You are on page 1of 13

การแขงขันดาราศาสตรโอลิมปกระดับชาติ ครั้งที่ 14 (ระดับมัธยมตน)

มหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก
ขอสอบภาคทฤษฎี 25 เมษายน 2560
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
คาตอไปนี้กําหนดใหใชได
มวลของดวงอาทิตย M = 1.99 × 10 kg

30

รัศมีของดวงอาทิตย R = 6.96 × 10 m

8

กําลังการสองสวาง (luminosity) ของดวงอาทิตย L = 3.826 × 10 W


W
26

คา apparent magnitude ของดวงอาทิตย m = − 26.7


มวลของโลก =
m 5.977 × 10 kg
E
24

รัศมีของโลก RE = 6378 km
รัศมีวงโคจรของดาวอังคาร 1.52 AU
มวลของพลูโต 1.303 × 1022 kg
มวลของชารอน 1.586 × 1021 kg
ระยะหางระหวางจุดศูนยกลางของพลูโตกับของชารอนเปน 19600 km
1 Astronomical Unit ( AU ) = 1.496 ×1011 m
1 parsec ( pc ) = 3.0857 ×1016 m = 206265 AU = 3.2615 ly
1 light year ( ly ) = 9.4605 ×1015 m = 63240 AU = 0.3066 pc
1 tropical year = 365.24219 days
1 sidereal year = 365.25636 days
1 sidereal day = 23h 56m 04s
ระนาบสุริยะวิถีเอียงทํามุมกับระนาบศูนยสูตรฟา 23 27′
คาบดาราคติของดวงจันทร (sidereal orbital period) = 27.32166 days
คาบซินนอดิกของดวงจันทร (Synodic period) = 29.53059 days
มวลของอิเล็กตรอน =m 9.109 × 10 kg
e
−31

มวลของโปรตอน m p 1.673 ×10−27 kg


=

มวลของ H-atom ≈ 1.673×10-27 kg


Wien’s Displacement law: λmT
= 2.898 × 10−3 mK
Hubble’s law: v = Hd
Stefan-Boltzmann constant σ = 5.67 ×10−8 Wm −2 K −4
Boltzmann constant: =
kB 1.38 × 10−23 J/K
Universal gravitational constant: =
G 6.67 ×10−11 m3kg −1s −2
Hubble constant: H 67.8 ± 0.8 km.s −1 / Mpc
=
Planck constant: =h 6.626 ×10−34 Js
อัตราเร็วแสงในสุญญากาศ: =c 2.998 ×108 m/s
คาคงที่ของแกส: RG =8.314 J/mol/K

2
การแขงขันดาราศาสตรโอลิมปกระดับชาติ ครั้งที่ 14 (ระดับมัธยมตน)
มหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก
ขอสอบภาคทฤษฎี 25 เมษายน 2560
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
∆λ  c+v 
redshift parameter z ≡ ≡   − 1
λ  c − v 
Avogadro constant = N A 6.0225 ×10 per mole
23

Mass-luminosity relation สําหรับดาวใน Main Sequence: L ∝ M 3.5


โมเมนตัมของโฟตอน = h= hf
λ c
กําหนดให ทรงกลมมีรัศมีเทากับ 1
sin a sin b sin c
1. = =
sin a sin b sin γ
2. cos a cos b cos c + sin b sin c cos a
=
3. cos a =
− cos β cos γ + sin β sin γ cos a a b
γ
O c
b a

3
การแขงขันดาราศาสตรโอลิมปกระดับชาติ ครั้งที่ 14 (ระดับมัธยมตน)
มหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก
ขอสอบภาคทฤษฎี 25 เมษายน 2560
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ขอ 1. (50 คะแนน แตละขอยอยมี 5 คะแนน)

1.1) พลูโตสาย (Wobble) ดวยแอมพลิจูดเชิงมุมสูงสุดกี่พิลิปดารอบเสนทางเฉลี่ยในรูปนี้ขณะที่อยูหางจากโลก


เปนระยะทาง 4.285 × 109 km และระนาบวงโคจรของชารอนตั้งฉากกับแนวเล็งจากโลก

เฉลย ทั้งพลูโตและชารอนตางก็หมุนรอบจุดศูนยกลางมวลของระบบขณะที่โคจรรอบดวงอาทิตย
พลูโตอยูห างจากศูนยกลางมวลเปนระยะทาง 𝑥 km
1.586×1021×19600
𝑥 = = 2127 km
1.303×1022 +1.586×1021
2127×180×3600
แอมพลิจูดของการสายคือ A = = 0.1024 พิลิปดา ตอบ
4285×106 ×𝜋

1.2) ชวงเวลาที่ดวงจันทรจากจันทรดับ (New Moon) จนสวางครึ่งดวงพอดี (จุด M) นั้นสั้นกวาชวงเวลาจากดวง


จันทรสวางครึ่งดวงพอดีไปจนเต็มดวง อยูประมาณ 0.6 ชั่วโมง จงประมาณระยะทางจากโลกถึงดวงจันทรใน
หนวยกิโลเมตร และใหดวงจันทรโคจรรอบโลกเปนรูปวงกลม

เฉลย มุม AE �M มีคา = 0.3×360° = 0.1524° = 0.00266 เรเดียน


29.53×24
ระยะหางระหวางโลกกับดวงจันทรคือระยะ EM
EM ≈ (1 AU)(มุม ES� M ในหนวยเรเดียน)
ES� M = AE �M = 0.00266 เรเดียน
∴ EM ≈ (1 AU)(0.00266) ≈ 0.00266 AU ≈ 2.7 × 10−3 AU ตอบ
สังเกต EM ≈ 0.00266 × 149.6 × 106 km ≈ 397885 km

4
การแขงขันดาราศาสตรโอลิมปกระดับชาติ ครั้งที่ 14 (ระดับมัธยมตน)
มหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก
ขอสอบภาคทฤษฎี 25 เมษายน 2560
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
1.3) ผูสังเกตบนดาวอังคารจะพบมุมหางสูงสุด (greatest elongation) ของโลกมีคาเทาไร
เฉลย

มุมที่ตองการคือ ∝
SE 1 AU
𝑠𝑠𝑠 ∝ = = = 0.658
SM 1.52 AU
∝ = 41°

1.4) ดวงจันทรโคจรรอบโลกเปนวงรีดวยคา eccentricity เทากับ 0.0549 จงหาอัตราสวนระหวางเสนผาน


ศูนยกลางเชิงมุมเมื่อดวงจันทรมีขนาดใหญที่สุดและเล็กที่สุด
เฉลย สมมุติให 𝑎 เปนระยะครึ่งแกนหลักของวงโคจรของดวงจันทรรอบโลก
ให 𝑒 แทนคาความรีของวงโคจร
ให 𝑟1 เปนระยะหางเมือ่ ดวงจันทรอยูใกลโลกทีส่ ุด ซึ่งจะเห็นรัศมีเชิงมุมของดวงจันทโตสุด
และให 𝑅 เปนรัศมีของดวงจันทร
ดังนั้น 𝑟1 = 𝑎 × (1 − 𝑒)
2𝑅 2𝑅
ขนาดเชิงมุมโตสุดของดวงจันทรคือθใหญสุด = =
𝑟 𝑎(1−𝑒)
2𝑅
ขนาดเชิงมุมเฉลี่ยของดวงจันทรคือ 𝜃เล็กสุด =
𝑎(1+𝑒)
θโตสุด 1+𝑒 1.0549
ดังนั้น = = = 1.116 เทา ตอบ
𝜃เฉลี่ย 1−𝑒 0.9451

5
การแขงขันดาราศาสตรโอลิมปกระดับชาติ ครั้งที่ 14 (ระดับมัธยมตน)
มหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก
ขอสอบภาคทฤษฎี 25 เมษายน 2560
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
1.5) ตําแหนงของดวงอาทิตยและดวงจันทรอยูบนทรงกลมทองฟาในแบบ Mercator เปนดังรูป

1. จงหาวาดวงจันทรมีมุมหาง (elongation) เปนเทาไร ในทิศใดเทียบกับดวงอาทิตย


2. ในอีก 240 วันขางหนา จงหาวาดวงอาทิตยจะอยูท ี่ RA เทาไร
3. ในอีก 7 วันขางหนา จงหาวาดวงจันทรมีมมุ หางเปนเทาไร ในทิศใด
เฉลย
360°
1. ดวงจันทรอยูหางจากดวงอาทิตยเปนระยะ RA = 9 ชั่วโมง เทียบเปนมุม = 9 × = 135° ทาง
24
ตะวันตก
240
2. อีก 240 วันขางหนา ดวงอาทิตยจะอยูท ี่ RA = 8 + × 24 = 23.8 h
365.2536
7
3. อีก 7 วันขางหนา ดวงจันทรจะมี RA = 23 + × 24 ≡ 6.148 h
27.32166
7
อีก 7 วันขางหนา ดวงอาทิตยจะมี RA = 8 + × 24 ≡ 8.459 h
365.2526
ดวงจันทรอยูหางจากดวงอาทิตย 8.459-6.148 = 2.311
360°
เทียบเปนมุม = 2.311 × = 34.65° ทางตะวันตก
24

6
การแขงขันดาราศาสตรโอลิมปกระดับชาติ ครั้งที่ 14 (ระดับมัธยมตน)
มหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก
ขอสอบภาคทฤษฎี 25 เมษายน 2560
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
1.6) แสงจากกาแล็กซีอันไกลโพนกาแล็กซีหนึ่งมีคา redshift z = 0.0033 กาแล็กซีนี้อยูหางจากเรากี่ปแสง
𝜆𝑜𝑜𝑜𝑜𝑜𝑜𝑜𝑜 − 𝜆𝑟𝑟𝑟𝑟
เฉลย นิยามของ z คือ 𝑧 ≡
𝜆𝑟𝑟𝑟𝑟
𝑐+𝑣
ซึ่ง 𝜆𝑜𝑜𝑜𝑜𝑜𝑜𝑜𝑜 = 𝜆𝑟𝑟𝑟𝑟 � , 𝑣 เปนความเร็วของการถอยหางจากเราของกาแล็กซี.
𝑐−𝑣
𝑣 𝑣
บงวา 𝑧 ≈ เมื่อ ≪ 1.
𝑐 𝑐
∴ 𝑣 = 0.0033 × 𝑐 ≈ 990 𝑘𝑘 𝑠 −1 .
ตอไป, หาระยะหาง, 𝑟, ของกาแล็กซีจากเราโดยใชกฎ Hubble law : 𝑣 = Ho 𝑟
990
∴ 𝑟= = 14.6 Mpc. = 47.6 Mly ≈ 48 ลานปแสง ตอบ
67.8

1.7) ถาเรามองหลุมรูปวงกลมบนดวงจันทรทมี่ ีความกวาง 520 กิโลเมตรดวยตาเปลา เราจะสามารถมองเห็นขอบ


หลุมทั้งสองดานแยก (resolve) ออกจากกันไดหรือไม พรอมแสดงการคํานวณประกอบ
เฉลย
ระยะหางจากโลกถึงดวงจันทรเทากับ 384400 กม. หลุมกวาง 520 กม. ดังนั้นขนาดเชิงมุมเทากับ
1.353 × 10−3 เรเดียนหรือ 279 พิลิปดา
กําลังแยกของตาเราจะเห็นวัตถุแยกเปนสองชิ้นได ระยะหางเชิงมุมจะตองมากกวา θcriterion =
λ
1.22
D
ถากําหนดความคลื่น 500 นาโนเมตร และเสนผานศูนยกลางของรูมานตาเทากับ 5.00 มิลลิเมตร
λ 5.00 × 10−7
θcriterion = 1.22 = 1.22 � �
D 5.00 × 10−3
= 1.22 × 10−4 radian = 25.2 พิลิปดา
ซึ่งนอยกวาขนาดเชิงมุมของหลุม 11 เทา จึงสามารถแยกขอบทั้งสองออกจากกันได

7
การแขงขันดาราศาสตรโอลิมปกระดับชาติ ครั้งที่ 14 (ระดับมัธยมตน)
มหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก
ขอสอบภาคทฤษฎี 25 เมษายน 2560
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

1.8) ผูสังเกตบนดาวเคราะหดวงหนึ่ง 2 คนบนเสนลองจิจูดเดียวกันสังเกตดาวดวงเดียวกันขณะที่เคลื่อนผานเสน


เมอริเดียน พบวามีมุมเงยตางกันอยู 1.00 องศา ถาทั้งสองคนอยูหางกัน 330 กิโลเมตร จงประมาณรัศมี
ของดาวเคราะหดวงนี้ ทั้งนี้ ไมตองคํานึงถึงผลของชั้นบรรยากาศ

เฉลย

ผูสงั เกตที่จุด A กับ B ซึ่งอยูบ นเสน longitude เดียวกันจะพบมุมเงยของดาวตางกันเทากับ θ องศา


𝜋 ระยะทาง AB
ซึ่งในที่นี้ θ = 1° = radian =
180 𝑅
180
ดังนั้นรัศมีโลก, R = × 330 km = 18909 km ตอบ
π

1.9) ผูสังเกตจากระยะไกลมากนอกระบบสุริยะจะพบโชติมาตร (magnitude) ของดวงอาทิตยเพิ่มขึ้นเทาไรเมื่อ


ถูกดาวพฤหัสบดีบัง (ใหถือเสมือนทั้งดวงอาทิตยและดาวพฤหัสบดีเปนแผนกลม ที่มีเสนผานศูนยกลางเปน
สัดสวน 9.74 : 1 )
เฉลย
Brightness ของแสงจากดวงอาทิตยเปนปฏิภาคโดยตรงกับ (9.74)2 = 94.9
แตเมื่อถูกบังจะเหลือเพียง (เปนปฏิภาคโดยตรงกับ) [(9.74)2 − 12 ] = 93.9
94.9
∴ ∆𝑚 = 2.5 log10 = 0.012 ตอบ
93.9

8
การแขงขันดาราศาสตรโอลิมปกระดับชาติ ครั้งที่ 14 (ระดับมัธยมตน)
มหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก
ขอสอบภาคทฤษฎี 25 เมษายน 2560
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

1.10) ที่ละติจูด 18o N ที่เวลาหนึ่งผูสังเกตพบดาวฤกษดวงหนึ่งมีมุมเงย (altitude) เปน 25o และทํามุมกับทิศใต


ไปทางทิศตะวันตก 48o จงหาคาเดคลิเนชันของดาวดวงนี้

เฉลยแบบ ก
กําหนดสามเหลี่ยมเชิงทรงกลมจากทรงกลมฟาพรอมระบุดานและมุมของสามเหลี่ยมในระบบพิกัดขอบฟา
และระบบศูนยสูตรเพื่อใชตรีโกณมิติเชิงทรงกลมในการแกปญ หา ดังนี้
O เปนโลก
A เปนจุดเหนือหัวผูส ังเกตที่ latitude 18o N
δ เปน declination ของดาว Antares (S) ซึ่ง
สมมติวาอยูใตระนาบอิเควเตอร
มุม PO � S = 90° + δ
มุม PO � A = 90° − 18° = 72°
มุม PA �S = 360° − 228° = 132°
มุม AO � S = 90° − 25° = 65°

cos(90° + δ) = cos 72° cos 65° + sin 72° cos 65° cos 132° =
−0.44616
∴ 90° + δ = 116°. 5 , δ = 26°. 5 ใตระนาบอิเควเตอร ตอบ

9
การแขงขันดาราศาสตรโอลิมปกระดับชาติ ครั้งที่ 14 (ระดับมัธยมตน)
มหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก
ขอสอบภาคทฤษฎี 25 เมษายน 2560
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
เฉลยแบบ ข

จุด P เปนจุดทีผ่ ูสงั เกตอยูบนผิวโลกซึ่งมี O เปนศูนยกลาง OXYZ เปนระบบอางอิงฉากทีร่ ะนาบ YZ เปนระนาบเม


อริเดียนของ P 𝚤̂, 𝚥̂, 𝑘� เปน unit vectors ประจําแกน OX, OY, OZ ตามลําดับ 𝑛� เปน unit vector ชี้ตั้ง
ฉากจาก P ซึ่งอยูที่ latitude 18o N
∴ 𝑛� = cos 18 ° 𝚥̂ + sin 18 ° 𝑘�
𝑙̂ เปน unit vector ทํากับมุม azimuth 228o = 180o + 48o
∴ 𝑙̂ = cos 48 ° sin 18 ° 𝚥̂ + sin 48 ° 𝚤̂ – cos 48 ° cos 18 ° 𝑘�
𝐴̂ เปน unit vector ชี้ไปยัง Antares
∴ 𝐴̂ = cos 25 ° 𝑙̂ + sin 25 ° 𝑛�
= cos 25 ° sin 48 ° 𝚤̂ + cos 25 ° cos 48 ° sin 18 ° 𝚥̂ – cos 25 ° cos 48 ° cos 18 ° 𝑘� +
sin 25 ° cos 18 ° 𝚥̂ + sin 25 ° sin 18 ° 𝑘�
= cos 25° sin 48° 𝚤̂ + (sin 25° cos 18° + cos 25° cos 48° sin 18°)𝚥̂ +
(sin 25° sin 18° − cos 25° cos 48° cos 18°)𝑘�
มุมระหวาง 𝐴̂ กับ 𝑘� คือ ∅ ซึ่ง
cos ∅ = 𝐴̂ ∙ 𝑘� = sin 25° sin 18° − cos 25° cos 48° cos 18°
∴ cos ∅ = −0.4462 , ∅ = 116.5°
Declination ของ Antares คือ 𝛿 = ∅ − 90° = 26.5° ใตระนาบ equator

10
การแขงขันดาราศาสตรโอลิมปกระดับชาติ ครั้งที่ 14 (ระดับมัธยมตน)
มหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก
ขอสอบภาคทฤษฎี 25 เมษายน 2560
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ขอ 2. (15 คะแนน)

2.1) ผูสังเกตอยูท ี่ละติจูด (Latitude) 14o.0 N เห็นดวงอาทิตยตกที่เวลาทองถิ่นเฉลี่ย (Local Mean Time) เทาไร
ในวันที่ดวงอาทิตยมีคาเดคลิเนชัน (Declination) เปน 10o.0 ใหวาดรูปประกอบการคํานวณ กําหนดใหสมการเวลา
(equation of time) ในวันนั้น มีคาเทากับ +3 วินาที
2.2) ถาหากกําหนดวาผูส ังเกตคนนี้อยูทลี่ องจิจูด (Longitude) 80o.0 E เวลาบนนาฬิกาของเขาบอกเวลาเทาไร ใช
โซนเวลามาตรฐาน

เฉลย

P เปนขั้วเหนือของทรงกลมทองฟา
O เปนโลก
A เปนจุด Zenith ของผูส ังเกต
S เปนดวงอาทิตยกําลังตก
V เปนจุด Vernal equinox

จากโจทยจะได มุม AO � B = 14°. 0 , SO � R = 10°. 0 , AO � S = 90° , BO �R =


BP�R
ซึ่งหาไดจากสูตร
cos AO � S = cos SO � P cos AO� P + sin SO � P sin AO
� P cos BO �R
cos 90° = sin 10° sin 14° + cos 10° cos 14° cos BO �R
cos BO � R = − tan 10° tan 14° = −0.043963 , BO � R = 92°. 52
∴ BO � R ≡ 6h . 168 = 6h 10m 5s
เวลาที่ตําแหนง R ขณะนี้คือ 12.00 น. ดังนั้นเวลาที่ผสู ังเกตพบดวงอาทิตยตก คือ 18h 10m 5s ตอบ
80°
เวลาบนนาฬิกาของเขา = 18h 10m 5s − �15° ชั่วโมง� + (Zone Time) + 𝑒𝑒𝑒 𝑜𝑜 𝑡𝑡𝑡𝑡
= 18h 10m 5s − �5h 20m � + 5h + 3𝑠
= 17h 50m 8s ตอบ

11
การแขงขันดาราศาสตรโอลิมปกระดับชาติ ครั้งที่ 14 (ระดับมัธยมตน)
มหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก
ขอสอบภาคทฤษฎี 25 เมษายน 2560
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ขอ 3. Newtonian Cosmology (10 คะแนน)

จากการศึกษาเราพบวา เอกภพประกอบดวยมวลที่กระจายอยางสม่ําเสมอ เราสามารถใชจุดใดจุดหนึ่งเปนจุด


ศูนยกลางเพื่อศึกษาการขยายตัวของเอกภพ ผูส ังเกตทีจ่ ุดศูนยกลางจะเห็นมวล (หรือกาแลกซี) เคลื่อนที่ในแนวรัศมี
ออกจากจุดศูนยกลางนี้ตามกฎของฮับเบิล
เพื่อทําความเขาใจการขยายตัวของเอกภพอยางคราวๆ เราจะใชกลศาสตรของนิวตันในการคํานวณขอนี้
3.1) พิจารณาปริมาตรสวนหนึง่ ของเอกภพทีม่ ีรปู รางทรงกลม รัศมี r การขยายตัวของเอกภพทําใหทรงกลมนี้ขยายตัว
ไปดวย มวลที่ผิวของทรงกลมจะเคลื่อนที่ในแนวรัศมีตามการขยายตัวของทรงกลม จงหาความเร็วหลุดพนของมวลนี้
ในรูปของ G r และ ρ เมื่อ ρ เปนความหนาแนนของเอกภพ
3.2) ถาเอกภพมีความหนาแนนวิกฤต ρc เอกภพจะขยายตัวแลวไปหยุดนิ่งที่ระยะอนันต จงหาคา ρc ในรูปของ G
และ H
3.3) คาความหนาแนนวิกฤต (ρc ) ปจจุบันของเอกภพมีคากี่อะตอมไฮโดรเจนตอลูกบาศกเมตร

เฉลย
3.1
𝐺𝐺𝐺 1
= 𝑚𝑟̇ 2 เมือ่ 𝑀 คือมวลภายในทรงกลม 4/3πρ𝑟 3
𝑟1 2
8
ṙ = � πGρc � r --------------------------- (1)
2
3

3.2 กฎของ ฮับเบิลให ṙ = Hr ------------------- (2)


3H2
(1) กับ (2) ให ρc = ------------------- (*)
8πG

3.3
kg อะตอม
แทนคาได ρc = 8.63×10-27 = 5.2
m3 m3

12
การแขงขันดาราศาสตรโอลิมปกระดับชาติ ครั้งที่ 14 (ระดับมัธยมตน)
มหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก
ขอสอบภาคทฤษฎี 25 เมษายน 2560
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ขอ 4. (25 คะแนน)
Asteroid มวล 2m ดวงหนึ่ง กําลังโคจรตามแนววงกลมรัศมี R และขณะที่กําลังมีความเร็ว v⃑ เทียบกับดวงอาทิตย มัน
ถูกทําใหระเบิดเปนสองสวนเทา ๆ กันเปนสวน A กับสวน B โดยที่ A มีความเร็วเปน 2v⃑ ในทิศเดิม ทันทีหลังระเบิด
จงวิเคราะหหา
4.1) ความเร็วของ B ทันทีหลังระเบิดเทียบกับดวงอาทิตย
4.2) ขนาดของ v เปนเทาไรในเทอมของ R, G และมวล M ของดวงอาทิตย

กําหนดวาเสนทางโคจรของ A ใน polar coordinates (r,θ) เปน


C
r(θ) =
1+e cos θ
เมื่อ C เปนคาคงที,่ e เปน eccentricity ของเสนทางโคจร และ
d Ae sin θ 𝑑𝑑 e sin θ 𝑑𝑑
r = (1+e 2
= � � �r 2 �
dt cos θ) 𝑑𝑑 C 𝑑𝑑
4.3) มุม θ ที่ใหญที่สุดมีคาเทาไร ตอบในเทอมของ e
4.4) ใชหลักอนุรักษโมเมนตัมเชิงมุมเพื่อหาขนาดของความเร็วของ A เมื่อ r มีคามาก ๆ ตอบในเทอมของ v, และ e
4.5) ใชหลักอนุรักษพลังงานเพือ่ หาขนาดของความเร็วของ A เมื่อ r มีคามาก ๆ ตอบในเทอมของ v
4.6) หาคาของ e พรอมระบุวาเปนวงโคจรรูปแบบใด

13
การแขงขันดาราศาสตรโอลิมปกระดับชาติ ครั้งที่ 14 (ระดับมัธยมตน)
มหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก
ขอสอบภาคทฤษฎี 25 เมษายน 2560
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
เฉลย
4.1) ใชหลักอนุรักษโมเมนตัมเชิงมุม (หรือเชิงเสนก็ได)
mvA +mvB = (2m)v , ซึ่ง vA =2v
∴ vB = 0
4.2) กอนการระเบิด (2m) เคลื่อนที่ตามแนววงกลมรัศมี R รอบ M
v2 GM(2m)
∴ (2m) =
R R2
1
GM 2
v = � �
R
1
2GM 2
4.3) อัตราเร็วหลุดพนสําหรับวงโคจรเดิมคือ vesc = � �
= √2 v ซึ่งเล็กกวาความเร็ว 2v ของ A
R
ดังนั้น A จะเคลื่อนที่ตามเสนทางไปสูอนันต ซึ่งอาจเปนเสนทางพาราโบลาหรือไมก็ ไฮเพอโบลา ทั้งนี้ขึ้นอยูกับคาของ
eccentricity (e)
4.4) มุม θ โตสุดคือมุมที่ทําให 1+e cos θ = 0 ,
1
θโตสุด = arccos �- �
e
4.5) หลักอนุรักษโมเมนตัมเชิงมุมคือ mr2 θ̇ = คงที่ = คาที่ตําแหนง θ = 0° ดวย
2v
mr2 θ̇ = mR2 = mvR
R
∴ r θ̇ = 2vR เสมอ.
2
1
เมื่อ r โตมาก ๆ θ เขาใกลคา arccos �− � และ vA เขาใกลคา ṙ
𝑒
1 2
e sin θโตสุด 2e �1 −� � e−1
e
ṙ = � � (2vR) = v = �� � (2v)
A 1+e e+1
1 GMm 1 GMm
4.6) mvA2 − = mv 2 − ,
2 r→∞ 2 R
vA2 = 4v − 2v 2 = 2v 22

vA = √2 v
e−1
4.7) vA (เมือ่ r→ ∞ ) = �� � (2v) = √2 v , ∴ e=3
e+1

*************************

14

You might also like