่งมีขนาดเสน
ผานศูนยกลาง 12 mm ดังรูป ขอตอรับแรงดึง 800 N
จงหา
ก) หนวยแรงดึงและหนวยแรงกดสูงสุดในขอตอ
ตรงหนาตัด A-B
ข) ระยะหางระหวางเซนทรอยดและแกนสะเทินของ
หนาตัด

หลักการวิเคราะห
บน FBD ของสวนตัด A-B อาศัยสมดุลของแรงและโมเมนต จะเกิดภาระผสมระหวาง
แรงในแนวแกนผานจุดเซนทรอยด P และโมเมนตดัด
การคํานวณ
ก) หนวยแรงดึงและหนวยแรงกดสูงสุด
FBD ของสวนตัดดานลางของหนาตัด A – B
P = 800 N
M = 800(0.015) = 12 N  m
A = r2 = (0.0062)
1 4
I = r
4
= 1
4
 
 0.006 4  1.018  10 9 m 4

เนื่องจาก M บนหนาตัด A-B มีทิศตามเข็มนาฬิกา ดังนั้น


ดาน A จึงรับหนวยแรงดัดดึงและดาน B จึงรับหนวยแรงดัดกด
 P My 
  A  I 
 
ขอบคานซาย A A = P My A

A I
= 800
6

12(0.600)
113.1  10 1.018  10 9
= 77.8 MPa (หนวยแรงกด) ตอบ
ขอบคานซาย B B = P My B

A I
= 800
6

12(0.600)
= -63.6 MPa
113.1  10 1.018  10 9
= 63.6 MPa (หนวยแรงดึง) ตอบ
ข) ระยะหางระหวางเซนทรอยดและแกนสะเทิน

 P My 
  A  I  และให  = 0 เพื่อหาตําแหนงของแกนสะเทิน
 

P My 0
0 = 
A I
 P  I   1.018  10 9 
y0 =    = 800
 
 A  M  113.1  10  6  12 
= 0.600 x 10-3 m
= 0.6 mm วัดจากจุดเซนทรอยด ตอบ

7.8 ขอตอทําดวยเหล็กหลอ กําหนดหนวยแรง


ดึงใชงานเทากับ 30 MPa และหนวยแรงกดใชงาน
เทากับ 120 MPa และกําหนดใหหนาตัดของขอ
ตอเปนรูปตัวที จงหาแรง P สูงสุดที่กระทําตอขอ
ตอดังกลาว

หลักการวิเคราะห
พิจารณา FBD ของสวนตัดดานซายของหนาตัด A-B ยายแรง P มาไวที่จุด C เกิดภารผสม
แรงในแนวแกนและโมเมนตดัดบนหนาตัด A-B
การคํานวณ
A = (0.09 x 0.02)+(0.040 x 0.030)
= 3 x 10-3 m2
y = 0.038 m
I N.A = 868 x 10-9 m4
d = 0.038 – 0.01 = 0.028
ที่จุด C ยายแรง P จากจุด D มาไวที่จุด C จะ
ไดผลลัพธเปน
PC = P, M = Pd = 0.028 P
โมเมนต M= 0.028 P กระทําบนหนาตัด A-B ในทิศ
ตามเข็มนาฬิกา ดังนั้น A รับการดึงและดาน B รับการกด
 P My 
  A  I 
 
ขอบคานซาย A A = P My A

A I
30 x 103 = - P
3

0.028 P (0.022)
3  10 868  10 9
P = 79.6 kN
ขอบคานซาย B B = - P  My B
A I
3
-120 x 10 = P
3

0.028 P (0.022)
3  10 868  10 9
P = 77.0 kN

แรงกดสูงสุดกระทําตอขอตออยางปลอดภัย P = 77 kN ตอบ
7.9 แรงในแนวดิ่งขนาด 4.80 kN กระทําตอเสาไมหนา
ตัดรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากขนาด 80 x 120 Mm ดังรูป จงหา
ก) หนวยแรงที่จุด A,B,C และ D
ข) ตําแหนงของแกนสะเทินบนหนาตัด

หลักการวิเคราะห
เมื่อยายแรงกด 4.80 kN มาไวบนแกน y จะเกิดภาระผสมคือแรงกดในแนวแกน P = 4.80
kN และโมเมนตดัด 2 แกน MX และ MZ พิจารณาแตละจุดรับการกดหรือการดึง จากนั้นแทนคา
ลงในสมการ    a   f 1   f 2
การคํานวณ
ก) หนวยแรงที่จดุ A,B,C และ D
ระบบของแรงกระทําเดิมสมมูลกับของแรงกระทําใหมบนแกนหลัก (P , Mx และ MZ)
ของหนาตัดนั้นดังรูป (1)
MX = 4.80(0.040) = 192 N  m
MZ = 4.80(0.025) = 120 N  m

โมเมนตความเฉื่อยของพื้นที่หนาตัด
1
IX = (0.120)(0.080 3 )
12
= 5.12 x 10-6 m4
1
IZ = (0.080)(0.120 3 )
12
= 11.52 x 10-6 m4
A = (0.080)(0.120)
= 9.60 x 10-3 m2
 P
หนวยแรงกดอยางเดียว   
A 
a

A = 4.80
= 0.5 MPa
9.60  10 3
หนวยแรงดัดเนื่องจาก MX
M x Z max
f1 = = 192(0.040)
Ix 5.12  10 6
= 1.5 MPa

หนวยแรงดัดเนื่องจาก MZ
M x X max
f2 = = 120(0.060)
IZ 11.52  10  6
= 0.625 MPa
หนวยแรงผสมบนหนาตัด คือ
 =  a  f1  f 2
Mx ทําให จุด A และ B รับการกด f1  -
จุด C และ D รับการดึง f1  +
MZ ทําให จุด B และ C รับการดึง f2  +
จุด A และ D รับการกด f2  -
A =  a  f1  f 2
= -0.5 - 1.5 - 0.625
= -2.625 MPa
A = 2.625 MPa (หนวยแรงกด)
ตอบ
B =  a  f1  f 2
= -0.5 - 1.5 + 0.625
= -1.375 MPa
B = 1.375 MPa (หนวยแรงกด) ตอบ
C =  a  f1  f 2
= -0.5 + 1.5 + 0.625
= 1.625 MPa (หนวยแรงดึง) ตอบ
D =  a  f1  f 2
= -0.5 + 1.5 - 0.625
= 0.375 MPa (หนวยแรงดึง) ตอบ
ข) แกนสะเทิน
การกระจายหนวยแรงจะไดดังรูป (2) ความเคนเปนศูนยที่จุด G ซึ่งอยูระหวาง B และ C
และที่จุด H ซึ่งอยูระหวาง A และ D เนื่องจากการกระจายหนวยแรงเปนสมการเชิงเสน ดังนั้น
BG 1.375
=   BG = 36.7 mm
80 1.625  1.375
HA 2.625
=   HA = 70 mm
80 2.625  0.375
เสนตรงที่เชื่อมจุด G และ H ก็คือแกนสะเทิน และการกระจายหนวยแรงบนหนาตัด ตอบ

7.10 แรงกด P = 80 kN กระทําตอเสาหนาตัดสี่เหลี่ยมมุมฉากขนาด b = 200 mm และ h =


400 mm ที่ตําแหนง x = 40 mm และ y = 60 mm ดังรูป จงหา
ก) หนวยแรงผสมที่มุมทั้ง 4 คือ A,B,C และ D
ข) ตําแหนงของแกนสะเทิน

หลักการวิเคราะห
ใชการวิเคราะหทํานองเดียวกับปญหาขอ 7.9
การคํานวณ
ยายแรงกด P = 80 kN ไปที่จุดเซนทรอยด ผลลัพธของระบบแรงคือ P = -80 kN, Mx =
-4.8 kN  m และ My = 3.2 kN  m ดังรูป (1)
ก) หนวยแรงผสมที่มุมทั้ง 4 คือจุด A,B,C และ D
โมเมนตความเฉื่อยของพื้นที่หนาตัด
1
IX = (0.400)(0.200 3 )
12
= 2.67 x 10-4 m4
1
Iy = (0.200)(0.400 3 )
12
= 1.07 x 10-3 m4
A = (0.200)(0.400) = 0.08 m2
หนวยแรงกดอยางเดียว
 P
 a   A 
 
a = - 80 = -1.0 MPa
0.08

หนวยแรงดัดเนื่องจาก MX
M x y max
f1 =
Ix
4.8(0.100)
=
2.67  10  4
= 1.797 MPa
หนวยแรงดัดเนื่องจาก My
M y x X max
f2 =
Iy
3.2(0.200)
=
1.07  10 3
= 0.598 MPa
หนวยแรงผสมบนหนาตัด คือ
 =  a  f1  f 2
Mx ทําให จุด A และ D รับการกด f1  -
จุด B และ C รับการดึง f1  +
My ทําให จุด C และ D รับการดึง f2  -
จุด A และ B รับการกด f2  +
A =  a  f1  f 2
= -1.0 - 1.797 + 0.598
= 2.199 MPa (หนวยแรงกด)
ตอบ
B =  a  f1  f 2
= -1.0 - 1.797 + 0.598
= 1.395 MPa (หนวยแรงดึง)
ตอบ
C =  a  f1  f 2
= -1.0 + 1.797 - 0.598
= 0.199 MPa (หนวยแรงดึง) ตอบ
D =  a  f1  f 2
= -1.0 - 1.797 - 0.598
= 3.395 MPa (หนวยแรงดึง) ตอบ

ข) แกนสะเทิน
การกระจายหนวยแรง จะไดดังรูป 2 หนวยแรงเปนศูนยที่จุด G ซึ่งอยูระหวาง A และ B
และที่จุด E ซึ่งอยูระหวาง C และ D เนื่องจากการกระจายหนวยแรงเปนสมการเชิงเสน ดังนั้น
BG 1.395
=   BG = 77.63 mm
200 1.395  2.199
CE 0.199
=   CE = 11.07 mm
200 0.199  3.395
เสนตรงที่เชื่อมจุด G และ E ก็คือแกนสะเทิน และการกระจายหนวยแรงบนหนาตัด ตอบ

7.11 จากปญหาในขอ 7.10 จะตองเพิ่มแรงกระทําที่จุดเซนทรอยดอีกเทาใดจึงเปนผล ทําใหไม


มีหนวยแรงดึงเกิดขึ้นทุก ๆ แหงบนหนาตัดขวางของเสา

หลักการวิเคราะห
ที่จุด B มีหนวยแรงดึงสูงสุด จึงกําหนดใหวาเมื่อเพิ่มแรงเปน (80+P) kN จะทําใหหนวย
แรงผสม  B = 0 พอดี
การคํานวณ
ที่จุด B มีหนวยแรงดึงสูงสุด กําหนดใหเมื่อเพิ่มแรง P ลงไปจะทําให
 B = 0 พอดี
 B   a  f1  f 2 
80  P
0 = -  1.797  0.598
0.08  10 3
P = 112 kN ตอบ

7.12 สําหรับสภาวะของหนวยแรงระนาบดังรูป จงหา


ก) ตําแหนงของระนาบหนวยแรงหลัก
ข) หนวยแรงหลัก
ค) หนวยแรงเฉือนสูงสุดและหนวยแรงตั้งฉาก

หลักการวิเคราะห
ตําแหนงระนาบหนวยแรงหลักกําหนดดวยมุม P ใชสมการ (7.15) คํานวณmax , min
สมการ (7.17) และ (7.18) คํานวณ max และ  ตามลําดับ
การคํานวณ
ก) ตําแหนงของระนาบหนวยแรงหลัก
x = +50 MPa, y = -10, xy = +40 MPa
(เมื่อใชสูตรคํานวณ  มีเครื่องหมายบวกเมื่อโมเมนตของแรงเฉือนมีทิศทวนเข็มนาฬิกา)
2 xy 2(40) 80
tan 2P = = =
 x  y 50  (10) 60
2P = 53.1 และ 180 + 53.1 = 233.1
 P = 26.6 และ 116.6 ตอบ
ข) หนวยแรงหลัก
 x  y  x  y
2
 
max , min =        xy2
 2   2 
= 20  30 2  40 2
max = 70 MPa (หนวยแรงดึง) ตอบ
min = 30 MPa (หนวยแรงกด)
หนวยแรงหลักและระนาบหนวยแรงหลักแสดงในรูป (1) ตรวจสอบคําตอบไดโดยแทนคา
 = 26.6 ลงในสมการที่ (7.7)
ค) หนวยแรงเฉือนสูงสุด
 x  y
2

max =     xy2  30 2  40 2
 2 
= 50 MPa ตอบ

ตําแหนงของระนาบหนวยแรงเฉือนสูงสุดนั้นจะทํามุม
45 กับระนาบหนวยแรงหลัก ซึ่งพบวา  S = -18.4
ทํากับแกน x สําหรับทิศทางของ max นั้นพิจารณาจาก
สมดุลของแรงบนชิ้นสวน ABC
และ  =  ave
 x  y 50  10
= =
2 2
= 20 Mpa ตอบ

7.13 แรงเดี่ยวในแนวระดับ P ขนาด 900 N


กระทําตอปลายคาน ABD ที่จุด D ในคานชวง
AB มีเสนผานศูนยกลาง 36 mm จงหา
ก) หนวยแรงตั้งฉากและหนวยแรงเฉือน
บนชิ้นสวนที่จุด H ระนาบของหนวยแรงขนานกับ
แกน x และ y
ข) ระนาบหนวยแรงหลักและหนวยแรง
หลักที่จุด H
หลักการวิเคราะห
ถายายแรง P มาไวที่จุดศูนยกลางบนหนาตัดเดียวกันกับจุด H จะเกิดผลลัพธของระบบแรง
เปนแรง P1 แรงในทิศ –Z โมเมนต Mx และ My
การคํานวณ
ยายแรง P มาไวที่จุด B เกิดโมเมนต My = 900
(0.540) = 486 N  m จากนั้นยายแรง P มาไวที่จุด
ศูนยกลาง C ซึ่งอยูบนหนาตัดเดียวกันกับจุด H เกิด
โมเมนต Mx = 900 (0.300) = 270 N  m
ก) สภาวะหนวยแรงที่จุด H
พิจารณาระนาบของหนวยแรงบนพิกัด x,y
ดังรูปทอรก My ทําใหเกิด xy สวน Mx ทําใหเกิด
y และ x = 0 สําหรับทิศของ xy บนระนาบ
ที่ตั้งฉากกับแกน y พิจารณาจากทิศทางของทอรก
My
 M xC 
 y  I 
 
y = (270)(0.018)
= 58.9 MPa

4
0.018 4 

(หนวยแรงดึง)
 Tr 
 xy  J 
 
xy = (486)(0.018)
= 53.1 MPa

2
0.018 4
สภาวะหนวยแรงที่จุด H  x = 0, y = 58.9 MPa และ xy = 53.1 MPa ตอบ

ข) ระนาบหนวยแรงหลักและหนวยแรงหลักที่จุด H
 2 xy 
 tan 2 p  
  x   y 

tan 2 p = 2(53.1)
  1.80
0  58.9
2 p = -61.0 และ 180 - 61 = 119
p = -30.5 , +59.5 ตอบ
x  y  x  y
2

max, min =      xy2
2  2 
0  58.9  0  58.9 
2

=     (53.1 )
2

2  2 
max = +90.2 MPa
ตอบ
 min = -31.27 MPa
ที่ระนาบดาน ab ของชิ้นสวนที่จุด H เสนตั้งฉากกับระนาบดังกลาวทํามุม p = -30.5
กับแนวแกน x และไดหนวยแรงหลักกับระนาบหนวยแรงหลัก

7.14 ที่จุดหนึ่งในวัตถุภายใตหนวยแรง พบวาสภาวะ


หนวยแรงหลักคือ x = 80 MPa และ
y = -40 MPa จงหา  และ  บนระนาบซึ่ง
เสนตั้งฉากของระนาบทํามุม +30
และ +120 กับแกน x และใหแสดงผลลัพธบน
ชิ้นสวน

หลักการวิเคราะห
อาศัยกฎในการสรางวงกลมของโมรในหัวขอ 7.5

การคํานวณ
สรางวงกลมของโมรตั้งแกน  -  กําหนดจุด A ลงบนแกน  ที่พิกัด (,) =
(+80,0) และจุด B ลงบนแกน  ที่ (,) = (-40,0) AB เปนเสนผานศูนยกลางและใช C เปนจุด
ศูนยกลางเขียนวงกลมของโมร (รัศมี = CA = 80 – 20 = 60 MPa) รัศมี CA เปนแกน x และรัศมี
CB เปนแกน y
กําหนดตําแหนงของระนาบซึ่งมีเสนตั้งแกของระนาบทํามุม +30 กับแกน x จากวงกลม
ของโมรที่ได สรางมุม DCA = 2(30) = 60 ทํากับ CA ในทิศทวนเข็มนาฬิกา ลากเสนผาน
ศูนยกลางใหมตัดกับเสนรอบวงที่จุด D และ E พิกัด (,) ที่จุด D แสดงองคประกอบของ
หนวยแรงบนระนาบผิวของชิ้นสวน ซึ่งเสนตั้งฉากของระนาบทํามุม +30 กับแกน x (แกนหลัก)
 = OF = OC+CF
= 20+60 cos 60 = 50 MPa
 = DF = 60 sin 60 = 52.0 MPa
พิกัดที่จุด E แสดงองคประกอบของหนวยแรงบนระนาบผิวของชิ้นสวน ซึ่งเสนตั้งฉาก
ของระนาบทํามุม 120 กับแกน x
 = OG = OC-CG
= 20-60 cos 60 = -10 MPa
 = GE = -60 sin 60 = -52.0 MPa
เขียนชิ้นสวนรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก ซึ่งเสนตั้งฉากของระนาบผิวดานหนึ่งทํามุม +30 (ทิศ
ทวนเข็มนาฬิกา) บนระนาบนี้แสดงสภาวะของหนวยแรงที่จุด D (ในวงกลมของโมร) และบน
ระนาบผิวที่ตั้งฉากอีกดานหนึ่ง (ทํามุม +120 กับแกน x) แสดงสภาวะของหนวยแรงที่จุด E
ขอควรจํา
กรณีวิเคราะหดวยวงกลมของโมรนั้น  มีเครื่องหมายบวกเมื่อโมเมนตของแรงเฉือนมีทิศ
ตามเข็มนาฬิกา

7.15 กําหนดหนวยแรงตั้งฉากและหนวยแรงเฉือน
กระทําตอระนาบทั้งสี่ของชิ้นสวนดังรูป จงใชสมการการ
แปลงหนวยแรงหา
ก) หนวยแรงตั้งฉากและหนวยแรงเฉือนบนระนาบ
AB
ข) หนวยแรงตั้งฉากและหนวยแรงเฉือนบนระนาบ
CD ซึ่งตั้งฉากกับระนาบ AB

หลักการวิเคราะห
ใชสมการ (7.7) คํานวณหาหนวยแรงตั้งฉาก  และสมการ (7.9) คํานวณหาหนวย
แรงเฉือน  มุมระหวางระนาบวัดทวนเข็มนาฬิกานั้นมีคาเปนบวก
การคํานวณ
ก) , บนระนาบ AB

x = +80 MPa, y = -100 MPa


xy = -60 MPa
 = +42 (วัดทวนเข็มนาฬิกา)
  x  y  x  y 
 '   cos 2   xy sin 2 
 2 2 
80  100  80  100 
 =   cos 84  + (-60) sin 84
2  2 
= 60.3 MPa (หนวยแรงกด) ตอบ
  x  y 
 '  sin 2   xy cos 2 
 2 
80  100
 =  sin 84  - 60 cos 84
2
= -95.8 MPa ตอบ
ข) , บนระนาบ CDซึ่งในที่นี้

 = -48 (วัดตามเข็มนาฬิกา)
80  100  80  100 
 =   cos (96 )
2  2 
+ (-60) sin (-96)
= 40.3 MPa (หนวยแรงดึง)
ตอบ
80  100
 =  sin (-96)-60 cos (-96)
2
= 95.8 MPa ตอบ
เนื่องจากระนาบทั้งสอง (AB และ CD ) ตั้งฉากกัน ดังนั้นหนวยแรงเฉือนจึงมีขนาด
เทากันแตทิศทางตรงกันขาม

7.16 กลองตันรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากยาว 50 mm
กวาง 30 mm และหนา 10 mm รับแรงดึง
จงหาองคประกอบของหนวยแรงระนาบตาม
เสนทแยงมุม mm โดยอาศัยวิธีวงกลมของ
โมร
ก) หนวยแรงตั้งฉากและหนวยแรงเฉือนบน
ระนาบ AB
ข) หนวยแรงตั้งฉากและหนวยแรงเฉือนบนระนาบ CD ซึ่งตั้งฉากกับระนาบ AB

หลักการวิเคราะห
มุม  เปนมุมซึ่งเสนตั้งแกของระนาบทแยงมุม mm ทํากับแกน x ของสภาวะหนวยแรง
เดิม เขียนวงกลมของโมรแลวกําหนดสภาวะของหนวยแรงบนวงกลมของโมรที่มุม 2
การคํานวณ
x = 45
= 150 MPa (หนวยแรงดึง)
(0.030)(0.010)
y = 30
= 60 MPa (หนวยแรงดึง)
(0.050)(0.010)
 = tan-1  30   30.96 
 50 
 = -(90-30.96)
= -59.04 (ตามเข็มนาฬิกา)
2 = -118.1

เขียนวงกลมของโมร กําหนดจุด A(150, 0) และ B(60,0) ลงบนแกน  AB เปนเสน


ผานศูนยกลาง และใช C เปนจุดศูนยกลางเขียนวงกลมของโมร (รัศมี = CA = 45 MPa) รัศมี CA
เปนแกน x และรัศมี CB เปนแกน y

กําหนดตําแหนงของระนาบเอียงดังกลาว ในวงกลมของโมรที่ไดสรางมุม DCˆ A  118.1 


ทํากับแกน x ในทิศตามเข็มนาฬิกา ลากเสนผานศูนยกลางใหมตัดกับเสนรอบวงที่จุด D และ E
พิกัด (,) ที่จุด D แสดงองคประกอบของหนวยแรงบนระนาบตามเสนทแยงมุม mm
ที่จุด D  = OF = OB+BC-CF
= 60+45-45 cos 61.9
= 83.8 MPa
 = DF = -45 sin 61.9
= -39.7 MPa

องคประกอบของหนวยแรงบนระนาบซึ่งตั้งฉาก
กับระนาบทแยงมุม mm คือ
 = 83.8 MPa ,
 = -39.7 ตอบ
ขอสังเกต
ที่จุด E แสดงสภาวะของหนวยแรงบนระนาบซึ่งตั้งฉากกับระนาบทแยงมุม mm
 = OC+CG
= 105+45 cos 61.9
= 126.2 MPa
 = EG = +45 sin 61.9
= 39.7 MPa
และเขียนเปนชิ้นสวนดังนี้

7.17 กําหนดสภาวะของหนวยแรงดังรูป จงหาหนวย


แรงตั้งฉากและหนวยแรงเฉือนบนระนาบเอียง mm

หลักการวิเคราะห
ใชการวิเคราะหทํานองเดียวกันกับปญหาขอ 7.16
การคํานวณ
พบว า แนวเส น ตั้ ง ฉาก (แกน a) กั บ
ระนาบ mm นั้นจะทํามุม 25 ในทิศตามเข็ม
นาฬิกากับแกน x ดังนั้นในวงกลมของโมร
แกน a ทํามุมกับแกน x เปนมุม 50 ทิศตาม
เข็มนาฬิกา
เขีย นวงกลมของโมร กํา หนดจุด A(-
40, -60) และจุด B(80,60) AB เปนเสนผาน
ศู น ย ก ลางตั ด กั บ แกน  ที่ จุ ด C ใช เ ป น จุ ด
ศูนยกลางเขียนวงกลมของโมรดวยรัศมีเทากับ CB = 60 2 MPa
ในวงกลมของโมรที่ได สรางมุม ACˆ D = 50 ทํามุมกับ CA ในทิศตามเข็มนาฬิกา
ลากเสนผานศูนยกลางใหมตัดกับเสนรอบวงที่จุด D และ E พิกัด (  , ) ที่จุด D แสดง
องคประกอบของหนวยแรงบนระนาบเอียง mm คือ
 = OF = FC-OC
= -(60 2 cos 5 -20)
= -64.5 MPa
 = DF = 60 2 sin 5
= 7.4 MPa
องคประกอบของหนวยแรงบนระนาบทแยงมุม mm คือ
 = -64.5 MPa ,  = 7.4 MPa ตอบ

7.18 สภาวะของหนวยแรงระนาบ ทราบแต


หนวยแรงดึง o = 80 MPa จงหา
ก) หนวยแรงเฉือน o โดยกําหนด
หนวยแรงตั้งฉากสูงสุดเทากับ 100MPa
ข) หนวยแรงเฉือนสูงสุด

หลักการวิเคราะห
เขียนวงกลมของโมรและอาศัยสมการ ave = 1  x   y  และ max = ave+R และใช
2
หลักเรขาคณิตชวยวิเคราะหบนวงกลมของโมรนั้น
การคํานวณ

สรางวงกลมของโมร โดยจุด x พิกัด (80, o


) และจุด Y มีพิกัด (0, o ) ลากเสนตรง XY ตัดแกน
 ที่ C ใช C เปนจุดศูนยกลางเขียนวงกลมของโมร
วงกลมของโมรตัดแกน  ที่จุด A และ Bที่จุด C
ave = 1
( z   y )
2
1
= (80  0)
2
= 40 MPa
เนื่องจากที่จุด A ใหหนวยแรงตั้งฉากสูงสุด
max = 100 MPa ดังนั้น
max = ave + R
100 = 40+ R
R = 60 MPa
ก) หนวยแรงเฉือน o
CF
Cos CFˆX = cos 2p =
R
40
=
60
2p = 48.2 (ตามเข็มนาฬิกา)
p = 24.1 (ตามเข็มนาฬิกา)
o = R sin 2p
= 60 sin 48.2
= 44.7 MPa ตอบ
ข) หนวยแรงเฉือนสูงสุด
ที่จุด D ในวงกลมของโมรพบวา
max = R = 60 MPa ตอบ
2s = 90 - 2p = 90 -48.2
= 41.8 (ทวนเข็มนาฬิกา)
s = 20.9 (ทวนเข็มนาฬิกา)
ตําแหนงของชิ้นสวนภายใตหนวยแรงหลักและหนวยแรงเฉือนสูงสุด
ขอสังเกต
ถาโจทยเปลี่ยนแปลงทิศทางของ o ในทิศตรงกันขาม ตําแหนงของชิ้นสวน

7.19 ภายใตสภาวะของหนวยแรงที่กระทําตอจุด
จุดหนึ่ง จงหาหนวยแรงหลักและหนวยแรง
เฉือนสูงสุด จงแสดงสภาวะของหนวยแรง
บนระนาบผังของชิ้นสวน

หลักการวิเคราะห
เขียนวงกลมของโมรจากสภาวะของหนวยแรงจุด x (40, -50) และจุด Y (-80,50) ไดเสน
ผานศูนยกลาง XY หมุนเสน XY ไปยังตําแหนงแนวระดับขนานกับแกน  จะไดหนวยแรงหลัก
และหมุนตอไปอีก 90 จะไดหนวยแรงเฉือนสูงสุด
การคํานวณ

สรางวงกลมของโมร โดยจุด x มีพิกัด


(40,-50) และจุด Y มีพิกัด (-80, 50 ) ลากเสน
ตรง XY ตัดแกน  ที่จุด C ใช C เปนจุด
ศูนยก ลางเขีย นวงกลมของโมร วงกลมของ
โมรตัดแกน  ที่จุด A และ B ไดหนวยแรง
หลัก โดยที่
R = 50 2  60 2 = 78.1 MPa
80  40
FC = CG = = 60 MPa
2
 OC= 60-40 = 20 MPa
OA = 78.1-20 = 58.1 MPa
50
tan 2p =
60
2p = +39.81 (ทวนเข็มนาฬิกา)
 p = +19.9
 min = OA
= 58.1 MPa (หนวยแรงดึง) ตอบ
max = OB = OC+CB
= -(20+78.1)
= 98.1 MPa (หนวยแรงกด) ตอบ
หนวยแรงเฉือนสูงสุด ในวงกลมของโมรใหหมุน
เสนผานศูนยกลาง XY เปนมุม (90 + 2p ) จากแกน X
ตําแหนงที่ไดคือจุด D และ E ซึ่งจะแสดงสภาวะของหนวย
แรงเฉือนสูงสุด
max = 78.1 MPa,
 = -20 MPa ตอบ
2S = 90+ 2p
= (90+ 39.81) = 129.81
S = +64.9 (ทวนเข็มนาฬิกา)

7.20 ถังรูปทรงกระบอกปดมิดชิดซึ่งประกอบเปนรูปดวยแผนโลหะหนา 10 mm มีความดัน


ภายในเทากับ 1400 kPa จงหาเสนผานศูนยกลางสูงสุด ถาหนวยแรงเฉือนสูงสุดกําหนด
เทากับ 30 MPa
หลักการวิเคราะห
บนผิวถึงใชหนวยแรงตามแนวแกน y = pD/4t และหนวยแรงตามแนวเสนรอบวงx =
pD/2t
การคํานวณ
y = pD
= 1400D
= 35 D MPa
4t 4(0.010)
x = pD
= 1400D
= 70 D MPa
2t 2(0.010)
เขียนวงกลมของโฟร โดยกําหนดจุด A(70D,O) และ B(35D,0) เสนตรง AB เปนเสน
ผานศูนยกลาง ใช C เปนจุดศูนยกลางเขียนวงกลมของโมร หมุนเสนตรง AB มายังตําแหนง
แนวดิ่งทิศทวนเข็มนาฬิกาเปนมุม 2 = 90 ไดจุด D และ E เปนตําแหนงแสดงสภาวะของ
หนวยแรงเฉือนสูงสุด
max = 17.5D
17.50 = 30
D = 1.714 m ตอบ

7.21 สภาวะของหนวยแรงจุดจุดหนึ่งเปนผลจากการกระทํา 2 อยาง อยางแรกคือแรงเฉือน 35


MPa และอยางที่สองคือแรงเฉือน 30 MPa จงหาหนวยแรงผลลัพธโดยหมุนสภาวะของ
หนวยแรง และหาหนวยแรงหลักและระนาบหนวยแรงหลัก

หลักการวิเคราะห
เขียนวงกลมของโมรภายใตสภาวะของหนวยแรงในรูป (ข) หาองคประกอบหนวยแรงบน
ระนาบที่ตั้งฉากกับแกน x และ y นําไปซอนทับ และนําผลลัพธที่ไดไปเขียนวงกลมของโมรเพื่อ
หาคหนวยแรงหลักตอไป
การคํานวณ

เขียนวงกลมของโมรภายใตสภาวะของหนวย
แรง โดยกําหนด จุด N พิกัด (0,30) และ
จุด M พิกัด (0,-30) ไดเสนตรง MN เปน
เส น ผ า นศู น ย ก ลางเขี ย นวงกลมของโมร
เนื่องจากตําแหนงเสนตรง MN นี้วัดในทิศ
ทวนเข็มนาฬิกาจากแกน x เปนมุม 2n =
120 พบวาจุด x แสดงองคประกอบของ
หนวยแรงบนระนาบที่ตั้งฉากกับแกน x คือ
CX = 30 MPa
 = CF = 30 cos 30
= 25.98 MPa
(หนวยแรงดึง)
 = -DF = -30 sin 30
= -15 MPa (ทวนเข็มนาฬิกา)

นํารูป (ก) ซอนทับกับรูป (ค) จะไดสภาวะหนวยแรงลัพธ ดังแสดงในรูป (ง)


เขียนวงกลมของโมรภายใตสภาวะของหนวยแรง โดยกําหนดแกน x และ y ลงบนวงกลม
ของโมร จากนั้นวัดในทิศตามเข็มนาฬิกาเปนมุม 2p จากแกน x จะไดตําแหนงระนาบหนวยแรง
หลัก
max = CX = 20 2  25.98 2
= 32.8 MPa
max = 32.8 MPa
ตอบ
min = -32.8 MPa
 20 
2p = -tan-1   = -37.6
 25.98 
p = -18.8 (วัดตามเข็มนาฬิกา)
ตอบ

7.22 สภาวะของหนวยแรงที่จุดจุดหนึ่งเปนผลจากการกระทํา 3 อยาง ดังรูป จงหาหนวยแรง


หลักและระนาบหนวยแรงหลักซึ่งเปนผลมาจากการซอนทับสภาวะของหนวยแรงทั้งสาม

หลักการวิเคราะห
ใชหลักการซอนทับ โดยแปลงสภาวะของหนวยแรง เปนสภาวะของหนวยแรงเปนสภาวะ
ของหนวยแรงบนระนาบที่ตั้งแกนกับแกน x แลวดําเนินขั้นตอนทํานองเดียวกับปญหาขอ 7.21
การคํานวณ
สภาวะหนวยแรงรูป (ข)
เขียนวงกลมของโมรภายใตสภาวะของหนวยแรง โดยกําหนด จุด A พิกัด (-40,0) และ
จุด B พิกัด (0,0) เสนตรง AB เปนเสนผานศูนยกลาง ใช C เปนจุดศูนยกลางเขียนวงกลมของ
โมร เนื่องจากตําแหนงเสนตรง AB นี้วัดในทิศตามเข็มนาฬิกาจากแกน x เปนมุม 2n = 120
ดังนั้นจุด x แสดงองคประกอบของหนวยแรงบนระนาบที่ตั้งฉากกับแกน x
 = CB-CF
= -(20-20 cos 60) = -10 MPa
 = DF = -20 sin
60
= -17.32 MPa
ที่จุด Y
 = AB-GA
= -(40-10) = -30 MPa
 = 17.32 MPa
สภาวะของหนวยแรงรูป (ค)
เขียนวงกลมของโมรภายใตสภาวะของหนวยแรง โดยกําหนดจุด D พิกัด (20,0) และจุด E
พิกัด (0,0) เสนตรง DE เปนเส นผา นศูนยกลาง ใช C เปนจุดศูนยก ลางเขียนวงกลมของโมร
เนื่องจากตําแหนง DE นี้วัดในทิศทวนเข็มนาฬิกาจากแกน x เปนมุม 2n = 120 ดังนั้นจุด X
แสดงองคประกอบของหนวยแรงบนระนาบที่ตั้งฉากกับแกน x
 = EF = EC-CF
= (10-10 cos 60) = 5 MPa
 = XF = -10 sin 60
= -8.66 MPa
ที่จุด Y
 = DE-DG
= (20-5) = 15 MPa
 = +8.66 MPa

นํารูป (ก) รูป (ง) และรูป (จ) มาซอนทับจะไดสภาวะหนวยแรงลัพธในรูป (ฉ)


เขียนวงกลมของโมรภายใตสภาวะของหนวยแรง โดยกําหนดแกน x และ y ลงบนวงกลม
ของโมร จากนั้นวัดในทิศทวนเข็มนาฬิกาเปนมุม 2p จากแกน x จะไดตําแหนงของระนาบหลัก
CP = 20 2  25.98 2
= 32.8 MPa
max = CL+OC
= 32.8 +5 = 37.8 MPa
min = OM = CM - OC
= -(32.8-5) = -27.8 MPa
max = -37.8 MPa
ตอบ
min = -27.8 MPa
 25.98 
2p = -tan-1   = 52.41
 20 
p = 26.2 (ทวนเข็มนาฬิกา) ตอบ

7.23 (ภาระในแนวแกนและภาระดัด) จง
คํานวณหาหนวยแรงหลักและหนวยแรง
เฉือนสูงสุดที่จุด A ที่หนาตัด x = 250 mm
หนาตัดของคานเปนสี่เหลี่ยมมุมฉากกวาง 20
mm จุดA อยูเหนือเสนศูนยกลางของคาน
20 mm กําหนดแรงกระทํา 50 kN ที่จุดเซน
ทรอยดของหนาตัด

หลักการวิเคราะห
บนหนาตัด A-B หนวยแรงตั้งแกนเปนหนวยแรงผสมระหวางหนวยแรงในแนวแกนและ
หนวยแรงดัด และหนวยแรงเฉือนคือ  = VQ/Ib
การคํานวณ

FBD สวนตัดดานขวาของหนาตัด A-B


ภาระดัด
M   M R , 
M = -(30)(0.250) = -7.5 kN  m
โมเมนตดัดในคานเปนลบ แสดงวาคานถูกดัดโคงคว่ําลง ดังนั้นที่จุด A รับหนวยแรงดึง
และที่จุด B รับหนวยแรงกด
 My 
 f  I 
 
จุด A f = (7.5)(0.020)
= 52.083 MPa (หนวยแรงดึง)
1
(0.020)(0.120 3 )
12
ภาระในแนวแกน
 P
 a  A 
 
a = (40)
= 16.67 MPa (หนวยแรงดึง)
(0.020)(0.120)
หนวยแรงตั้งฉาก
   a  f 
 = +16.67+52.083 = 68.753 MPa (ความเคนดึง)
หนวยแรงเฉือน
บนหนาตัดรับแรงเฉือน V = +30 kN
Q  Ay 
Q = (40)(20)(40) = 32 x 103 mm 3
= 32 x 10-6 m3
 VQ 
  Ib 
 
(30)(32  10 6 )
 = = 16.67 MPa
1
(0.020)(0.120 3 )(0.020)
12
ในรูป (1) แสดงสภาวะหนวยแรงที่จุด A นํามาเขียนจะไดวงกลมของโมร ที่จุด X และ Y
แสดงสภาวะหนวยแรงของจุด A บนระนาบที่ตั้งฉากกับแกน x และ y ตามลําดับ

จากวงกลมของโมรที่ไดจุด D และ E แสดงสภาวะหนวยแรงหลัก จุด G และ H แสดง


สภาวะหนวยแรงเฉือนสูงสุด
68.75
CO = CF = = 34.38 MPa
2
R = XF 2  CF 2 = 16.67 2  34.38 2
= 38.21 MPa
 16.67 
2p = -tan-1   = -25.8
 34.38 
จุด D max = OC+CD
= 34.38 + 38.21 = 72.59 MPa (หนวยแรงดึง) ตอบ
จุด E min = -OE = (CE – OC)
= -(38.21 – 34.38) = 3.83 MPa (หนวยแรงกด) ตอบ
p = 12.9 (ตามเข็มนาฬิกา) ตอบ
จุด G  = 34.38 MPa (หนวยแรงดึง)
 = 38.21 MPa
ตอบ
จุด H  = 34.38 MPa (หนวยแรงดึง)
 = -38.21 MPa
2s = 90 – 25.8 = 64.2
s = 32.1 (ทวนเข็มนาฬิกา) ตอบ
7.24 (ภาระในแนวแกนและภาระบิด) เพลากลมตันที่ใชในกังหันไฮดรอลิกขนาดเล็กมีขนาด
เสนผานศูนยกลาง 100 mm รับแรงกดในแนวแกน 140 kN จงหากําลังสูงสุดที่ไดภายใต
การทํางานที่ 4 รอบตอวินาที โดยไมเกินหนวยแรงเฉือนสูงสุด 70 MPa sหรือหนวยแรงตั้ง
แกนสูงสุด 90 MPa

หลักการวิเคราะห
นําสภาวะของหนวยแรงผสมมาเขียนวงกลมของโมร หาทอรกจากหนวยแรงหลักและ
หนวยแรงเฉือนสูงสุดที่กําหนดให แลวเลือกทอรกต่ําสุดเปนคําตอบ
การคํานวณ
 P
  A 
 
140
 = = 56 MPa (หนวยแรงกด)
 (0.05 2 )
 16T 
  d 3 
 
 = 16T
= 16T
MPa
 (0.100 3 ) 
เขียนวงกลมของโมรภายใตสภาวะของคหนวยแรงในโจทย บนระนาบที่ตั้งฉากกับแกน x
แทนดวยจุด x และบนระนาบที่ตั้งฉากกับแกน y แทนดวยจุด y
ถาพิจารณาจาก  max = 70 MPa (R = 70 MPa)
R2 = XF2 + FC2
2
2  16T 
70 =   + 282
  
T = 12.6 kN  m
ถาพิจารณาจาก  max = 90 MPa (หนวยแรงกด) (DO = -90 MPa)
R = DO-CO = 90-28 = 62 MPa
R2 = XF2 + FC2
2
2  16T 
62 =   + 282
  
T = 10.86 kN  m
ดังนั้นกําลังสูงสุดคือ

[P = 2fT]
T = 12.6 kN  m  P = 2(4)(12.6) = 317 kW
T = 10.86 kN  m  P = 2(4)(10.86) = 277 kW
เลือกกําลังต่ําสุด P = 273 kW ตอบ
7.25 (ภาระดั ด และภาระบิ ด ) แบรกเกตขนาดเส น ผ า น
ศูนยกลางเทากับ 50 mm ถูกยึดเขากับผนังอยางแนนหนา
รับแรงในแนวระดับ 4000 N และรงในแนวดิ่ง 3600 N
จงหาหน วยแรงหลัก และหน วยแรงเฉือนสูง สุดที่จุด A
บนผิวดานบนเพลา

หลักการวิเคราะห
บนหนาตัดของสวนตัดทางขวามือ ที่จุด A มีหนวยแรงตั้งฉากเนื่องจากโมเมนตดัดหนวย
แรงเฉือนเนื่องจากแรงเฉือนในแนวระดับ (V) และทอรกของแรงในแนวดิ่ง (T)
การคํานวณ
หนวยแรงดัดตั้งฉากกระทําบนหนาตัดที่จดุ A
MZ = 3600 (0.090)
= 324 N  m
f = MZc
= M zc
I r 4 / 4
324(0.025)
=
Z 0.025 4 ) / 4
= 26.4 MPa (หนวยแรงดึง)

หนวยแรงเฉือนในแนวระดับกระทําบนหนาตัดที่จุด A
เนื่องจากแรงเฉือนในแนวระดับ 4000 N
 VQ 
  Ib 
 
   0.025 
(4000) (0.025 2 )(4) 
V = 2  3 

(0.025 4 )(0.050)
4
V = 2.72 MPa
เนื่องจากทอรกของแรงในแนวดิ่ง
 16T 
 T  d 3 
 
16(3600)(0.150)
T =
 (0.05 3 )
= 22 MPa
บนหนาตัดของจุด A
 = V+  T = 2.72+22
= 24.72 MPa
สภาวะของหนวยแรงที่จุด A
เขียนวงกลมของโมรภายใตสภาวะของหนวยแรงบนระนาบที่ตั้งฉากกับแกน x แทนดวย
จุด x และระนาบที่ตั้งฉากกับแกน y แทนดวยจุด Y หนวยแรงหลักคือจุด D และ E

CD = CX = CZ = CE = 24.7 2  13.2 2
= 28 MPa
 24.7 
2p = -tan-1   = -61.88
 13.2 
p = -30.94 (ตามเข็มนาฬิกา)
max = OC+CD = 28 cos 61.88 + 28
= 41.2 MPa (หนวยแรงดึง)
min = -OE = (CE – OC)
= -(28 – 28 cos 61.88)
= 14.8 MPa (หนวยแรงกด)
max = 41.2 MPa
min = -14.8 MPa ตอบ
p = -30.94

7.26 (ภาระในแนวแกน ภาระดัด และภาระบิด) เพลากลมตันมีขนาดเสนผานศูนยกลาง 100


mm รับภาระกระทํา 3 ยางพรอมๆกัน คือ รับแรงดึงในแนวแกน 50 kN โมเมนตดัด
สูงสุด 2 kN  m และทอรก 3 kN  m จงคํานวณหาหนวยแรงดึงสูงสุด หนวยแรง
กดสูงสุด และหนวยแรงเฉือนสูงสุดที่เกิดขึ้นในคาน

หลักการวิเคราะห
บนหนาตัดของเพลาที่จุดบนผิวเพลาพบวามีหนวยแรงตั้งฉากเนื่องจากแรงในแนวแกนและ
โมเมนตดัด และมีหนวยแรงเฉือนเนื่องจากทอรกกระทํา พิจารณาเปรียบเทียบหนวยแรงระหวาง
จุดบนผิวเพลาดานบนและดานลางของหนาตัดนั้น
การคํานวณ
2 (0.05)
หนวยแรงดัด f = Mc
=
I  (0.05 4 ) / 4
= 64 MPa
หนวยแรงดึง a = P

P
A r 2
50
=  20 MPa
 (0.05 2 )
หนวยแรงเฉือน  = 16T
d 3
16(3 )
=  48MPa (หนวยแรงดึง)
 (0.100 3 )
เขียนวงกลมของโมรภายใตสภาวะของหนวยแรงบนระนาบที่ตั้งฉากกับแกน x แทนดวน
จุด X และบนระนาบที่ตั้งฉากกับแกน y แทนดวยจุด Y หนวยแรงดึงสูงสุดคือจุด D หนวยแรง
กดต่ําสุดคือจุด E และหนวยแรงเฉือนสูงสุดคือจุด G
CE = CG = CD = CX
= 48 2  42 2 = 63.8 MPa
 48 
2p = -tan-1   = -48.8 (ตามเข็มนาฬิกา)
 42 
max = OC+CD
= 63.8 cos 48.8 + 63.8
= 106 MPa (หนวยแรงดึง)
min = CE – OC
= -(63.8-63.8 cos 48.8)
= 21.8 MPa (หนวยแรงกด)
max = CG = 63.8 MPa
สภาวะหนวยแรงที่ผิวลางจุด B
เขียนวงกลมของโมรใตสภาวะของหนวยแรงบนระนาบที่ตั้งฉากกับแกน x แทนดวยจุด X
และระนาบที่ตั้งฉากกับแกน y แทนดวยจุด Y หนวยแรงดึงสูงสุดคือจุด D หนวยแรงกดต่ําสุดคือ
จุด E และหนวยแรงเฉือนสูงสุดคือจุด G
CE = CG = CD = CX
= 48 2  22 2 = 52.8 MPa
 48 
2p = -tan-1   = -65.4 (ตามเข็มนาฬิกา)
 22 
min = OD = CD – CO
= 52.8 – 52.8 cos 65.4
= 30.8 MPa (หนวยแรงดึง)
max = EO = CE+CO
= -(52.8+52.88 cos 65.4 )
= 74.8 MPa (หนวยแรงกด)
max = CG = 52.8 MPa
เปรียบเทียบคําตอบที่จุด A และ B พบวา
หนวยแรงดึงสูงสุด 106 MPa
หนวยแรงกดสูงสุด 74.8 MPa ตอบ
หนวยแรงแอนสูงสุด 63.8 MPa

7.27 (ภาระภาระดัด และภาระบิด) เพลากลมตันมีขนาดเสนผานศูนยกลาง 100 mm หมุนใช


งานที่ 30 รอบตอวินาที และรับภาระดัดเปนผลทําใหเกิดโมเมนตดัดสูงสุด 2500  N  m
จงหาทอรก ซึ่งเป นภาระกระทํา ตอเพลาพรอมกัน โดยไมทําให หนวยแรงที่ไ ดนั้นเกิน
หนวยแรงเฉือนลัพธ  = 80 MPa หรือหนวยแรงตั้งฉากลัพธ  = 100 MPa และจง
หากําลังสูงสุดที่เพลาสามารถสงออก
หลักการวิเคราะห
บนหนาตัดของเพลารับหนวยแรงตั้งฉากเนื่องจากโมเมนตดัด และหนวยแรงเฉือน
เนื่องจากการบิดของเพลา นํามาเขียนวงกลมของโมรโดยกําหนดหนวยแรงเฉือนลัพธและหนวย
แรงตั้งฉากลัพธตามโจทย
การคํานวณ
พิจารณาภาระดัดและภาระบิดบนผิวเพลา
 Mc 4M 
 f  I  r 3 
 
4(2500 )
f = = 80 MPa
 (0.050 3 )
 Tr 
  J 
 
 = 2T
= 2T
r 3  (0.050 3 )
= 5093T kPa (เมื่อใช T เปนหนวย kN)
= 5.039 T MPa
เขียนวงกลมของโมรภายใตสภาวะหนวยแรงบนระนาบที่ตั้งฉากกับแกน x และ y แทน
ดวยจุด X และ Y ตามลําดับ
ถาใช  max = 80 MPa ดังนั้นในวงกลมของโมร R = 80 MPa พบวา
 max = OC + CD = 40 + 80 = 120 MPa
คําตอบนี้ใชไมไดเนื่องจาก  max > 100 MPa

ถาใช  max = 100 MPa ดังนั้นในวงกลมของดมร R = OD – OC = 100 – 40 = 60


MPa ( max = 60 MPa ซึ่งไมเกินคาหนวยแรงใชงาน) CX = 60 MPa และ CF = 40 MPa
ดังนั้น
XF = 5.093T = 62 2  40 2 = 44.7 MPa
T = 8.78 kN  m ตอบ

[P = 2fT]
P = 2(30)(8.78) = 1.65 MW ตอบ
7.28 (ภาระภาระดัด และภาระบิด) เพลากลมตันรับภาระบิดและภาระดัดพรอมๆกันเนื่องจาก
ทอรก T และโมเมนตดัดสูงสุด M จงพิสูจนหาสมการของหนวยแรงเฉือนลัพธสูงสุด 
และหนวยแรงตั้งฉากสูงสุด  ในนิพจนของ T,M และรัศมีของเพลา r และใชสมการที่
ไดคํานวณหาขนาดเสนผานศูนยกลางของเพลา ที่สามารถรับภาระกระทําพรอมกันดังนี้ T
= 1200 N  m และ M = 900 N  m โดยกําหนดให   100 MPa และ 
 70 MPa
หลักการวิเคราะห
 4M 
เขียนวงกลมของโมรภายใตภาระดัด  f  3  และภาระบิด  
2T 
 ดังกลาว
 r   r 3 
แลวหาความสัมพันธกับหนวยแรงตั้งฉากสูงสุดและหนวยแรงเฉือนสูงสุด

การคํานวณ

สําหรับเพลาที่มีหนาตัดเปนรูปวงกลม
f = 4M
(ภาระดัด) ,  = 2T
(ภาระบิด)
r 3 r 3
วงกลมของโมร พิจารณาหนวยแรงเฉือนสูงสุด
2 2 2
1   2 M   2T 
max = R =   f  
2
  3   3 
 2   r   r 
2
= M 2 T2
r 3
กําหนดให Te คือทอรกสมมูล (equivalent torque) และ Te = M 2 T 2 ดังนั้น
2Te
max =
r 3
วงกลมของโมร พิจารณาหนวยแรงตั้งฉากสูงสุด
2 M 2Te
max = 1
f R  
2 r 3 r 3
2
= ( M  Te )
r 3
1
กําหนดให Me คือโมเมนตสมมูล (equivalent moment) และ Me = ( M  Te ) ดังนั้น
2
max = 4m E
r 3
ถา T = 1200 N  m และ M = 900 N  m โดยที่   100 MPa และ   70 MPa
Te = M 2 T 2  900 2  1200 2
= 1500 N  m
1 1
Me = ( M  Te )  (900  1500)
2 2
= 1200 N  m
 2Te 
 max r 3 
 
2(1500)
70 x 106 =
r 3
r = 23.9 x 10-3 m = 23.9 mm
 4M e 
 max  r 3 
 
4(1200)
100 x 106 =
r 3
r = 24.8 x 10-3 m = 24.8 mm
เลือกรัศมีขนาดใหญที่สุดเปนคําตอบ คือ r = 24.8 mm
d = 2 x 24.8 = 49.6 mm ตอบ
7.29 จงหาขนาดเส น ผ า นศู น ย ก ลางของเพลากลมตั น รั บ ภาระกระทํ า ถ า กํ า หนด max
 70 MPa และ max  120 MPa สายพานดึงมูเล B และ C ในแนวดิ่งสําหรับมูเล E ใน
แนวระดับ ในที่นี้ไมคิดมวลของมูเลและเพลา

หลักการวิเคราะห
เขียนแผนภาพโมเมนตดัดบนระนาบในแนวดิ่ง (MV) และแนวระดับ (MH) แยกตางหาก
โดยที่โมเมนต คือ M = M H2  M V2 พรอมทั้งเขียนแผนภาพทอรก (T) เพื่อพิจารณาหนาตัด
อันตรายหา Me และ Te จากจุดบนหนาตัดอันตราย แลวพิจารณารัศมีของเพลาจากสมการ
  2Te / r 3 และ  = 4Me/r
3

การคํานวณ

เขียนแผนภาพโมเมนตดัดบนระนาบในแนวดิ่งและแนวระดับแยกตางหาก โดยที่หนาตัด
ใด ๆ ของเพลานั้นมีโมเมนตลัพธ คือ M = M H2  M V2 ดังนั้น
MB = 1250 2  3625 2
= 3834 N  m
MC = 3750 2  2875 2
= 4725 N  m
MD = 5000 2  0
= 5000 N  m
เขียนแผนภาพทอรกจากแรงกระทําที่มูเล โดย
ที่ B TB = 3000(0.50) = 1500 N  m
ที่ C TC = 1500(0.50) = 750 N  m
ที่ E TE = 1500(0.50) = 750 N  m

ทอรกสมมูลและโมเมนตสมมูล
พบวาหนาตัดที่ C และ D เปนหนาตัดอันตราย (dangerous sections)
ที่ C Te = M 2 T 2
= 4725 2  1500 2 = 4957 N  m
1
Me = ( M  Te )
2
1
= (4725  4957) = 4841 N  m
2
ที่ D Te = M 2 T 2
= 5000 2  750 2 = 5056 N  m
1
Me = ( M  Te )
2
1
= (5000  5056) = 5028 N  m
2
Te,max = 5056 N  m
Me,max = 5028 N  m
 2Te 
  r 3 
 
2(5056)
70 x 106 =
r 3
r = 35.8 x 10-3 m = 35.8 mm
 4M e 
  r 3 
 
4(5028)
120 x 106=
r 3
r = 37.7 x 10-3 m = 37.7 mm
ขนาดเสนผานศูนยกลางของเพลาที่ตองการคือ d = 2 x 37.7 = 75.4 mm และขนาด
มาตรฐานของเพลา d = 80 mm ตอบ
7.30 จงหาขนาดเส น ผ า นศู น ย ก ลางของเพลากลมตั น ที่ รั บ ภาระกระทํ า ถ า กํ า หนด max
 60 MPa และ max  80 MPa สายพานดึงมูเล A และ C ในแนวระดับและมูเล E ใน
แนวดิ่ง

หลักการวิเคราะห
ใชหารวิเคราะหในทํานองเดียวกับปญหาขอ 7.29

การคํานวณ

เขียนแผนภาพโมเมนตดัดบนระนาบ
ในแนวระดับและแนวดิ่งแยกตางหาก โดยที่
หนาตัดใด ๆ ของเพลานั้นมีโมเมนตลัพธ คือ
M = M H2  M V2 ดังนั้น
MB = 2180 2  0 2
= 2180 N  m
MC = 890.4 2  1200 2
= 1494 N  m
MD = 0 2  2400 2
= 2400 N  m
เขียนแผนภาพทอรกจากแรงกระทําที่มูเล
ที่ A TA = 4550(0.40) = 1820 N  m
ที่ C TC = 3050(0.40) = 1220 N  m
ที่ E TE = 2000(0.30) = 600 N  m
ทอรกสมมูลและโมเมนตสมมูล
จากแผนภาพโมเมนตดัดและทอรกจะตรวจสอบ 2 จุด คือ จุด B และ D
ที่ B Te = M 2 T 2
= 2180 2  1820 2 = 2540 N  m
1
Me = ( M  Te )
2
1
= (2180  2840) = 2510 N  m
2
ที่ D Te = M 2 T 2
= 2400 2  600 2 = 2474 N  m
1
Me = ( M  Te )
2
1
= (2400  2474) = 2437 N  m
2
Te,max = 2840 N  m
Me,max = 2510 N  m
 2Te 
  r 3 
 
2(2840)
60 x 106 =
r 3
r = 31.1 x 10-3 m = 31.1 mm
 4M e 
  r 3 
 
4(2510)
80 x 106=
r 3
r = 34.2 x 10-3 m = 34.2 mm
ขนาดเสนผานศูนยกลางของเพลาที่ตองการคือ d = 2 x 34.2 = 68.4 mm ตอบ

You might also like