You are on page 1of 17

การแขงขันดาราศาสตรโอลิมปกระดับชาติ ครั้งที่ 14 (ระดับมัธยมปลาย)

มหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก
ขอสอบภาคทฤษฎี 25 เมษายน 2560
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
คาตอไปนี้กําหนดใหใชได
มวลของดวงอาทิตย M = 1.99 × 10 kg

30

รัศมีของดวงอาทิตย R = 6.96 × 10 m

8

กําลังการสองสวาง (luminosity) ของดวงอาทิตย L = 3.826 × 10 W


W
26

คา apparent magnitude ของดวงอาทิตย m = − 26.7


มวลของโลก = m E 5.977 × 10 kg 24

รัศมีของโลก RE = 6378 km
มวลของพลูโต 1.303 × 1022 kg
มวลของชารอน 1.586 × 1021 kg
ระยะหางระหวางจุดศูนยกลางของพลูโตกับของชารอนเปน 19600 km
1 Astronomical Unit ( AU ) = 1.496 ×1011 m
1 parsec ( pc ) = 3.0857 ×1016 m = 206265 AU = 3.2615 ly
1 light year ( ly ) = 9.4605 ×1015 m = 63240 AU = 0.3066 pc
1 tropical year = 365.24219 days
1 sidereal year = 365.25636 days
1 sidereal day = 23h 56m 04s
ระนาบสุริยะวิถีเอียงทํามุมกับระนาบศูนยสูตรฟา 23 27′
คาบดาราคติของดวงจันทร (sidereal orbital period) = 27.32166 days
คาบซินนอดิกของดวงจันทร (Synodic period) = 29.53059 days
มวลของอิเล็กตรอน = me 9.109 × 10 kg −31

มวลของโปรตอน = m p 1.673 ×10−27 kg


Wien’s Displacement constant 2.898 ×10−3 mK
Hubble’s law: v = Hd
Stefan-Boltzmann constant σ = 5.67 ×10−8 Wm −2 K −4
Boltzmann constant: =kB 1.38 × 10 −23
J/K
Universal gravitational constant: = G 6.67 ×10−11 m3kg −1s −2
Hubble constant: = H 67.8 ± 0.8 km.s −1 / Mpc
Planck constant: = h 6.626 ×10−34 Js
อัตราเร็วแสงในสุญญากาศ: = c 2.998 ×108 m/s
คาคงที่ของแกส: RG =8.314 J/mol/K
∆λ  c+v 
redshift parameter z ≡ ≡   − 1
λ  c − v 

2
การแขงขันดาราศาสตรโอลิมปกระดับชาติ ครั้งที่ 14 (ระดับมัธยมปลาย)
มหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก
ขอสอบภาคทฤษฎี 25 เมษายน 2560
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
Avogadro constant = N A 6.0225 ×1023 per mole
Mass-luminosity relation สําหรับดาวใน Main Sequence: L ∝ M 3.5
โมเมนตัมของโฟตอน = h= hf
λ c
กําหนดให ทรงกลมมีรัศมีเทากับ 1
sin a sin b sin c
1. = =
sin a sin b sin γ
2. cos a cos b cos c + sin b sin c cos a
=
3. cos a =
− cos β cos γ + sin β sin γ cos a a b
γ
O c
b a

3
การแขงขันดาราศาสตรโอลิมปกระดับชาติ ครั้งที่ 14 (ระดับมัธยมปลาย)
มหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก
ขอสอบภาคทฤษฎี 25 เมษายน 2560
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ขอ 1. (50 คะแนน แตละขอยอยมี 5 คะแนน)

1.1) พลูโตสาย (Wobble) ดวยแอมพลิจูดเชิงมุมสูงสุดกี่พิลิปดารอบเสนทางเฉลี่ยในรูปนี้ขณะที่อยูหางจากโลก


เปนระยะทาง 4.285 × 109 km และระนาบวงโคจรของชารอนตั้งฉากกับแนวเล็งจากโลก

เฉลย ทั้งพลูโตและชารอนตางก็หมุนรอบจุดศูนยกลางมวลของระบบขณะที่โคจรรอบดวงอาทิตย
พลูโตอยูห างจากศูนยกลางมวลเปนระยะทาง 𝑥 km
1.586×1021×19600
𝑥 = = 2127 km
1.303×1022 +1.586×1021
2127×180×3600
แอมพลิจูดของการสายคือ A = = 0.1024 พิลิปดา ตอบ
4285×106 ×𝜋

1.2) ดาวฤกษดวงหนึ่งมีอุณหภูมิผิวเปน T เคลวิน ตอมาถาอุณหภูมิผิวลดลงเล็กนอยเทียบกับอุณหภูมิเดิมไปเปน


T − ∆T เคลวิน จงหาอัตราการเปลี่ยนของ magnitude เทียบกับอัตราการเปลี่ยนของอุณหภูมิ (∆m/∆T)
โดยถือวารัศมีของดาวคงที่
กําหนดให ln(1 + 𝑥) ≈ 𝑥 เมื่อ x ≪ 1
เฉลย Stefan-Boltzmann law บงวา luminosity ของดาวฤกษนี้เปนปฏิภาคโดยตรงกับ T 4
Brightness ที่ T เคลวิน T 4
= � �
Brightness ที่ T−∆T เคลวิน T−∆T
T 4
Magnitude เพิ่มขึ้น ∆m = 2.5 log � �
T−∆T
1 ∆T
∆m = 10 log10 ∆T = −10 log10 �1 − �
�1− T � T
∆T
ln�1− T � 10 ∆T
= −10 ≈ + � �
ln 10 ln 10 T
10 ∆T ∆T
= + � � ≈ (4.3) � �
2.303 T T
∆m 4.3
= ตอบ
∆T T

4
การแขงขันดาราศาสตรโอลิมปกระดับชาติ ครั้งที่ 14 (ระดับมัธยมปลาย)
มหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก
ขอสอบภาคทฤษฎี 25 เมษายน 2560
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
1.3) เสาดิ่งตนหนึ่งตั้งอยูที่ละติจูด 50° N สัดสวนของความยาวของเงาเสาที่ยาวที่สุดตอนเที่ยงวันตอที่สั้นที่สุดใน
ระหวางปมีคาเทาไร

เฉลย

PQ เปนความยาวของเสาดิง่
�P = ∅ − ε ,
มุม AQ �P = ∅ + ε
มุม BQ
เงา AP ยาว = PQ tan(∅ − ε)
เงา PB ยาว = PQ tan(∅ + ε)
PB tan(∅+ε)
∴ สัดสวน =
PA tan(∅−ε)
PB tan(50+23.45)
แทนคา 50° = = 6.8
PA tan(50−23.45)

5
การแขงขันดาราศาสตรโอลิมปกระดับชาติ ครั้งที่ 14 (ระดับมัธยมปลาย)
มหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก
ขอสอบภาคทฤษฎี 25 เมษายน 2560
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
1.4) ชวงเวลาที่ดวงจันทรจากจันทรดับ (New Moon) จนสวางครึ่งดวงพอดี นั้นสั้นกวาชวงเวลาจากดวงจันทร
สวางครึ่งดวงพอดีไปจนเต็มดวง อยูประมาณ 0.6 ชั่วโมง จงประมาณระยะทางจากโลกถึงดวงจันทรในหนวย
กิโลเมตร และใหดวงจันทรโคจรรอบโลกเปนรูปวงกลม

เฉลย ระยะทางโคง MF = NM + 2(MA)


1
ดังนั้นการเคลื่อนที่จาก M ไป A ดวงจันทรใชเวลา × 0.6 = 0.3 ชั่วโมง
2
�M = 0.3×360° = 0.1524° = 0.00266 เรเดียน
มุม AE
29.53×24

มุม ESM = AE �M = 0.00266 เรเดียน ดวย
ระยะทาง EM = (ES) sin ES� M ≈ (1 AU)(0.00266)
≈ (149.6 × 106 km)(0.00266)
≈ 397885 km ≈ 398000 km ตอบ

1.5) กระจุกดาวกระจุกหนึ่งมีดาวฤกษ 1000 ดวงในรัศมี 3 ปแสง กระจายอยางสม่ําเสมอเปนทรงกลม อัตราเร็ว


เฉลี่ยของดาวฤกษในกลุมเปน 3 km s-1 จงประมาณหามวลเฉลีย่ ของดาวฤกษแตละดวงวาเปนกี่เทาของมวล
ดวงอาทิตย โดยใชทฤษฎี Virial Theorem 2〈KE〉 + 〈PE〉 = 0

เฉลย การคํานวณหาคาของพลังงานศักยของระบบ :
ถาเราสมมติวามวลของระบบกระจายอยางสม่ําเสมอดวยความหนาแนน 𝜌 จะได
4
G�3πr3 𝜌��4πr2 𝜌δr�
δ(PE) = −
r
R4 2 3 GM2
∴ PE = −3G � π𝜌� ∫r=0 r 4 dr = −
3 5 R
1 1
พลังงานจลนของระบบคือ KE = v 2 ∫ dm = Mv 2
2 2
ทฤษฎี Virial Theorem บงวา
3 GM2 2 5 v2 R
= Mv , ∴ M=
5 R 3 6
2
5 �3×103 � �3×9.46×1015 �
M = = 21 × 1032 kg
3 6.67×10−11
ดังนั้นมวลเฉลี่ยของดาวฤกษแตละดวงคือ
1 21×1032
� � = 1.07 Solar masses ≈ 1.1Mʘ ตอบ
1000 1.99×1030

6
การแขงขันดาราศาสตรโอลิมปกระดับชาติ ครั้งที่ 14 (ระดับมัธยมปลาย)
มหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก
ขอสอบภาคทฤษฎี 25 เมษายน 2560
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
1.6) ดาวนิวตรอนรัศมี R หมุนรอบตัวเองดวยคาบ T ถารัศมีของดาวนี้เปลี่ยนแปลงเล็กนอยเทากับ δR คาบของ
มันจะเปลี่ยนไปเทาไร (ใหถือวามวลของดาวไมเปลี่ยน)
เฉลย การเปลี่ยนแปลงนี้ตองเปนไปตามหลักอนุรักษโมเมนตัมเชิงมุม
โมเมนตความเฉื่อยของดาวสามารถเขียนไดเปน I = kMR2 , k เปนคาคงที่ไมมีหนวย
M เปนมวลของดาว
หลักอนุรักษโมเมนตัมเชิงมุมบงวา
2π kMR2 2π
I = = คงที่
T T
นั่นคือ R2 = (คาคงที่) T
∴ 2RδR = (คาคงที่) δT
δT δR
และ = 2 ตอบ
T R

1.7) เอกภพของเราเริ่มโปรงแสงเมื่ออุณหภูมิลดลงเปน 3000 เคลวิน ปจจุบันนี้คลื่นไมโครเวฟพื้นหลัง ( Cosmic


Microwave Background, CMB) ตรงกับของวัตถุดําอุณหภูมิ 2.728 เคลวิน

( )

จงคํานวณวาคาความยาวคลื่นที่มีความเขมสูงสุด (λ m) ในปจจุบันมีคาเปนกี่เทาเมือ่ เทียบกับความยาวคลื่นที่


มีความเขมสูงสุดในชวงเริ่มตนของ CMB

เฉลย ใช Wien’s Displacement Law ซึ่งเชื่อม λm กับอุณหภูมิเคลวินของวัตถุดํา.


λm T = 2.898 × 10−3 mK.
2.898×10−3
ก) λm = = 1.062 mm
2.728
2.898×10−3
ข) λm = = 0.966 µm
3000
λmก 3000
ค) = = 1035 เทา ตอบ
λmข 2.728

7
การแขงขันดาราศาสตรโอลิมปกระดับชาติ ครั้งที่ 14 (ระดับมัธยมปลาย)
มหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก
ขอสอบภาคทฤษฎี 25 เมษายน 2560
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
1.8) ดาวเคราะหนอยดวงหนึ่งอยูที่ตําแหนงตรงขามดวงอาทิตย (opposition) และเห็นเชนนี้อีกครั้งในอีก 450
วันตอมา จงหาคาบและรัศมีวงโคจรของดาวเคราะหนอย ทั้งนี้ใหถือวาวงโคจรเปนวงกลม

วิธีทํา สมมติให opposition ครั้งทีส่ องอยูถัดไปเปนมุม α องศา , ดังนั้น


360+α 360
=
450 365.25636
∴ α = 83.524
คาบของดาวเคราะหนอย
450×360
= = 1939.52 วัน
83.524
รัศมีการโคจร
450×360 1/3
� �
83.524
= � � = 3.043 AU
(36.525636)2

ตอบ

8
การแขงขันดาราศาสตรโอลิมปกระดับชาติ ครั้งที่ 14 (ระดับมัธยมปลาย)
มหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก
ขอสอบภาคทฤษฎี 25 เมษายน 2560
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
1.9) ดวงอาทิตย (S) เคลื่อนที่ตามแนว ecliptic เมื่อดวงอาทิตยโคจรไปได 18 รอบจาก vernal equinox จงหาคา
RA ของดวงอาทิตย

sin ∅ sin 𝛿 sin 𝛿


เฉลย = , sin ∅ = ------------- (1)
sin 90° sin 𝜀 sin 𝜀
cos ∅ = cos 𝜃 cos 𝛿 + sin 𝜃 sin 𝛿 cos 90° , cos ∅ = cos 𝜃 cos 𝛿 -- (2)
cos ∅
(1) & (2) : cos 𝜃 ≈ 2
�1−(sin 𝜀 sin ∅)

1
รอบบนแนว ecliptic บงวา ∅ = 45°
8
cos 45°
∴ cos 𝜃 = = 0.7370
�1−(sin 23°.5 sin 45°)2
𝜃 = 42°. 5 ตอบ
หมายเหตุ
𝑑 sin ∅ 1−sin2 𝜀 sin ∅ cos2 𝜀
𝜃̇ = 𝜃 = ∅̇ ∙ ∙ 3 = ∅̇ ∙ 3
𝑑𝑑 sin 𝜃 (1−sin2 sin 𝜃
𝜀 sin2 ∅)2 (1−sin2 𝜀 sin2 ∅)2
sin ∅ �1−sin2 𝜀 sin2 ∅ cos2 𝜀 cos 𝜀
𝜃̇ = ∅̇ 3 = ∅̇
cos 𝜀 sin ∅ (1−sin2 𝜀 sin2 ∅)2 1−sin2 𝜀 sin2 ∅

9
การแขงขันดาราศาสตรโอลิมปกระดับชาติ ครั้งที่ 14 (ระดับมัธยมปลาย)
มหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก
ขอสอบภาคทฤษฎี 25 เมษายน 2560
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
1.10) ตําแหนงของดวงอาทิตยและดวงจันทรอยูบนทรงกลมทองฟาในแบบ Mercator เปนดังรูป

1. จงหาวาดวงจันทรมีมุมหาง (elongation) เปนเทาไร ในทิศใดเทียบกับดวงอาทิตย


2. ในอีก 240 วันขางหนา จงหาวาดวงอาทิตยจะอยูท ี่ RA เทาไร
3. ในอีก 7 วันขางหนา จงหาวาดวงจันทรมีมมุ หางเปนเทาไร ในทิศใด
เฉลย
1. ดวงจันทรอยูหางจากดวงอาทิตยเปนระยะ RA = 9 ชั่วโมง
360°
เทียบเปนมุม = 9 × = 135° ทางตะวันตก
24
240
2. อีก 240 วันขางหนา ดวงอาทิตยจะอยูท ี่ RA = 8 + × 24 = 23.8 h
365.2536
7
3. อีก 7 วันขางหนา ดวงจันทรจะมี RA = 23 + × 24 ≡ 6.148 h
27.32166
7
อีก 7 วันขางหนา ดวงอาทิตยจะมี RA = 8 + × 24 ≡ 8.459 h
365.2526
ดวงจันทรอยูหางจากดวงอาทิตย 8.459-6.148 = 2.311
360°
เทียบเปนมุม = 2.311 × = 34.65° ทางตะวันตก ตอบ
24

10
การแขงขันดาราศาสตรโอลิมปกระดับชาติ ครั้งที่ 14 (ระดับมัธยมปลาย)
มหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก
ขอสอบภาคทฤษฎี 25 เมษายน 2560
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ขอ 2. การขึ้นตกของดาวฤกษ (10 คะแนน)
ดาวฤกษ S มีคา declination เทากับ 7o N ผูสังเกตอยูที่ latitude 20o.0 N
2.1) มุมทิศ (Azimuth) ของ S ขณะที่กําลังขึ้นพอดี และมุมทิศ (Azimuth) ของ S ขณะที่กําลังตกพอดี เปน
เทาไร
2.2) ถาดาวฤกษดวงนี้ ขึ้นเวลา 17:55:00 ดาวฤกษดวงนี้จะตกเวลาเทาไร
เฉลย 2.1)

A เปน Zenith ของผูส ังเกต


S เปนดาวฤกษกําลังขึ้นพอดี
O เปนโลก

ในขณะที่ดาวฤกษ S กําลังขึ้นและกําลังตกพอดี มุม AO � S = 90° โดยเมือ่ S ตกพอดีนั้น ภาพจะเปน


เสมือนการพลิก A ไปไวที่ซีกขวามือของ S เมื่อตอนกําลังขึ้น
โจทยกําหนดวา มุม AO � B = 20°. 0 , มุม SO � R = 7°. 0 ,
�S จากสูตร
มุมทิศในขณะที่ดาวฤกษ S กําลังขึ้นและกําลังตกพอดี คือมุม PA

cos(90° − 7°) = cos(90° − 20°) cos(90°)


�S
+ sin(90° − 20°) sin(90°) cos PA

cos PA�S = cos(90° − 7°) / sin(90° − 20°) = 0.12969


� S = 82°. 55
∴ มุม PA

11
การแขงขันดาราศาสตรโอลิมปกระดับชาติ ครั้งที่ 14 (ระดับมัธยมปลาย)
มหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก
ขอสอบภาคทฤษฎี 25 เมษายน 2560
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
มุม Azimuth ของ S คือ
- 82°. 55 ในขณะขึ้นและ 277°. 45 ในขณะตก เมื่อมุม Azimuth วัดจากทิศเหนือไปทางทิศ
ตะวันออก
- 277°. 45 ในขณะขึ้นและ 82°. 55 ในขณะตก เมื่อมุม Azimuth วัดจากทิศเหนือไปทางทิศ
ตะวันตก
- 97°. 45 ในขณะขึ้นและ 262°. 55 ในขณะตก เมื่อมุม Azimuth วัดจากทิศใตไปทางทิศตะวันออก
- 262°. 55 ในขณะขึ้นและ 97°. 45 ในขณะตก เมื่อมุม Azimuth วัดจากทิศใตไปทางทิศตะวันตก

�S จากสูตร
2.2) คํานวณมุมของ AP
cos 90° = cos(90° − 20°) cos(90° − 7°)
�S
+ sin(90° − 20°) sin(90° − 7°) cos AP
cos AP �S = − tan 20° tan 7° = −0.04469
∴ มุม AP �S = 92°. 56 และมุม RO � B = 92°. 56

ดาว S อยูเหนือขอบฟาตัง้ แตขึ้นจนตกเปนมุมบนแนว celestial equator


เทากับ 2 × 92°. 56 = 185°. 12
ซึ่งคิดเปนเวลานาน
185°.12
= × 24 ชั่วโมง = 12h 20m 29s.
360°
ตามเวลาดาราคติ (sidereal time)
จากขอมูล 1 sidereal day เทากับ 23h 56m 04s
ดังนั้นเปลี่ยนเวลาดาราคติ (sidereal time) เปนเวลาสุริยคติเฉลี่ย (Solar
mean time) ไดเทากับ

23h 56m 04s


12h 20m 29s × = 12h 18m 28s
24h 00m 00s

ถาดาวฤกษ S ขึ้นเวลา 17h 55m 00s แสดงวาดาวฤกษ S ตกเวลา

17h 55m 00s + 12h 18m 28s − 24h 00m 00 = 6h 13m 28s

12
การแขงขันดาราศาสตรโอลิมปกระดับชาติ ครั้งที่ 14 (ระดับมัธยมปลาย)
มหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก
ขอสอบภาคทฤษฎี 25 เมษายน 2560
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

หมายเหตุ � B , และ มุม PA


�A = RO
ขางลางนี้เปนวิธีการหาคาของมุม SP �S โดยวิธี vector algebra.

�����⃑
ให 𝚤̂ เปน unit vector ในทิศ ในทิศ OR
𝚥̂ กับ 𝑘� เปน unit vectors ที่ประกอบ 𝚤̂ เปนระบบมือขวา
𝑙̂ เปน unit vector สัมผัสเสนเมอริเดียนที่ Zenith ของผู
สังเกต
𝑙̂ =
sin 20° cos ∅ 𝚤̂ + sin 20° sin ∅ 𝚥̂ −
cos 20° 𝑘�

Unit vectors ในทิศ OS����⃑ และ OA


�����⃑ คือ
� = cos 7° 𝚤̂ + sin 7° 𝑘�
OS
� = cos 20° cos ∅ 𝚤̂ + cos 20° sin ∅ 𝚥̂ + sin 20° 𝑘�
OA
����⃑
OS กับ OA�����⃑ ตั้งฉากกัน ดังนั้น OS� ∙ OA
� = cos 90° = 0
cos 7° cos 20° cos ∅ + sin 7° sin 20° = 0
cos ∅ = − tan 7° tan 20° = −0.04469
∅ = 92°. 56
มุม 𝜓 หาไดจากความที่ OS � กับ −𝑙̂ ทํามุม 𝜓 ตอกัน
∴ cos 𝜓 = OS � ∙ �−𝑙̂�
= − cos 7° sin 20° cos ∅ + sin 7° sin 20°
= − cos 7° sin 20° cos 92°. 56 + sin 7° cos 20°
= 0.015163 + 0.11452 = 0.12968
𝜓 = 82°. 55

13
การแขงขันดาราศาสตรโอลิมปกระดับชาติ ครั้งที่ 14 (ระดับมัธยมปลาย)
มหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก
ขอสอบภาคทฤษฎี 25 เมษายน 2560
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ขอ 3. (20 คะแนน)

S เปนดวงอาทิตย มวล M
E เปนโลก หางจาก S 1 AU
m เปนดาวหางมวล m มีหางยาว 𝑙 AU
โคจรบนระนาบเดียวกันกับโลก
โดย 𝑙 < (1 − 𝑎) และมีคาไม
เปลี่ยนแปลงเมื่อเขาใกลดวงอาทิตย

กําหนดให r = 1+eAcos θ
เมื่อ A เปนคาคงตัว
และ e เปนคาความเยื้องศูนยกลาง
(eccentricity)

ดาวหาง m เคลื่อนที่เขามาภายในวงโคจรของโลก (E) ดวยระยะ perihelion เทากับ 𝑎 AU และดวยวงโคจร


ที่เปนรูป parabola จงวิเคราะหหาตอไปนี้ :
3.1) คา e และ A ของดาวหางดวงนี้เปนเทาไร
3.2) หาเงื่อนไขที่ดาวหางนี้ (หัวหรือหางมันก็ได) มีโอกาสชนกับโลก ใหเขียนเงื่อนไขเปนสมการหรืออสมการเชื่อมโยง
r กับ 𝑙
3.3) คาของชวงมุม θ เปนเทาไร ที่ดาวหางนีม้ ีโอกาสชนกับโลกได
3.4) จงหาคาของโมเมนตัมเชิงมุมของดาวหางในเทอมของ G, M, m และ 𝑎
3.5) ดาวหางใชเวลานานเทาไรในการเคลื่อนทีผ่ านชวงที่มีโอกาสชนกับโลก
dθ 1 θ 1 θ
กําหนดวา ∫ (1+cos 2 = tan + tan3 + C
θ) 2 2 6 2

14
การแขงขันดาราศาสตรโอลิมปกระดับชาติ ครั้งที่ 14 (ระดับมัธยมปลาย)
มหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก
ขอสอบภาคทฤษฎี 25 เมษายน 2560
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
เฉลย
3.1) โจทยกําหนดวาวงโคจรเปนแนว parabola ดังนั้น คา e ของวงโคจรจึงเปน e = 1 ตอบ
A
เปนผลให r = ------------------------------------------- (1)
1+cos θ
ซึ่งตําแหนงของดาวหางที่ perihelion คือ r = 𝑎 AU เมื่อมุม θ = 0°
ดังนั้น A = 2𝑎 AU ตอบ
2𝑎
วงโคจรของดาวหางนีจ้ ึงบรรยายไดดวยสมการ r= -------------------------------- (2)
1+cos θ
3.2) หางของดาวหางชี้ออกจากดวงอาทิตย และมีโอกาสชนกับโลก ถา r + 𝑙 ≥ 1 AU ตอบ
3.3) สมมติให r(θ1 ) + 𝑙 = 1 AU พอดี ซึ่ง m มีโอกาสชนกับโลกได
จาก θ1 เปนตนไปจนถึง θ2
ระยะ r(θ1 ) + 𝑙 > 1 AU
จึงมีโอกาสเกิดการชนกันไดทุกแหงรวมทั้งซีกใตแกน X ดวย
การหาคา 𝜃1
2𝑎
+ 𝑙 = 1 AU
1+cos θ1
θ1 2𝑎
1 + cos θ1 = 2 cos 2 =
2 1−𝑙
1
𝑎 2
∴ θ1 = 2 arccos � � ------- (3)
1−𝑙
2𝑎
การหาคา θ2 = 1 AU
1+cos θ2
θ
2 cos2 2 = 2𝑎
2
∴ θ2 = 2 arccos √𝑎 ----- (4)
ดังนั้นชวงมุม θ ที่มีโอกาสเกิดการชนกันไดคือ
𝑎
2 arccos � ≤ |θ| ≤ 2 arccos √𝑎 ----------------- (5)
1−𝑙
3.4) หลักอนุรักษโมเมนตัมเชิงมุมบงวา
𝑑
mr 2 θ = คงที่ ≡ C = mvo 𝑎 ----------------------------- (6)
𝑑𝑑
ซึ่งคา vo สามารถหาไดจากหลักอนุรักษพลังงานกล ซึ่งสําหรับวงโคจรแบบ parabola บงวา พลังงานกล
รวมเปนศูนยเสมอ [ถาพลังงานกลรวมมากกวาศูนย วงโคจรจะเปนรูป hyperbola และถาพลังงานกลรวมนอยกวา
ศูนยนั่นคือ เปนลบ วงโคจรจะเปนวงรีก็ไดหรือวงกลมก็ได ]
1 GMm
∴ mvo2 + �− � = 0 ---------------------------------------- (7)
2 𝑎

15
การแขงขันดาราศาสตรโอลิมปกระดับชาติ ครั้งที่ 14 (ระดับมัธยมปลาย)
มหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก
ขอสอบภาคทฤษฎี 25 เมษายน 2560
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
1
2GM 2
ได v𝑜 = � �
𝑎
1
2
∴ C = (2GMm 𝑎) ---------------------------------------------------- (8)
2

เปนโมเมนตัมเชิงมุมของดาวหางนี้ ตอบ
3.5) การหาคาชวงเวลาที่ดาวหางโคจรจาก θ = θ1 ถึง θ = θ2 .
1
𝑑 1 2GM 2
𝜃 = � 3�∙ (1 + cos θ)2 ------------------------------------- (9)
𝑑𝑑 4 𝑎
ในกรณีที่ใชหนวยของระยะทางเปน AU และหนวยของเวลาเปน “ป”
GM (AU)3
จะได (2π)2
มีคาเทากับ 1 (ป)2
----------------------------------------------------- (10)
𝑑 π
และ θ = (1 + cos θ)2 ----------------------------------------- (11)
𝑑𝑑 √2 𝑎3/2
θ2 √2 𝑎3/2 1
ชวงเวลาที่ตองการคือ ∆t = ∫θ (1+cos θ)2
𝑑θ
1 π
θ √1−𝑎−𝑙
แลวแทนคาดวยคาจาก (3.3) tan 1 =
2 √𝑎
θ2 √ 1−𝑎
tan =
2 √𝑎
3𝜋√2 θ2 θ
2 2 θ1 2 θ1
∆t = �tan �3 + tan � − tan �3 + tan ��
𝑎3/2 2 2 2 2
√1−𝑎 1−𝑎 1−𝑎−𝑙 1−𝑎−𝑙
= � �3 + �−� �3 + �� ตอบ
√𝑎 𝑎 𝑎 𝑎

√1−𝑎 1−𝑎−𝑙 1−𝑎 𝑙 1−𝑎−𝑙


=� −� � �3 + �+ �
√𝑎 𝑎 𝑎 𝑎 𝑎

√1−𝑎 1−𝑎−𝑙 1−𝑎 𝑙 √1−𝑎−𝑙 √𝑎


= � −� � ��3 + �+ �
√𝑎 𝑎 𝑎 𝑎 √𝑎 √1−𝑎 − √1−𝑎−𝑙
𝑙 √1−𝑎 + √1−𝑎−𝑙
= (เดิม) �(เดิม) + √1 − 𝑎 − 𝑙 ∙ �
𝑎 1−𝑎−1+𝑎+𝑙
√1−𝑎−𝑙 √1−𝑎 1−𝑎−𝑙
= (เดิม) �(เดิม) + + �
𝑎 𝑎
𝑎3/2 √1−𝑎 1−𝑎−𝑙 1−𝑎 �(1−𝑎)(1−𝑎−𝑙) 1−𝑎−𝑙
∆t = � �� −� � ��3 + �+ + �
3𝜋√2 √𝑎 𝑎 𝑎 𝑎 𝑎

16
การแขงขันดาราศาสตรโอลิมปกระดับชาติ ครั้งที่ 14 (ระดับมัธยมปลาย)
มหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก
ขอสอบภาคทฤษฎี 25 เมษายน 2560
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ขอ 4. การหมุนควง (Precession) ของแกนหมุนของโลก (20 คะแนน)

𝑥2 𝑦2 𝑧2
โลกมีรูปรางแปน มีผิวตามสมการ + 2 + 2 = 1 โดยที่ 𝑎 > 𝑏 หมุนรอบตัวเองดวย
𝑎2 b 𝑎
อัตราเร็วเชิงมุม ω แรงโนมถวงโดยดวงอาทิตยตอมวลในปริมาตรสวนทีเ่ กินจากทรงกลมรัศมี b แตละซีกมีคาเปน
F1 และ F2 ทําใหเกิดทอรกรอบแกน Z เปนผลใหแกนหมุนของโลกสายชา ๆ จงพิจารณาแบบจําลองนี้
ตามลําดับ :
4.1) กําหนดให m′ คือ มวลทีเ่ กินจากผิวทรงกลมรัศมี b จงหาวา m′ แตละซีกมีคาเทาไร ตอบในเทอมของ
𝑎 , b, และมวล m ของโลก ทั้งนี้ใหถือวาโลกมีความหนาแนนสม่ําเสมอทัง้ ลูก (ทรงกลมนีม้ ีปริมาตรเทากับ
4
π𝑎2 b )
3
4.2) แตละแรงโนมถวง F1 , F2 มีคาประมาณเทาไร ตอบในเทอมของ G, M, m′ , b, D และมุม ε
ทั้งนี้อาจใชการประมาณ (1 + α)−2 ≈ 1 − 2α
4.3) ทอรกลัพธ (𝜏) เนื่องจากแรง F1 , F2 รอบแกน Z มีขนาดเปนเทาไร ตอบในเทอมของ G, M, m′ ,
b, D และ ε
4.4) ทอรกนี้ทําใหแกนหมุนของโลกสายดวยอัตราเร็วเชิงมุม Ω ตามสมการ

17
การแขงขันดาราศาสตรโอลิมปกระดับชาติ ครั้งที่ 14 (ระดับมัธยมปลาย)
มหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก
ขอสอบภาคทฤษฎี 25 เมษายน 2560
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
𝜏 2
Ωω = และ I ≈ m𝑎2
I 5
เขียนสูตรสําหรับคํานวณคา Ω ในเทอมของ ω , G , M , 𝑎 , b , D และ ε
b
4.5) กําหนดวาสําหรับโลกเรา = 0.997 และคาบการหมุนรอบตัวเองของโลก คือ
𝑎
23h 56m 4s ≈ 24 ชั่วโมง จงหาคาบการหมุนควงของแกนหมุนของโลกวาเปนกี่ป ( 1 ป ≈
3.156 × 107 วินาที , 𝜀 ≈ 23°. 5 )

เฉลย
m 4 4
4.1) 2m′ = �4 � �3 π𝑎2 b − 3 πb3 �
3
π𝑎2 b
1 b2
m′ = m �1 − � ตอบ
2 𝑎2
GMm′ GMm′ 2b cos ε
4.2) F1 = (D+b cos ε)2
≈ �1 − �,
D2 D
GMm′ GMm′ 2b cos ε
F2 = (D−b cos ε)2
≈ �1 + �. ตอบ
D2 D
4.3) 𝜏 = F2 b sin ε − F1 b sin ε = (F2 − F1 )b sin ε
GMm′
≈ � � 2b2 sin 2ε ตอบ
D3
GMm′
𝜏 � �2b2 sin 2ε
D3
4.4) Ωω = ≈ 2
I m𝑎2
5
5 GM b2 b2
= � � �1 − � � 2 � sin 2ε ตอบ
2ω D3 𝑎2 𝑎


4.5) ω ≈ ≈ 7.27 × 10−5 s −1 .
24×3600
b
= 0.997 , D ≈ 1.5 × 1011 m ,
a

M = 2 × 1030 kg , 2ε = 47° , G = 6.67 × 10−11 N m2 kg−2 .



ไดคาบของการสายของแกนหมุนของโลกเปน T=
Ω
2πω
T = 5 GM b2 b2
= 1062 × 109 s = 33700 ป ตอบ
� 3 ��1− �� � sin 2ε
2 D 𝑎2 𝑎2
*************************

18

You might also like