You are on page 1of 12

รูฟสิกสเขาใจธรรมชาติ : ทบทวนปลายภาค 1 ม.

4 1

PART : แรง มวลและกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน

แรง คือ อำนาจอยางหนึ่งที่ทำใหวัตถุเปลี่ยนสภาพการเคลื่อนที่


ความเฉื่อย คือ สมบัติของวัตถุที่ตา นการเปลี่ยนสภาพการเคลื่อนที่
มวล (m) คือ ปริมาณที่บอกใหทราบวาวัตถุใดมีความเฉื่อยมากหรือนอย(มวลคงที่เสมอไมเปลี่ยนแปลง)
น้ำหนัก (W) หมายถึง แรงดึงดูดที่โลกกระทำตอวัตถุ สมการคือ W = mg

กฎการเคลื่อนที่ขอ 1 ของนิวตัน (กฎความเฉื่อย) “ วัตถุจะคงสภาพอยูนิ่ง หรือสภาพเคลื่อนที่ดว ยความเร็วคงตัวในแนวตรง เมื่อแรงลัพธที่มากระทำตอ


วัตถุเปนศูนย ”
ΣF = 0
กฎการเคลื่อนที่ขอ 2 ของนิวตัน (กฎแปรผัน) “ เมื่อมีแรงลัพธที่มีขนาดไมเปนศูนยมากระทำตอวัตถุ จะทำใหวัตถุมีความเรงในทิศเดียวกับแรงลัพธที่มา
กระทำ และขนาดของความเรงจะแปรผันตรงกับขนาดของแรงลัพธและแปรผกผันกับมวลของวัตถุ ”
ΣF = m a
กฎการเคลื่อนที่ขอ 3 ของนิวตัน “ ทุกแรงกิริยาตองมีแรงปฏิกิริยาที่มีขนาดเทากันและมีทิศตรงขามเสมอ โดยแรงคูก ิริยา ปฏิกิริยากระทำตอวัตถุคนละ
กอน ”
1) แรงสองแรงนี้ตองกระทำตอวัตถุคนละกอน 2) แรงสองแรงนี้ไมสามารถหักลางกันได
3) แรงทั้งสองไมจำเปนตองสัมผัสกัน 4) แรงทั้งสองไมสามารถหักลางกันได

แรงเสียดทาน (f) หมายถึง แรงที่พยายามตานการเคลื่อนที่ของวัตถุ


f = μN
แบงไดเปน 2 ชนิด
แรงเสียดทานสถิต (fs) - มีไดหลายคาตั้งแตคา ศูนยจนถึงคามากที่สุด (คามากที่สุดจะเรียกแรงเสียดทานสถิตสูงสุด)
- เกิดกับวัตถุที่ยังไมมีการเคลื่อนที่
แรงเสียดทานจลน (fk) - มีเพียงคาเดียว (ตางจากแรงเสียดทานสถิตที่มีไดหลายคา)
- เกิดกับวัตถุที่มีการเคลื่อนที่

แรงที่พื้นดันวัตถุ (N) คือ แรงที่พื้นกระทำตอวัตถุ โดยจะมีทิศตั้งฉากกับพื้น เชน

N = mg N = m g − Ps i n θ N = mgcosθ
(นักเรียนมักเขาใจผิดคิดวา N = m g ในความเปนจริงแลวคือไมเสมอไป)

แรงตึงในเสนเชือก คือ แรงที่ถูกสงไปตามแนวของเสนเชือก


1) แรงตึงในเสนเชือกจะมีทิศพุงออกจากจุดหรือระบบที่เราสนใจ
2) เชือกเบา คือ เชือกที่ไมมีน้ำหนัก
3) เชือกเสนเดียวกัน แรงดึงเชือกจะเทากันทุกจุดบนเสนเชือก
รอก เปนอุปกรณที่เปลี่ยนทิศทางการเคลื่อนที่ไมมีผลตอปริมาณตางๆ

วิเคราะหแนวขอสอบ
1. ชายคนหนึ่งหนัก W ยืนอยูบนเครื่องชั่งอยูบนลิฟตบนชั้นสูงสุดของตึก ถาบังเอิญลวดที่ดึงลิฟตไวขาด เครื่องชั่งจะอานน้ำหนักของชายคนนี้ไดเทาใด
1. เทากับ W
&F = ma
Neo ·w
2. นอยกวา W
da = g
3. มากกวา W W- N =
mg
4. ศูนย
vn N =0 *

บรรยายโดย : นายวีรภัทร โปณะทอง สาขาวิชาฟสิกส กลุม สาระการเรียนรูวิทยาศาสตร โรงเรียนภูเก็ตวิทยาลัย


รูฟสิกสเขาใจธรรมชาติ : ทบทวนปลายภาค 1 ม.4 2
2. วัตถุมวล 2 กิโลกรัม ถูกแรง 10 นิวตัน กระทำในทิศทางเดียวกับการเคลื่อนที่ของวัตถุ ซึ่งขณะนั้นมีความเร็ว 10 เมตร/วินาที อีก 4 วินาที ตอมาวัตถุจะ
เคลื่อนที่ไปไดระยะทางเทาใด
S: ut +
<F = Ma
1. 50 m N

&At
2. 60 m >F 10 = 2.
3. 70 m
4. 80 m

2 = 3 my//s =102477 (5) (ห


mg
S: 80 m *

3. วัตถุมวล m ถูกกระทําใหเคลื่อนที่จากจุดหยุดนิ่ง จนมีความเร็ว v ในเวลา t แรง ที่กระทําตอวัตถุนี้มีขนาดเทาใด


1. m v t
·
My W) = We
2. m v /t SF = Ma = #
3. m t /v
4. v t /m

4. แรงขนาดหนึ่งเมื่อกระทําตอวัตถุมวล m1 ทําใหวัตถุนั้น มีความเรง 4 เมตร/วินาที2 เมื่อแรงขนาดเดียวกันนี้กระทําตอวัตถุมวล m 2 ทําใหวัตถุมีความเรง 6


เมตร/วินาที2 จงหาอัตราสวนระหวาง มวล m1 : m 2
1. 1 : 3
จาก EF = ma
2. 3 : 1
3. 2 : 3
M, d, : M2d2
4. 3 : 2

หุ่ :@: 5:

5. จากรูป หลังจากปลอยใหมวลทั้งสองเริ่มเคลื่อนที่แลว มวล 2 กิโลกรัม จะเปนอยางไรเมื่อเวลาผานไป 2 วินาที

จาก SF = Ma

a ↓
It
↓m,
i-
g #

30-+#- 20 : 5a

a= 2 my>
(1) มีความเรง 2 เมตรต อ(วินาที)2ป
(2) มีความเร็ว 2 เมตรตอวินาที
flat:
%

(3) เคลื่อนที่ขึ้นไดระยะทาง 4 เมตร / จาก : 232) = 4 m//s


คําตอบที่ถูกตองคือขอใด
1. ขอ (1) , (3) จาก S: that": (27(2) : 4 M

2. ขอ (1) , (2)


3. ขอ (2) , (3)
4. ขอ (1) , (2) , (3)

บรรยายโดย : นายวีรภัทร โปณะทอง สาขาวิชาฟสิกส กลุม สาระการเรียนรูวิทยาศาสตร โรงเรียนภูเก็ตวิทยาลัย


รูฟสิกสเขาใจธรรมชาติ : ทบทวนปลายภาค 1 ม.4 3
6. จากรูป วัตถุมวล 3 กิโลกรัม จะเคลื่อนที่ลงดวยความเรงเทาใด
ErN 1. 4 m/s2
2. 5 m/s2
จาก SF: ma
- I CCS34
mg 3. 6 m/s2 Angsin37: Ma
%

mgsinsi ท
4. 7 m/s2
:
108):·

7. จากรูปแรง F = 120 นิวตัน ดึงมวล 5 กิโลกรัม ดังรูป จงหาความเรงของมวลทุกกอน , T1 และ T2 ตามลำดับ

1. 2 m/s2 , 40 N , 80 N
2. 4 m/s2 , 60 N , 100 N
3. 2 m/s2 , 60 N , 100 N
4. 4 m/s2 , 40 N , 80 N
น*าห
ท ; EF: ma 15kg ; IF = ma
15kg, 10kg; &F = ma

120:30 T, = 15 (4) +2 : 25 (4

A: 3 my/s T, = 50 /
T2 = 100 N

8. จากรูปแรง P มีขนาดกี่นิวตัน จึงจะทำใหแรงที่มวล 2 กิโลกรัม กระทำตอมวล 3 กิโลกรัม ขนาด 5 นิวตัน


↳แรงท่บาล3kg กระทําต่ อ วาล

1. 20 นิวตัน 2kg SF: Ma Fura; SF: ma


2. 22 นิวตัน
R- ↑: ma
f: Ma
3. 25 นิวตัน P-
4. 27 นิวตัน 5- M ( 20) = 212)

ll I
P-
#(100 = 1072)

20
↑: 25 N *

9. ลิฟตมวล 200 kg เคลื่อนที่ขึ้นดวยความเรง 2 m/s2 ถาลวดที่แขวนลิฟตนี้ทนแรงดึงไดสูงสุด 7,000 N ลิฟตจะบรรทุกคนไดมากที่สุดกี่คน กำหนดให คน 1


คน มีมวลเฉลี่ย 50 kg และ g = 10 m/s2
1. 5 <F = Ma
T
2. 6
Ma
3. 7 +-mg:
4. 8
... ↑ G. 7000- 10m: 2v

mg m= 583.33 ↳g
ตคน : 383.33 kg = 7 คน

บรรยายโดย : นายวีรภัทร โปณะทอง สาขาวิชาฟสิกส กลุม สาระการเรียนรูวิทยาศาสตร โรงเรียนภูเก็ตวิทยาลัย


รูฟสิกสเขาใจธรรมชาติ : ทบทวนปลายภาค 1 ม.4 4
10. มวลขนาดเทากัน 3 กอน ผูกกัน ดังรูป ระบบไมมีแรงเสียดทาน มวลทั้งสามเคลื่อนทีด่ วยความเรงเทาไรและเชือกทั้งสองมีแรงดึงเชือกเทาไร
!N-> < ↑M -
+
g
1. a = , T1 =
2Mg
, T2 =
Mg
3 3 3 CF = Ma
g Mg 2Mg
2. a = , T1 = , T2 =
3 3 3
↓ ↓

Mg Mg
↑ 2g
3. a = , T1 =
3
2Mg
3
, T2 =
Mg
3
Th = 2 M2 = <
M ) : Eng
2g Mg 2Mg
4. a = , T1 = , T2 =
↓ 3 3 3
จาก SF = ma
Mg T2 = Ma =
M/ ) = IMG
Mg- #1 +#- Fit /2 : 3 Ma

a=
·

11. มวล m วางบนพื้นเอียงที่ทำมุม 30° กับพื้นราบ ถูกโยงกับมวล 10 กิโลกรัม ดวยเชือกไรน้ำหนักซึ่งพาดอยูบนรอก ดังรูป ถามวล m กำลังเคลื่อนที่ขึ้น
ดวยความเรง 2.0 เมตร/วินาที2 และสัมประสิทธิ์ความเสียดทานจลนระหวางมวล m กับพื้นเอียง คือ 0.5 มวล m จะใกลเคียงกับขอใด
T
1. 7 kg
N SF = M
>nt 2. 9 kg
3. 10 kg 100 #+#- mglingo = ( 10+ หา (2
masinid %= ส 4. 11 kg

-0930 100- 5m = 20 + 2m
mg
~Mg
m = 11.43 kg

12. วางกลองใบหนึ่งบนรถกระบะ สัมประสิทธิ์ความเสียดทานสถิตระหวางกลองกับพื้นกระบะเทากับ 0.5 ถาตองการเรงความเร็วของรถกระบะจากหยุดนิ่ง


เปน 20 เมตร/วินาที โดยใชเวลาใหนอยที่สุดและกลองไมไถลไปบนพื้นกระบะ จะตองใชเวลาเทาใด (g = 10 m/s2)
1. 2 วินาที
2. 4.1 วินาที
3. 9.8 วินาที
4. 40 วินาที
IF: ma v = /+at

== ma 20:4.9t

Ma +: 4.08
ling:
+
S

0.5(9.8) =

a = 4.9 my s

บรรยายโดย : นายวีรภัทร โปณะทอง สาขาวิชาฟสิกส กลุม สาระการเรียนรูวิทยาศาสตร โรงเรียนภูเก็ตวิทยาลัย


รูฟสิกสเขาใจธรรมชาติ : ทบทวนปลายภาค 1 ม.4 5
กฎแรงดึงดูดระหวางมวลของนิวตัน
- “วัตถุทั้งหลายในเอกภพ จะออกแรงดึงดูดซึ่งกันและกันโดยที่
1) ขนาดของแรงดึงดูดระหวางวัตถุคูหนึ่งๆจะแปรผันตรงกับผลคูณระหวางมวลวัตถุทั้งสอง
2) ขนาดของแรงดึงดูดระหวางวัตถุคูหนึ่งๆจะแปรผกผันกับกำลังสองของระยะทางระหวางวัตถุทั้งสอง”
- กำหนด M และ m เปนมวลของวัตถุทั้งสอง
r เปนระยะหางของวัตถุทั้งสอง
F เปนขนาดของแรงดึงดูดระหวางมวล
G เปนคาโนมถวงสากล มีคา 6.673 × 10−11 Nm2/kg2

GMm
จะไดวา F=
r2

หมายเหตุ 1) กฎแรงดึงดูดระหวางมวล ใชไดกับวัตถุทุกคูในเอกภพ


2) แรงดึงดูดระหวางมวล “เปนแรงกระทำรวม” นั้นคือ แรงที่วัตถุสองกอนดึงดูดกันจะมีคาเทากันและมีทิศตรงขามกัน ไมวาวัตถุทั้ง
สองจะมีมวลเทากันหรือไมเทากันก็ตาม
GMm
- จากกฎแรงดึงดูดระหวางมวล F=
r2
GMm
mg =
R2
GM
g=
R2

วิเคราะหแนวขอสอบ
13. ถาระยะหางระหวางมวล 2 กอนเพิ่มเปน 2 เทา แรงดึงดูดระหวางมวลทั้งสองจะเปนกี่เทาของเดิม
1. 2
F: GMM - FC B
จาก
2. 4
3. 1/2
4. 1/4
จะะได้
!

14. อัตราเรงเนื่องจากความโนมถวงของโลกตรงตำแหนงทีห่ างจากผิวโลกเปน 2 เทาของรัศมีโลก จะมีคา เปนกี่เทาของอัตราเรงโนมถวงที่ผิวโลก


1. 1
g:
-> 90 ว
จาก
2. 1/2
3. 1/4
4. 1/9
:ได้ : "
จะ

15. นักบินอวกาศจะมีน้ำหนักกี่เทาของน้ำหนักที่ชั่งบนโลก ถาอยูบนดาวเคราะห ที่รัศมีครึ่งหนึ่งของโลกและมีมวลเปน 1/8 ของมวลโลก


1. 0.25
2. 0.50 MIR IM, IR จาก F = GMM -> FC fc
3. 0.75 R

พ?: #1:
4. 1.25
จะได้ ·

บรรยายโดย : นายวีรภัทร โปณะทอง สาขาวิชาฟสิกส กลุม สาระการเรียนรูวิทยาศาสตร โรงเรียนภูเก็ตวิทยาลัย


รูฟสิกสเขาใจธรรมชาติ : ทบทวนปลายภาค 1 ม.4 6
โอลิมปกวิชาการ
1. เด็กชั่งน้ำหนัก W ยืนบนตาชั่งซึ่งวางอยูบนพื้นลิฟต ซึ่งอยูนิ่ง ตอมา เมื่อลิฟตกำลังเคลื่อนที่ขึ้นดวยความเรง a ตาชั่งจะอานน้ำหนักเปนเทาไร ตอบในรูป
ของสัญลักษณ a , g , W
CF = Ma
นิ่ ง ;W=

m= W

" ta
N- W=
=

In N- W =
&
W/
N=
1+ ) *
2. ตาชั่งสปริงอันหนึ่งแขวนไวกับเพดานลิฟตตัวหนึ่ง ปลายลางของตาชั่งมีวัตถุมวล 10 kg แขวนอยู ตาชั่งอานคาได 125 นิวตัน
11.1. จงหาความเรง (ทิศและขนาด) ของลิฟต
11.2. ถาที่แขวนตาชั่งหลุดจากเพดาน ตาชั่งอานคาเทาใด
กำหนดวาขนาดสนามโนมถวงของโลกที่บริเวณนั้นมีคาเทากับ 9.8 N/kg

SF = Ma CF = ma

T- Ma
#T= 125
N
mg = mg- +: Ma

125- 98:102 98 - +== 10(9.81


↓mg
a = 2.7 /s T = 0 N *

3. วัตถุหนึ่งวางอยูบนตาชั่งสปริงในลิฟต ขณะที่ลิฟตอยูนิ่ง ตาชั่งสปริงอานน้ำหนักได W0 เวลาตอมาลิฟตมีการเคลื่อนที่ลงดวยความเรงขนาด (W1 /W0 )g


จงหาวาขณะนั้นตาชั่งอานคาไดเทาใด (กำหนดสนามโนมถวงที่บริเวณนั้นมีขนาด g และมีทิศลง)
W − W1 W + W1
1. W0 − W1 2. W0 + W1 3. 0 4. 0
g g

IF: MA นิ =
wo= mg

N
Wo- N = ma = Wo
=

#wo No: 1)
↓ wo-

N= No- W

4. โฟมทรงกลมมวล m เมื่อปลอยใหตกในหองโถงใหญซึ่งมีอากาศนิ่ง จะมีอัตราเร็วปลายเปน V ถาใชเชือกเบาๆ ดึงโฟมลูกนี้ขึ้นในแนวดิ่งดวยอัตราเร็วคงตัว


V เดียวกัน แรงตึงในเชือกจะมีขนาดเทาไร (ใหตอบในรูปของ m และ g ของโลก)

ช่ วงแร กว ตร จะะตกลา มาดด้วยคความ


>

จน ม มี ความเร
ราค าตตวั 3 ความเร็ วป
T= =+ mg
f· +ต
#

↓ :mg + mg
F

mg m8 + : emg *
↑=
mg

บรรยายโดย : นายวีรภัทร โปณะทอง สาขาวิชาฟสิกส กลุม สาระการเรียนรูวิทยาศาสตร โรงเรียนภูเก็ตวิทยาลัย


รูฟสิกสเขาใจธรรมชาติ : ทบทวนปลายภาค 1 ม.4 7
5. หญิงสาวมวล m = 50.0 kg ลากกลองมวล M = 80.0 kg ดวยเชือกเบาไปตามพื้นราบ โดยที่แนวเชือกขนานกับพื้น จงหาขนาดความเรงมากที่สุดที่เปนไป
ไดของกลอง กำหนดใหสัมประสิทธิ์เสียดทานจลนระหวางกลองกับพื้นมีคาเทากับ 0.20 และสัมประสิทธิ์ความเสียดทานสถิตระหวางคนกับพื้นมีคาเทากับ
0.40
ล หญิ งสา
/
&F = · กล่ อ SF = m

มี -: Galmg T- -sarg
fa = Ma

ญี
·
=
=0.4 /500
200- 0.2/800): 800

T = 200 N
a=
0.5 m/ 5

6. สมมติวาโลกเปนทรงกลมรัศมี R ถา g เปนความเรงเนื่องจากแรงโนมถวงที่ผิวโลก จงหาความหนาแนนเฉลี่ยของโลกในรูปของ R , g และคาคงตัวโนมถวง


สากล G (ใหตอบติดคา π ไว)

01:·
8== #

9= &DIGR
%: 3g #

4NGR
7. ชายคนหนึ่งมีน้ำหนักเมื่ออยูบนผิวโลก 980 N เขาจะมีน้ำหนักเทาใดบนผิวดาวเคราะหนอ ยทรงกลมซึ่งมีรัศมี 0.02 เทาของรัศมีโลก และมีความหนาแนน
เฉลี่ย 0.8 เทาของโลก
Gy/
PART
W ↳
0.89, 0.02R
F = omm m=
+GMR
=
/
=

980 & #
f2

FC IR We = 15.08 N #

-
ไม่
ดั8. ดาวเทียม A และ B สองดวง มวลเทากัน โคจรรอบโลกเปนวงกลมระยะหางของ B จากจุดศูนยกลางโลกเปนสองเทาของ A อัตราเร็วของ B เปนกี่เทา
ของอัตราเร็วของ A
1 1
1. 2.
2 2
3. 2 4. 2

บรรยายโดย : นายวีรภัทร โปณะทอง สาขาวิชาฟสิกส กลุม สาระการเรียนรูวิทยาศาสตร โรงเรียนภูเก็ตวิทยาลัย


รูฟสิกสเขาใจธรรมชาติ : ทบทวนปลายภาค 1 ม.4 8

PART : สมดุลกล

สมดุลตอการเลื่อนที่ สมดุลตอการหมุน สมดุลสัมบูรณ


ΣF ⃗= 0 ΣM ⃗ = 0 Σ F ⃗ = 0 และ Σ M ⃗ = 0
หมายเหตุ นอกจากนี้อาจจำแนกประเภทสมดุล เปน สมดุลสถิต และ สมดุลจลน

วิเคราะหแนวขอสอบ
1. เด็กคนหนึ่งออกแรง 100 นิวตัน ลากกลองใหเคลื่อนที่อยางสม่ำเสมอไปตามแนวระดับ โดยแนวของแรงทำมุม 36 องศากับแนวระดับ แรงเสียดทานของ
พื้นที่กระทำตอกลองเปนเทาใด (กำหนด s i n 36∘ = 0.6 , c o s 36∘ = 0.8 และ t a n 36∘ = 0.7)
N ESin 380 1. 40 นิวตัน
" Y x>
F

== FG935': 100 (0.8): 80 N #


2. 80 นิวตัน
>FCOS 36 3. 120 นิวตัน
4. 160 นิวตัน
ตู ้
้ง

2. กลองมวล 100 กิโลกรัม วางอยูบนพื้นเอียงซึ่งมีมุมเอียง 30 องศา ถาสัมประสิทธิ์ของความเสียดทานจลนระหวางกลองและพื้นเอียงมีคา 0.5 จะตอง


ออกแรงในแนวพื้นเอียงอยางนอยเทาไรกลองจึงจะอยูกับที่
Frin + F =
N
1. 15 นิวตัน mgsin 30
2. 30 นิวตัน Fin + MMgCOSSO = mgsin30
mgsinson< >
↳m 3. 55 นิวตัน
>

Emin ·
cos30
4. 67 นิวตัน F + 0.5 (

1000)3) :
1000
min

mg
F = 06.9 ~ *

3. น้ำหนัก W แขวนไวดวยเชือก 2 เสน ดังรูป คาของแรงตึงเชือก T1 เปนเทาใด


W
1.
2
ก >
2.
2
W
+1 = wcos30" ·
#w
2
- 3
wsins = ·
&wcos30
&

W
3.
4.
2
1
W

W
3

บรรยายโดย : นายวีรภัทร โปณะทอง สาขาวิชาฟสิกส กลุม สาระการเรียนรูวิทยาศาสตร โรงเรียนภูเก็ตวิทยาลัย


รูฟสิกสเขาใจธรรมชาติ : ทบทวนปลายภาค 1 ม.4 9
4. ทรงกลมหนัก 10 นิวตัน วางอยูบนระนาบเอียงที่ไมมีแรงเสียดทาน 2 อันซึ่งทำมุม 30∘ และ 60∘ กับพื้นราบ ดังแสดงในรูป ขอสรุปตอไปนี้ ขอใดถูกตอง
+N ↳
N28 1. N1 = 5
N, = mgsinus': 10) = 55 N
2. N2 = 5
3. N1 = 10 2 No: mg casos :
ือกู้ -mg
co
4. N = 5 2 10) = 5 A
magasin ( 2

mg

5. น้ำหนัก W สองอันแขวนไวบนเชือกที่จุด C และ B เชือกไมยืดหยุน จงหาแรงตึงในสนเชือก C D


1. W l /h
2. W h /l +2 : T,CUSE - ④
T Tisin TsinG
/
↑ +

1 โ T

2
+

/
ก %
/ 3. W l /2h W = TSino - ·
(0 2
0

+COS G
<
-
- = <
->>COSG
2 -

4. W h /2l
(
↓ ↓

/0; = tano
/

w ห

T
W =

Ta
#

&

W
T
=

6. วัตถุหนัก 40 นิวตัน ผูกไวดวยเชือกและอยูในสมดุลดังรูป ถาสัมประสิทธิ์ความเสียดทานสถิตระหวางวัตถุกับพื้นเทากับ 0.4 จงหา W ที่มากที่สุดที่ทำให


วัตถุทั้งสองยังอยูนิ่งเชนเดิม
MON; T, = = =
Tssin 37 1. 12 นิวตัน MMg = 0.4 (4) = 15 N
·N ↑
2. 16 นิวตัน
3. 18 นิวตัน w; W = tysin 37 - ¢
<
>T3C0557
-> -

= ↓
4. 20 นิวตัน
+1 : T320937 -②
f

ONE; = tan 37
1

W : 12 N #

7. คานสม่ำเสมอยาว 50 เซนติเมตร มีไมหมอนหนุนไวที่จุดกึ่งกลางคานที่จุด P และมีน้ำหนักแขวนไว ดังรูป ถาตองการใหคานวางตัวตามแนวระดับ จะตอง


แขวนมวลเพิ่มทางขวามือของจุด P หนัก 50 นิวตัน ที่ตำแหนงใด
1. 6 cm ↑ตาม = Mดาบ
~
↑ ↑
2. 8 cm
-
3. 10 cm 507 + 40(25) = 20125) + 40120
4. 12 cm
↓ ~
7 = 0 cm *

mg

บรรยายโดย : นายวีรภัทร โปณะทอง สาขาวิชาฟสิกส กลุม สาระการเรียนรูวิทยาศาสตร โรงเรียนภูเก็ตวิทยาลัย


รูฟสิกสเขาใจธรรมชาติ : ทบทวนปลายภาค 1 ม.4 10
8. คานสม่ำเสมอ A B ยาว 4 เมตร มีมวล 60 กิโลกรัม วางพาดอยูบนเสา A และ C ซึ่งอยูหางกัน 3 เมตร ชายคนหนึ่งมีมวล 75 กิโลกรัม เดินจาก A ไป B
ดังรูป จงหาวาเขาจะเดินไดไกลจาก A มากที่สุดเทาไร คานจึงคงสภาพสมดุลอยูได
1. 3.2 m &หมุ น; ↑ตาม: ↑หา
-

NA NB 2. 3.4 m
a

" ng
3. 3.6 m 750X =00011
~

4. 3.8 m
X: 0.8 M

:: Big จาก A = 3.8m #


* เมื ่อเดิ นได้ไก
ลลุ ด -

9. คานเบาสม่ำเสมอ A B มีเชือกโยงจาก B ไปติดกับกำแพงที่จุด C และมีมวล 20 กิโลกรัม แขวนที่ปลาย B จงหาแรงตึงในเสนเชือก BC


1. 100.0 นิวตัน
2. 141.4 นิวตัน A หมุ น ; ↑ตาม: ↑หา
-

↑ 3. 156.5 นิวตัน
4. 200.0 นิวตัน 200 Asin 35 : Tel
-

↓og T: 1002 N = 141.4 N #


N Pr

11. เสาขนาดสม่ำเสมอหนัก 100 นิวตัน ตั้งอยูบนพื้น โดยปลายบนรั้งไวดวยเชือกเบา ทำมุม 37 องศากับเสา ดังรูป ถาออกแรงขนาด 60 นิวตัน กระทำใน
แนวระดับที่ตำแหนงความสูงครึ่งหนึ่งของเสายังคงทำใหเสาสมดุลอยูไดในแนวดิ่ง จงหาขนาดของแรงตึงในเสนเชือก
Thin 37 1. 37.5 นิวตัน
A หวุ น;Masa:Mai
/
TL ↓->
= TCCS37
#
2. 50 นิ ว ตั
3. 75 นิวตัน
4. 100 นิวตัน

boxD: Tsingi&
=
A


<
f
30 : +( =
N += 50N

12. บันไดอันหนึ่งยาว L หนัก 100 นิวตัน วางพิงกำแพงเกลี้ยงทำมุม 30 องศากับกำแพง จุดศูนยถวงของคานอยูหางจากปลายลาง L /4 จงหาแรงเสียดทาน


ที่พื้นกระทำตอบันได
1. 14.4 นิวตัน A หมุ น ;Marz:Mni
2. 28.8 นิวตัน
3. 57.6 นิวตัน As -> Ny+22530 : 100 -/Sin30
4. 105.2 นิวตัน
·

Ny = 14.4 N

/-
fa fa = NB = 14.4 N *
&
ตั

บรรยายโดย : นายวีรภัทร โปณะทอง สาขาวิชาฟสิกส กลุม สาระการเรียนรูวิทยาศาสตร โรงเรียนภูเก็ตวิทยาลัย


รูฟสิกสเขาใจธรรมชาติ : ทบทวนปลายภาค 1 ม.4 11
13. กลองสี่เหลี่ยมกวาง 20 cm สูง 50 cm หนัก 100 นิวตัน วางอยูบนพื้นราบซึ่งมีสัมประสิทธิ์คามเสียดทานสถิตระหวางผิวสัมผัส 0.4 จงหาแรงผลักใน
แนวระดับที่ทำใหกลองเริ่มเคลื่อนที่
1. 20 นิวตัน 2. 40 นิวตัน 3. 60 นิวตัน 4. 80 นิวตัน
5. 0.4 (100) :

,F =
Ming : 40 N

14. จากขอ 13 แรงผลักจะอยูสูงจากพื้นมากที่สุดกี่เซนติเมตร กลองจึงยังไมลม


1. 15 2. 20 3. 25 4. 30

Ouro; Main: Mus

is = N
100( 10) : ych

h= 25 ch

โอลิมปกวิชาการ
1. คานมวล 4m ยาว L แขวนดวยเชือกที่ระยะ x จากปลายขางหนึ่งและมีมวล m หอยอยูที่อีกปลาย จนสมดุลอยูในแนวระดับดังรูป จงหา x

↑t: smg 8 หมุ น ;Moe:Ma


0
4
MG : + mg = L = 5Ag: /

L
sing2L mg
22 + L = 57

31 #
/
1./ =
2. x =
5

2
-
3
3L = 4L
#
3. 4.
4 5

2. คานเบาพาดไวบนเสาสองตน A และ B โดยมีความยาวระหวางเสาเปน 8 เมตร นักยิมนาสติกหนัก 600 นิวตัน ยืนหางจากปลาย A เปนระยะ 3 เมตร จง
หาแรงกระทำที่ปลายทั้งสอง
↑NA ↑NB A หมุ น ; ↑ถาม :Mai
-

100-3 : 8
Ne
·mg

NB : 225 N *

NA+ Nip = 50

NA+225 = 50

NA = 375 N

บรรยายโดย : นายวีรภัทร โปณะทอง สาขาวิชาฟสิกส กลุม สาระการเรียนรูวิทยาศาสตร โรงเรียนภูเก็ตวิทยาลัย


รูฟสิกสเขาใจธรรมชาติ : ทบทวนปลายภาค 1 ม.4 12
3. คานสม่ำเสมออันหนึ่งมวล M ยาว l เมื่อวางวัตถุมวล m ไวที่ปลายดานหนึ่งพบวาคานจะสมดุลเมื่อนำลิ่มมารองที่ระยะ l /3 วัดจากปลายคานดานที่วาง
วัตถุ (ดังรูป) ถานำวัตถุ 3m มาวางที่ปลายคานแทนมวล m จะตองยายลิ่มไปจากตำแหนงเดิมเปนระยะทางเทาใด คานจึงจะสมดุล

กี้
3m
↑N /

ตั๋
~

↓ % ⑤

smg Mg=2mg
A หวุ่ น; Mais = M -
③หมูน ;Ma12:Mai

Mg&· <:
&

E ล
1
mg &
amg ( &1 - X) = sog /
1- 2x: 3
M= ·2 M
x :
&

:: ข่ า>จากเดิม
-8:
4. ทอนไมขนาดและมวลเทากันสามทอนวางซอนกันโดยทอน B ยื่นพนปลาย C ไป l /4 ปลายของ A จะยื่นพน B ไดมากที่สุดเทาไรจึงจะไมลม
#
#

-
-

ตัว, i
=> -
-

5. แทงวัตถุบางสม่ำเสมอวางพิงกำแพงดิ่งลื่น ทำมุม θ1 กับกำแพง ปลายอีกขางหนึ่งของแทงวัตถุวางอยูบนพื้นเอียงลื่นซึ่งเอียงทำมุม θ2 กับแนวระดับ วัตถุ


อยูในสภาวะสมดุล มุม θ1 และมุม θ2 ในรูปมีความสัมพันธกันตามสมการใด
A
>N หมุ น;Mars: Ma NA = NeSinG2

·ลง
G
NA=/205 G, = WESin W= Ne 20502

#tan G
#- teno
-
·

ผ้ NA:
<- - - - - -

1. t a n θ1 = 2t a n θ2 2. t a n θ1 = t a n θ2 Re: itante
3. s i n θ1 = 2s i n θ2 4. 2s i n θ1 = s i n θ2
5. c o s θ1 = s i n θ2
:: tanG : #tent

tong, : 2 tanEz

บรรยายโดย : นายวีรภัทร โปณะทอง สาขาวิชาฟสิกส กลุม สาระการเรียนรูวิทยาศาสตร โรงเรียนภูเก็ตวิทยาลัย

You might also like