You are on page 1of 14

ข้อสอบภาคทฤษฎีระดับมัธยมศึกษาตอนต้น

การแข่งขันดาราศาสตร์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 15
The Fifteenth Thailand Astronomy Olympiad: 15th TAO
ณ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
8 พฤษภาคม 2561 เวลา 8:00 –12:00 น.

คาแนะนา
1. มีข้อสอบ 12 ข้อ คะแนนรวม 230 คะแนน ให้เวลาทาข้อสอบ 4 ชั่วโมง
2. ใช้ปากกาสีน้าเงินหรือสีดาเท่านั้น
3. ในแต่ละข้อมีกระดาษสรุปคาตอบและกระดาษเขียนตอบ
4. กระดาษเขียนตอบใช้เฉพาะด้านหน้าและเขียนภายในกรอบที่กาหนดให้เท่านั้น เขียนทุก
สิ่งที่คิดว่าจาเป็นในการแสดงวิธีทาและต้องการให้ตรวจลงบนกระดาษเขียนตอบ
5. ในการตอบคาถามที่ เป็ น ตั วเลขต้อ งตอบให้ มีจานวนเลขนั ยสาคั ญ ที่ สอดคล้อ งกั บ
ข้อมูลที่ให้มา
6. ต้ อ งใส่ ห มายเลขประจ าตั ว นั ก เรี ย นในช่ อ งที่ หั ว กระดาษเขี ย นตอบทุ ก แผ่ น ที่ ใ ช้
นอกจากนั้ น บนกระดาษเขียนตอบของแต่ล ะข้อให้ เขี ยนเลขข้อ และเลขหน้าของข้ อ
ด้านบนกระดาษเขียนตอบที่ใช้ทุกแผ่นให้ชัดเจน ถ้าแผ่นใดใช้ทดหรือไม่ต้องการให้ตรวจ
ให้ขีดกากบาทตลอดหน้านั้น
7. เมื่อทาเสร็จแล้วให้จัดเรียงกระดาษสรุ ปคาตอบไว้บนสุด ตามด้วยกระดาษเขียนตอบ
กระดาษคาถาม กระดาษทด กระดาษเปล่าที่เหลือไว้ล่างสุด หนีบกระดาษทั้งหมดเข้า
ด้วยกันแล้วใส่ซองวางไว้บนโต๊ะสอบ

ห้ามนากระดาษใดๆ ออกนอกห้องสอบโดยเด็ดขาด
การแข่งขันดาราศาสตร์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 15 (ระดับมัธยมต้น)
มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี
ข้อสอบภาคทฤษฎี 8 พฤษภาคม 2561
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ค่าต่อไปนี้กาหนดให้ใช้ได้

มวล (M⊕) 5.98 × 1024 kg


รัศมี (R⊕) 6.37 × 106 m
ความเร่งเนื่องจากแรงโน้มถ่วงที่ผิวโลก (g) 9.80 m s−2
ความเอียงวงโคจร 23°27′
โลก
Tropical Year 365.2422 mean solar days
Sidereal Year 365.2564 mean solar days
Sidereal day 23h 56m 04s
Albedo 0.39

มวล (M☾) 7.35 × 1022 kg


รัศมี (R☾) 1.74 × 106 m
ระยะทางเฉลี่ยจากโลก 3.84 × 108 m
ดวงจันทร์
ความเอียงวงโคจร 5.14°
Albedo 0.14
โชติมาตรปรากฏ (ค่าเฉลี่ยเมื่อเต็มดวง) −12.74 mag

มวล (M☉) 1.99 × 1030 kg


รัศมี (R☉) 6.96 × 108 m

กาลังส่องสว่าง (L☉) 3.83 × 1026 W

ดวงอาทิตย์ โชติมาตรสัมบูรณ์ (ℳ☉) 4.80 mag


โชติมาตรปรากฏ (m☉) −26.7 mag
ขนาดเชิงมุมปรากฏ 0.5 degrees
ความเร็วในการโคจรรอบกาแล็กซี 220 km s−1
ระยะทางจากใจกลางกาแล็กซี 8.5 kpc

2
การแข่งขันดาราศาสตร์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 15 (ระดับมัธยมต้น)
มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี
ข้อสอบภาคทฤษฎี 8 พฤษภาคม 2561
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

1 au 149,597,870,700 m
1 pc 206,265 au
ค่านิจโน้มถ่วงสากล (G) 6.67 × 10−11 N ⋅ m2 ⋅ kg −2
Planck constant (h) 6.62 × 10−34 J ⋅ s
Boltzmann constant (kB) 1.38 × 10−23 J ⋅ K −1
Stefan-Boltzmann constant (σ) 5.67 × 10−8 W ⋅ m−2 ⋅ K −4
Wien’s Displacement law mT  2.898  103 m K
Hubble constant (H0) 67.8 km s −1 Mpc −1
ค่าคงตัว
อัตราเร็วของแสงในสุญญากาศ (c) 299,792,458 m s −1
ค่าคงที่ของแก๊ส RG=8.314 J mol-1 K-1

มวลของโปรตอน 1.672621 × 10−27 kg


= 938.27 MeV ⋅ c −2

มวลของดิวทิเรียม 3.343583 × 10−27 kg


= 1875.60 MeV ⋅ c −2

มวลของนิวตรอน 1.674927 × 10−27 kg


= 939.56 MeV ⋅ c −2
Avogadro’s constant N A  6.02211023 mol1

สูตรทั่วไป
  cv 
Redshift parameter z      1
  cv 
Mass-luminosity relation สาหรับดาวใน Main Sequence: L  M 3.5
โฟตอนความถี่ f มีพลังงาน E  hf

สาหรับทรงกลมมีรัศมีเท่ากับ 1  b
sin a sin b sin c 
1.   O c
sin  sin  sin 
 a
2. cos a  cos b cos c  sin b sin c cos 
3. cos    cos  cos   sin  sin  cos a

3
การแข่งขันดาราศาสตร์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 15 (ระดับมัธยมต้น)
มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี
ข้อสอบภาคทฤษฎี 8 พฤษภาคม 2561
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ภาพ HR Diagram

4
การแข่งขันดาราศาสตร์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 15 (ระดับมัธยมต้น)
มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี
ข้อสอบภาคทฤษฎี 8 พฤษภาคม 2561
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ข้อ 1. ดวงอาทิตย์ที่จุดจอมฟ้า (Zenith) [10 คะแนน]
ผู้สังเกตที่ละติจูด 15.0 องศาเหนือสังเกตเห็นดวงอาทิตย์ผ่านจุดจอมฟ้า (Zenith) ของผู้สังเกต
a) จงหาเวลาที่ Apparent Sun เคลื่อนที่จากจุดวสันตวิษุวัต (Vernal Equinox) ไปยังเวลาที่เกิดเหตุการณ์
ดังกล่าว โดยประมาณว่าดวงอาทิตย์โคจรบนเส้นสุริยวิถีด้วยอัตราเร็วคงที่ [6 คะแนน]
b) ในขณะที่ดวงอาทิตย์มีการเปลี่ยน Declination ลดลง จงหาลองจิจูดของผู้สังเกตและวันที่ที่เกิดเหตุการณ์
ดังกล่าว กาหนดให้ ดวงอาทิตย์ผ่านจุดวสันตวิษุวัต (Vernal Equinox) ในวันที่ 22 มีนาคม ในเวลา 12:00 UT มี
Equation of time `มีค่าเท่ากับ -6m 52s และ Equation of time ในวันที่เกิดเหตุการณ์ดังกล่าว มีค่าเท่ากับ -5m
21s [4 คะแนน]

ข้อ 2. ระยะเวลาบนดาว [10 คะแนน]


ดาวเคราะห์ B โคจรรอบดาวฤกษ์ A ด้วยคาบการโคจร 30 วันของโลก โดยดาวเคราะห์ B มีคาบการ
หมุนรอบตัวเองเทียบกับดาวฤกษ์บนท้องฟ้าเท่ากับ 30 ชั่วโมงบนโลก โดยการหมุนของดาวเคราะห์ B มีทิศตรงข้าม
กับการโคจรของดาวเคราะห์รอบดาวฤกษ์ A สมมติให้ แกนหมุนของดาวเคราะห์ตั้งฉากกับระนาบการโคจรของดาว
เคราะห์
a) จงหาระยะเวลา 1 วันบนดาวเคราะห์ B ในหน่วยชั่วโมงบนโลก [7 คะแนน]
b) จงหาระยะเวลา 1 ปีบนดาวเคราะห์ B ในหน่วยวันของดาวเคราะห์ B [3 คะแนน]

ข้อ 3. โชติมาตรปรากฏของดาวอังคาร [10 คะแนน]


ในปี ค.ศ. 2012 ในขณะที่ดาวอังคารอยู่ที่ตาแหน่งตรงข้าม (opposition) ดาวอังคารห่างจากดวงอาทิตย์
1.6646 au มีโชติมาตรปรากฏ (apparent magnitude) เท่ากับ -1.20 และในปี ค.ศ. 2018 ดาวอังคารอยู่ที่ตาแหน่ง
ตรงข้าม (opposition) เช่นกัน แต่ในปี ค.ศ. 2018 นี้ดาวอังคารห่างจากดวงอาทิตย์ 1.4000 au ดาวอังคารจะมีโชติ
มาตรปรากฏเท่ากับเท่าใด กาหนดให้ albedo ของพื้นผิวดาวอังคารมีค่าเท่ากับ 0.16

ข้อ 4. กระจุกดาว [10 คะแนน]


กระจุกดาวมีจานวนดาว 11,000 ดวง ในจานวนนี้มี 1,000 ดวง ที่แต่ละดวงมีโชติมาตรปรากฏเท่ากับ 9.0 ที่
เหลือแต่ละดวงมีความสว่างน้อยกว่าสิบเท่า จงหาโชติมาตรปรากฏของทั้งกระจุกดาวนี้ สมมติว่าไม่มีดาวดวงใดบังกัน
เลย

5
การแข่งขันดาราศาสตร์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 15 (ระดับมัธยมต้น)
มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี
ข้อสอบภาคทฤษฎี 8 พฤษภาคม 2561
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ข้อ 5. ดาวเซฟีด [10 คะแนน]
คาบ P ของการแปรแสงจากการสังเกตดาวเซฟีด (Cepheids) ดวงหนึ่งคือ 6.0 วันและมีโชติมาตรปรากฏ m
เท่ากับ 20 โดยที่โชติมาตรสัมบูรณ์ M สามารถอ่านค่าจากกราฟความสัมพันธ์ดังรูป

โชติมาตร
สัมบูรณ์

(M)

log 𝑃

a) จงคานวณหาระยะทางจากโลกถึงดาวเซฟีดดวงนี(้ วัในหน่
น) วย kpc [6 คะแนน]
b) เมื่อดาวเซฟีดดวงนี้เกิดการแปรแสงสามารถวัดความผันแปรของโชติมาตรปรากฏ m  2.0 ถ้า
อุณหภูมิสูงสุดที่ผิวมีค่า 6,000 K และอุณหภูมิต่าสุดคือ 4,000 K จงหาอัตราส่วนของรัศมีของดาว

เซฟีดเมื่ออุณหภูมิสูงสุดต่อรัศมีเมื่ออุณหภูมิต่าที่สุด [4 คะแนน]

6
การแข่งขันดาราศาสตร์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 15 (ระดับมัธยมต้น)
มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี
ข้อสอบภาคทฤษฎี 8 พฤษภาคม 2561
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ข้อ 6. วางแผนการสังเกตการณ์ดาวฤกษ์ [20 คะแนน]
สมมติว่านักเรียนทาโครงงานทางดาราศาสตร์เกี่ยวกับการหาสมบัติบางประการของดาวฤกษ์จานวน 4 ดวง จากการ
สังเกตการณ์ โดยสถานที่สังเกตการณ์อยู่บนเส้นศูนย์สูตร และลองจิจูด 104° 54’ 26” E ซึ่งหลังจากสืบค้นข้อมูล
เกี่ยวกับดาวฤกษ์แล้วได้ดังตารางต่อไปนี้
โชติมาตรสัมบูรณ์ ระยะห่าง
ชื่อดาว R.A. Dec
(Absolute Magnitude) (pc)
A 12h 56m 3°22' - 0.6 62.2
B 3h 58m - 13°30' - 1.2 67.7
C 12h 34m - 54°41' - 0.01 487.7
D 22h 43m 30°13' - 1.18 51.2

โดยนักเรียนทราบว่าวันที่ 12 มีนาคม 2561 19:00 น. ตามเวลาประเทศไทย มีเวลาดาราคติกรีนิช (Greenwich


sidereal time) = 23h 20m 20s
หลังจากประชุมกันกับเพื่อนเพื่อหาเวลาว่างที่จะไปสังเกตการณ์ตอนกลางคืนได้ ปรากฏว่ามีแค่ 1 วัน ที่ทุกคนจะ
สามารถสังเกตการณ์แต่ได้เพียงบางช่วงเวลาเท่านั้น ซึ่งสรุปเป็นตารางได้ดังนี้
วันที่ 19:00-21:00 21:00- 23:00 23:00- 1:00 1:00-3:00
31 มีนาคม 61    
 คือ ช่วงเวลาว่างสามารถสังเกตการณ์ได้ และ  คือ ติดธุระไม่สามารถสังเกตการณ์ได้

a) ดาวแต่ละดวงมีสเปกตรัม (Spectral Type) ชนิด ใด และถ้าเรามีเวลาจากัดในการสังเกตการณ์ ดาวแต่ละดวง


ควรสังเกตผ่านแผ่นกรองแสงสีแดง (R) เขียว (G) หรือน้าเงิน (B) [8 คะแนน]
แผ่นกรองแสง ความยาวคลื่นกลาง (Central wavelength, nm)
R 668
G 560
B 475

b) เวลาดาราคติของสถานที่สังเกตการณ์ในเวลา 19:00 น. เป็นเท่าใด และตามเวลาสังเกตการณ์ดังตาราง ไม่


สามารถสังเกตการณ์ดาวฤกษ์ดวงใดได้บ้าง เนื่องจากเหตุใด ให้แสดงวิธีคานวนและเหตุผลประกอบ [12 คะแนน]

7
การแข่งขันดาราศาสตร์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 15 (ระดับมัธยมต้น)
มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี
ข้อสอบภาคทฤษฎี 8 พฤษภาคม 2561
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ข้อ 7. ดาวคู่อุปราคา [20 คะแนน]
ดาวคู่อุปราคาระบบหนึ่งประกอบด้วยดาวฤกษ์ A และดาวฤกษ์ B ที่เกิดมาจากกลุ่มแก๊สเดียวกัน ทั้งคู่มีมวลและรัศมี
R เท่ากัน และมีสเปกตรัมประเภทเดียวกัน ดาวทั้งคู่โคจรรอบกันและกันเป็นวงกลมรัศมี a R และมีคาบการ
โคจร T ระนาบการโคจรอยู่ในแนวแนวสายตา หากวัดโชติมาตรปรากฏ m ของระบบดาวคู่นี้ที่เวลา t ต่างๆในช่วง
ที่เกิดอุปราคา จะได้ลักษณะดังกราฟข้างล่าง (Light Curve) โดยโชติมาตรปรากฏอยู่ที่จุดต่าสุดของเส้นกราฟที่เวลา
t  0 และมีค่า m0 ที่เวลา t0

เวลา

a) จงหาค่า t0 [5 คะแนน]
b) จงหาสมการ m  m0 ในรูปของ t และ t0 สาหรับช่วง 0  t  t0 [15 คะแนน]
คาแนะนา
- ให้ใช้การประมาณ sin    เมื่อ  มีค่าน้อย

8
การแข่งขันดาราศาสตร์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 15 (ระดับมัธยมต้น)
มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี
ข้อสอบภาคทฤษฎี 8 พฤษภาคม 2561
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ข้อ 8. ดาวเคราะห์น้อย 2016 HO3 [20 คะแนน]
ดาวเคราะห์น้อย “2016 HO3” เคลื่อนที่รอบดวงอาทิตย์ แต่เมื่อสังเกตจากโลกพบว่ามันเคลื่อนที่เป็นวงรีรอบโลก
(เส้นทึบในรูปที่ 1) โดยมีคาบ T  1 ปีพอดีและโลกอยู่ที่จุดกึ่งกลางวงรี มันมีระยะใกล้โลกที่สุดเท่ากับ
d  14.5 106 km ให้สมมุติว่าวงโคจรของโลก (E) เป็นวงกลมรัศมี a0 และอยู่บนระนาบเดียวกัน ไม่ต้อง
คานึงถึงผลของแรงโน้มถ่วงของโลกต่อการเคลื่อนที่ของดาวเคราะห์น้อย
ระบบ ( x, y) เป็นแกนของผู้สังเกตบนโลกและหมุนไปพร้อมกับการโคจรของโลก แกน y จะขนานกับเส้นตรงที่
ลากจากดวงอาทิตย์มายังโลก สมการการเคลื่อนที่ของ HO3 คือ
x2 y 2
 1
 2d   d 
2 2

โดยที่ x  0 ที่มุม M 0

ลูกศรในรูปแสดงทิศการเคลื่อนที่
ตัวแปรอื่นๆ ในรูปที่ 1 คือ
แกนอ้างอิง
S ตาแหน่งดวงอาทิตย์
S
f มุมของ HO3 เทียบแกนอ้างอิง
M มุมของโลกเทียบแกนอ้างอิง

รูปที่ 1 วงโคจรของ HO3 รอบโลก



a) เขียนระบุตาแหน่งของ HO3 ลงบนกระดาษคาตอบเมื่อโลกอยู่ที่ตาแหน่งต่อไปนี้ M 0, M  ,M 
2
3
และ M  แล้ววาดและระบุทิศวงโคจรของ HO3 รอบดวงอาทิตย์อย่างคร่าวๆ [7.0 คะแนน]
2

b) ให้ r เป็นระยะจากดวงอาทิตย์ไปยัง HO3 จงเขียน r ในรูปของ f , d และ a0 [5.0 คะแนน]

c) f M มีค่าสูงสุดเท่าใด ตอบในรูปของ d และ a0 [3.0 คะแนน]

d) จงหาโมเมนตัมเชิงมุม h ของ HO3 รอบดวงอาทิตย์ ตอบในรูปของมวล m , a0 และ T [5.0 คะแนน]

9
การแข่งขันดาราศาสตร์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 15 (ระดับมัธยมต้น)
มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี
ข้อสอบภาคทฤษฎี 8 พฤษภาคม 2561
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ข้อ 9. การสังเกตการณ์ดาวฤกษ์ใน U Band [20 คะแนน]
เรากาลังสังเกตการณ์ดาวฤกษ์ดวงหนึ่งซึ่งมี โชติมาตรปรากฏใน U-band เป็น 20.0 โดย U-band นี้ มีความยาวคลื่น
กึ่งกลางเป็น 3600 Å และมีความกว้างเป็น 800 Å

ค่ า โชติ ม าตรปรากฏ 𝑚 และความหนาแน่ น ฟลั ก ซ์ (flux density) 𝑓𝜈 ในหน่ ว ย Jansky (Jy; 1Jy = 10-26
W/m2/Hz ซึ่งเป็นกาลังที่ได้รับต่อหน่วยพื้นที่และต่อหน่วยความกว้างของความถี่หรือ bandwidth) มีความสัมพันธ์
เป็น 𝑓𝜈 = 3631 Jy × 10−0.4𝑚

a) (a.1) จงคานวณความหนาแน่นฟลักซ์ของดาวฤกษ์ดังกล่าว [1 คะแนน]


(a.2) จงคานวณพลังงานของโฟตอนที่มีความยาวคลื่นแสงเท่ากับความยาวคลื่นกึ่งกลางของ U-band
[1 คะแนน]
(a.3) จงหาความถี่ต่าสุดและสูงสุดของ U-band [1 คะแนน]
(a.4) จงหา flux พลังงานที่มาถึงโลกในหน่วย W/m2 และจานวนโฟตอนที่มาถึงในหน่วยอนุภาคต่อตาราง
เซนติเมตรต่อวินาที [3 คะแนน]

b) หากบรรยากาศของโลกดูดซับแสงที่มาจากดาวฤกษ์ใน U-band ไปครึ่งหนึ่ง และกาหนดให้ขนาดเชิงมุมบน


ท้องฟ้าของดาวฤกษ์เป็น circular aperture มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 2.0 arcsec จงหาอัตราส่วนระหว่าง
จานวนโฟตอนที่ได้รับต่อวินาทีจากดาว ต่อจานวนโฟตอนที่ได้รับต่อวินาทีจากท้องฟ้า ในกรณีดังต่อไปนี้
[12 คะแนน]
(b.1) ไม่มีดวงจันทร์บนท้องฟ้า โดยที่ท้องฟ้าขณะไม่มีดวงจันทร์สว่างประมาณ 22 mag/arcsec2
(b.2) มีดวงจันทร์ตอนสังเกตการณ์ และดวงจันทร์ทาให้ความสว่างของท้องฟ้าเป็น 17 mag/arcsec2

c) จงหาจานวนโฟตอนต่อวินาทีที่เราจะวัดได้จากกล้องดูดาวที่มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของกระจกปฐมภูมิเป็น 2.5
เมตร โดยในทางปฏิบัติแล้ว โฟตอนใน U-band จะสูญเสียไปประมาณ 80% เนื่องจากพื้นผิวที่ไม่เรียบพอของกระจก
และประสิทธิภาพของอุปกรณ์รับแสง [2 คะแนน]

10
การแข่งขันดาราศาสตร์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 15 (ระดับมัธยมต้น)
มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี
ข้อสอบภาคทฤษฎี 8 พฤษภาคม 2561
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ข้อ 10. (ม.ต้น + ม.ปลาย) สุริยุปราคาหว้ากอ [20 คะแนน]
สุริยุป ราคาจะเกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่อดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ และโลก โคจรมาเรียงอยู่ในแนวเดียวกัน โดยดวง
จันทร์อยู่ตรงกลาง แต่เนื่องจากมุมเอียงระหว่างระนาบการโคจรของดวงจันทร์กับระนาบสุริยวิถีมีค่าประมาณ 5 องศา
ทาให้การเกิดสุริยุปราคาไม่ได้เกิดขึ้นทุกเดือน โดยที่จุดตัดระหว่างระนาบการโคจรของดวงจันทร์กับระนาบสุ ริยวิถี
(Node) จะมีการหมุนควง (Precession) รอบโลกคาบประมาณ 18.5879 ปี

a) จงคานวณหาเวลา Draconic year หรือ Ecliptic year (เวลาที่โหนดลง, Descending node, โคจรรอบ
ดวงอาทิตย์ครบหนึ่งรอบ) ในหน่วยของวัน (Mean Solar days) [6 คะแนน]

Saros cycle คือรูปแบบการเกิดสุริยุปราคาที่เกิดจาก Descending node ของดวงจันทร์มาอยู่ในตาแหน่ง


เดิมเมื่อเทียบกับดวงอาทิตย์

b) จงคานวณหา Saros cycle โดยประมาณ (ทศนิยม 2 ตาแหน่ง) ในหน่วยวัน (Mean Solar days)
(กาหนดให้ Moon synodic month มีค่าเท่ากับ 29.5306 วัน) [4 คะแนน]

c) สุริยุปราคาที่ตาบลหว้ากอ เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 18 สิงหาคม พ.ศ. 2411 หรือเมื่อเกือบ 150 ปีที่ผ่านมา โดย


เป็น Saros ที่ 133 จงคานวณหา วัน เดือน และ ปีที่คาดว่าจะเกิดสุริยุปราคาใน Saros เดียวกัน (Saros
ที่ 133) ครั้งต่อไป หลังปี พ.ศ. 2561 [7 คะแนน]

11
การแข่งขันดาราศาสตร์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 15 (ระดับมัธยมต้น)
มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี
ข้อสอบภาคทฤษฎี 8 พฤษภาคม 2561
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

d) จงประมาณว่าช่วงเวลาที่เกิดคราสนานที่สุดของสุริยุปราคาของ Saros ที่ 133 ครั้งต่อไป หลังปี พ.ศ.


2561 ควรเกิดขึ้นในบริเวณใดต่อไปนี้
 มหาสมุทรแปซิฟิกใกล้ประเทศชิลี (Longitude 100 o W)
 กลางมหาสมุทรอินเดีย (Longitude 80o E)
 มหาสมุทรแอตแลนด์ติกใกล้ประเทศอาร์เจนติน่า (Longitude 40 o W) [3 คะแนน]

12
การแข่งขันดาราศาสตร์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 15 (ระดับมัธยมต้น)
มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี
ข้อสอบภาคทฤษฎี 8 พฤษภาคม 2561
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ข้อ 11 มวลของสมาชิกระบบดาวคู่ [40 คะแนน]

ระบบดาวคู่ KIC 09641031 หรือ FL Lyr ประกอบไปด้วยดาวในแถบกระบวนหลักสองดวง มีคาบการโคจรของระบบ


2.178 วัน เมื่อสังเกตระบบดาวคู่นี้ด้วย HIDES spectrograph ได้กราฟความเร็วในแนวเล็ง (Radial velocity, RV)
กับเฟสการโคจรดังภาพด้านซ้าย ส่วนกราฟแสง (Light curve) ด้านขวามาจากกล้องโทรทรรศน์อวกาศ Kepler โดย
แสดงในค่าโชติมาตรในแผ่นกรองแสง k (k mag) กับเฟสการโคจร (เฟสการโคจรมีค่าตั้งแต่ 0 ถึง 1 ใช้สาหรับอ้างอิง
ตาแหน่งของดาวบนวงโคจร และเป็นสัดส่วนโดยตรงกับเวลา)

เมื่อวิเคราะห์สเปกตรัมของดาวแต่ละดวงในระบบดาวคู่นี้ จะพบว่า สเปกตรัมของดาวแต่ละดวงมีลักษณะสเปกตรัม


แบบวัตถุดา (blackbody spectrum) ที่มีค่าความสว่างสูงสุด (peak) สองความยาวคลื่นด้วยกันคือที่ 446 nm และ
517 nm ค่ามุมพารัลแลกซ์ของระบบดาวนี้คือ 7.25 milli arcsec และมี proper motion -0.134 milli arcsec/yr
จงคานวณหา
a) ความเร็วของระบบดาวคู่ FL Lyr [8.0 คะแนน]

b) มวลของดาวทั้งสองในหน่วยเท่าของมวลดวงอาทิตย์ [20.0 คะแนน]

c) กาลังส่องสว่างของดาวทั้งสองในหน่วยเท่าของกาลังส่องสว่างดวงอาทิตย์ [6.0 คะแนน]

d) รัศมีของดาวทั้งสองในหน่วยเท่าของรัศมีดวงอาทิตย์ [6.0 คะแนน]

อ้างอิงข้อมูลโจทย์ข้อนี้จาก Helminiak et al. HIDES spectroscopy of bright detached eclipsing binaries


from the Kepler field - II. Double- and triple-lined objects, MNRAS, 2017, 468, 1726.

13
การแข่งขันดาราศาสตร์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 15 (ระดับมัธยมต้น)
มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี
ข้อสอบภาคทฤษฎี 8 พฤษภาคม 2561
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ข้อ 12. การเคลื่อนที่ของดาว Arcturus ที่จังหวัดอุบลราชธานี [40 คะแนน]
ดาว Arcturus มี R.A. และ Dec. เป็น 14h 17m และ +19° 06' ตามลาดับ ผู้สังเกตอยู่ ณ จังหวัด
อุบลราชธานีซึ่งมีละติจูด 15.24° N และลองจิจูด 104.85° E กาหนดให้เวลาดาราคติที่กรีนิซ (Greenwich
Sidereal Time) GST ในวันที่ 1 มกราคม ณ เวลา UT 00h คือ 6h 38min

a) จงหา GST ที่ดาว Arcturus อยู่ ณ ตาแหน่งสูงสุดบนท้องฟ้าในวันที่ 8 พฤษภาคม ณ จังหวัดอุบลราชธานี


[3.0 คะแนน]

b) จงคานวณหาเวลานาฬิกาที่ดาว Arcturus อยู่ ณ ตาแหน่งสูงสุดบนท้องฟ้าในวันที่ 8 พฤษภาคม


ณ จังหวัดอุบลราชธานี [7.0 คะแนน]

c) จงวาดทรงกลมท้องฟ้าขณะที่ดาว Arcturus กาลังตกจากขอบฟ้า ณ จ.อุบลราชธานี โดยตาแหน่งดาว, มุม


Local Hour Angle (LHA), Dec. ( ), Zenith distance (z) ของดาว Arcturus ละติจูด ( ) ของผู้สังเกต
ในวันที่ 8 พฤษภาคม [10.0 คะแนน]

d) จงคานวณหา Local Hour Angle (LHA) ของดาว Arcturus ขณะกาลังตกในวันที่ 8 พฤษภาคม


ณ จ.อุบลราชธานี [10.0 คะแนน]

e) จงคานวณหาเวลาตามนาฬิกาที่ดาว Arcturus ขึ้นและตกจากขอบฟ้าในวันที่ 8 พฤษภาคม


ณ จ.อุบลราชธานี [10.0 คะแนน]

*************************

14

You might also like