You are on page 1of 8

ปลายภาค รายวิชา โลก และดาราศาสตร์

รหัสวิชา ว33262
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
ภาคเรียนที่2/2565
การแบ่งตาแหน่งดาวเคราะห์ ตาม เขตบริวาร ดวงอาทิตย์
การแบ่งตาแหน่งดาวเคราะห์ ตาม ตาแหน่งปรากฏของดาวเคราะห์
ดาวเคราะห์บนท้องฟ้าที่มนุษย์เห็นด้วยตาเปล่า มี 5 ดวง คือ
ดาวพุธ ดาวศุกร์ ดาวอังคาร ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์
Earth

Neptune
Uranus
Mercury Venus Mars Saturn
Jupiter
ดาวเคราะห์วงใน
มีวงโคจรรอบดวงอาทิตย์ ดาวเคราะห์วงนอก
เล็กกว่าโลก มีวงโคจรรอบดวงอาทิตย์
ใหญ่กว่าโลก

ดาวที่มีการเปลี่ยนตาแหน่งปรากฏไปในแต่ละวัน คือ ดาวเคราะห์ (planet (ภาษากรีก) = ผู้ท่องเที่ยว/ผู้พเนจร)


หมายเหตุ ; สังเกตในช่วงค่า(ดวงอาทิตย์ตก)
1.เมื่อเราสังเกตดาวเคราะห์บนพื้นโลก
*เราสามารถระบุตาแหน่งของดาวเคราะห์ โดยใช้ ระยะเชิงมุมจาก A
ดวงอาทิตย์ ไปยัง ดาวเคราะห์ เรียกว่า มุมห่าง มุมห่างไปทางตะวันออก
* ขนาดของมุมห่าง มีผลต่อ ตาแหน่งปรากฏของดาวเคราะห์ ดาวเคราะห์ A ของดวงอาทิตย์นะ
ช่วงเวลาในการสังเกต และ ระยะเวลาในการสังเกต จะขึ้นหลังดวงอาทิตย์ *ตามหลังดวงอาทิตย์
และตกหลังดวงอาทิตย์
เส้นขอบฟ้า
ทิศตะวันตก
มุมห่าง
ดาวเคราะห์ B
จะขึ้นก่อนดวงอาทิตย์
และตกก่อนดวงอาทิตย์ มุมห่างไปทางตะวันตก
2.มุมห่าง แต่ละวันเปลี่ยนไป ของดวงอาทิตย์นะ
เพราะ ระนาบวงโคจรของดาวเคราะห์และโลก *นาหน้าดวงอาทิตย์
และ วงโคจรที่เป็นวงรี >> ความเร็วในการเคลื่อนที่ของดาวเคราะห์ B
ตาแหน่งปรากฏของดาวเคราะห์วงใน **ดาวเคราะห์วงใน มีมุมห่างเปลี่ยนไป แต่ไม่เกิน 90
**ดาวศุกร์ มีมุมห่างมากที่สุด มากกว่า ดาวพุธ
ดาวศุกร์ ตอนเช้า เรียก ดาวประกายพรึก
เพราะ ดาวศุกร์มีวงโคจรใหญ่กว่าดาวพุธ
ดาวศุกร์ ตอนเย็น เรียก ดาวประจาเมือง ตาแหน่งร่วมทิศแนววงนอก
*ดาวศุกร์มีมุมห่างมากที่สุด 47 & ดาวพุธ มีมุมห่างมากที่สุด 18 -27
( มีมุมห่าง 0 )
ตาแหน่งที่ 1 ตาแหน่งร่วมทิศแนววงใน (ระหว่างโลกกับดวงอาทิตย์)
ตาแหน่งที่ 3 ตาแหน่งร่วมทิศแนววงนอก (หลังดวงอาทิตย์)
>ดาวเคราะห์เสมือนว่า ขึ้นและตกพร้อมดวงอาทิตย์
>ผู้สังเกตบนโลกจึง ไม่สามารถสังเกตเห็นดาวเคราะห์ได้
ตาแหน่งที่ 2 ตาแหน่งมุมห่างไปทางตะวันตกมากที่สุด
>ดาวเคราะห์จะ ขึ้นและตกก่อนดวงอาทิตย์
ตาแหน่งมุมห่าง ตาแหน่งมุมห่าง >ผู้สังเกตบนโลก จะเห็นดาวเคราะห์เหนือขอบฟ้าทิศตะวันออก
ตาแหน่ง
ไปทางตะวันออก ไปทางตะวันตก ในช่วงเช้ามืด ก่อน ดวงอาทิตย์ขึ้น
ร่วมทิศ
มากที่สุด มากที่สุด
แนววงใน ตาแหน่งที่ 4 ตาแหน่งมุมห่างไปทางตะวันออกมากที่สุด
>ดาวเคราะห์จะ ขึ้นและตกหลังดวงอาทิตย์
>ผู้สังเกตบนโลก จะเห็นดาวเคราะห์เหนือขอบฟ้าทิศตะวันตก
ในช่วงหัวค่า หลัง ดวงอาทิตย์ตก
ร่วมทิศ (มุมห่าง 0 ) ตาแหน่งปรากฏของดาวเคราะห์วงนอก
**ดาวเคราะห์วงนอก มีมุมห่างเปลี่ยนไป มากที่สุด 180

ตาแหน่งที่ 1 ตาแหน่งตรงข้าม (มุมห่าง 180 )


>ดาวเคราะห์จะขึ้น จากขอบฟ้า เวลา ≈ หกโมงเย็น
>ในขณะที่ดวงอาทิตย์กาลังตก ลับขอบฟ้าทิศตะวันตก
>สามารถสังเกตเห็นดาวเคราะห์ได้ตลอดทั้งคืน
ตาแหน่งที่ 2 ตาแหน่งตั้งฉากทางตะวันตก (มุมห่าง 90 )
ดาวเคราะห์จะขึ้น จากขอบฟ้า เวลา ≈ เที่ยงคืน
และ อยู่สูงจากขอบฟ้า มากที่สุด เวลา ≈ หกโมงเช้า (06.00 น.)
ตาแหน่งที่ 3 ตาแหน่งร่วมทิศ (มุมห่าง 0 ) (หลังดวงอาทิตย์)
ตั้งฉากทางตะวันออก ตั้งฉากทางตะวันตก
(มุมห่าง 90 ) (มุมห่าง 90 )
>ดาวเคราะห์เสมือนว่า ขึ้นและตกพร้อมดวงอาทิตย์
>ผู้สังเกตบนโลกจึง ไม่สามารถสังเกตเห็นดาวเคราะห์ได้
ตาแหน่งที่ 4 ตาแหน่งตั้งฉากทางตะวันออก (มุมห่าง 90 )
ตรงข้าม (มุมห่าง 180 ) ดาวเคราะห์จะขึ้น จากขอบฟ้า เวลา ≈ เที่ยงวัน
และ อยู่สูงจากขอบฟ้า มากที่สุด เวลา ≈ หกโมงเย็น (18.00 น.)
ปรากฏการณ์ทางดาราศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับของดาวเคราะห์
ปรากฏการณ์ดาวเคียงเดือน
ปรากฏการณ์ดาวเคราะห์ชุมนุม

ดาวเคราะห์ตั้งแต่ 1 ดวงขึ้นไป ดาวเคราะห์ตั้งแต่ 2 ดวงขึ้นไป


ปรากฏบนท้องฟ้าใกล้กับดวงจันทร์ ปรากฏบนท้องฟ้าใกล้กัน
สามารถเห็นได้มากที่สุด 5 ดวง

โอกาสเกิดยากมากที่สุด คือ ชุมนุมกัน 5 ดวง


เพราะ สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า
แค่ 5 ดวง จาก 7 ดวง
ปรากฏการณ์ทางดาราศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับของดาวเคราะห์

ปรากฏการณ์ดาวเคราะห์ผ่านหน้าดวงอาทิตย์
Venus > เกิดจาก ดาวเคราะห์วงใน (ดาวพุธ & ดาวศุกร์)
อยู่ใน ตาแหน่งร่วมทิศแนววงใน
คือ อยู่ระหว่างโลกกับดวงอาทิตย์ นั้นเอง

ปร.1.แต่จะไม่เกิดทุกครั้ง เพราะระนาบวงโคจรและแกนโลกที่เอียง

ปร.2 การเลือกสถานที่ในการสังเกตปรากฏการณ์ทางดาราศาสตร์
ควรเป็นพื้นที่โล่ง และ ปราศจากแสงรบกวน + เลือก ช่วงเวลาที่เหมาะสม

You might also like