You are on page 1of 34

สิกส์ เล่ม 5 บทที 15 แม่เ ลกและ า 101

1. อนุภาคที่มีประจุไฟฟ้า +3.2 × 10-19 คูลอมบ์ เคลื่อนที่เข้าไปในบริเวณที่มีสนามแม่เหล็กขนาด


1.2 เทสลา ด้วยความเร็ว 2.5 × 105 เมตรต่อวินาที ในทิศทางตั้งฉากกับสนามแม่เหล็ก จงหา
ขนาดของแรงแม่เหล็กที่กระทำาต่ออนุภาคนี้
วิ ีทา จาก F = qvB sin θ
เมื่อ v ⊥ B F = qvB
แทนค่า F = (3.2 × 10-19 C)(2.5 × 105 m/s)(1.2 T)
= 9.6 × 10-14 N
ตอบ ขนาดของแรงแม่เหล็กที่กระทำาต่ออนุภาคนี้เท่ากับ 9.6 × 10-14 นิวตัน

2. อิเล็กตรอนเคลื่อนที่ด้วยความเร็ว 5.0 × 105 เมตรต่อวินาที ในทิศทางตั้งฉากกับสนามแม่เหล็ก


สม่าำ เสมอ ถูกแรงแม่เหล็กกระทำา 4.0 × 10-6 นิวตัน จงหาขนาดของสนามแม่เหล็ก
วิ ีทา จาก F = qvB sin θ
เมื่อ v ⊥ B F = qvB
แทนค่า 4.0 × 10-6 = (1.6 × 10-19 C)(5 × 105 m/s) B
4 ×10−6 N
B
(1.6 ×10−19 C)(5 ×105 m/s)
= 5.0 × 107 T
ตอบ สนามแม่เหล็กมีค่าเท่ากับ 5.0 × 107 เทสลา

3. อนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าเคลื่อนที่ด้วยความเร็ว 2.0 × 106 เมตรต่อวินาที ในทิศทางตั้งฉากกับ


สนามแม่เหล็กสม่ำาเสมอขนาด 5.0 × 10-2 เทสลา และมีแรงขนาด 4.8 × 10-14 นิวตัน
กระทำาต่ออนุภาค จงหาขนาดของประจุไฟฟ้า
วิ ีทา จาก F = qvB sin θ
เมื่อ v ⊥ B F = qvB
F
จะได้ q
vB
4.8 ×10−14 N
แทนค่า q
(2.0 ×106 m/s)(5.0 ×10−2 T)
= 4.8 × 10-19 C
ตอบ ขนาดของประจุไฟฟ้ามีค่าเท่ากับ 4.8 × 10-19 คูลอมบ์

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
102 บทที 15 แม่เ ลกและ า สิกส์ เล่ม 5

4. อิเล็กตรอนตัวหนึ่งถูกทำาให้เคลื่อนที่จากหยุดนิ่งด้วยความต่างศักย์ 2.84 × 10-2 โวลต์ หลังจาก


นั้นเข้าไปในสนามแม่เหล็กสม่ำาเสมอขนาด 4.0 เทสลา โดยมีทิศทางการเคลื่อนที่ตั้งฉากกับ
ทิศทางของสนามแม่เหล็ก จะมีขนาดของแรงกระทำาต่ออิเล็กตรอนเท่าใด
วิ ีทา ประจุไฟฟ้าถูกเร่งด้วยความต่างศักย์จะทำาให้พลังงานจลน์เปลีย่ นไปเท่ากับพลังงานไฟฟ้า
ที่ได้รับ
1 2 1 2
mv − mu q∆V
2 2
อิเล็กตรอนถูกทำาให้เคลื่อนที่จากหยุดนิ่ง จะได้
1 2
mv = q∆V
2
2q∆V
v =
m
2 × (1.6 ×10−19 C)(2.84 × 10-2 V)
แทนค่า v =
(9.1× 10−31 kg)
= 9.9934 × 104 m/s
F = qvB
= (1.6 × 10-19 C)(9.9934 × 104 m/s)(4.0 T)
= 6.395 × 10-14 N
ตอบ ขนาดของแรงที่กระทำาต่ออิเล็กตรอนเท่ากับ 6.4 × 10-14 นิวตัน

5. อนุภาคแอลฟามีมวล 6.68 × 10-27 กิโลกรัม และมีประจุ +3.20 × 10-19 คูลอมบ์ เคลื่อนที่ด้วย


ความเร็ว 3 × 106 เมตรต่อวินาที ในทิศทางตัง้ ฉากกับสนามแม่เหล็กสม่าำ เสมอขนาด 1.0 เทสลา
เส้นทางการเคลื่อนที่ของอนุภาคแอลฟาเป็นวงกลมที่มีรัศมีเท่าใด
วิ ีทา เมื่ออนุภาคแอลฟาเคลื่อนที่ตั้งฉากกับสนามแม่เหล็ก ทำาให้เส้นทางการเคลื่อนที่เป็น
วงกลม ที่มีรัศมีตามสมการ
mv
r =
qB
แทนค่า (6.68 ×10−27 kg)(3 ×106 m/s)
r =
(3.20 ×10−19 C)(1.0 T)
= 6.26 × 10-2 m
ตอบ เส้นทางการเคลื่อนที่ของอนุภาคแอลฟาเป็นวงกลมที่มีรัศมีเท่ากับ 6.26 × 10-2 เมตร

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
สิกส์ เล่ม 5 บทที 15 แม่เ ลกและ า 103

6. ดิ ว เทอรอนซึ่ ง เป็ น นิ ว เคลี ย สของดิ ว เทอเรี ย มมี ม วล 3.34 × 10 -27 กิ โ ลกรั ม และประจุ
+1.60 × 10-19 คูลอมบ์ เคลื่อนที่ด้วยความเร็ว 4 × 106 เมตรต่อวินาที ในทิศทางตั้งฉากกับ
สนามแม่เหล็กสม่าำ เสมอ ทำาให้เส้นทางการเคลือ่ นทีข
่ องดิวเทอรอนเป็นวงกลมรัศมี 10 เซนติเมตร
จงหาขนาดของสนามแม่เหล็ก
วิ ีทา เมือ
่ ดิวเทอรอนเคลือ
่ นทีต
่ ง้ั ฉากกับสนามแม่เหล็กสม่าำ เสมอ ทำาให้เส้นทางการเคลือ
่ นทีเ่ ป็น
วงกลม ดังนัน
้ แรง FB ทีด
่ วิ เทอรอนได้รบ
ั จากสนามแม่เหล็กเป็นแรงสูศ
่ น
ู ย์กลาง
mv 2
FB =
r
mv 2
qvB =
r
mv
B =
qr
(3.34 ×10−27 kg)(4 ×106 m/s)
แทนค่า =
(1.60 ×10−19 C)(0.10 m)
= 0.84 T
ตอบ ขนาดของสนามแม่เหล็กเท่ากับ 0.84 เทสลา

7. ลวดทองแดงตรง กข มีมวลน้อยมาก วางอยู่ใกล้แท่งแม่เหล็ก ถ้ามีกระแสอิเล็กตรอนผ่าน


ลวดทองแดงนี้ ดังรูป

ก e
S ข

ร ระกอบ า อ7

แรงแม่เหล็กกระทำาต่อลวดทองแดงนี้มีทิศทางใด
วิ ีทา กระแสไฟฟ้า I มีทิศทางตรงข้ามกับทิศทางของกระแสอิเล็กตรอน คือ I มีทิศทางจาก
ปลาย ข ไปปลาย ก สนามแม่เหล็ก B ที่ผ่านลวดตัวนำา ชี้เข้าหาขั้วใต้ S ดังรูป

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
104 บทที 15 แม่เ ลกและ า สิกส์ เล่ม 5

S
B

ก 

I

F

ร ระกอบวิ ีทาสา รับ า อ7

ใช้มือขวาหาทิศทางของแรงแม่เหล็กที่กระทำาต่อลวดทองแดงนี้ จะได้ทิศทางของ
แรงแม่เหล็กมีทิศทางชี้ลงในแนวดิ่ง ดังรูป
ตอบ แรงแม่เหล็กที่กระทำาต่อลวดทองแดงมีทิศทางชี้ลงในแนวดิ่ง

8. วางลวดตัวนำาขนานกันและตั้งฉากกับพื้นราบที่จุด B C และ D และตรึงไว้แน่น ถ้านำาลวดอีก


เส้นหนึ่งมาวางไว้ที่จุด A ขนานกับลวดทั้งสาม โดย ABCD เป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ดังรูป

B A
C D

ร ระกอบ า อ8

ถ้ามีกระแสไฟฟ้าผ่านลวดตัวนำาทั้ง 4 ขนาดเท่ากัน ในทิศทางเดียวกัน แรงลัพธ์ที่กระทำาต่อ


ลวดที่วางที่จุด A มีทิศทางใด โดยแรงระหว่างลวดตัวนำาขนานที่มีกระแสไฟฟ้าแปรผันตรงกับ
กระแสไฟฟ้า แต่แปรผกผันกับระยะห่างระหว่างเส้นลวด
วิ ีทา ลวดตัวนำา 2 เส้นวางขนานกัน มีกระแสไฟฟ้าผ่านในทิศทางเดียวกัน จะเกิดแรงดึงดูด
ซึ่งกันและกัน หาแรงลัพธ์ F ที่กระทำาต่อลวดที่วางที่จุด A ได้ดังนี้

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
สิกส์ เล่ม 5 บทที 15 แม่เ ลกและ า 105


FB
B A

FC 
D FD
C

ร ระกอบวิ ีทาสา รับ า อ8


แรงที่กระทำาต่อลวดที ่ A มี 3 แรง ได้แก่ F B F C และ F D ดังรูป
โดยขนาด FB = FD จะได้ว่า F B + F D มีทิศทางเดียวกับ F C
ดังนั้นแรงลัพธ์ที่จุด A F = (F B + F C + F D) มีทิศทางจากจุด A ไปจุด C
แรงลัพธ์ที่กระทำาต่อลวดที่วางที่จุด A มีทิศทางจาก A ไป C
ตอบ แรงลัพธ์ที่กระทำาต่อลวด ที่วางที่จุด A มีทิศทางจาก A ไป C

9. แท่งเหล็กอ่อน P และ Q วางอยูใ่ กล้กน


ั มีลวดพันไว้โดยรอบและต่อกับวงจรไฟฟ้า ดังรูป ซ้ายและ
ขวา ตามลำาดับ

P Q

s s
ร ระกอบ า อ9
ก. เมื่อเปิดสวิตซ์ S ในรูปซ้าย เหล็กอ่อน P และ Q จะเกิดแรงดึงดูดหรือแรงผลักกัน ให้เหตุผล
ประกอบ
ข. เมื่อเปิดสวิตซ์ S ในทั้งสองรูปพร้อมกัน เหล็กอ่อน P และ Q จะเกิดแรงดึงดูดหรือแรงผลัก
ให้เหตุผลประกอบ
วิ ีทา ก. เมือ่ เปิดสวิตซ์ S ในรูปซ้าย กระแสไฟฟ้าทีผ
่ า่ นลวดทีพ
่ น
ั รอบเหล็กอ่อน P จะเหนีย่ วนำา
เหล็กอ่อน P กลายเป็นแท่งแม่เหล็ก เหล็กอ่อน P และ Q จะเกิดแรงดึงดูดกัน
ข. เมื่ อ เปิ ด สวิ ต ซ์ S ในทั้ ง สองรู ป พร้ อ มกั น ใช้ มื อ ขวาหาสนามแม่ เ หล็ ก ที่ เ กิ ด จาก
กระแสไฟฟ้าผ่านลวดทีพ
่ น
ั รอบเหล็กอ่อน P และ Q จะทำาให้เหล็กอ่อน P และ Q กลาย
เป็นแท่งแม่เหล็กที่มีขั้วใต้อยู่ใกล้กัน ดังรูป เหล็กอ่อน P และ Q จะเกิดแรงผลักกัน

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
106 บทที 15 แม่เ ลกและ า สิกส์ เล่ม 5

N S S N
P Q

s s
ร ระกอบวิ ีทาสา รับ า อ9

ตอบ ก. เหล็กอ่อน P และ Q จะเกิดแรงดึงดูดกัน


ข. เหล็กอ่อน P และ Q จะเกิดแรงผลักกัน

10. ขดลวดระนาบมีพน
ื้ ที ่ 800 ตารางเซนติเมตร จำานวน 20 รอบ และระนาบของขดลวดขนานกับ
สนามแม่เหล็กสม่าำ เสมอมีขนาด 0.3 เทสลา ถ้ามีกระแสไฟฟ้าผ่าน 0.5 แอมแปร์ ขนาดของ
โมเมนต์ของแรงคู่ควบที่กระทำาต่อขดลวดมีค่าเท่าใด
วิ ีทา
จาก M = NIBA cos θ
แต่ cos θ = cos 0˚
= 1
แทนค่า M = (20)(0.5 A)(0.3 T)(800 × 10-4 m2)
= 0.24 N m
ตอบ โมเมนต์ของแรงคู่ควบที่กระทำาต่อขดลวดมีค่าเท่ากับ 0.24 นิวตัน เมตร

11. ขดลวดสี่เหลี่ยมผืนผ้ามีพื้นที ่ 120 ตารางเซนติเมตร จำานวน 40 รอบ มีกระแสไฟฟ้าผ่าน


2 แอมแปร์และอยูใ่ นสนามแม่เหล็กขนาด 0.25 เทสลา โดยระนาบของขดลวดทำามุม 60 องศา
กับสนามแม่เหล็ก จงหาขนาดของโมเมนต์ของแรงคู่ควบที่กระทำาต่อขดลวด
วิ ีทา
จาก M = NIBA cos θ
แทนค่า
1
M = (40)(2 A)(0.25 T)(120 × 10-4 m2) 
2
= 0.12 N m
ตอบ โมเมนต์ของแรงคู่ควบที่กระทำาต่อขดลวดเท่ากับ 0.12 นิวตัน เมตร

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
สิกส์ เล่ม 5 บทที 15 แม่เ ลกและ า 107

12. ขดลวดตัวนำารูปสีเ่ หลีย่ มผืนผ้าขนาด 3 × 5 ตารางเซนติเมตร จำานวน 20 รอบ อยูใ่ นสนามแม่เหล็ก


ขนาดสม่ำาเสมอ 0.5 เทสลา โดยระนาบของขดลวดอยู่ในแนวขนานกับสนามแม่เหล็กและด้าน
ของขดลวดทีม
่ ค
ี วามยาว 5 เซนติเมตร ตัง้ ฉากกับสนามแม่เหล็ก เมือ
่ ให้กระแสไฟฟ้า 5 แอมแปร์
ผ่านขดลวดนี้ จงหาขนาดของแรงที่กระทำาต่อขดลวดแต่ละด้านและขนาดของโมเมนต์ของ
แรงคู่ควบที่กระทำาต่อขดลวด
วิ ีทา
จาก F = IlB sin θ
ด้านของขดลวดที่มีความยาว 5 เซนติเมตร ตั้งฉากกับสนามแม่เหล็ก ดังนั้นจะได้
F = IlB
แทนค่า F = (5 A)(5 × 10-2 m)(0.5 T)
= 0.125 N
แต่ เ นื่ อ งจากขดลวดมี จำ า นวน 20 รอบ ดั ง นั้ น แรงลั พ ธ์ ที่ ก ระทำ า ต่ อ ขดลวดด้ า นที่ มี
ความยาว 5 เซนติเมตรจึงมีค่าเท่ากับ 20 เท่า จะได้
∑F = (20)(0.125 N)
= 2.50 N
ส่วนด้านของขดลวดทีย่ าว 3 เซนติเมตร ลวดวางขนานกับสนามแม่เหล็ก ดังนัน
้ แรงแม่เหล็ก
ที่กระทำาต่อลวดด้านนี้เป็นศูนย์
หาขนาดโมเมนต์จาก M = NIBA cos θ
เนื่องจากระนาบของขดลวดทำามุม 0 องศา กับสนามแม่เหล็ก ดังนั้น
M = NIBA
แทนค่า M = (20)(5 A)(0.5 T)(3 × 5 × 10-4 m2)
= 7.5 × 10-2 N m
ตอบ แรงที่กระทำาต่อขดลวดด้านที่ยาว 5 เซนติเมตร เท่ากับ 2.5 นิวตัน และแรงที่กระทำาต่อ
ขดลวดด้านที่ยาว 3 เซนติเมตร เท่ากับศูนย์ โมเมนต์ของแรงคู่ควบที่กระทำาต่อขดลวด
เท่ากับ 7.5 × 10-2 นิวตัน เมตร

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
108 บทที 15 แม่เ ลกและ า สิกส์ เล่ม 5

13. ตัวต้านทาน R ต่อกับแหล่งกำาเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ ดังรูป ก.

ร ระกอบ า อ 13 ก

กราฟระหว่างกระแสไฟฟ้า i ที่ผ่านตัวต้านทาน R ที่เวลา t ใด ๆ เป็นดังนี้


i

t
0 T 2T

ถ้าใส่ไดโอดเข้าไปในวงจร ดังรูป ข. (ให้ถอ


ื ว่าความต้านทานของไดโอดเป็นศูนย์ ในขณะนำาไฟฟ้า

ร ระกอบ า อ 13

จงเขียนกราฟระหว่างกระแสไฟฟ้า i ที่ผ่านตัวต้านทาน R ที่เวลา t ใด ๆ ลงในรูปที่กาำ หนดให้

t
0 T 2T

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
สิกส์ เล่ม 5 บทที 15 แม่เ ลกและ า 109

วิ ีทา ไดโอดจะยอมให้กระแสไฟฟ้าผ่านได้เพียงทิศทางเดียว แต่การต่อไดโอดในรูป ข จะทำาให้


กระแสไฟฟ้าผ่านได้ทั้งไปและกลับจึงเหมือนต่อกับสายไฟทั่วไป
ดังนั้น กระแสไฟฟ้าผ่านตัวต้านทาน R ได้กราฟ i กับ t ดังรูป
i

t
0 T 2T

ร ระกอบวิ ีทาสา รับ า อ 13

ตอบ กราฟระหว่างกระแสไฟฟ้า i ที่ผ่านตัวต้านทาน R ที่เวลา t


i

t
0 T 2T

14. ตัวต้านทานที่มีความต้านทาน 50 และ 100 โอห์ม ต่ออนุกรมกัน แล้วต่อกับแหล่งกำาเนิดไฟฟ้า


กระแสสลับ ดังรูป

50 Ω

V 100 Ω

ร ระกอบ า อ 14

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
110 บทที 15 แม่เ ลกและ า สิกส์ เล่ม 5

ถ้ากระแสไฟฟ้าสูงสุดทีผ
่ า่ นความต้านทาน 50 โอห์ม มีคา่ 0.8 แอมแปร์ โวลต์มเิ ตอร์ V อ่านค่า
ได้เท่าใด
วิ ีทา ความต้านทาน 100 โอห์ม ต่ออนุกรมกับความต้านทาน 50 โอห์มกระแสไฟฟ้าที่ผ่านจะ
มีค่าเท่ากัน ค่าที่โวลต์มิเตอร์อ่านได้คือ Vrms และหาได้จากสมการ Vrms = Irms R
I0
โดย I rms
2
จากสมการ Vrms = Irms R
I0
Vrms R
2
(0.8 A)
จะได้ Vrms (100 Ω)
1.414
Vrms = 56.6 V
ตอบ โวลต์มิเตอร์ V อ่านค่าได้ 56.6 โวลต์

15. ในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ ดังรูป

100 Ω

ร ระกอบ า อ 15

ถ้าโวลต์มิเตอร์ V อ่านความต่างศักย์อาร์เอ็มเอสได้ 200 โวลต์ กระแสไฟฟ้าสูงสุดที่ผ่าน


ตัวต้านทานที่มีความต้านทาน 100 โอห์ม มีค่าเท่าใด
วิ ีทา ความต่างศักย์ที่อ่านได้จากโวลต์มิเตอร์เป็นความต่างศักย์อาร์เอ็มเอส Vrms จากสมการ
I0
Vrms = Irms R และ I rms
2
2 (Vrms )
จะได้ I0
R
200 2 V
แทนค่า I0
100 Ω
จะได้ I0 2 2 A
= 2.82 A

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
สิกส์ เล่ม 5 บทที 15 แม่เ ลกและ า 111

ตอบ กระแสไฟฟ้าสูงสุดที่ผ่านตัวต้านทานที่มีความต้านทาน 100 โอห์ม มีค่าเท่ากับ


2.82 แอมแปร์

16. วงจรไฟฟ้ากระแสสลับที่มีตัวต้านทานที่มีความต้านทาน 10 โอห์ม ต่ออยู่ในวงจรดังรูป

10 Ω

ร ระกอบ า อ 16

ถ้ากระแสไฟฟ้าในวงจรเป็นไปตามสมการ i = 2 sin (100 πt) จงหา


ก. ความถี่ของไฟฟ้ากระแสสลับที่ได้จากแหล่งจ่ายไฟฟ้า
ข. สมการความต่างศักย์ที่เป็นฟังก์ชันกับเวลา
วิ ีทา ก. กระแสไฟฟ้าสลับเปลี่ยนแปลงค่าตามเวลาในรูปฟังก์ชันไซน์ ดังสมการ i = I0 sin ωt
จาก ω = 2πf
100π = 2πf
จะได้ f = 50 Hz
ความถี่ของไฟฟ้ากระแสสลับที่ได้จากแหล่งจ่ายไฟฟ้ามีค่าเท่ากับ 50 เฮิรตซ์
ข. ตัวต้านทานที่ต่อกับแหล่งจ่ายไฟฟ้ากระแสสลับ ความต่างศักย์ มีเฟสเดียวกันกับ
กระแสไฟฟ้า i ดังนัน
้ สมการความต่างศักย์ทป
่ี ลายของตัวต้านทาน คือ v = V0 sin (ωt)
หา V0 จากสมการ V0 = I0R
จะได้ V0 = (2A)(10Ω)
V0 = 20 V
ดังนั้น v = 20 sin (100πt)
ตอบ ก. ความถี่ของไฟฟ้ากระแสสลับที่ได้จากแหล่งจ่ายไฟฟ้ามีค่าเท่ากับ 50 เฮิรตซ์
ข. สมการความต่างศักย์ที่ปลายของตัวต้านทาน คือ v = 20 sin (100πt)

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
112 บทที 15 แม่เ ลกและ า สิกส์ เล่ม 5

17. ความสัมพันธ์ระหว่างความต่างศักย์ขณะหนึ่ง v ที่เวลา t ใด ๆ ของไฟฟ้ากระแสสลับ


เป็นดังกราฟ
v (V)

200

t 10 2 s
0 1 2 3 4 5 6

-200

ร ระกอบ า อ 17

จงหาความต่างศักย์สูงสุด ความต่างศักย์อาร์เอ็มเอส คาบ และความถี่ของไฟฟ้ากระแสสลับ


วิ ีทา หาความต่างศักย์สูงสุดจากกราฟได้ 200 V
หาความต่างศักย์อาร์เอ็มเอส จาก
V0
Vrms
2
200 V
แทนค่า Vrms
2
= 141.4 V
หาคาบจากกราฟได้ 2 × 10-2 s
หาความถี่จาก
1
f
T
1
แทนค่า f
0.02 s
= 50 Hz
ตอบ ความต่างศักย์สูงสุดเท่ากับ 200 โวลต์ ความต่างศักย์อาร์เอ็มเอสเท่ากับ 141 โวลต์
คาบเท่ากับ 0.02 วินาที และความถี่เท่ากับ 50 เฮิรตช์

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
สิกส์ เล่ม 5 บทที 15 แม่เ ลกและ า 113

18. แหล่งจ่ายไฟฟ้ากระแสสลับให้กระแสไฟฟ้าตามสมการ i = 20 sin ωt


π π 3π 2π
เมื่อ i มีหน่วยเป็นแอมแปร์ และ t มีหน่วยเป็นวินาที จงหาค่า i เมื่อ t = 0
π π 3π 2π 2ω ω 2ω ω
และ และเขียนกราฟระหว่าง i กับ t
2ω ω 2ω ω π π 3π 2π
วิ ีทา หากระแสไฟฟ้าจากสมการ i = 20 sin ωt แทนค่าเวลา t = 0 และ
2ω ω 2ω ω
π π 3π 2π
ในหน่วยวินาที จะได้ t = 0A 20A 0A -20A และ 0A ตามลำาดับ
2ω ω 2ω ω π π 3π 2π
จากสมการ i = 20 sin ωt มี I0 เท่ากับ 20A และคาบเท่ากับ จะเขียนกราฟได้ดงั รูป
2ω ω 2ω ω
i
20

t
2

-20

ร ระกอบวิ ีทาสา รับ า อ 18


ππ ππ 33ππ 22ππ
ตอบ i เมื่อ t = 0 และ ในหน่วยวินาที มีคา่ เท่ากับ 0A 20A 0A -20A
22ωω ωω 22ωω ωω
และ 0 A ตามลำาดับ
เขียนกราฟได้ดังรูปในวิธีทำา

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
114 บทที 15 แม่เ ลกและ า สิกส์ เล่ม 5

19. วงจรหม้อแปลงอุดมคติ (ไม่คาำ นึงถึงการสูญเสียพลังงาน) ต่อกับตัวต้านทาน ดังรูป

100 V 220 V 100 Ω

ร ระกอบ า อ 19
ถ้าต่อฟิวส์ที่ขดลวดปฐมภูมิจะต้องมีขนาดที่เหมาะสมกี่แอมแปร์
วิ ีทา หม้อแปลงอุดมคติ จะส่งผ่านกำาลังไฟฟ้าจากขดลวดปฐมภูมิไปยังขดลวดทุติยภูม ิ
V2
โดยกำาลังไฟฟ้ามีค่าเท่าเดิม ใช้ความสัมพันธ์ P IV
R
P1 = P2
V22
IV1
R
(220 V) 2
I (100 V)
100 Ω
I = 4.84 A
กระแสไฟฟ้ามีค่า 4.84 แอมแปร์
ตอบ ต่อฟิวส์ที่ขดลวดปฐมภูมิมีขนาดที่เหมาะสม 5 แอมแปร์

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
สิกส์ เล่ม 5 บทที 15 แม่เ ลกและ า 115

าทาทาย

20. อนุ ภ าคแอลฟามี ป ระจุ +2e เคลื่ อ นที่ จ ากจุ ด P ด้ ว ยความเร็ ว v เข้ า ไปในบริ เ วณที่ มี
สนามแม่เหล็กสม่ำาเสมอ B โดย v มีทิศตั้งฉากกับ B แล้วออกจากสนามแม่เหล็กที่จุด Q
ทำาให้เส้นทางการเคลื่อนที่ของอนุภาคแอลฟาในสนามแม่เหล็กเป็นครึ่งวงกลม ดังรูป


B


v
P Q

ร ระกอบ าทาทาย อ 20

ถ้าประจุตอ
่ มวลของอนุภาคแอลฟาเท่ากับ 4.79 × 107 คูลอมบ์ตอ
่ กิโลกรัม และสนามแม่เหล็ก
มีขนาด 4.0 × 10-6 เทสลา จงหาเวลาที่อนุภาคแอลฟาใช้ในการเคลื่อนที่จากจุด P ไปยังจุด Q
T
วิ ีทา จากรูปอนุภาคแอลฟาเคลื่อนที่จาก P ไปยังจุด Q เป็นครึ่งวงกลมจะใช้เวลาเท่ากับ
2π r mv 2
หาคาบจาก T และจาก r จะได้
v qB
2π m
T
qB
T πm
2 qB
π
(q m)( B )
T π
แทนค่า
2 (4.79 ×10 C / kg)(4.0 ×10−6 T)
7

= 1.64 × 10-2 s
ตอบ เวลาทีอ
่ นุภาคแอลฟาใช้ในการเคลือ
่ นทีจ่ ากจุด P ไปยังจุด Q เท่ากับ 1.64 × 10-2 วินาที

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
116 บทที 15 แม่เ ลกและ า สิกส์ เล่ม 5

21. โปรตอนมีมวล 1.67 × 10-27 กิโลกรัม และประจุ 1.60 × 10-19 คูลอมบ์ เคลื่อนที่ด้วยความเร็ว
v ในทิศ +x เข้าไปในสนามแม่เหล็กสม่ำาเสมอขนาด 6.68 × 10-5 เทสลา ซึ่งมีทิศขนานกับ
แกน +y ทำาให้โปรตอนเคลื่อนที่เป็นวงกลมรัศมี 20 เซนติเมตร
ก. การเคลื่อนที่เป็นวงกลมของโปรตอนอยู่ในระนาบใด
ข. ขนาดของ v มีค่าเท่าใด
วิ ีทา ก. เมื่อโปรตอนเคลื่อนที่ด้วยความเร็ว v ในทิศ +x เข้าไปในสนามแม่เหล็กสม่าำ เสมอ
B ซึ่งมีทิศขนานกับแกน y แรงที่โปรตอนได้รับจากสนามแม่เหล็ก F B สามารถหา
ทิศทางได้จากการใช้มือขวา จะได้ F B มีทิศขนานกับแกน z ดังรูป
y


B
p
 x
v

z FB
ร ระกอบวิ ีทาสา รับ าทาทาย อ 21
ดังนั้นโปรตอนจะเคลื่อนที่เป็นวงกลมในระนาบ xz
ข. หาขนาดของ v จากสมการ
mv
r
qB
qBr
จะได้ v
m
(1.60 ×10−19 C)(6.68 ×10−5 T)(0.20 m)
แทนค่า v
1.67 ×10−27 kg
= 1.28 × 103 m/s
ตอบ ก. โปรตอนจะเคลื่อนที่เป็นวงกลมในระนาบ xz
ข. ขนาดของความเร็วเท่ากับ 1.28 × 103 เมตรต่อวินาที

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
สิกส์ เล่ม 5 บทที 15 แม่เ ลกและ า 117

22. อิเล็กตรอนมีมวล 9.10 × 10-31 กิโลกรัม และประจุ -1.60 × 10-19 คูลอมบ์ เคลือ
่ นทีด
่ ว้ ยความเร็ว
v เข้าไปในสนามไฟฟ้าสม่าำ เสมอขนาด 4.0 × 105 นิวตันต่อคูลอมบ์ ระหว่างแผ่นคูข่ นานทีย่ าว
4.0 เซนติเมตร และมีสนามแม่เหล็กสม่ำาเสมอขนาด 0.50 เทสลา มีทิศทางดังรูป
e

v

4.0 cm


B

ร ระกอบ าทาทาย อ 22

ถ้าอิเล็กตรอนไม่มีการเบี่ยงเบนจากแนวเดิม จงหา
ก. ขนาดของความเร็วของอิเล็กตรอน
ข. เวลาทีอ่ เิ ล็กตรอนใช้ในการเคลือ่ นทีต
่ ลอดความยาวของแผ่นคูข
่ นานในหน่วยนาโนวินาที
วิ ีทา ก. เมื่ออิเล็กตรอนเคลื่อนที่ในสนามไฟฟ้า อิเล็กตรอนจะได้รับแรง F E เนื่องจาก
สนามไฟฟ้า และถ้าเคลื่อนที่ในสนามแม่เหล็กด้วย อิเล็กตรอนก็จะได้รับแรง F B
เนื่องจากสนามแม่เหล็ก แรงทั้งสองมีทิศทาง ดังรูป
 
FE FB
e −
+ 
v
+ −
+ −
+ −
4.0 cm + −
+ −
+ −

+ B −
+ −

ร ระกอบวิ ีทาสา รับ าทาทาย อ 22

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
118 บทที 15 แม่เ ลกและ า สิกส์ เล่ม 5

ถ้าอิเล็กตรอนไม่เบี่ยงเบนจากแนวเดิม แสดงว่าขนาดของ F E เท่ากับขนาดของ


F B นั่นคือ
FE = FB
qE = qvB
E
v =
B
4.0 ×105 N/C
แทนค่า v =
0.50 T
= 8.0 × 105 m/s
ข. หาเวลาได้จากสมการ
s
v =
t
s
จะได้ t =
v
4.0 ×10−2 m
แทนค่า t =
8.0 ×105 m/s
= 0.50 × 10-7 s
= 50 × 10-9 s
= 50 ns
ตอบ ก. ขนาดของความเร็วของอิเล็กตรอนเท่ากับ 8.0 × 105 เมตรต่อวินาที
ข. เวลาทีอ่ เิ ล็กตรอนใช้ในการเคลือ่ นทีต่ ลอดความยาวของแผ่นคูข่ นานเท่ากับ 50 นาโนวินาที

23. โปรตอนมีมวล 1.67 × 10-27 กิโลกรัม และประจุ 1.60 × 10-19 คูลอมบ์ ถูกเร่งจากหยุดนิ่งผ่าน
ความต่างศักย์ 640 โวลต์ แล้วจึงเคลื่อนเข้าไปในบริเวณสนามแม่เหล็กสม่ำาเสมอในทิศทาง
ตั้งฉากกับสนามแม่เหล็ก ทำาให้เส้นทางการเคลื่อนที่เป็นวงกลมรัศมี 4.0 เซนติเมตร จงหา
ก. ขนาดของความเร็วของโปรตอน
ข. ขนาดสนามแม่เหล็ก
วิ ีทา ก. เมื่อโปรตอนมวล m ประจุ q ถูกเร่งจากหยุดนิ่งผ่านความต่างศักย์ V โปรตอนจะ
มีพลังงานจลน์ ซึ่งหาได้จากสมการ
1 2
mv qV
2

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
สิกส์ เล่ม 5 บทที 15 แม่เ ลกและ า 119

หาขนาดของความเร็วได้
2qV
v
m
2(1.60 ×10−19 C)(640 V)
v
แทนค่า 1.67 ×10−27 kg

= 3.50 × 105 m/s


ข. หาสนามแม่เหล็กจากโปรตอนเคลื่อนที่เป็นวงกลมจะมีรัศมี ตามสมการ
mv
r
qB
mv
จะได้ B
qr
(1.67 ×10−27 kg)(3.50 ×105 m/s)
แทนค่า B
(1.60 ×10−19 C)(4.0 ×10−2 m)
= 9.13 × 10-2 T
ตอบ ก. ความเร็วของโปรตอนเท่ากับ 3.50 × 105 เมตรต่อวินาที
ข. ขนาดของสนามแม่เหล็กเท่ากับ 9.13 × 10-2 เทสลา

24. เส้นลวดตัวนำามีมวล 10 กรัม และยาว 6.0 เซนติเมตร วางตัวในแนวแกน x อยูใ่ นสนามแม่เหล็ก


สม่ำาเสมอขนาด 0.4 เทสลา มีทิศ -z ดังรูป
y


B

6.0
cm
I
mg

z x

ร ระกอบ าทาทาย อ 24

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
120 บทที 15 แม่เ ลกและ า สิกส์ เล่ม 5

ถ้ามีกระแสไฟฟ้า 5.0 แอมแปร์ ผ่านเส้นลวดตัวนำาในทิศ +x และให้แทนค่าความเร่งโน้มถ่วง


มีค่าเท่ากับ 9.8 เมตรต่อวินาทีกำาลังสอง
ก. จงหาขนาดแรงแม่เหล็กที่กระทำาต่อลวดตัวนำา
ข. เส้นลวดตัวนำากำาลังเคลื่อนที่ทิศทางใด ด้วยความเร่งเท่าใด
วิ ีทา ก. หาขนาดแรงจากสมการ F = IlB sin θ แต่เนื่องจากทิศทางของกระแสไฟฟ้ากับ
ทิศทางของสนามแม่เหล็กมีทิศทางตั้งฉากกัน จะได้
F = IlB
แทนค่า F = (5.0 A)(6.0 × 10-2 m)(0.4 T)
= 0.12 N
ขนาดแรงแม่เหล็กที่กระทำาต่อลวดตัวนำามีค่าเท่ากับ 0.12 นิวตัน
ข. หาทิศทางของแรงโดยใช้มือขวาจะได้ F มีทิศ +y ดังรูป
y


F 
B

6.0 I = 5.0 A
cm

mg
z x

ร ระกอบวิ ีทาสา รับ าทาทาย อ 24


เขียนแผนภาพวัตถุอิสระของลวดตัวนำา ได้ดังรูป ให้เส้นลวดตัวนำากำาลังเคลื่อนที่
ด้ ว ยความเร่ ง a จากกฎข้ อ ที่ ส องของนิ ว ตั น ∑ F = ma ให้ แ รงในทิ ศ +y
มีค่าเป็นบวกจะได้
F - mg = ma
แทนค่า 0.12 N − (10 × 10-3 kg)(9.8 m/s2) = (10 × 10-3 kg) a
a = 2.2 m/s
ตอบ ก. ขนาดแรงแม่เหล็กที่กระทำาต่อลวดตัวนำามีค่าเท่ากับ 0.12 นิวตัน
ข. ลวดตัวนำากำาลังเคลื่อนที่ขึ้นด้วยความเร่งเท่ากับ 2.2 เมตรต่อวินาทีกาำ ลังสอง

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
สิกส์ เล่ม 5 บทที 15 แม่เ ลกและ า 121

25. ลวดตัวนำาเส้นหนึ่งมีมวล 25 กรัม และยาว 10 เซนติเมตร แขวนจุดกึ่งกลางของลวดไว้กับ


สปริงพลาสติกที่มีค่าคงตัวสปริง k ทำาให้สปริงยืดออกเล็กน้อยและลวดตัวนำาวางตัวในแนว
แกน x อยู่ในสนามแม่เหล็กสม่ำาเสมอขนาด 0.4 เทสลา ที่มีทิศทางชี้เข้าตั้งฉากกับกระดาษ
ดังรูป y

ร ระกอบ าทาทาย อ 25

เมื่อให้กระแสไฟฟ้าผ่านลวดตัวนำา 8.0 แอมแปร์ ในทิศทาง +x แรงแม่เหล็กจะทำาให้สปริงหด


กลับขึ้นไปเป็นระยะ 1.0 เซนติเมตร จงหาค่าคงตัวสปริง k (ไม่คำานึงถึงน้าำ หนักของสายไฟ)
วิ ีทา ก่อนมีกระแสไฟฟ้าผ่านลวดตัวนำา ดังรูป ก.

10 cm

x1 kx1

mg

ร ระกอบวิ ีทาสา รับ าทาทาย อ 25 ก

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
122 บทที 15 แม่เ ลกและ า สิกส์ เล่ม 5

เมื่อแขวนเส้นลวดมวล 25 กรัม ทำาให้สปริงยืดออกเป็นระยะ x1 แล้ววางตัวนิ่งใน


แนวระดับรูป ข. แรงที่ทาำ ให้สปริงยืดคือ น้ำาหนักของเส้นลวด
W = mg
= (25 × 10-3 kg)(9.8 m/s2)
= 0.245 N
เมื่อลวดตัวนำาหยุดนิ่งในแนวระดับได้ว่า
∑F = 0
kx1 = mg
แต่เมื่อให้กระแสไฟฟ้าผ่านลวดตัวนำาในทิศทาง +x จะเกิดแรงแม่เหล็กกระทำาต่อ
เส้นลวดในทิศทางขึ้น จาก
FB = IlB
FB = (8 A)(0.10 m)(0.40 T)
= 0.32 N
แรงแม่เหล็กนี้ทำาให้สปริงหดกลับเป็นระยะ 1 เซนติเมตร
เมื่อพิจารณา ขนาดของแรงแม่เหล็กและน้ำาหนักของเส้นลวด พบว่า แรงแม่เหล็กที่มี
ทิศทางขึ้นมีค่ามากกว่าน้ำาหนักของเส้นลวด จึงทำาให้สปริงถูกอัดให้สั้นกว่าความยาว
เดิมเป็นระยะ (1 × 10-2) − x1 เมตร

10 cm

FB I
I F
x1 kx1 mg 1 cm

mg

ร ระกอบวิ ีทาสา รับ าทาทาย อ 25

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
สิกส์ เล่ม 5 บทที 15 แม่เ ลกและ า 123

จะได้ FB = mg + k (1 × 10-2 m − x1)


IlB = mg + k (1 × 10-2 m) − kx1
เนื่องจาก mg = kx1
IlB = k (1 × 10-2 m)
(0.8 A)(0.10 m)(0.40 T) = k (1 × 10-2 m)
0.32 N = k (1 × 10-2 m)
k = 32 N/m
หรือทำาได้อีกวิธีหนึ่ง โดยพิจารณาว่าเมื่อแขวนเส้นลวดสปริงจะยืดออกและหยุดนิ่ง
แล้วเมือ
่ มีแรงกระทำา ทำาให้สปริงมีการยืดหรือหดจากจุดดังกล่าว สามารถพิจารณาว่า
สปริ ง จะเสมื อ นมี แ รงสปริ ง ซึ่ ง แปรผั น ตรงกั บ ระยะที่ เ ปลี่ ย นไปจากจุ ด นั้ น กระทำ า
พิสูจน์ได้ดังนี้
พิจารณาสปริงซึง่ วางตัวอยูใ่ นแนวราบผูกติดกับรถทดลอง เมือ
่ ออกแรง F ทำาให้สปริง
ยืดออกเป็นระยะ x1 แล้วหยุดนิ่งดังรูป ค.

x0

x0 x1

ร ระกอบวิ ีทาสา รับ าทาทาย อ 25 ค

จาก ∑F = 0
จะได้ว่า F = kx1 (1)
เมือ
่ ให้แรงเพิม
่ ขึน
้ อีกขนาด ΔF จะทำาให้สปริงยืดเพิม
่ ขึน
้ อีกเป็นระยะ Δx แล้วหยุดนิง่
ดังรูป ง.

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
124 บทที 15 แม่เ ลกและ า สิกส์ เล่ม 5

x0

x0 x1

F F

x0 x1 x1 x

ร ระกอบวิ ีทาสา รับ าทาทาย อ 25 ง

สามารถหาแรงสปริงได้จาก
∑F = 0
จะได้ว่า F + ΔF = k (x1 + Δx)
จากสมการ (1) จะได้ว่า
ΔF = k Δx
หรือสรุปได้วา่ นา แรงกระทาทีเ ลียนแ ลง เท่ากับ ค่าคงตัวส ริงค นา
ความยาวทีเ ลียนแ ลง
จากที่กล่าวมาข้างต้น เมื่อให้กระแสไฟฟ้าผ่านลวดในทิศทาง +x จะมีแรงแม่เหล็ก
กระทำ า ต่ อ เส้ น ลวดในทิ ศ ทางขึ้ น ทำ า ให้ ส ปริ ง หดกลั บ ไปจากเดิ ม เป็ น ระยะทาง
1.0 เซนติเมตร แล้วหยุดนิ่ง ดังนั้นจะได้ว่า
FB = k Δx
IlB = k (1 × 10-2 m)
(0.8 A)(0.10 m)(0.40 T) = k (1.0 × 10-2 m)
0.32 N = k (1.0 × 10-2 m)
k = 32 N/m
ตอบ ค่าคงตัวสปริง k เท่ากับ 32 นิวตันต่อเมตร

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
สิกส์ เล่ม 5 บทที 15 แม่เ ลกและ า 125

26. ลวดตั ว นำ า ยาว 15 เซนติ เ มตร วางตั ว ในแนวแกน x โดยจุ ด กึ่ ง กลางอยู่ ที่ จุ ด กำ า เนิ ด
ถ้ามีสนามแม่เหล็กสม่าำ เสมอ B ในระนาบ xy โดย B มีองค์ประกอบแนวแกน x และ y เท่ากับ
0.40 และ 0.30 เทสลา ตามลำาดับ เมื่อกระแสไฟฟ้า 6.0 แอมแปร์ผ่านขดลวดตัวนำาในทิศ +x
จงหาขนาดและทิศทางของแรงแม่เหล็กที่กระทำาต่อลวดตัวนำา
วิ ีทา ลวดตัวนำายาว l วางตัวในแนวแกน x และมีกระแสไฟฟ้า I ผ่านลวดตัวนำาในทิศ +x
ดังรูป
y


B
By 0.3 T

x
I 6.0 A Bx 0.4 T

ร ระกอบวิ ีทาสา รับ าทาทาย อ 26

ถ้า B เป็นสนามแม่เหล็กสม่ำาเสมอในระนาบ xy
Bx และ By เป็นองค์ประกอบของ B ตามแนวแกน x และ y ตามลำาดับ
Bx = 0.40 T และ By = 0.30 T
เฉพาะ By ซึ่งตั้งฉากกับลวดตัวนำา จะทำาให้เกิดแรงกระทำาต่อลวดตัวนำาที่มีกระแส
ไฟฟ้าผ่าน ซึ่งมีค่าตามสมการ
F = IlBy
= (6.0 A)(0.15 m)(0.30 T)
= 0.27 N
จากการใช้มือขวา จะได้ F มีทิศ +z
แรงเนื่องจากสนามแม่เหล็กที่กระทำาต่อลวดตัวนำาเท่ากับ 0.27 นิวตัน และมีทิศ +z
ส่วนสนามแม่เหล็ก Bx อยู่ในแนวขนานกับกระแสไฟฟ้า จึงไม่เกิดแรงแม่เหล็ก
ตอบ 0.27 นิวตัน และมีทิศ +z (ทิศชี้ออกตั้งฉากกับกระดาษ)

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
126 บทที 15 แม่เ ลกและ า สิกส์ เล่ม 5

27. ลวดตัวนำายาว l เส้นหนึ่งวางตั้งฉากกับสนามแม่เหล็กสม่ำาเสมอขนาด 0.80 เทสลา เมื่อมี


กระแสไฟฟ้า I ผ่านลวดตัวนำานี้ ทำาให้เกิดแรงต่อหนึ่งหน่วยความยาวที่กระทำาต่อลวดตัวนำา
มีค่า 20 นิวตันต่อเมตร จงหาค่าของ I
วิ ีทา ลวดตัวนำายาว l วางตั้งฉากกับสนามแม่เหล็กสม่าำ เสมอขนาด B เมื่อมีกระแสไฟฟ้า I
ผ่านลวดตัวนำา แรง F ที่สนามแม่เหล็กกระทำาต่อลวดตัวนำามีขนาด ดังนี้
F = IlB sin 90˚
เนื่องจากลวดวางตั้งฉากกับสนามแม่เหล็ก ดังนั้น
F = IlB
นำามาหา I ได้เป็น
F
I
lB
(F / l)
I
B
20 N/m
0.80 T
= 25 A
ตอบ ค่าของ I เท่ากับ 25 แอมแปร์

28. สนามแม่เหล็กสม่าำ เสมอขนาด 0.40 เทสลา ผ่านลวดตัวนำา ABCDE ในแนวขนานกับระนาบ


ของลวดตัวนำา ดังรูป


B

I 60 60 E
A
B D

ร ระกอบ าทาทาย อ 28

ถ้า AB และ DE ยาว 10 เซนติเมตร เท่ากัน ส่วน BC และ CD ยาว 20 เซนติเมตรเท่ากัน


เมื่อมีกระแสไฟฟ้า I เท่ากับ 3 แอมแปร์ ผ่านลวดตัวนำานี้ จงหาแรงลัพธ์ของแรงแม่เหล็กที่
กระทำาต่อลวดตัวนำา

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
สิกส์ เล่ม 5 บทที 15 แม่เ ลกและ า 127

วิ ีทา ลวดตัวนำายาว l มีกระแสไฟฟ้า I ผ่าน และอยู่ในสนามแม่เหล็ก B จะมีแรง F กระทำา


ต่อลวดตัวนำา ขนาดของแรงมีค่า
F = IlB sin θ
ลวดตัวนำา AB และ DE ทำามุม θ = 0˚ กับ B ดังนั้น
FAB = FDE
= 0
ลวดตัวนำา BC และ CD ทำามุม θ = 60˚ กับ B ดังนั้น
FBC = FCD
= IlB sin 60˚
 3
(3 A)(0.20 m)(0.40 T)  
 2 
0.12 3 N
ใช้มือขวาหาทิศทางของแรง FBC และ FCD จะได้ FBC มีทิศชี้เข้า และ FCD มีทิศชี้ออก
ตัง้ ฉากกับกระดาษ นัน
่ คือ FBC และ FCD มีขนาดเท่ากัน แต่มท
ี ศ
ิ ตรงข้าม ดังนัน
้ แรงลัพธ์
จึงมีค่าเท่ากับศูนย์
ตอบ แรงลัพธ์มีค่าเท่ากับศูนย์

29. สนามแม่เหล็กสม่าำ เสมอขนาด 0.40 เทสลา ผ่านลวดตัวนำา ABCDE มีทศ


ิ ทางออกตัง้ ฉากกับ
กระดาษ ดังรูป

C

B

I I

I 60 60 E
A
B D

ร ระกอบ าทาทาย อ 29

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
128 บทที 15 แม่เ ลกและ า สิกส์ เล่ม 5

ถ้า AB และ DE ยาว 10 เซนติเมตร ส่วน BC และ CD ยาว 20 เซนติเมตร เมือ


่ มีกระแสไฟฟ้า
3.0 แอมแปร์ ผ่านเส้นลวดนี้ จงหาขนาดและทิศทางแรงลัพธ์ของแรงแม่เหล็กที่กระทำาต่อ
ลวดตัวนำา ABCDE
วิ ีทา ลวดตัวนำายาว l มีกระแสไฟฟ้า I ผ่านในทิศทางตั้งฉากกับสนามแม่เหล็ก B แรงที่
สนามแม่เหล็กกระทำาต่อลวดตัวนำา F มีขนาดดังนี้
F = IlB sin 90˚
= IlB
ให้ F 1 เป็นแรงที่กระทำาต่อลวด AB และ DE ซึ่งยาว l1 เท่ากัน F 1 มีขนาดดังนี้
F1 = Il1B
เมื่อใช้มือขวาหาทิศทางของแรง F 1 จะได้ว่าแรง F 1 มีทิศชี้ลงในทิศ −y ดังแสดงในรูป

C

B

I I

 
I F2 F3
60 60 E
A  B D 
F1 F1

ร ระกอบวิ ีทาสา รับ าทาทาย อ 29

ถ้า F 2 และ F 3 เป็นแรงที่กระทำาต่อลวด BC และ CD ซึ่งยาว l2 เท่ากัน F 2 และ F 3


มีขนาดเท่ากัน ดังสมการ
F2 = F3
= Il2B
F 2 และ F 3 มีทิศตั้งฉากกับลวดตัวนำา BC และ CD ตามลำาดับ ดังแสดงในรูป
เมือ
่ แยก F 2 และ F 3 ออกเป็นองค์ประกอบแนวแกน x และ y องค์ประกอบแนวแกน x
มีขนาดเท่ากัน แต่มท ี ศ
ิ ตรงข้าม จึงหักล้างกัน ส่วนองค์ประกอบแนวแกน y มีทศ
ิ –y ทัง้ คู่
F2y = F3y
= (Il2B) cos 60˚
= I (l2 cos 60˚) B

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
สิกส์ เล่ม 5 บทที 15 แม่เ ลกและ า 129

l 
= I  2 B
2
หาแรงลัพธ์ ∑F ได้ดังนี้
∑F = F +F +F +F
1 2y 3y 1

=
= I (l1 + l2 + l1) B
แทนค่า ∑ F = (3.0 A)[(0.10 m + 0.20 m + 0.10 m)](0.40 T)
= 0.48 N
แรงลัพธ์เท่ากับ 0.48 นิวตัน มีทิศชี้ลงตั้งฉากกับแนว ABDE
ตอบ 0.48 นิวตัน มีทิศลงตั้งฉากกับแนว ABDE (ทิศทาง −y)

30. ขดลวดวงกลมมีจาำ นวนรอบ 20 รอบ และรัศมี 8.0 เซนติเมตร วางขดลวดนีไ้ ว้ในสนามแม่เหล็ก


สม่าำ เสมอขนาด 2.0 เทสลา และมีทิศขนานกับระนาบของขดลวด ถ้ามีกระแส 10 แอมแปร์
ผ่านขดลวด ในทิศดังรูป
P

I

Q S B
I

R
ร ระกอบ าทาทาย อ 30
จงหาโมเมนต์ของแรงคู่ควบรอบแกนหมุน
ก. ที่ผ่านจุด P กับ R
ข. ที่ผ่านจุด Q กับ S
วิ ีทา ก. พิจารณาโมเมนต์รอบแกนที่ผ่าน P กับ R จากแรงที่กระทำากับลวดส่วนโค้ง
ด้ า นขวาและด้ า นซ้ า ย พบว่ า ตลอดความยาวลวด PSR มี แ รงชี้ อ อกตั้ ง ฉาก
กับกระดาษ ตลอดความยาวลวด PQR มีแรงชี้เข้าตั้งฉากกับกระดาษ ดังรูป ก.

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
130 บทที 15 แม่เ ลกและ า สิกส์ เล่ม 5

ข ก
I

Q S B
I

ร ระกอบวิ ีทาสา รับ าทาทาย อ 30 ก

เกิดโมเมนต์ของแรงคู่ควบรอบแกนที่ผ่าน P กับ R ตามสมการ


MC = NIAB cos θ
= NI(πr2) B cos 0˚
= (20)(10 A)(3.14)(8.0 × 10-2 m 2) 2(2.0 T)(1)
= 8.04 N m
ข. พิจารณาโมเมนต์รอบแกนที่ผ่าน Q กับ S จากแรงที่กระทำากับลวดส่วนโค้ง
ด้ า นบน และด้ า นล่ า ง พบว่ า ตลอดความยาวลวด QPS มี แ รงลั พ ธ์ ก ระทำ า
ต่อลวดเป็นศูนย์ และตลอดความยาวลวด QRS มีแรงลัพธ์กระทำาต่อลวดเป็น
ศูนย์ เช่นเดียวกัน และ ไม่มีแรงคู่ควบของแรงลัพธ์รอบแกนที่ผ่านจุด Q กับ S
ดังนั้นจึงไม่เกิดโมเมนต์รอบแกนที่ผ่าน Q กับ S ดังรูป ข.
P

ข ก
I

Q S B
I

R
ร ระกอบวิ ีทาสา รับ าทาทาย อ 30

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
สิกส์ เล่ม 5 บทที 15 แม่เ ลกและ า 131

ตอบ ก. โมเมนต์ของแรงคู่ควบรอบแกนที่ผ่านจุด P กับ R มีค่าเท่ากับ 8.04 นิวตัน เมตร


ข. โมเมนต์ของแรงคู่ควบรอบแกนที่ผ่านจุด Q กับ S มีค่าเท่ากับ 0 นิวตัน เมตร

31. เมื่อหมุนขดลวด abcd ในสนามแม่เหล็ก โดยมีทิศทางการหมุนดังรูป ทำาให้เกิดอีเอ็มเอฟ


เหนี่ยวนำา มีกระแสไฟฟ้าเหนี่ยวนำาในวงจร

b c

a d

ร ระกอบ าทาทาย อ 31

ก. ถ้าเริ่มต้น ขดลวดวางตัวในแนวราบตามรูป ให้เขียนทิศทางของกระแสไฟฟ้าเหนี่ยวนำาเมื่อ


ขดลวดเริ่มหมุน
ข. กระแสไฟฟ้าเหนี่ยวนำาที่เกิดขึ้นจะมีค่ามากที่สุด เมื่อระนาบขดลวดอยู่ในลักษณะใด
เพราะเหตุใด
ค. เครื่องมือนี้เป็นเครื่องกำาเนิดไฟฟ้ากระแสสลับหรือไฟฟ้ากระแสตรง พิจารณาจากอะไร
ตอบ ก. เริ่มต้น ระนาบขดลวดขนานกับสนามแม่เหล็กฟลักซ์แม่เหล็กที่ตัดขดลวดเป็นศูนย์
เมือ
่ หมุนขดลวดตามเข็มนาฬิกาฟลักซ์แม่เหล็กทีต
่ ด
ั ขดลวดจะเพิม
่ ขึน
้ เกิดอีเอ็มเอฟ
เหนี่ ย วนำ า และหาทิ ศ ทางของกระแสไฟฟ้ า เหนี่ ย วโดยใช้ มื อ ขวา ได้ ทิ ศ ทางของ
กระแสไฟฟ้าเหนี่ยวนำาดังรูป

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
132 บทที 15 แม่เ ลกและ า สิกส์ เล่ม 5

ร ระกอบวิ ีทาสา รับ าทาทาย อ 31

ข. กระแสไฟฟ้าเหนี่ยวนำาที่เกิดขึ้นจะมีค่ามากที่สุดเมื่อระนาบขดลวดอยู่ในแนวขนาน
กับสนามแม่เหล็ก ทั้งนี้เพราะเมื่อระนาบขดลวดอยู่ในแนวขนานกับสนามแม่เหล็ก
มีอัตราการเปลี่ยนแปลงฟลักซ์แม่เหล็กตัดขดลวดมากที่สุด
ค. เครื่องมือนี้เป็นเครื่องกำาเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ เนื่องจากแปรงแต่ละแปรง (brush)
แตะอยู่กับวงแหวนแยก (slip rings) อันเดิมตลอดเวลา

32. หม้อแปลงเครื่องหนึ่งมีขดลวดปฐมภูม ิ 200 รอบ ขดลวดทุติยภูมิ 50 รอบ ต่อกับแหล่งจ่ายไฟ


กระแสสลับ ความต่างศักย์ 220 โวลต์ ถ้าเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ต่อกับขดลวดทุติยภูมิมีกาำ ลังไฟฟ้า
100 วัตต์ เครื่องใช้ไฟฟ้ามีความต้านทานเท่าใด ทั้งนี้ให้ถือว่าไม่มีการสูญเสียพลังงานใน
หม้อแปลง
วิ ีทา ความต่างศักย์และจำานวนรอบของขดลวดปฐมภูมแิ ละขดลวดทุตยิ ภูมม ิ ค
ี วามสัมพันธ์
ε1 N1
ดังนี ้ เมือ
่ นำาเครือ
่ งใช้ไฟฟ้าทีม
่ คี วามต้านทาน R มาต่อกับขดลวดทุตยิ ภูม ิ
ε2 N2 2
V
กำาลังไฟฟ้า220 V ่องใช้200
ของเครื ไฟฟ้ามีค่า P ในที่นี้ V คือ ε2
R
จากสมการ
ε1 N1
ε2 N2
220 V 200
จะได้
ε2 50
ε2 = 55 V

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
สิกส์ เล่ม 5 บทที 15 แม่เ ลกและ า 133

ε 22
หม้อแปลงไม่สูญเสียพลังงาน P2
R
(55 V) 2
จะได้ 100 W
R
R = 30.25 Ω
ตอบ เครื่องใช้ไฟฟ้ามีความต้านทาน 30.25 โอห์ม

33. หม้อแปลงอุดมคติตัวหนึ่งใช้กับไฟฟ้ากระแสสลับ 230 โวลต์ โดยมีกระแสไฟฟ้าผ่านขดลวด


ปฐมภูม ิ 0.5 แอมแปร์ กำาลังไฟฟ้าที่ขดลวดทุติยภูมิมีค่าเท่าใด
วิ ีทา หม้อแปลงอุดมคติ ไม่มก
ี ารสูญเสียพลังงานในหม้อแปลง จะได้วา่ กำาลังไฟฟ้าทีส่ ง่ ผ่าน
ขดลวดปฐมภูมม
ิ ค
ี า่ เท่ากับกำาลังไฟฟ้าทีข
่ ดลวดทุตยิ ภูมิ
หรือ P1 = P2
จะได้ กำาลังไฟฟ้าทีข
่ ดลวดทุตยิ ภูมิ
P2 = I1V1
แทนค่าจะได้ P2 = (0.5 A)(230 V)
= 115 W
ตอบ กำาลังไฟฟ้าที่ขดลวดทุติยภูมิมีค่าเท่ากับ 115 วัตต์

34. หม้อตุน
๋ ไฟฟ้าหม้อหนึง่ ความต้านทาน 50 โอห์ม ไม่สามารถใช้กบ
ั ไฟบ้าน 220 โวลต์ ได้โดยตรง
ต้องใช้หม้อแปลงไฟฟ้าชนิดแปลงลง ถ้าหม้อแปลงที่ใช้มีความต้านทานของขดลวดปฐมภูมิ
น้อยมาก แต่ความต้านทานของขดลวดทุตยิ ภูมเิ ป็น 5 โอห์ม จำานวนขดลวดปฐมภูมแิ ละทุตยิ ภูมิ
เป็น 200 และ 100 รอบ ตามลำาดับ กำาลังไฟฟ้าของหม้อตุ๋นจะมีค่าเท่าไร
วิ ีทา

R 5
N2 100

V2 R 50
V1 220 V

N1 200

ร ระกอบวิ ีทาสา รับ าทาทาย อ 34

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
134 บทที 15 แม่เ ลกและ า สิกส์ เล่ม 5

ε2 N2
จาก
ε1 N1
ε2 100
220 V 200
ε2 = 110 V
สามารถหากระแสไฟฟ้าของหม้อตุน
๋ ได้จาก
V = IR
110 V = I(5 Ω + 50 Ω)
I = 2A
กำาลังไฟฟ้าของหม้อตุน
๋ หาได้จาก
P = I 2R
= (2 A)2(50 Ω)
= 200 W
ตอบ กำาลังไฟฟ้าของหม้อตุ๋นจะมีค่า 200 วัตต์

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

You might also like