You are on page 1of 12

การแข่ งขันดาราศาสตร์ โอลิมปิ กระดับชาติ ครั้ งที่ 7 (ระดับมัธยมปลาย)

10 พฤษภาคม 2553
---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ข้ อ 1. (30 คะแนน)
1.1)
ใช้ค่าเฉลี่ย zmax  1.99  2.01  2.00 สาหรับหาความเร็ ว V ของศูนย์กลางมวลของระบบดาวคู่
2
(0.5 คะแนน)
c V
 1  zmax เฉลี่ย = 2.00 (0.5 คะแนน)
c V
 V  0.80c  0.80  3 105 km/s = 2.4 105 km/s (0.5 คะแนน)
V
ระยะห่างของระบบดาวคู่จากโลกหาได้จากกฎของ Hubble d  (1.0 คะแนน)
H
2.4  105
 Mpc  3.38  109 pc (0.5 คะแนน)
71

1.2) เนื่องจากเขาเห็นดวงอาทิตย์ตกเวลา 18.00 น. พอดี มีความเป็ นไปได้ 2 กรณี


(1) วันที่ 21 มีนาคมหรื อ 22 กันยายน ดวงอาทิตย์อยูบ ่ นศูนย์สูตรท้องฟ้ า(vernal Equinox หรื อ Autumnal
equinox) (0.5 คะแนน)
(2) ทุกวันเมื่อผูส ้ ังเกตอยูบ่ นเส้นศูนย์สูตร (0.5 คะแนน)
เนื่องจาก Azimuth ไม่ตรงกับทิศตะวันตก(true west A=2700) (0.5 คะแนน)
แสดงว่าผูส้ ังเกตอยูบ่ นศูนย์สูตร (0.5 คะแนน)
เมื่อผูส้ ังเกตอยูบ่ นศูนย์สูตร ดาวจะตกตั้งฉากกับของฟ้ า และ ขณะตก A = 270+declination (0.5 คะแนน)
ดังนั้นในวันนั้น declination =A-270 = 293.5 - 270 = 23.5 องศา
ดังนั้นวันนั้นคือ summer solstice คือ 21 มิถุนายน 1 วัน (0.5 คะแนน)
ทิศการหมุนของโลก
ผูส้ ังเกตอยูต่ รงแนว equator โลก ยืน
ตั้งขึ้นมาจากหน้ากระดาษ มองดวง
อาทิตย์ตก ข้างหน้าเขาเป็ นทิศตะวันตก ขั้วเหนื อ
23.5o ระนาบ equator ของโลก
ขวาเป็ นเหนือ มุม Azimuth ของดวง แนวแสง N E
อาทิตย์
อาทิตย์วดั จากทิศเหนือวนทวนเข็ม แขนขวา
ตอนเย็น
นาฬิกาผ่านตะวันออกไปผ่านใต้จนถึง จมูก แขนซ้าย
18.00 น.
แนวแสงอาทิตย์เป็ น 293.5o ตาแหน่งที่ W S

เป็ นแบบนี้คือเมื่อโลกหันยอดเหนื อเข้า


หาดวงอาทิตย์มากสุ ด Summer solstice 21 มิถุนายน

Solution & Marking schemes 1


การแข่ งขันดาราศาสตร์ โอลิมปิ กระดับชาติ ครั้ งที่ 7 (ระดับมัธยมปลาย)
10 พฤษภาคม 2553
---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
1.3) พลังงานศักย์ (U) ภายในดวงอาทิตย์ที่มีมวล M รัศมี R ที่เกิดจากแรงโน้มถ่วง คือ
3 GM 2
U  (0.7 คะแนน)
5 R
อัตราการแผ่พลังงาน (J/s) คือ กาลังการส่ องสว่าง (Luminosity: L)
dU 3 GM 2 dR
L    (เครื่ องหมายลบ 0.5 คะแนน ค่าถูก 0.5 คะแนน)
dt 5 R 2 dt
(พลังงานศักย์ลดลงปริ มาณ dU จึงเป็ นค่าลบ ดังนั้นการใส่ เครื่ องหมายลบข้างหน้า dU จึงทาให้ L มีค่าเป็ นบวก)
dt dt
2
dR 5 R L
ได้   (แทนค่าถูก 0.3 คะแนน)
dt 3 GM 2

dR
ค่า เป็ นค่าลบ แสดงว่า R ลดลงเมื่อเวลาเพิม่ ขึ้น (0.5 คะแนน)
dt
dR
คือ อัตราการหดตัวของรัศมี มีขนาดเท่ากับ
dt

5  6.96 10   3.826 10


8 2 26
5 R2 L
  1.17 106 m/s หรื อ 36.8 เมตรต่อปี (0.5 คะแนน)
3 GM 2
3 6.67 10  1.99 10 
11 30 2

1.4) เราจะถือว่ามวลที่โน้มถ่วงดวงอาทิตย์เข้าสู่ ศูนย์กลางเป็ นมวล(แทบ)ทั้งหมดของกาแลกซี


การเคลื่อนที่เป็ นวงกลมด้วยแรงสู่ ศูนย์กลางจากแรงโน้มถ่วง จะได้ (0.5 คะแนน)
 2 
2
GM G M
M   R  (0.5 + 0.5 คะแนน)
 T  R2
1
 R3  2
T  2   (0.5 คะแนน)
 GM G 
1
  2.6 1020  2
3

แทนค่าได้ T  2    2.733 1015 s หรื อ 86.7 106 ปี


 6.67 10  7 10 1.99 10 
11 11 30

 
(แทนค่า 0.5 คะแนน ค่าถูกต้อง 0.5 คะแนน)
สังเกตว่า ถ้าลดมวลในวงโคจรลง 10 เท่า คาบจะเป็ น 86.7  10  274 ล้านปี
สังเกตว่าตัวเลข 86.7 106 ปี เล็กกว่าที่คานวณจากการวัดโดยตรงซึ่ งพบว่าดาวฤกษ์โคจรรอบศูนย์กลางกาแลกซี
ด้วยความเร็ วขนาด 225 km/s ที่ระยะที่ Sun อยู่ (8 kpc) ดังนั้น
คาบ  2  8 10  3.0857 1013 km 6.893 1015
3
 6.893 1015 s หรื อ ปี หรื อ 219 ล้านปี
225 km/s 3.1536 107

Solution & Marking schemes 2


การแข่ งขันดาราศาสตร์ โอลิมปิ กระดับชาติ ครั้ งที่ 7 (ระดับมัธยมปลาย)
10 พฤษภาคม 2553
---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
1.5) ก.ที่ความเร็ วหลุดพ้น vescพลังงานกลรวมเป็ นศูนย์ โดยพลังงานจลน์ Ek ของวัตถุ m ที่จะหลุดจากผิวของ
วัตถุมวล M รัศมี r มีพลังงานศักย์ความโน้มถ่วง E p นัน่ คือ Ek  E p  0 (0.3 คะแนน)
1 2 GMm
mvesc  (0.3 คะแนน)
2 r
2GM 2  6.67  1011  1.99  1030
ได้ vesc   (0.2 คะแนน)
r 1.39  109  0.5
 38.1965  105 m/s = 6.18 105 m/s  618 km/s (0.2 คะแนน)
ข. พลังงานจลน์ของอะตอมแปรผันตรงกับอุณหภูมิ T เป็ นเคลวิน เมื่อ kB คือ Boltzmann constant เป็ น
3
KE  k BT (0.4 คะแนน)
2
1 2 3
และ mvesc  k BT (0.2 คะแนน)
2 2
2
mvesc 1.67  1027  (618  103 )2
ได้ T   (0.2 คะแนน)
3k B 3  1.38  1023
 1.5406 107 K = 1.54 107 K (0.2 คะแนน)
แสดงว่าไฮโดรจนต้องมีอุณหภูมิถึง 15 ล้านเคลวิน จึงจะหลุดจากผิวดวงอาทิตย์ได้ แต่จริ งๆแล้วที่ผิวดวงอาทิตย์มี
อุณหภูมิประมาณเพียง 5800 K เท่านั้น ดังนั้นไฮโดรเจนในสภาวะสมดุลเชิงความร้อนจึงไม่สามารถหลุดออกจาก
ผิวดวงอาทิตย์ได้และหมายถึงไฮโดรเจนใช้แรงโน้มถ่วงเพียงเล็กน้อยเท่านั้นในการยึดเหนียวที่ผวิ ดวงอาทิตย์
(0.5 คะแนน)
2GM
ค. จาก vesc 
r
2  6.67 1011  5.977 1024
สาหรับโลก vesc ( Earth )   11181 m/s = 11.2 km/s (0.3 คะแนน)
6378 103

618
สาหรับดวงอาทิตย์ vesc ( Sun )  vesc ( Earth )  55.2vesc ( Earth ) (0.2 คะแนน)
11.2

RS R RE
1.6) โดยประมาณจะได้  E, x  D (0.2 คะแนน)
Dx x RS  RE
 H 2 
RE R  RE
 S (0.2 คะแนน)
d  x x D
 R  RE  RE  
 d R 
H  2 S  d  D   2 RE 1   S  1  (0.2 คะแนน)
 D  RS  RE   D  RE
 

Solution & Marking schemes 3


การแข่ งขันดาราศาสตร์ โอลิมปิ กระดับชาติ ครั้ งที่ 7 (ระดับมัธยมปลาย)
10 พฤษภาคม 2553
---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ซึ่ง RE  6378 km, d = 384400 km, D = 149.6 106 km, RS  109 (0.2 คะแนน)
RE
 0.3844 110 
 H   2  6378 km  1    16361 km (0.2 คะแนน)
 149.6 
2
อัตราเร็ ว v ของดวงจันทร์ในวงโคจรรอบโลกหาได้จาก mv  GMm (0.4 คะแนน)
d d2
GM 6.672 1011 m3kg 1s 2  5.974 1024 kg
v   (0.4 คะแนน)
d 3.844 108 m
v  10.369 105 m2s2  1.018 km/s (0.2 คะแนน)
หมายเหตุ ในการหาค่า v นี้เราอาจบอก sidereal orbital period ของดวงจันทร์ โคจรรอบโลกว่า =
27.32166 days แทนที่จะบอกมวลของโลกและค่า G แล้วคานวณหาค่า v จาก
2  384400 km
v   3683.4 km/h  1.02 km/s
27.32166  24 h

ช่วงเวลานานที่สุดที่ดวงจันทร์ อยูใ่ นเงามืด ก็คือ H  16361 km  4.44 h  4h 27 min


v 3683.4 km/h
(สู ตรหาเวลา 0.5 คะแนน แทนค่าและคานวณถูกต้อง 0.5 คะแนน)

 vr A B
1.7) หา radial velocity จาก  (0.5 คะแนน)
 c
 0.079
ได้ vr  c   3 108 m/s  53.8 km/s
 440.5
(ค่า  ถูกต้อง 0.2 คะแนน คานวณคาตอบถูก 0.3 คะแนน)
การหา tangential velocity พิจารณารู ป แรกทีเดียว
ดาวอยูท่ ี่ A หนึ่งปี ต่อมา ( T วินาที) ดาวอยูท่ ี่ B 

ได้ AB D (0.3 คะแนน) D D


D
ดังนั้น tangential velocity vt ของดาวคือ 
AB D D
vt   (0.5 คะแนน)
T T
ค่า  ที่วดั ได้ คือ 0.20 ส่ วน  เป็ นค่า parallax ของจุด A
(ของจุด B ด้วย) และ
R

วงโคจรโลก
Solution & Marking schemes 4
การแข่ งขันดาราศาสตร์ โอลิมปิ กระดับชาติ ครั้ งที่ 7 (ระดับมัธยมปลาย)
10 พฤษภาคม 2553
---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
R
   0.048 (0.4 คะแนน)
D
D  R
ดังนั้น vt  
T T
R 1.496 1011 m
ค่า   4.740455 103 m/s
T 365.25636 d
0.20
ได้ vt  4.740455   19.75 km/s (0.3 คะแนน)
0.048
เราสามารถหา total velocity ได้จาก
v  v2
r  vt2  (0.3 คะแนน)

  53.8  19.75  57.3 km/s (0.2 คะแนน)


2 2

1.8) สมมุติให้ดาวศุกร์ เคลื่อนที่จาก A ไป B ใช้เวลา  t วัน เส้นทางโคจร


ในช่วงเวลา  t ดาวศุกร์ หมุนเทียบกับดาวไกลได้มุม P

t
 360o (0.5 คะแนน)
Protation

ในช่วงเดียวกันนี้ ดาวศุกร์ หมุนเทียบกับดวงอาทิตย์ได้มุมเป็ น ดวงอาทิตย์
t 
(0.5 คะแนน)
B
 360o  
Protation
t ดาวศุกร์หมุนสวนทาง
ซึ่ง    360o (0.5 คะแนน) A
Porbital
ดังนั้นเทียบกับดวงอาทิตย์ ดาวศุกร์หมุนด้วยอัตรา
 1 1 
360o    (0.5 คะแนน)
 Protation Porbital 
หนึ่งวันดาวศุกร์ จึงเท่ากับช่วงเวลาที่หมุนได้ 360o เทียบกับดวงอาทิตย์ นัน่ คือ
 1 1 
เวลา D     (0.5 คะแนน)
 Protation Porbital 
224.7  243
 = 116.7 วันโลก (0.5 คะแนน)
224.7  243

Solution & Marking schemes 5


การแข่ งขันดาราศาสตร์ โอลิมปิ กระดับชาติ ครั้ งที่ 7 (ระดับมัธยมปลาย)
10 พฤษภาคม 2553
---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

1.9) ในรู ปนี้ CM เป็ นจุดศูนย์กลางมวล m1 และ m2 v2


ต่างก็โคจรรอบจุด CM ภายใต้แรงโน้มถ่วงซึ่ งกันและกัน
m2
2
ด้วยอัตราเร็ วเชิงมุม  (  ,T คือคาบการโคจร)
T
CM r2
Gm1m2 
m1 r1 
2
(0.3 คะแนน) r1 r
r2 m1
 m2 2 r2 (0.2 คะแนน) v1
r  r1  r2 (0.3 คะแนน)

v1  r1 , v2  r2 (0.2 คะแนน) ผูส้ งั เกตอยูไ่ กล


m1 r v
แก้สมการเหล่านี้จะได้  1  2 ซึ่งหาได้จากกราฟ (0.3 คะแนน)
m2 r2 v1
 T 
และ m1  m2     v1  v2  ซึ่ งก็หาได้จากกราฟ (0.3 คะแนน)
3

 2 G 

จากกราฟที่ให้ซ่ ึงเส้นทึบเป็ นของ m1 เส้นประเป็ นของ m2 จะได้ v2  100km/s, v1  50km/s และ


T  1 วัน  8.64 104 วินาที (0.3 คะแนน)
m1
ดังนั้น 2 เท่า (0.2 คะแนน)
m2
และ m1  m2  0.6958 1030 kg  0.3496M (0.3 คะแนน)

ดังนั้น m1  0.233M , m2  0.117M , M เป็ นมวลดวงอาทิตย์ (0.3+0.3 คะแนน)

1.10)
ระบบอยูท่ ี่พารัลแลกซ์ 0.1 ดังนั้น โชติมาตรปรากฏเท่ากับโชติมาตรสัมบูรณ์ (0.2 คะแนน)

ความสว่างสู งสุ ดเกิดขึ้นเมื่อไม่มีการบังกัน ดังนั้น จะเห็นดาวทั้งสองดวง (0.4 คะแนน)

ทาให้ ฟลักซ์ที่ปรากฏสู งสุ ดก็คือ ฟลักซ์จากทั้งสองดวงรวมกัน (0.4 คะแนน)

Solution & Marking schemes 6


การแข่ งขันดาราศาสตร์ โอลิมปิ กระดับชาติ ครั้ งที่ 7 (ระดับมัธยมปลาย)
10 พฤษภาคม 2553
---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
   
ดังนั้น จะได้ mA  mtotal   2.5log10  FA    2.5log10  FA  (0.5 คะแนน)
 Ftotal   FA  FB 
 FA 
7.0  6.0   2.5log10   (0.2 คะแนน)
 FA  FB 
FA
 0.398 (0.2 คะแนน)
FA  FB
FA
 0.662 (0.2 คะแนน)
FB
FB
 0.60 (0.2 คะแนน)
FA  FB
 FB 
mB  mtotal   2.5log10   (0.3 คะแนน)
 FA  FB 
  2.5log10  0.60   0.553 (0.2 คะแนน)

ดังนั้น mB  6.6 (0.2 คะแนน)

Solution & Marking schemes 7


การแข่ งขันดาราศาสตร์ โอลิมปิ กระดับชาติ ครั้ งที่ 7 (ระดับมัธยมปลาย)
10 พฤษภาคม 2553
---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ข้ อ 2. (15 คะแนน)
ตอนที่ 1 (ก่อนถูกชน)
mu 2 GMm GM
(1ก) วงโคจรกลม:  , u  (0.8+0.2 คะแนน)
R R2 R
3
2 R 2 R 2
(1ข) คาบ T   (0.5 คะแนน)
u GM
1 2 GMm 1 GMm
(1ค) พลังงานกลรวม E  KE  PE  mu    (0.8 คะแนน)
2 R 2 R
(1ง) โมเมนตัมเชิงมุมของดาวเทียม L  muR  m GMR (0.5 คะแนน)

v0
ตอนที่ 2 (หลังถูกชน   1 )
M
R
v1
R1 จุดที่เกิดการชน

(2ก) เป็ นความเร็ วของดาวเทียมทันทีหลังถูกชน v02  u 2    u   u 2 1   2  , v0  u 1   2


2
v0

(1.0 คะแนน)

p
(2ข) ตั้งต้นจาก r  และรู ปข้างบนจะได้
1  e cos 
p p
R  ,  p  R 1  e  (0.5 คะแนน)
1  e cos 0 o
1 e

R1 
1  e  R  1 e 
  (0.5 คะแนน)
R
1  e cos180  1 e 
o

จากหลักอนุรักษ์โมเมนตัม mv1R1  mv0 R (0.3 คะแนน)

R  1 e 
v1  v0  u    1 
2
(0.3 คะแนน)
R1  1 e 

GM  GM   1  e 
แล้วใช้ u  จะได้ v1      1 
2
(0.4 คะแนน)
R  R   1 e 

จากหลักอนุรักษ์พลังงานกลจะได้

Solution & Marking schemes 8


การแข่ งขันดาราศาสตร์ โอลิมปิ กระดับชาติ ครั้ งที่ 7 (ระดับมัธยมปลาย)
10 พฤษภาคม 2553
---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
1 2 GMm 1 GMm
mv1   mv02  (0.5 คะแนน)
2 R1 2 R

1  GM  1  e   GM  1  e 
2
1  GM   GM 
 1          1      (0.5 คะแนน)
2 2
   
2  R  1  e   R  1  e  2 R   R 

ได้ e  2 (0.5 คะแนน)

(2ค) ระยะไกลสุ ดจากศูนย์กลางโลกของดาวเทียมคือ R1

 1 e   1  2 
R1    R   2 
R (0.5 คะแนน)
 1 e   1  

(2ง) อัตราเร็ วของดาวเทียมที่จุดไกลสุ ดคือ v1


GM  1  e  GM  1  2  GM  1  2 
v1    1 
2
  2 
1  2    (1.0 คะแนน)
R  1 e  R  1   R  1  2 
 

ตอนที่ 3 (หลังถูกชน และ   1 )


(3ก) จากหลักอนุรักษ์พลังงานกล
1 2 GMm 1 GMm
mv   mv02  ซึ่ง v เป็ นอัตราเร็ วของดาวเทียมที่ระยะห่าง r (0.5 คะแนน)
2 r 2 R
ดาวเทียมสามารถไปถึงอนันต์ได้ถา้ หากว่าที่อนันต์น้ นั ดาวเทียมมีพลังงานจลน์เป็ นบวกหรื ออย่างน้อยที่สุดก็เท่ากับ
ศูนย์พอดี (0.5 คะแนน)

1  GM 
 1    
GMm
นัน่ คือถ้า m 2
 0,  2  1,   1 แสดงว่าดาวเทียมไปถึงอนันต์ได้ถา้ หากว่า
2  R  R
 1 (0.5 คะแนน)

1   GMm 
mv  0   1   2  1 
1 2
(3ข) ที่อนันต์ดาวเทียมมีพลังงานจลน์เป็ น  (0.5 คะแนน)
2 2  R 
 GM 
v2    2  1   (0.5 คะแนน)
 R 

ดังนั้น ที่อนันต์ดาวเทียมมีอตั ราเร็ ว v 


 2
 1 GM
(0.5 คะแนน)
R

Solution & Marking schemes 9


การแข่ งขันดาราศาสตร์ โอลิมปิ กระดับชาติ ครั้ งที่ 7 (ระดับมัธยมปลาย)
10 พฤษภาคม 2553
---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
(3ค) ก่อนถูกชน ดาวเทียมอยูใ่ นระนาบ OXY หลังถูกชนแล้ว ดาวเทียมจะเคลื่อนที่ในระนาบ OX Y
ระนาบหลังชน Y

u
 Y
โลก u ระนาบก่อนชน
แกน X ชี้ออกมาตั้งฉากกับกระดาษ
หลังถูกชนแล้ว ดาวเทียมจะเคลื่อนที่ในระนาบ OXY

Y
ขนานกันที่อนันต์ เส้นทางของดาวเทียม
>1

v0
û
m
 r
180o- 
OM X
จุดที่ถูกชน
p
จากสมการ r  ที่โจทย์บอกให้ เราจะได้วา่ เมื่อ r   นั้นมุม   ซึ่งหาได้จาก
1  e cos 
1  e cos   0 (0.5 คะแนน)

cos 180o      cos  


1 1
 cos    , (0.2 คะแนน)
e e
ดังนั้น unit vector ในทิศที่ดาวเทียมเคลื่อนที่ที่อนันต์ก็คือ û องค์ประกอบของ û ในแนวแกน Y คือ
e2  1
sin 180o    และในแนวแกน Y ก็คือ sin 180o    cos   sin  cos  
e 1  2

ั ทีก่อนชนคือ ĵ
unit vector ในทิศที่ดาวเทียมเคลื่อนที่ทน ดังนั้นมุมระหว่าง û กับ ĵ ก็คือ  ก่อน,หลัง หา
e2  1  4 1  2 1
ได้จาก cos  ก่อน,หลัง = û  ĵ   
e  2 1  2  2 1 2

 
 ก่อน,หลัง  arccos    1 
2
(2.0 คะแนน)
 
2
 

Solution & Marking schemes 10


การแข่ งขันดาราศาสตร์ โอลิมปิ กระดับชาติ ครั้ งที่ 7 (ระดับมัธยมปลาย)
10 พฤษภาคม 2553
---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ข้ อ 3. (15 คะแนน)
1. หา absolute magnitude จาก apparent magnitude
 d in pc 
m  M  5log10   (1.0 คะแนน)
 10 pc 
 270 pc 
แทนค่า 11.5  M  5log10   M 4.2 (0.5 คะแนน)
 10 pc 
คาตอบ เป็ นดาวบนลาดับหลัก (ดูจาก G0) (0.5 คะแนน)
2. แสดงการหาคาบจากกราฟ จะได้วา่ มีคาบประมาณ 310 วัน (1.0 คะแนน)
698 75
คะแนนพิเศษ แสดงการคานวณโดยละเอียดใช้คาบสองช่วง 311 312 (0.5 คะแนน)
2
310
หรื อ ปี = 0.8487 ปี
365.25
3. ใช้กฎของ Kepler (0.5 คะแนน)
star
M
ได้ความสัมพันธ์ เช่น   a AU  (1.0 คะแนน)
3
T2 Sun
M
เมื่อดาว G0 มีมวล 1.07 solar mass และคาบการเคลื่อนที่ของดาวเคราะห์มีค่า 0.8487 ปี แทนค่าและได้คาตอบ
จึงได้ a = 0.9168 AU (0.5 คะแนน)
4. สมมติให้ดาวเคราะห์มีสมบัติเป็ นวัตถุดา และเฉลี่ยอุณหภูมิของด้านที่โดนแสงและด้านที่ไม่โดนแสงให้เท่ากัน
ได้ ดังนั้น
ใช้สมการ Black-body radiation P AT 4 (0.5 คะแนน)
พื้นที่เปล่งรังสี จากดาว 4 RS2 (0.5 คะแนน)
P
ความเข้มคิดจากทรงกลมของการแผ่รังสี I (0.5 คะแนน)
A
A  4 a 2pl (0.5 คะแนน)
ดาวเคราะห์รับพลังงานจากพื้นที่หน้าตัด  Rpl2 (1.0 คะแนน)
 4 RS2 
พลังงานที่ดาวเคราะห์ได้รับคือ Lin  
 4 a 2
 TS4   Rpl2

(0.5 คะแนน)
 pl 
เมื่อกาหนดให้ดาวเคราะห์น้ นั เป็ นวัตถุดา พลังงานที่ได้รับทั้งหมดนั้นต้องแผ่ออกมา
Lout  4 Rpl2  Tpl4 (1.0 คะแนน)
ด้วยกฎการอนุ รักษ์พลังงาน จะได้วา่ Lin  Lout (0.5 คะแนน)

Solution & Marking schemes 11


การแข่ งขันดาราศาสตร์ โอลิมปิ กระดับชาติ ครั้ งที่ 7 (ระดับมัธยมปลาย)
10 พฤษภาคม 2553
---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
 R 
ได้ Tpl   S
 2a pl  S
T (0.5 คะแนน)
 
1.05
ดังนั้น เมื่อ RS  AU, a pl  0.9168 AU, TS  6000 K จะได้ Tpl = 310 K (0.5 คะแนน)
215

5. กาหนดให้ดาวเคราะห์มีลกั ษณะเป็ นทรงกลม ดังนั้น เมื่อพิจารณาจากการบัง (0.5 คะแนน)


จะได้วา่
 Rpl2 0.00825
 (1.0 คะแนน)
R 2
star 100
 Rpl2 0.00825
 (0.5 คะแนน)
 1.05  109 RE 
2
100

ทาให้ได้ Rpl  1.0395RE  1.04RE (0.5 คะแนน)


6. คาตอบ อยู่ (จากค่ามวลและระยะ) (1.0 คะแนน)

Solution & Marking schemes 12

You might also like