You are on page 1of 20

คิเนติกส์ของอนุภาค: กฎข้อทีส่ องของนิวตัน

KINETICS OF PARTICLES: NEWTON’S SECOND LAW

วัตถุประสงค์

เพื่อให้เข้าใจถึง สมการการเคลื่อนในระบบพิกัดต่างๆ
ตลอดจน โมเมนตัมเชิงเส้น และโมเมนตัมเชิงมุม

เพือ่ ให้เข้าใจถึงการโคจรของวัตถุภายใต้แรงดึงดูด
ของโลก

1
โดย รศ.ดร.สุรเชษฐ์ ชุติมา
คิเนติกส์ของอนุภาค: กฎข้อทีส่ องของนิวตัน
KINETICS OF PARTICLES: NEWTON’S SECOND LAW
เมือ่ ให้ m เป็ นมวล  F เป็ นผลรวม หรือแรงลัพธ์ของแรงต่างๆ ทีก่ ระทา และ a เป็ น
ความเร่งของอนุภาคสัมพัทธ์กบั กรอบอ้างอิงของนิวตัน (ถือว่าจุดกาเนิดอยูน่ ิ่ง)
จะสามารถเขียนสมการความสัมพันธ์ได้วา่
S F = ma
ถ้าให้ L เป็ น โมเมนตัมเชิงเส้น โดยที่ L = mv จะสามารถเขียนกฎข้อทีส่ องของนิวตัน
ได้เป็ น .
S F=L
ซึง่ แสดงว่าผลรวมของแรงต่าง ๆ ทีก่ ระทาต่ออนุภาคจะเท่ากับอัตราการเปลี่ยนแปลง
โมเมนตัมเชิงเส้นของอนุภาค
2
โดย รศ.ดร.สุรเชษฐ์ ชุติมา
ay ในการแก้ปั ญ หาที่ เ กี่ ย วเนื่ อ งกับ การเคลื่ อ นที่ ข องอนุภ าคควรแก้
y
P สมการ S F = ma โดยการเขียนเป็ นสมการสเกลลาก่อน
az
ax เขียนส่วนประกอบของ F และ a ในระบบพิกดั ฉาก จะได้

S Fx = max S Fy = may S Fz = maz


z x
ในระบบพิกดั สัมผัสและตัง้ ฉาก (tangential and normal) จะได้
y an dv
at
S Ft = mat = m
dt
v2
P
S Fn = man = m
O x r
ในระบบพิกดั โพล่า (polar) จะได้
aq .. .2
S F = ma = m(r - rq )
.. . .
ar r r
r q P
S Fq = maq = m(rq + 2rq)
O x โดย รศ.ดร.สุรเชษฐ์ ชุติมา
3
Problem

1. กล่อง A มวล 30 กก. และกล่อง B มวล 15


กก. สัมประสิทธิความเสียดทานระหว่าง
A ผิวสัมผัสคือ s = 0.15 และ  k = 0.10
P B
q
หาก q = 30o และแรง P ทีก่ ระทากับกล่อง
A มีขนาด 250 น.
จงหา
(ก) ความเร่งของกล่อง A และ
(ข) แรงตึงในเส้นเชือก

4
โดย รศ.ดร.สุรเชษฐ์ ชุติมา
กล่อง A มวล 30 กก. และกล่อง B มวล 15 กก. สัมประสิทธิความเสียดทานระหว่าง
ผิวสัมผัสคือ s = 0.15 และ k = 0.10 หาก q = 30o และแรง P ทีก่ ระทากับกล่อง
A มีขนาด 250 น. จงหา (ก) ความเร่งของกล่อง A และ (ข) แรงตึงในเส้นเชือก
แนวทางการพิจารณา
1. Kinematics: หาความเร่งของกล่อง A
A 2. Kinetics: เขียน FBD แสดงแรงต่าง ๆ ทีก่ ระทา รวมทัง้
P B แรงเนื่องจาก ma หรือส่วนประกอบของแรงในระบบพิกดั ทีใ่ ช้
q 3. เนือ่ งจากเป็นปั ญหาทีม่ แี รงเสียดทานเข้ามาเกีย่ วข้องด้วย:
ต้องสมมติการเคลื่อนทีซ่ ง่ึ อาจเป็ นไปได้ก่อน จากนัน้ จึงตรวจว่าสมมติฐานถูกต้องหรือไม่
แรงเสียดทานบนผิวสัมผัสทีเ่ คลื่อนทีจ่ ะเป็ น F = k N ส่วนแรงเสียดทานบนผิวสัมผัสที่
กาลังจะเคลื่อนทีค่ อื F = s N
4. ประยุกต์กฏข้อทีส่ องของนิวตัน: ความสัมพันธ์ระหว่าง แรง มวล และความเร่งของ
อนุภาค คือ F = ma ซึง่ สามารถเขียนสมการเวกเตอร์น้ีได้ในรูปส่วนประกอบพิกดั
ฉาก หรือ พิกดั ตัง้ ฉากสัมผัส โดยใช้คา่ ความเร่งสัมบูรณ์
5
โดย รศ.ดร.สุรเชษฐ์ ชุติมา
Solution
Kinematics.
สมมติกล่อง A กาลังเลือ่ นลง
A หากกล่อง A กาลังเลือ่ นลง กล่อง B
P B
q จะเคลือ่ นทีข่ น้ึ ตามพืน้ เอียงด้วย
ความเร่งเท่ากัน

aA = aB A
aA B
q
aB
6
โดย รศ.ดร.สุรเชษฐ์ ชุติมา
Kinetics: เขียน FBD.

A WA= 294.3 น mA a = 30 a
P B T
q Block A : 250 น =
WA = mA g N
Fk = k N
WA = (30 กก)(9.81 ม/วิ2)
WA = 294.3 น WB= 147.15 น
N mB a = 15 a
WB = mB g Block B : T
WB = (15 kg)(9.81 ม/วิ2) Fk = k N =
WB = 147.15 น N’
F’k = k N’
7
โดย รศ.ดร.สุรเชษฐ์ ชุติมา
ประยุกต์กฏข้อทีส่ องของนิวตัน

WA= 294.3 น
T mA a = 30 a
30o
Block A :
250 น
=
N
Fk = k N

+ SFy = 0: N - (294.3) cos 30o = 0 N = 254.87 น

Fk = k N = 0.10 (254.9) = 25.49 น

+ SFx = ma: 250 + (294.3) sin 30o - 25.49 - T = 30 a


371.66 - T = 30 a (1) 8
โดย รศ.ดร.สุรเชษฐ์ ชุติมา
N WB= 147.15 น
o mB a = 15 a
Block B : 30 T
Fk = k N =
N’
F’k = k N’
+ SFy = 0: N’ - N - (147.15) cos 30o = 0 N’ = 382.31 น

F’k = k N’ = 0.10 (382.31) = 38.23 น

+ SFx = ma: T - Fk - F’k - (147.15) sin 30o = 15 a

T - 137.29 = 15 a (2)
แก้สมการที่ (1) และ (2) จะได้:

T = 215 น a = 5.21 ม/วิ2


9
โดย รศ.ดร.สุรเชษฐ์ ชุติมา
ตรวจสอบสมมติฐาน
ตรวจ: ควรมีการตรวจว่าสมมติฐานว่าถูก
A
P B หรือไม่ โดยการหาค่า P ซึง่ ทาให้กาลังจะ
q เกิดการเคลื่อนที่
การหาค่า P ซึง่ ทาให้กาลังจะเกิดการเคลื่อนที่
ขณะกาลังจะเกิดการเคลื่อนทีก่ ล่องทัง้ สองจะอยูใ่ นสภาวะสมดุล
Block A Block B
WA= 294.3 น N WB = 147.15 น
o T
30 30o T
Fm = s N
P
N N’
Fm = s N F’m = s N’
10
โดย รศ.ดร.สุรเชษฐ์ ชุติมา
WA= 294.3 น N WB= 147.15 น
T
30o 30o T
A B
Fm = s N
P
N N’
Fm = s N F’m = s N’

จาก + SFy = 0 จะได้วา่


N = 254.87 น และ N’ = 382.31 น
ดังนัน้ Fm = s N = 0.15 (254.87) = 38.23 น
F’m = s N’ = 0.15 (382.31) = 57.35 น

11
โดย รศ.ดร.สุรเชษฐ์ ชุติมา
WA= 294.3 น N WB= 147.15 น
T
30o 30o T
A B
Fm = s N
P
N N’
Fm = s N F’m = s N’
สาหรับกล่อง A:

+ SFx = 0: P + (294.3) sin 30o - 38.23 - T = 0 (3)


สาหรับกล่อง B:

+ SFx = 0: T - 38.23 - 57.35 - (147.15) sin 30o = 0 (4)


แก้สมการ(3) และ (4) จะได้ P = 60.2 น
เนื่องจากค่าที่กาหนดของ P (250 น) มากกว่าค่าที่คานวณได้ขณะกาลังจะเกิด
การเคลื่อนที่ (60.2 น) ดังนัน้ จึงเกิดการเคลื่อนที่ตามที่สมมติไว้
12
โดย รศ.ดร.สุรเชษฐ์ ชุติมา
Problem

ขณะอยูน่ ิ่ง กล่อง B หนัก 12 ปอนด์วางอยูบ่ นลิม่ A


12 lb
B หนัก 30 ปอนด์ ดังรูป เมือ่ ปล่อยให้เกิดการเคลื่อนที่
จงหา (ก) ความเร่งของ ลิม่ A และ (ข) ความเร่งของ
30 lb A
กล่อง B สัมพัทธ์กบั A โดยไม่คดิ แรงเสียดทาน
30o

13
โดย รศ.ดร.สุรเชษฐ์ ชุติมา
ขณะอยูน่ ิ่ง กล่อง B หนัก 12 ปอนด์วางอยูบ่ นลิม่ A หนัก 30 ปอนด์ ดัง
รูป เมือ่ ปล่อยให้เกิดการเคลื่อนที่ จงหา (ก) ความเร่งของ ลิม่ A และ
(ข) ความเร่งของกล่อง B สัมพัทธ์กบั A โดยไม่คดิ แรงเสียดทาน
แนวทางการพิจารณา
12 lb 1. Kinematics: หาความเร่งของอนุภาคทัง้ สอง
B
2. Kinetics: เขียน FBD แสดงแรงต่าง ๆ ทีก่ ระทา รวมทัง้
30 lb A แรงเนื่องจาก ma หรือส่วนประกอบของแรงในระบบพิกดั ทีใ่ ช้
30o 3. ประยุกต์กฏข้อทีส่ องของนิวตัน: ความสัมพันธ์ระหว่าง
แรง มวล และความเร่งของอนุภาค คือ F = ma ซึง่
สามารถเขียนสมการเวกเตอร์น้ีได้ในรูปส่วนประกอบพิกดั ฉาก
หรือ พิกดั ตัง้ ฉากสัมผัส โดยใช้คา่ ความเร่งสัมบูรณ์

14
โดย รศ.ดร.สุรเชษฐ์ ชุติมา
Solution
Kinematics.
การเคลื่อนทีข่ องลิม่ ถูกบังคับให้เลื่อนลงตามพืน้ เอียง ความเร่ง aA จะอยูต่ ามแนว
ของพืน้ เอียง ส่วนความเร่งของกล่อง B จะเขียนได้ในเทอมความเร่งของ A และ
ความเร่งของ B สัมพัทธ์กบั A
aB/A
aB = aA + aB/A B
12 lb
B aA

30 lb A A
30o
30o
aA
15
โดย รศ.ดร.สุรเชษฐ์ ชุติมา
Kinetics: เขียน FBD.
mB aB/A = 12 aB /A
Block B : 12 lb 32.2
B = B
12 lb
B N1 mB aA = 12 aA
32.2
30 lb A N1
30o
Block A : A A
=
N2
30 lb mA aA = 30 aA
32.2
16
โดย รศ.ดร.สุรเชษฐ์ ชุติมา
ประยุกต์กฏข้อทีส่ องของนิวตัน

Block A + SFx = ma: (N1 + 30) sin 30o = 30 aA (1)


: 32.2
N1 mB aB/A = 12 aB /A
12 lb 32.2
A A
= B = B
N2 N1 mB aA = 12 aA
30 lb mA aA = 30 aA 32.2
32.2
Block B : + SFy = may : 12 - N1 = 12 aA sin 30o (2)
32.2
+ SFx = max: 0 = 12 aB /A - 12 aA cos 30o (3)
32.2 32.2
แก้สมการที่ (1), (2), และ (3) จะได้:

aA = 20.5 ft/s2 30o aB /A = 17.75 ft/s2


ข้อสังเกตุ อันที่จริงแล้วกล่อง B จะเกิดการเคลื่อนที่ลงในแนวดิ่ง aB = aA sin 30o เท่านัน้
17
โดย รศ.ดร.สุรเชษฐ์ ชุติมา
w
Problem
A
x O
x
A

60 มม. 60 มม.

จานกลม แบน หมุนรอบแกนแนวดิ่งที่ผา่ นจุด O ด้วยความเร็วเชิงมุม w


ก่อนจานหมุน กล่องเล็ก ๆ มวล 0.75 กก. จะอยูท่ ่ีตาแหน่ง x = 20 มม. โดยไม่เกิด
แรงในสปริงซึง่ ยึดติดอยู่ หากสปริงมีคา่ ความแข็งเกร็ง (k) 450 นิวตัน/เมตร จงหา
ระยะ x ของสปริงเมื่อจานหมุนด้วยความเร็วคงที่ 300 รอบ/นาที และแรงปฏิกริยา
ตัง้ ฉาก N ที่รอ่ งกระทากับกล่อง ไม่คดิ แรงเสียดทานใด ๆ และมวลของสปริง
18
โดย รศ.ดร.สุรเชษฐ์ ชุติมา
แนวทางการพิจารณา
1. Kinematics: หาความเร่งของอนุภาค
w
2. Kinetics: เขียน FBD แสดงแรงต่าง ๆ ทีก่ ระทา
A รวมทัง้ แรงเนื่องจาก ma หรือส่วนประกอบของแรงใน
x O
x
ระบบพิกดั ทีใ่ ช้
A 3. ประยุกต์กฏข้อทีส่ องของนิวตัน: ความสัมพันธ์
ระหว่าง แรง มวล และความเร่งของอนุภาค คือ
60 มม. 60 มม.
F = ma ซึง่ สามารถเขียนสมการเวกเตอร์น้ีได้ใน
รูปส่วนประกอบพิกดั ฉาก หรือ พิกดั ตัง้ ฉากสัมผัส โดย
ใช้คา่ ความเร่งสัมบูรณ์

19
โดย รศ.ดร.สุรเชษฐ์ ชุติมา
w

FBD ของกล่อง
A
O
ay
x ry
x N ax
A n =
A
x t T q
60 มม.
60 มม. 60 มม.
x
จานหมุนด้วยความเร็วคงที่ 300 รอบ/นาที = 300x2p/60 = 10p เรเดียน/วินาที
ดังนัน้ ความเร่ง at = 0 และ an= rw2
พิจารณาการเคลื่อนที่ ในระบบพิกดั ฉาก
SFx = max : T = m rw2 cos q SFy = may : N = m rw2 sin q
k (0.02-x) = 0.75r(10p)2cos q N = 0.75r(10p)2sin q
450(0.02-x) = 0.75r(10p)2x/r (cos q = x/r) N = 0.75r(10p)2(.06/r) (sin q = .06/r)
x = 0.0076 ม. กล่องเคลื่อนที่ตามที่สมมติ N = 44.4 นิวตัน ตอบ
20
โดย รศ.ดร.สุรเชษฐ์ ชุติมา

You might also like