You are on page 1of 120

ดาราศาสตร์และอวกาศ

ในเอกภพที่กว้างใหญ่ไพศาล มีกาแล็กซี (Galaxy) นับแสนล้านกาแล็กซี


ภายในกาแล็กซีประกอบไปด้วยดวงดาวมากมายหลายร้อยล้านดวง ทั้งดาวฤกษ์
ดาวเคราะห์ ฝุ่ นและกลุ่มเนบิวลา เช่นเดียวกับกลุ่มดาวที่โลกเราอยูค่ ือ กาแล็กซี
ทางช้างเผือก (Milky Way)
รู ปแบบของกาแล็กซีต่างๆ

กาแล็กซีทางช้างเผือก
กาแล็กซีทางช้างเผือก
ตาแหน่งของระบบสุ ริยะบนกาแล็กซีทางช้างเผือก
นักเรี ยนทาแบบทดสอบก่อนเรี ยนเรื่ องดาราศาสตร์และอวกาศ
ดาวเคราะห์ในระบบสุ ริยะ
ดาวเคราะห์ในระบบสุ ริยะมีอะไรบ้าง ?

ดาวเคราะห์ใดมีมวลมากที่สุดและน้อยที่สุด ?

ดาวเคราะห์แต่ละดวงมีการหมุนรอบตัวเองอย่างไร ?
การหมุนรอบตัวเองของดาวต่างๆในระบบสุ ริยะ
การโคจรของดาวเคราะห์รอบดวงอาทิตย์

ดวงอาทิตย์และวัตถุทอ้ งฟ้าต่างๆ สามารถอยูร่ วมกันได้อย่างเป็ นระบบด้วยแรงโน้ มถ่ วง


ขนาดของแรงโน้มถ่วงจะส่ งผลต่อการเคลื่อนที่ของวัตถุต่างๆ ที่อยูภ่ ายใต้สนามโน้ม
ถ่วง
แรงโน้มถ่วงของดาว
 แรงโน้มถ่วงของดาวจะกระทาต่อวัตถุทเ่ี ข้ามาในบริเวณสนามโน้ม
ถ่วงของดาว
 ทิศทางของแรงโน้มถ่วงและทิศทางของสนามโน้มถ่วงจะมีทศิ
ทางเข้าหาจุดศูนย์กลางของดาว
ปัจจัยทีส่ ่ งผลต่ อแรงโน้ มถ่ วงของดาวเคราะห์

กิจกรรมที่ 10.1

ความสัมพันธ์ระหว่างมวลของดาวกับแรงโน้มถ่วงของดาว
ชื่ อดาวเคราะห์ มวลของดาวเคราะห์ จานวนดาวบริวาร

( × 𝟏𝟎𝟐𝟒 kg) (ดวง)

พุธ 0.330 0
ศุกร์ 4.87 0
โลก 5.97 1
อังคาร 0.642 2
พฤหัสบดี 1898 79
เสาร์ 568 62
ยูเรนัส 86.8 27
เนปจูน 102 14
เรี ยงลาดับมวลของดาวเคราะห์จากมากที่สุดไปน้อยที่สุดได้อย่างไร ?
เรี ยงลาดับดาวเคราะห์ที่มีจานวนดาวบริ วารจากมากที่สุดไปน้อยที่สุดได้อย่างไร ?

มวลของดาวเคราะห์สัมพันธ์กบั จานวนดาวบริ วารหรื อไม่ เพราะเหตุใด ?


ปัจจัยที่มีผลต่อแรงโน้มถ่วงของดาว
1. มวลของดาว
- มวลของโลกเป็ น 81 เท่าของดวงจันทร์
- ดวงอาทิตย์มีมวล 1,988,500 x 1024 หรื อ 330,000 เท่าของมวลโลก
- ดาวพฤหัสบดีเป็ นดาวเคราะห์ที่มีมวลมากที่สุดคือ 318 เท่าของมวลโลก
2. ระยะห่ างจากดาว
การคานวณค่ าแรงโน้ มถ่ วงของดาว
- แรงโน้มถ่วงระหว่างมวลทั้งสอง
- ค่านิจโน้มถ่วงสากล มีค่าประมาณ 6.674 x 10-11 m3/kg-1s-2
6.674 x 10-11 m3/kg-1s-2
กิจกรรมที่ 10.2

แรงโน้มถ่วงทีด่ วงอาทิตย์กระทาต่อดาวเคราะห์
ชื่ อดาวเคราะห์ มวลของดาวเคราะห์ มวลของดวงอาทิตย์ ระยะห่ างจากดวงอาทิตย์ F=
𝑮𝒎𝟏𝒎𝟐
𝒓𝟐

( × 𝟏𝟎𝟐𝟒 kg) ( × 𝟏𝟎𝟐𝟒 kg) ( × 𝟏𝟎𝟗 m) ( × 𝟏𝟎𝟐𝟐 N)

พุธ 0.330 57.9 1.31

ศุกร์ 4.87 108.2 5.52

โลก 5.97 149.6 3.54

อังคาร 0.642 227.9 0.16


1,988,500
พฤหัสบดี 1898 778.6 41.54

เสาร์ 568 1433.5 3.67

ยูเรนัส 86.8 2872.5 0.14

เนปจูน 102 4495.1 0.067


ดาวเคราะห์ดวงใดที่แรงโน้มถ่วงจากดาวดวงอาทิตย์มากระทามีค่ามากที่สุด
เพราะเหตุใด ?
ดาวเคราะห์ดวงใดที่แรงโน้มถ่วงจากดวงอาทิตย์มากระทามีค่าน้อยที่สุด
เพราะเหตุใด ?
ปั จจัยใดบ้างที่ส่งผลต่อขนาดของแรงโน้มถ่วงที่ดวงอาทิตย์กระทากับดาวเคราะห์ ?
การคานวณค่ าแรงโน้ มถ่ วงของดาว
ตัวอย่ าง
ดาวพุธมีมวล 𝟎. 𝟑𝟑𝟎× 𝟏𝟎𝟐𝟒 กิโลกรัม
ดวงอาทิตย์มีมวล 𝟏, 𝟗𝟖𝟖, 𝟓𝟎𝟎× 𝟏𝟎𝟐𝟒 กิโลกรัม
ระยะห่างระหว่างจุดศูนย์กลางของดาวพุธและดวงอาทิตย์คือ 𝟓𝟕. 𝟗× 𝟏𝟎𝟗 เมตร
จงหาแรงโน้มถ่วงระหว่างพุธกับดวงอาทิตย์มีค่าเท่าใด
การคานวณแรงโน้ มถ่ วงระหว่ างมวลทั้งสอง
F =
𝑮𝒎𝟏𝒎𝟐
𝒓𝟐

(𝟔.𝟔𝟕𝟒× 𝟏𝟎−𝟏𝟏 )(𝟏,𝟗𝟖𝟖,𝟓𝟎𝟎× 𝟏𝟎𝟐𝟒 )(𝟎.𝟑𝟑𝟎× 𝟏𝟎𝟐𝟒 )


F= (𝟓𝟕.𝟗× 𝟏𝟎𝟗)𝟐

(𝟔.𝟔𝟕𝟒× 𝟏,𝟗𝟖𝟖,𝟓𝟎𝟎×𝟎.𝟑𝟑𝟎)×𝟏𝟎−𝟏𝟏 × 𝟏𝟎𝟐𝟒 × 𝟏𝟎𝟐𝟒 )


F=
3,352.41× 𝟏𝟎𝟏𝟖
4,379,512.17× 𝟏𝟎−𝟏𝟏 × 𝟏𝟎𝟒𝟖 )
F= 3,352.41× 𝟏𝟎𝟏𝟖
4,379,512.17×𝟏𝟎𝟑𝟕 )
F = 3,352.41× 𝟏𝟎𝟏𝟖

F =1,306.38 ×𝟏𝟎𝟏𝟗 N

F =1.31 ×𝟏𝟎22 N
kg
นักเรี ยนคานวณค่าแรงโน้มถ่วงของดาว
โดยใช้ขอ้ มูลจากตารางกิจกรรมที่ 10.2
อัตราเร็วในการโคจรของดาวเคราะห์ รอบดวงอาทิตย์

คาบการโคจรของดาวเคราะห์รอบดวงอาทิตย์ = ระยะเวลาที่ดาวเคราะห์ใช้ในการเคลื่อนที่รอบดวงอาทิตย์
ครบ 1 รอบ

อัตราเร็วในการโคจรของดาวเคราะห์รอบดวงอาทิตย์ = อัตราส่วนระหว่างระยะทางในการโคจรของดาว
เคราะห์รอบดวงอาทิตย์กบั เวลาที่ดาวเคราะห์ใช้ในการโคจร
อัตราเร็วในการโคจรของดาวเคราะห์ รอบดวงอาทิตย์
ชื่อดาวเคราะห์ ระยะห่ างจากดวง อัตราเร็วในการโคจรของดาว คาบในการโคจรของดาว
อาทิตย์ เคราะห์รอบดวงอาทิตย์ เคราะห์รอบดวงอาทิตย์
(km/s) (วัน)
( × 𝟏𝟎𝟗 m)
พุธ 57.9 47.4 88
ตารางที่ 10.1 ศุกร์ 108.2 35.0 224.7
อัตราเร็ วในการ
โครจรและคาบใน
โลก 149.6 29.8 365.2

การโคจรของดาว อังคาร 227.9 24.8 687.0

เคราะห์รอบดวง พฤหัสบดี 778.6 13.1 4,331

อาทิตย์ เสาร์ 1,433.5 9.7 10,747

ยูเรนัส 2,872.5 6.8 30,589

เนปจูน 4,495.1 5.4 59,800


อัตราเร็วในการโคจรของดาวเคราะห์ แต่ ละดวงรอบดวงอาทิตย์ มคี วามแตกต่ างกัน
ชื่อดาวเคราะห์ ระยะห่ างจากดวง อัตราเร็วในการโคจรของดาว คาบในการโคจรของดาว
อาทิตย์ เคราะห์รอบดวงอาทิตย์ เคราะห์รอบดวงอาทิตย์(วัน)
(km/s)
( × 𝟏𝟎𝟗 m)
พุธ 57.9 47.4 88
ตารางที่ 10.1 ศุกร์ 108.2 35.0 224.7
อัตราเร็ วในการ
โครจรและคาบการ
โลก 149.6 29.8 365.2

โคจรของดาว อังคาร 227.9 24.8 687.0

เคราะห์รอบดวง พฤหัสบดี 778.6 13.1 4,331

อาทิตย์ เสาร์ 1,433.5 9.7 10,747

ยูเรนัส 2,872.5 6.8 30,589

เนปจูน 4,495.1 5.4 59,800


สรุป
อัตราเร็วและคาบในการโคจรของดาวเคราะห์รอบดวงอาทิตย์ไม่เท่ากัน ขึ้นอยู่กับ
ระยะห่างของดาวเคราะห์จากดวงอาทิตย์ ดังนี้
▪ดาวเคราะห์ที่อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์น้อยจะมีอัตราเร็วในการโคจรมากและมีคาบในการ
โคจรน้อย
▪ดาวเคราะห์ที่อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์มากจะมีอัตราเร็วในการโคจรน้อยและมีคาบในการ
โคจรมาก
ทั้งนี้พิจารณาให้วงโคจรของดาวเคราะห์รอบดวงอาทิตย์มีลักษณะเป็นวงกลม
อัตราเร็วในการโคจรของดาวเคราะห์รอบดวงอาทิตย์ จะเป็นสัดส่วนผกผัน
กับค่าระยะห่างของดาวเคราะห์จากดวงอาทิตย์ โดยมีความสัมพันธ์ดังสมการ
v2 = 𝐺𝑀
𝑟
สมการ v2 = GM/r

V2 = อัตราเร็วในการโคจรของดาวเคราะห์รอบดวงอาทิตย์ (km/s)
G = ค่านิจโน้มถ่วงสากล 6.674 x 10 m /kg s
-11 3 -1 -2

M = มวลของดวงอาทิตย์ (kg)
r = ระยะห่างระหว่างดาวเคราะห์และดวงอาทิตย์ (m)
ให้ นักเรียนสรุ ปหัวข้ อต่ อไปนีเ้ ป็ นแผนภาพลงในสมุดประจาตัวนักเรียน

➢แผนภาพปัจจัยที่ส่งผลต่อแรงโน้มถ่วงของดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ

➢แผนภาพความสัมพันธ์ระหว่างระยะห่างของดาวเคราะห์จากดวงอาทิตย์
อัตราเร็วและคาบการโคจรของดาวเคราะห์รอบดวงอาทิตย์
ตัวอย่างแผนภาพ ปั จจัยทีม่ ีผลต่อแรงโน้มถ่วง
ของดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ

มวลของดาวเคราะห์ ระยะห่างจากดาวเคราะห์
ความสัมพันธ์ระหว่างระยะห่างของดาวเคราะห์จากดวงอาทิตย์ อัตราเร็ว
และคาบการโคจรของดาวเคราะห์รอบดวงอาทิตย์

ระยะห่างของดาวเคราะห์ อัตราเร็วในการโคจรของดาว คาบการโคจรของดาวเคราะห์รอบ


จากดวงอาทิตย์ เคราะห์รอบดวงอาทิตย์ ดวงอาทิตย์
ฤดูกาล
ฤดูร้อน

ท้องฟ้าแจ่มใส เหมาะแก่การเจริ ญเติบโตของพืช


ฤดูใบไม้ร่วง

อากาศเย็นลง ปริ มาณแสงอาทิตย์เริ่ มลดลง ต้นไม้เริ่ มเกิดการผลัดใบ


ฤดูหนาว

เกิดหิ มะตกและท้องฟ้าไม่แจ่มใสเป็ นระยะหลายเดือน


ฤดูใบไม้ผลิ

ท้องฟ้าเริ่ มกลับมาแจ่มใส มีแสงแดดเพียงพอให้ตน้ ไม้ใช้ในการเจริ ญเติบโตและเกิดการผลิใบ


สาหรับประเทศไทย
ผู้คนที่อาศัยในหลายภูมิภาค เช่น ภาคกลาง ภาคเหนือ ถาคตะวันออกเฉียงเหนือ จะพบ
ฤดูเพียง 3 ฤดู ได้แก่ ฤดูร้อน ฤดูฝน ฤดูหนาว ส่วนภาคใต้จะมีเพียง 2 ฤดู ได้แก่ ฤดูร้อน และฤดูฝน

เหตุผล : ประเทศไทยอยู่ใกล้เส้นศูนย์สูตร ได้รับแสงจากดวงอาทิตย์ในปริมาณที่พอเหมาะตลอดปี


ต้นไม้ผลัดใบ จึงไม่มี ฤดูใ[ไม้ร่วงและฤดูใบไม้ผลิ อีกทั้งประเทศไทยมีฝนตกในช่วงปลายฤดูร้อนเป็น
เวลานานประเทศไทยจึงมี 3 ฤดู
▪ การเกิดฤดูส่งผลให้มีสิ่งใดเปลี่ยนแปลงบ้าง ?

แนวคำตอบ : อุณหภูมิ สภาพอากาศ และสภาพแวดล้อม

▪ การเกิดฤดูกาลเกิดขึ้นได้อย่างไร ?

แนวคาตอบ : เกิดจากการที่โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ในรอบ 1 ปี โดยแกนโลกเอียงทามุม


ประมาณ 23.5 องศากับแนวตัง้ ฉากของระนาบโคจรของโลกรอบดวงอาทิตย์ จึงทาให้สว่ นต่าง ๆ
ของโลกได้รบั พลังงานความร้อนแตกต่างกัน
ทบทวนความรู ้
ให้นกั เรียนเขียน  หน้าข้อความที่ถกู ต้อง และทาเครื่องหมาย หน้าข้อความที่ไม่ถกู ต้อง
 1. ดวงอาทิตย์เป็ นแหล่งพลังงานที่ใหญ่ท่ีสดุ ของระบบสุรยิ ะ เมื่อโลกได้รบั แสงจากดวง
อาทิตย์จะได้รบั พลังงานแสงและพลังงานความร้อน
 2. แสงจากดวงอาทิตย์เดินทางมายังโลกเป็ นเส้นตรง
 3. การโคจรของโลกรอบดวงอาทิตย์ทาให้เกิดกลางวันกลางคืน
 4. การหมุนรอบตัวเองของโลกทาให้เกิดปรากฏการณ์การขึน้ และตกของดวงอาทิตย์ และ
นาไปสู่การกาหนดทิศ
 5. การหมุนรอบตัวเองของโลกหมุนจากทิศตะวันออกไปสู่ทิศตะวันตก
สัณฐานของโลกกับการได้รับพลังงานจากรังสี ดวงอาทิตย์
สัณฐานของโลกกับการได้รับพลังงานจากรังสี ดวงอาทิตย์
▪ สัณฐานของโลกที่มีลักษณะเป็นทรงกลม ส่งผลให้แต่ละบริเวณของโลกได้รับ
พลังงานจากรังสีดวงอาทิตย์แตกต่างกันหรือไม่ อย่างไร ?

โลกมีลกั ษณะทรงกลม ส่ งผลให้แสงขนานจากดวงอาทิตย์ที่เคลื่อนที่มายังผิว


โลกแต่ละบริ เวณจะมีลกั ษณะแตกต่างกันไป บริ เวณเส้นศูนย์สูตร ซึ่งได้รับแสงจาก
ดวงอาทิตย์ในแนวตั้งฉากกับผิวโลกจะมีอตั ราส่ วนระหว่างพลังงานแสงต่อขนาดพื้นที่
ที่รองรับมากกว่าบริ เวณอื่นๆ และในบริ เวณที่ห่างจากเส้นศูนย์สูตรออกไป พลังงานที่
ได้รับจากดวงอาทิตย์ต่อ 1 หน่วยพื้นที่กจ็ ะมีค่าลดลงไปตามลาดับ โดยบริ เวณขั้วโลก
จะได้รับพลังงานน้อยที่สุด
สัณฐานของโลกกับการได้รับพลังงานจากรังสี ดวงอาทิตย์
ระนาบสุ ริยะ

โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ครบ 1 รอบ โดยใช้ระยะเวลา 1 ปี เรี ยกระนาบการโคจรของโลกรอบดวงอาทิตย์วา่


ระนาบสุ ริยวิถี (ecliptic plane)
คาถาม

•การทีโ่ ลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ แกนหมุนของโลกจะเอียง 23.5 องศา จาก


แนวตั้งฉากกับระนาบทางโคจร ทาให้ เกิดผลอย่ างไร ?

แนวคาตอบ : ทาให้เกิดฤดูกาลต่างๆ
การเกิดฤดูกาล
ให้นักเรียนดูวดิ ที ศั น์จากลิงก์หรือคิวอาร์โค้ดด้านล่าง

https://www.youtube.com/watch?v=8_dSV249fDg
ตารางที่ 10.2
พลังงานที่ได้ รับและฤดูที่เกิดขึน้ ในซีกโลกเหนือและซีกโลกใต้ ณ ตาแหน่ งบนผิวโลกที่รังสี ดวงอาทิตย์ ตกกระทบ
ตั้งฉากในแต่ ละช่ วงเวลาของปี
▪ ฤดูกาลเกิดขึ้นได้อย่างไร

แนวคำตอบ : ฤดู เกิดจากการที่โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ ในรอบ 1 ปี โดยที่แกนหมุนของโลกเอียง 23.5 องศา


จากแนวตั้งฉากกับระนาบทางโคจรของโลก ทาให้ตาแหน่งต่างๆ บนพื้นโลกได้รับพลังงานแสงและความร้อน
จากดวงอาทิตย์ไม่เท่ากัน

▪ ใน 1 ปี มีฤดูต่างๆกีฤ่ ดู ฤดูอะไรบ้าง
แนวคำตอบ : มี 4 ฤดู ฤดูร้อน ฤดูใบไม้ร่วง ฤดูหนาว และฤดูใบไม้ผลิ

▪ ประเทศไทยไม่มีฤดูใบไม้ร่วงและฤดูใบไม้ผลิ เกิดจากสาเหตุใด
แนวคำตอบ : ประเทศไทยอยู่ใกล้เส้นศูนย์สูตรได้รับแสงจากดวงอาทิตย์ในปริมาณที่พอเหมาะตลอดปี ต้นไม้ไม่
ผลัดใบ ประเทศไทยจึงไม่มีฤดูใบไม้ร่วงและฤดูใบไม้ผลิ
เส้นทางการเคลื่อนที่ปรากฏของดวงอาทิตย์
หินเอน (heel stone) มีประโยชน์
ชาวอังกฤษโบราณได้จัดวางหินก้อนหนึ่งซึง่ เรียกว่า หินเอน ไว้ทางด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือ
ของสโตนเฮนจ์เพือ่ ใช้บอกตาแหน่งทีด่ วงอาทิตย์จะโผล่พ้นขอบฟ้ าขึน้ มาในวันทีม่ กี ลางวันยาวนานทีส่ ุด
ในรอบปี ซึง่ ถือเป็ นช่วงทีเ่ ริ่มเข้าสู่ฤดูร้อน เรียกวันดังกล่าวว่า วันครีษมายัน (คี-สะ-มา-ยัน)
วันครี ษมายัน มีความสาคัญอย่างไร และตรงกับช่วงเวลาใด

วันครีษมายัน เป็ นวันทีม่ ีกลางวันยาวนานทีส่ ุดในรอบปี ซึง่ ถือเป็ นช่วงทีเ่ ริ่มเข้า

สู่ฤดูร้อน ซึง่ มักตรงกับวันที่ 21-22 มิถุนายนของแต่ละปี


เส้นทางการเคลื่อนที่ปรากฏของดวงอาทิตย์

ให้นักเรียนดูวดิ ที ศั น์จากลิงก์หรือคิวอาร์โค้ดด้านล่าง

https://www.youtube.com/watch?v=lRx5Br8iQbU
ภาพเส้นทางการเคลื่อนที่ปรากฏของดวงอาทิตย์
การที่โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ในลักษณะที่แกนโลกเอียงกับแนวตั้งฉากของระนาบทางโคจร
ทาให้ส่วนต่าง ๆ บนโลกได้รับปริ มาณแสงจากดวงอาทิตย์แตกต่างกันในรอบปี
การที่โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ในลักษณะที่แกนโลกเอียงกับแนวตั้งฉากของ
ระนาบทางโคจร ทาให้ส่วนต่าง ๆ บนโลกได้รับปริ มาณแสงจากดวงอาทิตย์แตกต่างกัน
ในรอบปี เกิดเป็ นฤดูกาล (seasons) และตาแหน่งการขึ้นและตกของดวงอาทิตย์ที่ขอบ
ฟ้าและเส้นทางการขึ้น-ตกของดวงอาทิตย์เปลี่ยนไปในรอบปี จึงมีระยะเวลากลางวัน
กลางคืนยาวไม่เท่ากัน ซึ่งส่ งผลต่อการใช้ชีวิตบนโลก เช่น การออกหากินของสัตว์
ฤดูกาลของโลก
• โลกจะมี 4 ฤดู อันได้แก่
• ฤดูร้อน: เมื่อโลกหันซีกโลกนั้น เข้าหาดวงอาทิตย์ (กลางวันนานกว่า
กลางคืน)
• ฤดูใบไม้ร่วง: เมื่อแต่ละซีกโลกหันเข้าหาดวงอาทิตย์เท่ากัน (กลางวันนาน
เท่าๆ กลางคืน)
• ฤดูหนาว: เมื่อโลกหันซีกโลกนั้น ออกจากดวงอาทิตย์ (กลางคืนนานกว่า
กลางวัน)
• ฤดูใบไม้ผลิ: เมื่อแต่ละซีกโลกหันเข้าหาดวงอาทิตย์เท่ากัน (กลางวันนาน
เท่าๆ กลางคืน)
ฤดูกาลของประเทศไทย
• ประเทศไทยตัง้ อยู่บนคาบสมุทรอินโดจีน ระหว่างมหาสมุทรอินเดียกับทะเลจีนใต้ จึง
ตกอยู่ในอิทธิพลของลมมรสุม (Monsoon) ทาให้ประเทศไทยมี 3 ฤดู
ประกอบด้วย
• ฤดูร้อน : เดือนมีนาคม - เดือนพฤษภาคม
• ฤดูฝน : เดือนมิถุนายน - เดือนตุลาคม
• ฤดูหนาว : เดือนพฤศจิกายน - เดือนกุมภาพันธ์
ตะวันอ้อมข้าว

ทุกวันที่ 21-22 ธันวาคมของทุกปี จะเป็ นวันที่ดวงอาทิตย์ข้ ึนทางทิศ


ตะวันออกเฉียงใต้และตกทางทิศตะวันตกเฉียงใต้มากที่สุด โดยดวงอาทิตย์จะอยู่
ห่างจากขั้วโลกเหนือ จึงทาให้ประเทศในแถบขั้วโลกเหนือบางส่ วนมองไม่เห็น
ดวงอาทิตย์ แต่ในทางกลับกันดวงอาทิตย์จะเอียงเข้าหาขั้วโลกใต้ ทาให้ประเทศใน
แถบขั้วโลกใต้ ได้แก่ ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ และประเทศต่าง ๆ ในทวีปอเมริ กา
ใต้ ได้รับแสงอาทิตย์มาก ส่ งผลให้อากาศร้อนกว่าปกติ

โดยปรากฏการณ์ดงั กล่าว ทาให้มีช่วงกลางคืนที่ยาวนานกว่าช่วงกลางวัน


ซึ่งคนไทยเรี ยกปรากฏการณ์น้ ีวา่ "ตะวันอ้อมข้ าว" สาหรับทางซีกโลกเหนือจะ
เรี ยกว่า "วันเหมายัน" (Winter solstice) และคนไทยส่ วนใหญ่ก็เรี ยกวันนี้วา่
วันเหมายันเช่นกัน เนื่องจากประเทศไทยที่จดั อยูใ่ นซีกโลกเหนือ ในขณะที่ทางซีก
โลกใต้จะเรี ยกวันดังกล่าวนี้วา่ "วันครีษมายัน" (Summer solstice) ทั้งนี้ วัน
เหมายัน อ่านว่า เห-มา-ยัน มีอีกชื่อหนึ่งคือวันทักษิณายัน
ทบทวนความรู ้
ให้นกั เรียนเขียน  หน้าข้อความที่ถกู ต้อง และทาเครื่องหมาย หน้าข้อความที่ไม่ถกู ต้อง
 1. ดวงอาทิตย์เป็ นแหล่งพลังงานที่ใหญ่ท่ีสดุ ของระบบสุรยิ ะ เมื่อโลกได้รบั แสงจากดวง
อาทิตย์จะได้รบั พลังงานแสงและพลังงานความร้อน
 2. แสงจากดวงอาทิตย์เดินทางมายังโลกเป็ นเส้นตรง
 3. การโคจรของโลกรอบดวงอาทิตย์ทาให้เกิดกลางวันกลางคืน
 4. การหมุนรอบตัวเองของโลกทาให้เกิดปรากฏการณ์การขึน้ และตกของดวงอาทิตย์ และ
นาไปสู่การกาหนดทิศ
 5. การหมุนรอบตัวเองของโลกหมุนจากทิศตะวันออกไปสู่ทิศตะวันตก

เฉลย ข้อ 3,5 ตอบ 


ปฏิสัมพันธ์ระหว่างโลก ดวงจันทร์ และดวงอาทิตย์
▪ ตอนกลางคืนนักเรียนเคยสังเกตดวงจันทร์หรือไม่ว่า ดวงจันทร์ในแต่ละคืนมีลักษณะและ
ตำแหน่งอยู่ที่เดิมหรือไม่ มีลักษณะอย่างไร ?
แนวคำตอบ : ตอบได้อิสระ

▪ ดวงจันทร์มีรูปร่างเปลี่ยนไปในแต่ละคืนอย่างไร ?

แนวคำตอบ : การที่เรามองเห็นด้านสว่างของดวงจันทร์คอ่ ยๆเพิ่มขึน้ ในแต่ละคืน เรียกว่า ข้างขึน้


จากนัน้ เราจะเห็นดวงจันทร์ดา้ นสว่างค่อยๆลดลงมาในแต่ละคืนเรียกว่า ข้างแรม
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างโลก ดวงจันทร์ และดวงอาทิตย์
ข้างขึ้น ข้างแรม
ข้ างขึน้ ข้ างแรม (The Moon’s Phases)

 ปรากฎการณ์ขา้ งขึน้ ข้างแรม


เกิดจากการทีด่ วงจันทร์โคจรรอบโลก ขณะโคจรจะได้รบั แสงจากดวงอาทิตย์สะท้อน
มายังโลก ในรอบหนึ่งเดือนทุกๆวัน เวลาขึน้ และตกของดวงอาทิตย์ จะเปลีย่ นแปลงไปไม่
มาก แต่ดวงจันทร์จะขึน้ และตกช้าไปประมาณวันละ 50 นาที ในเวลาเดียวกันของแต่ละวัน
ดวงจันทร์จะเคลื่อนจากทิศตะวันตกเลื่อนสูงขึน้ ๆ จนถึงกลางศีรษะ และจะเคลื่อนไปทางทิศ
ตะวันออก
ให้นกั เรี ยนศึกษาเรื่ องความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะปรากฎของดวงจันทร์ กบั ตาแหน่งของ
ดวงจันทร์ ในวงโคจรรอบโลกจากสื่ อดังนี้
▪ ข้างขึ้น ข้างแรม เป็นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นได้อย่างไร ?

▪ ปรากฎการณ์ที่เห็นด้านสว่างของดวงจันทร์ค่อยๆ เพิ่มขึ้นในแต่ละคืนเรียกว่าอะไร ?

▪ ปรากฎการณ์ที่เห็นด้านมืดของดวงจันทร์ค่อยๆ เพิ่มขึ้นในแต่ละคืนเรียกว่าอะไร ?

▪ ข้างขึ้น เริ่มตั้งแต่วันอะไร ?

▪ ข้างแรม เริ่มตั้งแต่วันอะไร ?
การเกิดข้ างขึน้ ข้ างแรม
การเกิดข้ างขึน้ ข้ างแรม
 วันแรม 15 คำ่ (รูป ก) เมือ่ ดวงจันทร์อยู่ระหว่ำงโลกกับดวงอำทิตย์
ดวงจันทร์จะหันแต่ทำงด้ำนมืดให้โลก ดวงจันทร์ปรำกฏบน
ท้องฟ้ ำในตำแหน่ งใกล้กบั ดวงอำทิตย์ ทำให้เรำไม่สำมำรถ
มองเห็นดวงจันทร์ได้เลย
้ 8 คำ่ (รูป ค) เมือ่ ดวงจันทร์เคลื่อนมำอยู่ในตำแหน่ งทำมุม
 วันขึน
ฉำกกับโลก และดวงอำทิตย์ ทำให้เรำมองเห็นด้ำนสว่ำงและด้ำน
มืดของดวงจันทร์มีขนำดเท่ำๆ กัน
การเกิดข้ างขึน้ ข้ างแรม

• วันขึน้ 15 ค่า หรือ วันเพ็ญ (รู ป จ) ดวงจันทร์โคจรมาอยู่ดา้ นตรง


ข้ามกับดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์หนั ด้านทีไ่ ด้รับแสงอาทิตย์เข้าหา
โลก ทาให้เรามองเห็นดวงจันทร์เต็มดวง
วันแรม 8 ค่า (รู ป ช) ดวงจันทร์โคจรมาอยู่ในตาแหน่งทามุม
ฉากกับโลก และดวงอาทิตย์ ทาให้เรามองเห็นด้านสว่างและด้าน
มืดของดวงจันทร์มีขนาดเท่าๆ กัน
การเปลี่ยนแปลงการขึ้นตกของดวงจันทร์
กิจกรรมที่ 10.8
เรื่ องความสั มพันธ์ ระหว่ างตาแหน่ งของดวงจันทร์ ในวงโคจรรอบโลกและช่ วงเวลาที่
ดวงจันทร์ ขนึ้ และตกจากขอบฟ้ า
ให้นกั เรี ยนศึกษาเรื่ องการขึ้นและตกของดวงจันทร์ สื่อดังนี้

https://www.youtube.com/watch?v=uNsbaormV2M
▪ เวลาที่ดวงจันทร์ขึ้นและตกจากขอบฟ้ามีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างไรในแต่ละวัน ?

▪ วันที่ดวงจันทร์มีเวลาขึ้นและตกจากขอบฟ้าใกล้เคี ยงกันกับเวลาขึ้นและตกของดวง
อาทิตย์มากที่สุกตรงกับวันใดตามปฏิทินจันทรคติ และดวงจันทร์อยู่ที่ตำแหน่งใดในวง
โคจรรอบโลก ?

▪ เพราะเหตุใดในวันขึ้น 15 ค่ำ บางเดือนดวงจันทร์จึงไม่สว่างเต็มดวง ?

▪ ปรากฏการณ์แสงโลกเกี่ยวข้องกับดวงจันทร์หรือไม่อย่างไร ?
การขึน้ -ตกของดวงจันทร์
 ดวงจันทร์ขน้ึ หมายถึง ดวงจันทร์มาปรากฏอยู่ ณ ขอบฟ้ าทิศตะวันออกซึง่ จะเป็ นเวลาใด
ก็ได้ไม่จากัดว่าต้องเป็ นเวลากลางวันหรือกลางคืน

 ดวงจันทร์ตก หมายถึง ดวงจันทร์มาปรากฏอยู่ ณ ขอบฟ้ าทิศตะวันตกเวลาขึน้ เวลาตก


ของดวงจันทร์มกี ารเปลีย่ นแปลง
ตาแหน่งของดวงจันทร์ในโคจรรอบโลกและผูส้ งั เกตบนโลกที่เวลาต่างๆ
ตัวอย่ างการคานวณการขึน้ และตกของดวงจันทร์
ในวันพุธ ดวงจันทร์ตกเวลา 18.07 นาฬิกา และในวันศุกร์คาดว่า ดวงจันทร์จะตกในเวลาใด

วิธีทา ดวงจันทร์ตกช้าลงจากเดิมวันละ 50 นาที


แต่วันศุกร์อยู่หลังวันพุธ 2 วัน
ดังนั้นดวงจันทร์จะตกช้ากว่าในวันพุธ = 50 x 2 = 100
นาที
= 1 ชม. 40 นาที
ดังนั้นวันศุกร์ดวงจันทร์จะตกเวลา = 18.07 + 1.40
= 19.47 นาฬิกา
ให้นกั เรี ยนเขียนแผนภาพการเกิดข้างขึ้น ข้างแรม
ให้นกั เรี ยนทาใบงาน เรื่ องการเกิดข้างขึ้น ข้างแรม
น้ าขึ้น น้ าลง
ให้นักเรียนดูวีดิทัศน์เกี่ยวกับการเกิดภาวะน้ำขึ้นน้ำลง

https://www.youtube.com/watch?v=T1lPT-zsjIs
น้ าขึ้น น้ าลง

ผลของแรงดึงดูด
จากดวงจันทร์
และดวงอาทิตย์
ทาให้เกิดน้ าขึ้น
น้ าลง
การเกิดน้ำขึ้นน้ำลงเกิดจากสาเหตุใด

แรงดึงดูดของดวงจันทร์และดวงอาทิตย์ที่กระทำต่อโลก แรงดึงดูดของดวงจันทร์
ที่กระทำต่อโลกบริเวณที่ใกล้กับดวงจันทร์มากที่สุดจะทำให้น้ำในมหาสมุทรเคลื่อนที่
เข้ามาในบริเวณนี้มากขึ้นทำให้เกิดปรากฏการณ์น้ำขึ้น ส่วนระดับน้ำด้านข้างทั้งสอง
ของโลกก็จะลดลงและเกิดปรากฏการณ์น้ำลง ส่วนด้านตรงข้ามก็จะมีแรงกระทำ
เหมือนกันแต่น้อยกว่าด้านที่ใกล้ดวงจันทร์จึงเกิดการดูดน้ำให้มาติดกับผิวโลกแต่
เนื่องจากไม่สามารถเคลื่อนที่มาด้านหน้าได้จึงทำให้เกิดปรากฏการณ์น้ำขึ้นอีกด้านหนึ่ง
การเกิดน้ำขึ้นน้ำลงในรอบวันเกิดขึ้นได้อย่างไร

ในระยะเวลา 1 วันจะเกิดทัง้ การเพิ่มขึน้ ของระดับนา้ ทะเลและการลดลง


ของระดับนา้ ทะเล โดยช่วงเวลาที่เพิ่มขึน้ หรือลดลงขึน้ อยู่กบั ตาแหน่งของดวง
จันทร์ท่วี งโคจรรอบโลก
นักเรียนทำกิจกรรมกิจกรรมที่ 10.9
เรื่อง การเกิดนา้ ขึน้ นา้ ลงในรอบวัน อภิปรายก่อนทากิจกรรม

(ให้หนังสือหน้า 324)
ตัวอย่างการเขียนกราฟ
สรุ ป

ในระยะเวลา 1 วัน จะเกิดทั้งการเพิ่มขึ้นของระดับน้ำทะเล และลดลง


ของระดับน้ำทะเล โดยช่วงที่เพิ่มขึ้นหรือลดลงของระดับน้ำทะเล จะขึ้นอยู่กับ
ตำแหน่งของดวงจันทร์ในวงโคจรรอบโลก
น้ าเกิด น้ าตาย

ภาพ ก. นา้ เกิด ภาพ ข. นา้ ตาย


นา้ เกิด (Spring tide)
เป็ นวันทีด่ วงอาทิตย์ โลกและดวงจันทร์เรียงตัวเป็ นแนว
เดียวกันตรงกับวันแรม 15 ค่าดวงจันทร์อยู่ตาแหน่งตรง
กลางกับวันขึน้ 15 ค่า ดวงจันทร์อยู่ตาแหน่งตรงกันข้าม
เป็ นวันทีแ่ รงดึงดูดของดวงอาทิตย์และดวงจันทร์เสริมแรง
กัน พลังดึงดูดจึงมากขึน้ ซึง่ ระดับนา้ ขึน้ สูงสุดของนา้ ขึน้
และต่าสุดของนา้ ลงในวันเดียวกันต่างกันมากทีส่ ุดในรอบ
เดือน
นา้ ตาย (neap tide)
• เป็ นวันทีด่ วงอาทิตย์ โลกและดวงจันทร์
เรียงตัวกันเป็ นมุมฉาก นา้ จึงถูกแรง
ดึงดูดของดวงจันทร์ดดู ไปส่วนหนึ่งและ
ดวงอาทิตย์ ดูดไปส่วนหนึ่งแรงดึงดูด
ทัง้ สองตัดแรงกันจึงทาให้นา้ ขึน้ และลง
ไม่มาก ตรงกับวันขึน้ 8 ค่ากับแรม 8
ค่า ระดับนา้ สูงสุดของนา้ ขึน้ กับระดับ
นา้ ตา่ สุดของนา้ ลง มีพสิ ัยต่างกันน้อย
ทีส่ ุดในรอบเดือน
สุ ริยปุ ราคาหรื อเรี ยกอีกอย่างว่า สุ ริยะคราส

ปรากฏการณ์ ที่เกิดขึน้ ขณะที่ดวงจันทร์ หมุนรอบโลก แล้ วโคจรมาบังดวงอาทิตย์ จึงทาให้


โลกไม่ ได้ รับแสงสว่างจากดวงอาทิตย์ ช่ วงขณะหนึ่ง โดยเงาของดวงจันทร์ จึงตกมาบนโลก
ทาให้ บริเวณพืน้ ผิวโลกที่อยู่ใต้ เงามืดของดวงจันทร์ เห็นดวงอาทิตย์ มืดมิด เราเรียกว่า
“สุ ริยุปราคาเต็มดวง”
สุ ริยปุ ราคาแบบต่างๆ
จันทรุ ปาคา

จันทรุปาคา เป็ นปรากฏการณ์ ที่โลกบังแสงดวง


อาทิตย์ไม่ให้ไปกระทบที่ดวงจันทร์ ในบริเวณดวงอาทิตย์
ในวันเพ็ญ ( ขึน้ 15 ค่า ) โดยโลกอยู่ระหว่างดวงอาทิตย์
กับดวงจันทร์ ทาให้เงาของโลกไปบัง ดวงจันทร์
การเกิดจันทรุ ปราคา หรื อเรี ยกอีกอย่างว่า จันทคราส

คือ ปรากฏการณ์ ที่เกิดขึน้ ในคืนวันเพ็ญ ( ขึน้ 15 ค่า) เมื่อดวงจันทร์ โคจรมาอยู่


ในระนาบเส้ นตรงเดียวกับโลกและดวงอาทิตย์ ทาให้ เงาของโลกบังดวงจันทร์ คน
บนซีกโลกซึ่งควรจะเห็นดวงจันทร์ เต็มดวง
เทคโนโลยีอวกาศ

เทคโนโลยีอวกาศ คือการนาหลักการทางวิทยาศาสตร์ไป
ใช้ในการขยายขอบเขตการศึกษาค้นคว้าทางด้านดาราศาสตร์
และอวกาศ และประยุกต์ความรู้ทไี่ ด้มาพัฒนาความเป็ นอยูข่ อง
มนุษย์เพือ่ ความอยู่รอดอย่างมีความสุขและยั่งยืน
การเดินทางสู่ อวกาศ

 ดาวเทียมลาแรกของมนุษย์ ทส
ี่ ่ งออกไปนอกโลกคือ สปุตนิก 1
เมื่อวันที่ 4 ตุลาคม 2500 โดยสหภาพโซเวียต (รัสเซีย)
โดยโคจรอยู่จนถึงวันที่ 4 มกราคม 2501
ดาวเทียมเอ็กพลอเรอร์ 1 โดยสหรัฐอเมริกาสร้ าง
ส่ งออกไปนอกโลกเมื่อวันที่ 31 มกราคม 2501
ตัวอย่างเทคโนโลยีอวกาศทีม่ นุษย์สร้างขึน้
ยาน
อวกาศ

สถานี
ดาวเทียม
อวกาศ
เทคโนโลยี
อวกาศ

จรวด ยานขนส่ง
อวกาศ
ยานอวกาศ

เป็ นยานพาหนะหรือเครื่องยนต์ทอ่ี อกแบบมาเพือ่ บินไปบนอวกาศ โดยโคจรรอบโลก


เพือ่ วัตถุประสงค์ทห่ี ลากหลาย เช่น วิจัย สารวจ สือ่ สาร ติดตามสภาพอากาศ
อาจมีมนุษย์หรือไม่มีมนุษย์ควบคุมก็ได้
ยานวอยเอเจอร์
ยานขนส่ งอวกาศ ยานขนส่งอวกาศกาลังส่ง
ดาวเทียมเข้าสู่วงโคจร

เป็ นยานพาหนะสาหรับขนดาวเทียม อุปกรณ์ดาราศาสตร์และมนุษย์ ไป


ปฏิบัตกิ ารบนสถานีอวกาศ (เครื่องบินอวกาศ) เสร็จแล้วนากลับมาใช้อกี ได้
สถานี
สถานี อวกาศ
อวกาศนานาชาติ

สิง่ ก่อสร้างทีอ่ อกแบบเพือ่ ใช้เป็ นทีอ่ ยู่ สาหรับดารงชีพหรือวัตถุประสงค์ต่างๆ เช่น ทดลอง หรือ
เป็ นโรงงานซ่อมดาวเทียม ท่าเทียบจอด
จรวด จรวดฟอลคอน 9 (Falcon 9)

เป็ นยานพาหนะทีใ่ ช้ขนส่งดาวเทียมขึน้ สู่โคจรและส่งยานอวกาศออกสู่นอกโลก


เมื่อสิน้ สุดภารกิจ จรวดจะนากลับมาใช้งานอีกไม่ได้
กล้องโทรทรรศน์
เป็ นอุปกรณ์ทนี่ ักดาราศาสตร์ใช้ในการสังเกตการณ์วัตถุทอี่ ยู่ไกลมากๆ เช่น ดวงดาว กาแลกซี
และวัตถุในอวกาศต่างๆ

กล้ องโทรทรรศน์ JWST กล้ องโทรทรรศน์ GTC


การใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยี
สารวจ
ทรัพยากร

ดาราศาสตร์ สื่อสาร

ดาวเทียม

อุตุนิยมวิทยา จารกรรม
ประโยชน์ที่เกิดจากเทคโนโลยีอวกาศ

➢ได้ถูกออกแบบมาเพื่อสรรพสิ่ งต่างๆในอวกาศ เช่น ดาว กาแล็กซี ฯลฯ


➢สารวจทรัพยากรป่ าไม้ การเกษตร การใช้ที่ดิน ธรณีวทิ ยา สัณฐานวิทยา เป็ นต้น
➢ใช้สื่อสารโดยใช้คลื่นวิทยุในช่วงความถี่คลื่นไมโครเวฟ ส่ วนใหญ่เป็ น
ดาวเทียมโคจรค้างฟ้า
➢ใช้ในการตรวจจับ เก็บภาพบนพื้นดิน อาจใช้ทางการทหาร เฝ้าระวังการโจมตี
ทางอากาศ
➢เพื่อสารวจภารกิจพยากรณ์อากาศของโลก ตรวจจับสิ่ งผิดปกติเกี่ยวกับสภาพ
ภูมิอากาศ
ตาราง ลักษณะของการใช้ประโยชน์ในด้านต่าง ๆ ของดาวเทียมสารวจทรัพยากรโลก
ตาราง ลักษณะของการใช้ประโยชน์ในด้านต่าง ๆ ของดาวเทียมสารวจทรัพยากรโลก (ต่อ)
ตาราง ลักษณะของการใช้ประโยชน์ในด้านต่าง ๆ ของดาวเทียมสารวจทรัพยากรโลก (ต่อ)
ขอบคุณค่ะ

You might also like