You are on page 1of 11

ดาราศาสตร์

ดาวเหนือ (Polaris)
ดาวฤกษ์สว่างใน กลุ่มดาวหมีเล็ก (Ursa Minor)
แต่ที่เรามักเรียกว่า ดาวเหนือ เพราะ เป็นดาวฤกษ์
ที่ปรากฏใกล้ “ขั้วฟ้าเหนือ” เป็นบริเวณที่แกนหมุน
ของโลกชี้ไปบนท้องฟ้าพอดี ทาให้ดาว Polaris
เป็นดาวที่ไม่ขึ้นไม่ตก และปรากฏอยู่นิ่งๆ
เหนือขอบฟ้าทางทิศเหนือ ตลอดทั้งคืน จึงสามารถ
ใช้ระบุทิศเหนือได้อย่างแม่นยา ในอดีตดาวเหนือจึง
มีความสาคัญอย่างมากต่อนักสารวจที่ต้องใช้ดาว
เหนือในการเดินเรือหรือนาทางในช่วงเวลากลางคืน
ดาวเหนือ (Polaris)
หาจากกลุ่มดาวหมีใหญ่
เรามองหาดาวเหนือได้จากการดู "กลุ่มดาวหมี
ใหญ่" (Ursa major) หรือ ที่คนไทยเราเรียกว่า
"กลุ่มดาวจระเข้" กลุ่มดาวนี้มีดาวสว่างเจ็ดดวง
เรียงตัวเป็นรูปกระบวยตักน้า ดาวสองดวงแรก
ของกระบวยตักน้า จะชี้ไปยังดาวเหนือเสมอ
กลุ่มดาวหมีใหญ่ (Ursa Major)
กลุ่มดาวหมีใหญ่เป็นกลุ่มดาวที่มีชื่อเสียงและเป็นที่
รู้จักอย่างมาก เนื่องจากดาวฤกษ์ที่สว่างจ้า 7 ดวง
เรียงตัวกันเป็นรูปกระบวย หรือที่เรียกกันว่า ดาว
กระบวยใหญ่ (Big Dipper) ซึ่งจัดเป็น “ดาวเรียง
เด่น” (Asterism) ซึ่งคือการจับกลุ่มกันของดาวฤกษ์
ที่สว่างที่สุดและอยู่ใกล้เคียงกันในทรงกลมท้องฟ้าตาม
จินตนาการของมนุษย์ โดยดาวกระบวยใหญ่นี้ เป็น
เพียงองค์ประกอบส่วนหนึ่ง (ส่วนหาง) ของกลุ่มดาว
หมีใหญ่เท่านั้น
กลุ่มดาวหมีเล็ก (Ursa Minors)
กลุ่มดาวหมีเล็กเป็นที่รู้จักกันดี จากการมีรปู ร่างคล้าย
กลุ่มดาวหมีใหญ่ในขนาดย่อส่วน ประกอบไปด้วยดาว
ฤกษ์ 7 ดวง เรียงตัวกันเป็นรูป “กระบวย” หรือที่
เรียกกันว่า “ดาวกระบวยเล็ก” (Little Dipper) เป็น
“ดาวเรียงเด่น” (Asterism) เช่นเดียวกับ “ดาว
กระบวยใหญ่” ในกลุ่มดาวหมีใหญ่ แต่กลุ่มดาวหมี
เล็กมีดาวฤกษ์ที่สว่างจ้าเพียง 3 ดวงและ ดวงที่สาคัญ
ที่สุดและมีชื่อเสียงที่สุด คือ “ดาวเหนือ” (Polaris)
ซึ่งเป็นดวงดาวที่ช่วยบอกทิศและนาทางให้ผคู้ น
มากมายตั้งแต่ในอดีตจนถึงปัจจุบัน
ดาวเหนือ (Polaris)
หาจากกลุ่มดาวค้างคาว
กลุ่มดาวค้างคาว (Cassiopeia) ประกอบด้วย
ดาวสว่าง 5 ดวง เรียงเป็นรูปตัว “M” กลุ่มดาว
ค้างคาวจะอยู่ในทิศตรงข้ามกับกลุ่มดาวหมีใหญ่
เสมอ ดังนั้นหากไม่เห็นกลุ่มดาวหมีใหญ่ เราก็จะ
ใช้กลุ่มดาวค้างคาวในการบอกทิศแทน
กลุ่มดาวค้างคาว (Cassiopeia)
กลุ่มดาวแคสซิโอเปียหรือกลุ่มดาวค้างคาว เป็นที่รู้จัก
กันเป็นอย่างดี จากการมีดาวฤกษ์สุกสว่าง 5 ดวง
เรียงตัวกันคล้ายตัวอักษร “W” หรือ “M” โคจรอยู่
รอบๆ ดาวเหนือ (Polaris) ในซีกฟ้าเหนือตรงข้ามกับ
กลุ่มดาวหมีใหญ่ (Ursa Major) กลุ่มดาวค้างคาวเป็น
กลุ่มดาวที่สามารถพบเห็นได้ตลอดทั้งปีในท้องฟ้าฝั่ง
ซีกโลกเหนือ แต่จะมองเห็นได้ชัดเจนที่สุดในเดือน
พฤศจิกายนหรือช่วงฤดูหนาว
ดาวเหนือ (Polaris)
หาจากกลุ่มดาวนายพราน
เราสามารถใช้ “กลุ่มดาวนายพราน” (Orion)
ในการชี้ตาแหน่งทิศเหนือได้คร่าวๆ เนื่องกลุ่ม
ดาวนายพรานจะหันหัวเข้าหา ดาวเหนือเสมอ
นอกจากนั้นกลุ่มดาวนายพรานยังตั้งอยูบ่ นเส้น
ศูนย์สูตรฟ้า ทาให้ กลุ่มดาวนายพรานขึ้น-ตก
ในแนวทิศตะวันออก-ตะวันตก เสมอ
กลุ่มดาวนายพราน (Orion) กลุ่มดาวนายพราน หรือ Orion ประกอบด้วยดาว
ทั้งหมด 8 ดวง กลุ่มดาวนายพรานมีดาว 2 ดวงที่เป็น
ดาวฤกษ์สว่างมาก ก็คือ ดาวบีเทลจุส อยู่ตรงส่วนของ
ไหล่ขวานายพรานและอีกดวงก็คือ ดาวไรเจล (Rigel)
ตรงเข่าซ้ายนายพราน(หรือเท้าซ้าย) ดาบนายพราน
คือดวงดาวที่เรียงตัวในแนวดิ่ง ใต้ดาวสามดวงในแนว
เกือบจะเป็นแนวนอนก็คือ “เข็มขัดนายพราน”
นั่นเอง กลุ่มดาวนายพรานจะเริ่มโผล่ขึ้นจากขอบฟ้า
ตั้งแต่เวลาประมาณหนึ่งทุ่มทางทิศตะวันออก โดยจะ
ขึ้นแบบตะแคงข้าง ส่วนเวลาตกก็ประมาณตีห้า ทาง
ทิศตะวันตกค่อนไปทางใต้เล็กน้อย
การวัดขนาดวัตถุ
บนท้องฟ้า
เราสามารถใช้นิ้วมือของเราวัดมุมบนท้องฟ้า
เพื่อหาตาแหน่งดาว โดยเหยียดแขนไปให้สุด
แล้วยกนิ้วดังนี.้ ..
1. ยกนิ้วก้อย ความกว้างของนิ้วก้อย
ประมาณ 1 องศา
2. ยก 3 นิ้ว (ไม่เกี่ยวกับการเมืองนะครับ) คือ
นิ้วชี้ นิ้วกลาง นิ้วนาง ติดกัน ความกว้างของ
3 นิ้ว ประมาณ 5 องศา
3. กามือ ประมาณ 10 องศา
4. ยกนิ้วชี้กับนิ้วก้อย ประมาณ 15 องศา
5. ยกนิ้วโป้งกับนิ้วก้อย ประมาณ 25 องศา
(บางแห่งบอกว่า 22 องศา)

You might also like