You are on page 1of 10

วิทยาศาสตร์ เล่ม 2

ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5
กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์

หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 หน่วยการเรียนรู้ที่ 7

Slide PowerPoint_สื่อประกอบการ
สอน

บริษัท อักษรเจริญทัศน์ อจท. จำกัด : 142 ถนนตะนำว เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200


Aksorn CharoenTat ACT.Co.,Ltd : 142 Tanao Rd. Pranakorn Bangkok 10200 Thailand
โทรศัพท์ : 02 622 2999 โทรสำร : 02 622 1311-8 webmaster@aksorn.com / www.aksorn.com
7
หน่วยการเรียนรู้ท่ี

ดาวบนท้องฟ้า

ตัวชี้วัด

• เปรียบเทียบความแตกต่างของดาวเคราะห์และดาวฤกษ์จากแบบจาลอง
• ใช้แผนที่ดาวระบุตาแหน่งและเส้นทางการขึ้นและตกของกลุ่มดาวฤกษ์บนท้องฟ้า และอธิบายแบบรูปเส้นทางการขึ้นและตกของกลุ่มดาวฤกษ์บนท้องฟ้าในรอบปี
ท้องฟ้าและกลุ่มดาวฤกษ์ ดาวฤกษ์และดาวเคราะห์

ดาวฤกษ์ ดาวเคราะห์
ดวงอาทิตย์

ดาวเสาร์

ดาวพุธ ดาวเนปจูน
ดาวศุกร์ ดาวอังคาร ดาวยูเรนัส
โลก
ความแตกต่างระหว่างดาวฤกษ์กับดาวเคราะห์ ดาวพฤหัสบดี
ดาวฤกษ์ ดาวเคราะห์
• ดาวที่เป็นแหล่งกาเนิดแสง • ดาวที่ไม่เป็นแหล่งกาเนิดแสง
• ดาวที่มีแสงสว่างในตัวเอง • ดาวที่ไม่มีแสงสว่างในตัวเอง
• มองเห็นเป็นจุดสว่าง มีแสงระยิบระยับ • มองเห็นเป็นแสงสว่างนิ่ง คงที่ และไม่กะพริบ
และกะพริบตลอดเวลา • ตัวอย่างดาวเคราะห์ เช่น ดาวศุกร์ ดาวพุธ
• ตัวอย่างดาวฤกษ์ เช่น ดวงอาทิตย์ ดาวเหนือ
ท้องฟ้าและกลุ่มดาวฤกษ์ กลุ่มดาวฤกษ์บนท้องฟ้า
เมื่อเราสังเกตดาวบางกลุ่ม แล้วลองลากเส้นเชื่อมโยงดาวฤกษ์แต่ละดวงเข้าด้วยกัน โดยใช้
จินตนาการจะพบว่า กลุ่มดาวฤกษ์แต่ละกลุ่มมีรูปร่างแตกต่างกัน ซึ่งดาวฤกษ์แต่ละกลุ่มจะมีการ
เรียงตัวของดาวฤกษ์อย่างคงที่ จึงทาให้มีรูปร่างเหมือนเดิมทุกคืน ตัวอย่างกลุ่มดาวฤกษ์ ดังภาพ

กลุ่มดาวนายพราน กลุ่มดาวหมีใหญ่
ท้องฟ้าและกลุ่มดาวฤกษ์ กลุ่มดาวฤกษ์บนท้องฟ้า
การขึ้นและตกของกลุ่มดาวฤกษ์

เราสามารถมองเห็นกลุ่มดาวฤกษ์ขึ้นจากขอบฟ้าทาง
กลุ่มดาว
ทิ ศ ตะวั น ออกและตกลั บ ขอบฟ้ า ไปทางทิ ศ ตะวั น ตก
เช่นเดียวกับการขึ้นและตกของดวงอาทิตย์ ซึ่งกลุ่มดาวฤกษ์ หมีใหญ่
ต่าง ๆ จะมีเส้นทางการขึ้นและตกตามเส้นทางเดิมทุกคืน
ท้องฟ้าและกลุ่มดาวฤกษ์ กลุ่มดาวฤกษ์บนท้องฟ้า
การบอกตาแหน่งของกลุ่มดาวฤกษ์ การสังเกตเพื่อบอกตาแหน่งของกลุ่มดาวฤกษ์ สามารถทาได้โดยการใช้
แผนที่ดาวแบบหมุน ซึ่งจะบอกชื่อและตาแหน่งของกลุ่มดาวเป็นมุมทิศ
ตัวอย่างแผนที่ดาวแบบหมุน และมุมเงยได้
แผนที่ดาวดานทิศเหนือ แผนที่ดาวดานทิศใต้
กลุมดาว

วันที่และเดือน
เสนแสดงคามุมเงย

เสนแสดงคามุมทิศ

ตัวเลขบอกเวลา
สัญลักษณบอก
อันดับความสวาง
สัญลักษณอื่น ๆ
ท้องฟ้าและกลุ่มดาวฤกษ์ กลุ่มดาวฤกษ์บนท้องฟ้า
การบอกตาแหน่งของกลุ่มดาวฤกษ์

การใช้แผนที่ดาวในการดูดาว มีวิธีการ ดังนี้

หมุนแผนที่ดาวใหวันที่และเดือนตรงกับวันและเวลาที่ตองการดูดาว

เมื่อตองการดูดาวดานทิศเหนือ ใหใชแผนที่ดาวดานทิศเหนือ แลวหันหนาไป


ทางทิศเหนือ ดานซายมือเปนทิศตะวันตก ดานขวามือเปนทิศตะวันออก

ยกแผนที่ดาวขึ้นเหนือศีรษะ ใหทิศของแผนที่ดาวตรงกับทิศของทองฟาจริง
แลวมองแผนที่ดาวตามทิศและคามุมเงยที่ระบุไวในแผนที่ดาว

มองทองฟาจริงเปรียบเทียบกับแผนที่ดาว
ท้องฟ้าและกลุ่มดาวฤกษ์ กลุ่มดาวฤกษ์บนท้องฟ้า
การบอกตาแหน่งของกลุ่มดาวฤกษ์

การกาหนดค่ามุมทิศและการประมาณค่าของมุมเงย
มุมเงย
มุมทิศ จุดเหนือศีรษะ จุดยอดฟา หรือจุดจอมฟา จุดที่เรามองเห็นดาวที่อยู ตรงกับ
ทิศเหนือมีคามุมทิศ 0 หรือ 360 องศา ระดับสายตาหรือเสนขอบฟา มุมเงย
แลววนไปตามเข็มนาฬกา (ทิศตะวันออก) จะมี ค าประมาณ 0 องศา แต ถ า
ตามแนวของเสนขอบฟาทิศตะวันออกจะ มองเห็ น ดาวปรากฏอยู ตรงเหนื อ
มีค ามุ ม ทิศ 90 องศา ทิ ศใต 180 องศา ศีรษะพอดี โดยเวลาดูจะตองเงยหนา
ทิศตะวันออก 90°
และทิศตะวันตก 270 องศา มุมเงย มากที่สุด มุมเงยจะมีคา 90 องศา
เส้นขอบฟ้า
ทิศเหนือ 0° มุมทิศ ตัวเรา
ทิศใต้ 180°
เส้นขอบฟ้า

ทิศตะวันตก 270°
ท้องฟ้าและกลุ่มดาวฤกษ์ กลุ่มดาวฤกษ์บนท้องฟ้า
การหาทิศ

การหาทิศโดยใช้เข็มทิศ
1. วางหรือถือเข็มทิศให้อยู่ในพื้นราบ
2. หมุนเข็มทิศให้หัวลูกศรทับบนตัวอักษร N (ทิศเหนือ)
โดยหันหน้าไปทางเดียวกับตัวอักษร N จะทาให้เรา
ทราบทิศต่างๆ
ท้องฟ้าและกลุ่มดาวฤกษ์ กลุ่มดาวฤกษ์บนท้องฟ้า
การหาค่าของมุมเงย
วิธีการประมาณค่ามุมเงยของวัตถุบนท้องฟ้า มีวิธีการ ดังนี้
1. เหยียดแขนออกไปจนสุดให้ตรงในระดับสายตา
2. หลับตาข้างหนึ่ง แล้วใช้ตาอีกข้างหนึ่งเล็งไปที่ปลายมือ
3. กางนิ้วมือให้มีความกว้างพอดีกับขนาดมุมเงยที่ต้องการวัด

การใช้นิ้วหรือมือประมาณค่ามุมเงย
1° 2.5° 5° 10° 15° 22°

You might also like