You are on page 1of 19

การแข่งขันดาราศาสตร์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 15 (ระดับมัธยมต้น)

มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี
ข้อสอบภาคทฤษฎี 8 พฤษภาคม 2561
-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
เฉลยข้อ 1. ดวงอาทิตย์ที่จุดจอมฟ้า (Zenith) [10 คะแนน]
a) ดวงอาทิตย์จะเคลื่อนที่ผ่านจุดจอมฟ้าของผู้สังเกตเมื่อดวงอาทิตย์มีเดคลิเนชั่นเท่ากับละติจูดของผู้สังเกต
ดังนั้นดวงอาทิตย์จะผ่านจุดจอมฟ้าเมื่อมีเดคลิเนชั่นเท่ากับ 15.0 องศา [1]

ความสัมพันธ์ระหว่างมุมจากกฎของ Sine คือ

sin δ sin 𝑖
sin 
=
sin 90°
[1]

𝛿 sin 15.0°
𝜙
ดังนั้น sin  = sin 23.45°
= 0.650
equatorial 𝑖
ซึ่งให้ค่า  = 40.57°, 139.43° [2]
ecliptic

ให้ 𝑑 เป็นจานวนวัน นับจากวันที่ดวงอาทิตย์เคลื่อนที่ผ่านจุดจอมฟ้าที่จุด Vernal equinox


โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ 360𝑜 ใช้เวลา 365.2422 วัน

 360𝑜
ดังนั้น จานวนวัน 𝑑 คานวณได้จาก 𝑑 = 365.2422 ได้ 𝑑 = 41.161, 141.460 days [2]

b) ดวงอาทิตย์มีการเปลี่ยน Declination ลดลง แสดงว่าต้องใช้ 𝑑 = 141.460 วัน (141 วัน 11 ชั่วโมง 2 นาที
24 วินาที) [1]

ในวันที่ 22 มีนาคม ในเวลา 12:00 UT มี Equation of time `มีค่าเท่ากับ -6m 52s ในวันดังกล่าวมี Equation
of time -5 นาที 21 วินาที ดังนั้น จะได้ว่าเวลาของที่ Apparent Sun ผ่านจุดจอมฟ้า คือ (141 วัน 11 ชั่วโมง 2
นาที 24 วินาที – 5 นาที 21 วินาที) = 141 วัน 10 ชั่วโมง 57 นาที 3 [1]

เนื่องจากดวงอาทิตย์เคลื่อนที่จากทิศตะวันออกไปทิศตะวันตก ลองจิจูดจึงอยู่ทางทิศตะวันตกของเมือง
Greenwich ไป 10 ชั่วโมง 57 นาที 3 วินาที
ผู้สังเกตจะต้องอยู่ที่ ลองจิจูด 164°15′ ตะวันตก ในวันที่ 10 สิงหาคม [2]

2
การแข่งขันดาราศาสตร์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 15 (ระดับมัธยมต้น)
มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี
ข้อสอบภาคทฤษฎี 8 พฤษภาคม 2561
-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
เฉลยข้อ 2. ระยะเวลาบนดาว [10 คะแนน]
กาหนด 𝑃𝑠𝑜𝑙𝑎𝑟 = คาบการหมุนรอบตัวเองสุริยคติของดาวเคราะห์ B
𝑃𝑠𝑖𝑑𝑒𝑟𝑒𝑎𝑙 = คาบการหมุนรอบตัวเองดาราคติของดาวเคราะห์ B = 30 ชั่วโมงโลก
𝑃𝑟𝑒𝑣 = คาบการโคจรรอบดาวฤกษ์ของดาวเคราะห์ B = 30 x 24 =720 ชั่วโมงโลก

a) เมื่อผู้สังเกตบนดาวเคราะห์ B เห็นดาวฤกษ์ A อยู่ตรงศีรษะอีกครั้ง ดาวเคราะห์ จะหมุนไปน้อยกว่า 1 รอบ


(น้อยกว่า 360 องศา) เนื่องจากการหมุนกลับทิศกับการโคจร ดังนั้น
1 1 1
= +
𝑃𝑠𝑜𝑙𝑎𝑟 𝑃𝑠𝑖𝑑𝑒𝑟𝑒𝑎𝑙 𝑃𝑟𝑒𝑣
[รูปแบบสมการถูก 1, เครื่องหมายถูกทุกเทอม 3, รวม 4]

1 1 1
= +
𝑃𝑠𝑜𝑙𝑎𝑟 30 720
𝑃𝑠𝑜𝑙𝑎𝑟 = 28.8 hours [3]

720
b) 1 ปีของดาวเคราะห์ B เท่ากับ 28.8 = 25 วันดาวเคราะห์ [3]
(หรือ เท่ากับ 720
30
+ 1 = 25 วัน)

3
การแข่งขันดาราศาสตร์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 15 (ระดับมัธยมต้น)
มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี
ข้อสอบภาคทฤษฎี 8 พฤษภาคม 2561
-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
เฉลยข้อ 3. โชติมาตรปรากฏของดาวอังคาร [10 คะแนน]
ในปี 2012 ดาวอังคารมี 𝑟1 = 1.6646 AU และมี 𝑚1 = −1.2
ในปี 2018 ดาวอังคารมี 𝑟2 = 1.4000 AU

ให้ 𝐴 เป็นพื้นที่ของดาวอังคารที่รับแสงอาทิตย์ และ 𝛼 เป็น Albedo


𝐿⊙
กาลังของแสงอาทิตย์ที่สะท้อนจากดาวอังคารเท่ากับ 𝐿 = 4𝜋𝑟 2
𝐴𝛼 [2]

ดาวอังคารอยู่ที่ตาแหน่งตรงข้าม(opposition) ดาวอังคารห่างจากโลกเท่ากับ ∆r = 𝑟 − 1 AU
ดังนั้น Flux ที่โลกได้รับจากแสงสะท้อนจากดาวอังคาร 𝐹 ∝ ∆𝑟𝐿 2 ∝ 𝑟21∆𝑟2 [2]

เทียบระหว่างปี 2012 และ ปี 2018


𝐹2018 𝑟12 ∆𝑟12
𝐹2012
=
𝑟22 ∆𝑟22
[2]

ความสว่างปรากฏต่างกันเท่ากับ
F r2 (r −1)2
𝑚1 − 𝑚2 = 2.5 log (F2 ) = 2.5 log (r12 (r1 −1)2 )
1 2
[2]
2

1.66462 (1.6646−1)2
แทนค่าระยะทางต่างๆ ได้ 𝑚2 = 𝑚1 − 2.5 log (1.40002 (1.4000−1)2 ) = −2.68 [2]

4
การแข่งขันดาราศาสตร์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 15 (ระดับมัธยมต้น)
มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี
ข้อสอบภาคทฤษฎี 8 พฤษภาคม 2561
-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

เฉลยข้อ 4. (ม.ต้น) กระจุกดาว [10 คะแนน]


ใช้แนวคิดหาผลรวมของฟลักซ์เทียบกับดาวสมมติที่มี 𝑚0 = 0 และ 𝑓 = 𝑓0
(หรือเป็นดาวสมมุติที่มี 𝑚0 และ 𝑓0 ค่าอื่น โดยอาจติดตัวแปรทั้งสองตัวนี้ไว้จนถึงตอนท้ายของการคานวณ)

ในกลุ่ม 1000 ดวง เทียบโชติมาตรสว่างปรากฏของแต่ละดวงได้


𝑓10009
𝑚0 − 𝑚1000 = 0 − 9.0 = 2.5 log ( 𝑓0
) [2]
9.0
𝑓1000 = 𝑓0 × 10−2.5 = 0.000251𝑓0 [1]
ความสว่างของดาวอีก 10,000 ดวงที่เหลือ
1
𝑓10000 = 10 𝑓10 = 0.0000251𝑓0 [2]
ความสว่างรวมของดาวฤกษ์ทั้ง 1000 ดวง 𝐹1000 = 1000𝑓1000 = 0.251𝑓0 [1]
ความสว่างรวมของดาวฤกษ์ทั้ง 10000 ดวง 𝐹10000 = 1000𝑓1000 = 0.251𝑓0 [1]

เมื่อรวมทั้ง 11,000 ดวงจะได้ 𝐹𝑡𝑜𝑡𝑎𝑙 = 𝐹1000 + 𝐹10000 = 0.502𝑓0 [1]

ซึ่งทาให้ได้โชติมาตรปรากฏรวมเท่ากับ
𝐹𝑡𝑜𝑡𝑎𝑙
𝑚𝑡𝑜𝑡𝑎𝑙 − 𝑚0 = −2.5 log ( 𝑓0
) = −2.5 log(0.502) = 0.748 [2]

5
การแข่งขันดาราศาสตร์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 15 (ระดับมัธยมต้น)
มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี
ข้อสอบภาคทฤษฎี 8 พฤษภาคม 2561
-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
เฉลยข้อ 5. ดาวเซฟีด [10 คะแนน]
a)
F (r ) L / 4 r 2
จากสมการ M  m  2.5log  2.5log [1]
F (10 pc) L / 4 (10 pc)2
m M
r2
จะได้ว่า M  m  2.5log และ r  10 10 5 pc [2]
(10 pc) 2

จากกราฟที่ P6 วัน หรือ log P  0.78 , M  3.7 [2]


203.7
แทนค่าในสมการระยะทาง r  10 10 5  550 kpc [1]

b)
รัศมีของ Cepheid เปลี่ยนไม่มากนัก (เช่น 10 – 20%)
เฟสของโชติมาตรจะสอดคล้องกับเฟสของอุณหภูมิ (สว่างมากกว่าที่อุณหภูมิสูงกว่า)

ให้ที่อุณหภูมิสูงกว่า Thigher มี Lhigher ดาวมีรัศมี r (Thigher )


ให้ที่อุณหภูมิต่ากว่า Tlower มี Llower ดาวมีรัศมี r (Tlower )
ความผันแปรของโชติมาตรปรากฏ
4  R(Tlower )  H  Tlower
4 2
L
m  2  2.5log lower  2.5log [2]
 
Lhigher 2
4 R(T ) T 4 higher higher
2
R(Thigher )
2
T  1
 4000 K 
2
ดังนั้น  10 2.5   lower
 Thigher
  10  

2.5
  1.1164  1.1 [2]
R(Tlower )    6000 K 

หมายเหตุ: ข้อมูลสมมติในโจทย์ไม่สอดคล้องกับข้อมูลจริง

6
การแข่งขันดาราศาสตร์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 15 (ระดับมัธยมต้น)
มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี
ข้อสอบภาคทฤษฎี 8 พฤษภาคม 2561
-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
เฉลยข้อ 6. [20 คะแนน]
a) ดาวทั้ง 4 ดวงที่เราจะทาการสังเกตการณ์มีโชติมาตรสัมบูรณ์ อยู่ระหว่าง -1.2 – (-0.01)
ซึ่งตรงกับค่าโชติมาตรสัมบูรณ์ ของดาวฤกษ์ชนิด B (B-type star) [3]
ดาวฤกษ์ชนิด B นี้ มีแสงสว่างมากที่สุดในช่วงความยาวคลื่นระหว่าง 3800 – 4500 อังสตรอม [2]
ดังนั้น เราควรจะสังเกตการณ์ดาว 4 ดวงนี้ ด้วย B band ที่มีความยาวคลื่นในช่วงนี้พอดี [3]
b). จาก 12 มี.ค. 61 19:00 เวลาดาราคติกรีนิช = 23h 20m 20s
ดังนั้นเวลาดาราคติที่ลองจิจูด 105 องศา 6 h 20m 20s [1]
(105°−104° 54′ 26" )
เวลาดาราคติต่างกัน = ≈ 22s [1]
15
ดังนั้นเวลาดาราคติที่คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
ในวันที่ 12 มีนาคม 2561 เวลา 19:00น. = 6 h 19m 58s [1]
วันที่สังเกตการณ์คือวันที่ 31 มีนาคม 2561 มีเวลาดาราคติที่ 19:00 น. ต่างไปจากวันที่ 12 มีนาคม เท่ากับ
(19d x 0 h 03m 56s) = 1 h 14m 44s [2]
ดังนั้นเวลาดาราคติที่คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
ในวันที่ 31 มีนาคม 2561 เวลา 19:00น = 7 h 34m 42s [1]
ซึ่งสรุปเป็นตารางดังต่อไปนี้
A B C D
12h 56m 3h 58m 12h 34m 22h 43m
19:00-21:00
   
1h 34m 42s - 15h 34m 42s
21:00- 23:00
   
3h 34m 42s - 17h 34m 42s
23:00- 1:00
   
5h 34m 42s - 19h 34m 42s
1:00-3:00
   
7h 34m 42s - 21h 34m 42s
จากตาราง เราสรุปได้ว่า ในช่วงเวลาที่นักเรียนสะดวกสามารถสังเกตการณ์ได้ ยกเว้นดาว D ที่มีตาแหน่งไรท์แอสเซนชัน
นอกเหนือจากตาแหน่งบนท้องฟ้าที่สังเกตการณ์ได้ [6]

7
การแข่งขันดาราศาสตร์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 15 (ระดับมัธยมต้น)
มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี
ข้อสอบภาคทฤษฎี 8 พฤษภาคม 2561
-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
เฉลยข้อ 7. (ม.ต้น) ดาวคู่อุปราคา [20 คะแนน]
a) ที่เวลา t  0 ค่าโชติมาตรปรากฏมีค่าน้อยสุด แสดงว่าดาวฤกษ์ซ้อนทับกันทั้งดวง [1]
ให้   2 เป็นอัตราเร็วการโคจรรอบกันและกัน
T
หลังจากเวลา t จุดศูนย์กลางของ disc ดาวฤกษ์จะห่างกัน x  2a sin t  [2]
ที่เวลา t0 มีโชติมาตรปรากฏสูงสุด แสดงว่า disc ดาวฤกษ์สัมผัสกันพอดี (ไม่ซ้อนทับกัน)
นั่นคือ 2 R  2a sin t0  [1]
R TR
เนื่องจาก R a ทาให้มุม   t0 เป็นมุมน้อยๆ จึงประมาณได้ว่า t0   [1]
 a 2 a
4 at
b) พื้นที่ A คือส่วนที่ทับซ้อนกันเมื่อจุดศูนย์กลาง disc ห่างกัน x  2a sin t  
T

เราสามารถแสดงได้ว่า
 x 
  cos 1  
 2R 
2
 x   x
A  2 R 2 cos 1   x R  
2

 2R  2

T 4
ฟลักซ์สูงสุดเกิดขึ้นเมื่อไม่ซ้อนทับกัน F0  2 R 2  [3]
4 d 2
T 4
ฟลักซ์เมื่อเกิดอุปราคา Feclipse   2 R 2  A   [3]
4 d 2
 F 
สมการ Light Curve คือm  m0  2.5log  0 
F 
[3]
 eclipse 
 2 R 2 
ดังนั้น m  m0  2.5log   [1]
 2 R  A 
2

แทนค่า x  4 at และ t0  TR แล้วจัดรูป


T 2 a
    
2 
1 t t t
m  m0  2.5log 1  cos   
1
1    [5]
   0
t  t  t0  

0

8
การแข่งขันดาราศาสตร์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 15 (ระดับมัธยมต้น)
มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี
ข้อสอบภาคทฤษฎี 8 พฤษภาคม 2561
-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
เฉลยข้อ 8. (ม.ต้น) Psudomoon [20 คะแนน]
a)
คาบการโคจรรอบโลกเท่ากับ 1 ปีพอดี ดังนั้นแต่ละ phase จะใช้เวลา T 4
ระบุตาแหน่งต่างๆ และวาดวงโคจรได้ดังรูป
HO3
E

E HO3 E
HO3 S

HO3 E
ระบุตาแหน่งถูกทั้ง 4 จุด (ไม่ต้องวาดวงรีรอบโลก) [จุดละ 1 คะแนน, รวม 4]
(หรือนักเรียนอาจใช้จุด f  0 เป็น aphelion ก็ได้เช่นกัน)

วาดวงโคจรเป็นวงรี แกน semi-major axis ประมาณ a0 และแกน semi-major axis ไม่โตกว่า a0 [2]
ทิศการโคจรถูกต้อง [1]

b) เขียน r ในรูปของ f , a0 และ d

จากกฎของเคปเลอร์ข้อที่ 3 เนื่องจากคาบ T ของดาวเคราะห์น้อย HO3 และของโลกเท่ากัน


แสดงว่า semi major axis a0 ยาวเท่ากัน [2]

9
การแข่งขันดาราศาสตร์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 15 (ระดับมัธยมต้น)
มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี
ข้อสอบภาคทฤษฎี 8 พฤษภาคม 2561
-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
d
ที่ perihelion a0  r  a0  a0 (1  e)  d ดังนั้น e [2]
a0

นาไปแทนค่าในสมการระยะทางและมุม ได้ r
a0 (1  e2 ) a0 1  d a0

2 2
  [1]
1  e cos f d
1  cos f
a0

c) มุม f M

จาก phase ในข้อ a) จะเห็นมุมต่างกันมากที่สุดที่บริเวณ M [1]
2
2d
ดังนั้นมุมต่างกัน f M   2e [2]
a0

d) หาค่าโมเมนตัมเชิงมุม h
 ab h
อ้างอิงจากสมการ อัตราเฉลี่ยการกวาดพื้นที่  [2]
T 2m
A 1 (r  r )r  1 2  h
(โดยอาจยกมา หรือเริ่มต้นจาก m r 2  h แล้วพิสูจน์ว่า   r  )
t 2 t 2 t 2m

สาหรับ HO3 พื้นที่  ab   a02 1  e2 [2]


2
2m a02 d 
ดังนั้น h 1   [1]
T 0  a0 

10
การแข่งขันดาราศาสตร์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 15 (ระดับมัธยมต้น)
มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี
ข้อสอบภาคทฤษฎี 8 พฤษภาคม 2561
-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
เฉลยข้อ 9. (ม.ต้น) [20 คะแนน]
a)
(a.1) จาก 𝑓𝜈 = 3631 𝐽𝑦 × 10−0.4𝑚
𝑓𝜈 = 3631 Jy × 10−0.4(20.0) × 10−26 × 10−4 = 3.631 × 10−35 W/cm2/Hz [1]

(a.2) ที่ความยาวคลื่นกึ่งกลาง (3800 Å) โฟตอนหนึ่งตัว มีพลังงาน เท่ากับ


𝑐 299,792,458 m s−1
𝐸 = ℎ 𝜆 = 6.62 × 10−34 J ∙ s × 3600×10−10 m
= 5.51 × 10−19 J [1]

(a.3) 𝜐 = 𝑐⁄𝜆
𝜐𝑙ow = 𝑐⁄ = 7.49 × 1014 Hz [0.5]
(3600 + 400)Å
𝜐hi = 𝑐⁄ = 9.37 × 1014 Hz [0.5]
(3600 − 400)Å

(a.4)
ฟลักซ์พลังงานที่มาถึงโลก
𝑓𝜈 ∗ ∆𝜐 = 3.631 × 10−35 ∗ (9.37 − 7.49) × 1014 = 6.83 × 10−21 𝑊/𝑚2 [2]
ดังนั้น จานวนโฟตอนทั้งหมดใน U-band ที่ตกกระทบบรรยากาศชั้นบนของโลก เท่ากับ
𝑓𝜈 ∗∆𝜐
= = 0.01 ตัวต่อตารางเซนติเมตร-วินาที [1]
5.51×10−19 J

b) ในขณะที่ไม่มีดวงจันทร์ โชติมาตรปรากฏของท้องฟ้า circular aperture ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 2 arcsec หา


ได้จาก
𝐴sky Φ2 arcsec
𝑚sky Φ2arcsec = 𝑚sky 1 sq.arcsec − 2.5 log
𝐴sky 1 sq.arcsec
= 22 − 2.5 log 𝜋 = 20.76 [2]

จะเห็นว่า ท้องฟ้าสว่างน้อยกว่าดาวฤกษ์อยู่ 0.76 mag หมายความว่า


จะมีจานวนโฟตอนต่างกัน เท่ากับ 100.4×0.76 = 0.5 เท่าของจานวนโฟตอนของดาวฤกษ์ในข้อแรก [2]
แต่จากโจทย์กาหนดว่า โฟตอนจากดาวฤกษ์ถูกดูดซับไปครึ่งหนึ่ง นั่นหมายความว่า
จานวนโฟตอนที่ผ่านชั้นบรรยากาศมา มีจานวนเท่ากับ จานวนโฟตอนจากท้องฟ้า
หรือ อัตราส่วนระหว่างจานวนโฟตอนที่ได้รับต่อวินาทีจากดาว ต่อจานวนโฟตอนที่ได้รับต่อวินาที จากท้องฟ้าใน

11
การแข่งขันดาราศาสตร์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 15 (ระดับมัธยมต้น)
มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี
ข้อสอบภาคทฤษฎี 8 พฤษภาคม 2561
-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
กรณีที่ไม่มีดวงจันทร์ มีค่าเท่ากับ 1 [2]

ในกรณีที่ท้องฟ้ามีดวงจันทร์และสว่าง 17 mag/arcsec2
โชติมาตรปรากฏของท้องฟ้า circular aperture ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 2 arcsec
𝐴
หาได้จาก 𝑚sky Φ2arcsec = 𝑚sky 1 sq.arcsec − 2.5 log 𝐴 sky Φ2 arcsec = 17 − 2.5 log 𝜋 = 15.76 [2]
sky 1 sq.arcsec

จะเห็นว่า ท้องฟ้าสว่างขึ้น 5 magnitude หรือ จานวนโฟตอนมากขึ้น 100 เท่า


ดังนั้น อัตราส่วนระหว่างจานวนโฟตอนที่ได้รับต่อวินาทีจากดาว ต่อจานวนโฟตอนที่ได้รับต่อวินาที จากท้องฟ้าใน
กรณีที่มีดวงจันทร์จนทาให้ท้องฟ้าสว่าง 17 mag/arcsec2 มีค่าเท่ากับ 1/100 = 0.01 [4]

c) จากโจทย์ โฟตอนใน U-band 80% จะสูญเสียไปเนื่องจากพื้นผิวที่ไม่เรียบพอของกระจก และประสิทธิภาพของ


อุปกรณ์รับแสง ทาให้มีโฟตอนเหลือถึงอุปกรณ์รับแสงเพียง 20%
ดังนั้น จานวนโฟตอนต่อวินาทีที่เราวัดได้จริงๆ มีค่าเท่ากับ
2.5 2 cm2
0.01 × 𝜋 ( ) m2 × 104 × 0.2 = 98 ตัวต่อวินาที [2]
2 m2

12
การแข่งขันดาราศาสตร์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 15 (ระดับมัธยมต้น)
มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี
ข้อสอบภาคทฤษฎี 8 พฤษภาคม 2561
-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
เฉลยข้อ 10. (ม.ต้น + ม.ปลาย) สุริยุปราคาหว้ากอ [20 คะแนน]
a)
เวลาที่ Descending node โคจรรอบดวงอาทิตย์ครบหนึ่งรอบ คานวณได้จาก

1 1 1
= +
𝑃𝐸𝑐𝑙𝑖𝑝𝑡𝑖𝑐𝑌𝑒𝑎𝑟 𝑃𝑆𝑖𝑑𝑒𝑟𝑒𝑎𝑙 𝑃𝑃𝑟𝑒𝑐𝑒𝑠𝑠𝑖𝑜𝑛
[รูปแบบสมการถูก 1, ข้อมูลถูกทุกเทอม 3, รวม 4]
หมายเหตุ:เนื่องจากโจทย์ไม่ได้กาหนดว่าวงโคจร Descending node รอบดวงอาทิตย์โคจร Retrograde เทียบวง
โคจรของโลกรอบดวงอาทิตย์ ดังนั้นถ้าหากนักเรียนใช้เครื่องหมายผิดจะไม่หักคะแนน

1 1 1
= +
𝑃𝐸𝑐𝑙𝑖𝑝𝑡𝑖𝑐𝑌𝑒𝑎𝑟 365.2422 365.2422 × 18.5879

𝑃𝐸𝑐𝑙𝑖𝑝𝑡𝑖𝑐𝑌𝑒𝑎𝑟 = 346.5959 วัน


[2]
ดังนั้น Draconic year หรือ Ecliptic year มีค่าเท่ากับ 346.5959 วัน

b)
คานวณจากตัวคูณร่วมที่น้อยที่สุดของ Draconic year และ Moon synodic month ได้

19 × 𝑃𝐸𝑐𝑙𝑖𝑝𝑡𝑖𝑐𝑌𝑒𝑎𝑟 = 6,585.32 วัน


[2]

223 × 𝑃𝑀𝑜𝑜𝑛𝑆𝑦𝑛𝑜𝑑𝑖𝑐 = 6,585.32 วัน


[2]
ดังนั้น Saros cycle มีค่าประมาณ 6,585.32 วัน

c)
เกิดสุริยุปราคาใน Saros ที่ 133 มาแล้วทั้งหมด 8 ครั้งหลังจากสุริยุปราคาเมื่อวันที่ 18 สิงหาคม 2411 ดังนั้น

13
การแข่งขันดาราศาสตร์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 15 (ระดับมัธยมต้น)
มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี
ข้อสอบภาคทฤษฎี 8 พฤษภาคม 2561
-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
สุริยุปราคาใน Saros ที่ 133 ครั้งต่อไปเป็น ครั้งที่ 9
[1]
6,585.32
× 9 + 2411 = 2573.27
365.2422
[1]
ดังนั้นสุริยุปราคาใน Saros ที่ 133 ครั้งต่อไปซึ่งจะเกิดในปี พ.ศ.2573

และการคานวณ วันและเดือน ที่จะเกิดสุริยุปราคาใน Saros ที่ 133 ครั้งต่อไป สามารถคานวณได้จากจานวนวัน ที่


เหลือจากการลบปีออก

(2573.27 − 2573) × 365.2422 = 99 วัน


[2 ถ้าตอบ 98 วันให้ 1]
ดังนั้นสุริยุปราคาใน Saros ที่ 133 ครั้งต่อไป จะเกิดในวันที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ.2573
[3]

d)
จากข้อ (b) เห็นว่าจานวนวันในหนึ่ง Saros ประมาณ 6585.32 วัน ดังนั้นแต่ละ Saros ตาแหน่งที่เกิดสุริยุปราคา
จะเคลื่อนไปประมาณ 120 องศา

14
การแข่งขันดาราศาสตร์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 15 (ระดับมัธยมต้น)
มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี
ข้อสอบภาคทฤษฎี 8 พฤษภาคม 2561
-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

(120 × 9) = 1,080 องศา

ช่วงเวลาที่เกิดคราสนานที่สุดของสุริยุปราคาใน Saros ที่ 133 ครั้งต่อไปควรเกิดบริเวณ กลางมหาสมุทรอินเดีย


[3]

15
การแข่งขันดาราศาสตร์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 15 (ระดับมัธยมต้น)
มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี
ข้อสอบภาคทฤษฎี 8 พฤษภาคม 2561
-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
เฉลยข้อ 11. (ม.ต้น) มวลของสมาชิกระบบดาวคู่ [40 คะแนน]
a) หาความเร็วของระบบดาว
จากกราฟความเร็วในแนวเล็ง ได้ความเร็วของ center of mass -40 km/s [2]
1 1
จากค่าพารัลแลกซ์ หาระยะทางถึงดาวได้ d  3
 137.93pc  4.256  1018 m
p 7.25  10
และค่า proper motion ได้ความเร็วแนวขวาง
0.134mas/yr  2.765 109 m/yr  87.6m/s [4]
หาความเร็วของระบบได้ v  402  0.087 2  40km/s [2]

b) หามวลของดาวแต่ละดวงจากการเคลื่อนที่
ความเร็วในวงโคจรของดาว มาจากค่า Amplitude ของกราฟความเร็วในแนวเล็ง

ดาวปฐมภูมิ มีความเร็วในแนวเล็ง 97 km/s [2]

ดาวทุติยภูมิ มีความเร็วในแนวเล็ง 120 km/s [2]


คาบการโคจร 2.178 วัน

ดังนั้น ระยะครึ่งวงโคจรของดาวปฐมภูมิ คือ


km
vP 97 ×2.178×24×3600
ap = 2π = s

= 2.905 × 106 km = 0.0194 AU [4]

ระยะครึ่งวงโคจรของดาวทุติยภูมิ คือ
km
vP 120 ×2.178×24×3600
ap = 2π = s

= 3.6 × 106 km = 0.024AU [4]
หามวลรวมของระบบได้จากกฎของเคปเลอร์
2.178
คาบ = 365.25 = 5.963 × 10−3 ปี
a = a1 + a2 = 0.0434 AU [2]

16
การแข่งขันดาราศาสตร์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 15 (ระดับมัธยมต้น)
มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี
ข้อสอบภาคทฤษฎี 8 พฤษภาคม 2561
-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
a(AU)3
P(year)2 = (m1 +m2 )
(0.0434)3
m1 + m2 = (5.963×10−3 )2
= 2.30 M⊙ [2]

m1 a2 m1 v2
เราสามารถใช้ = หรือ =
m2 a1 m2 v1
m1 v2 120
= = = 1.237
m2 v1 97
จึงได้ว่า m1 = 1.237m2 [2]
ได้ m1 = 1.271M⊙ และ m2 = 1.03 M⊙ [2]

c) หากาลังส่องสว่างในหน่วยเท่าของกาลังส่องสว่างของดวงอาทิตย์
ใช้ mass-luminosity relation [2]
M
L = L⊙ (M )3.5

ได้ L1 = 1.2713.5 = 2.314L⊙ และ L2 = 1.1033.5 = 1.108L⊙ [4]

d) รัศมีของดาวทั้งสองในหน่วยเท่าของรัศมีดวงอาทิตย์
วิธีที่ 1 หาโดยกาลังส่องสว่างเทียบกับดวงอาทิตย์
L1 R21 T41
Lsun
=
R2sun T4sun
[2]
ใช้อุณหภูมิดวงอาทิตย์ 5800 K แทนค่าจากข้อ ก) ได้
R1
Rsun
= 1.26 [2]
และใช้อุณหภูมิดวงอาทิตย์ 5800 K แทนค่าจากข้อ a) ได้
R1
Rsun
= 0.99 [2]

17
การแข่งขันดาราศาสตร์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 15 (ระดับมัธยมต้น)
มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี
ข้อสอบภาคทฤษฎี 8 พฤษภาคม 2561
-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
เฉลยข้อ 12. (ม.ต้น) [40 คะแนน]
a)


Ubon

L
GST RA

Greenwich
Meridian
GST  RA  L [1]
 14h 17m  104.85 E
[1]
= 14h 17m  6h 59m
GST= 7h 18m [1]

b)
 Days that away from 1st Jan  (UT / 24))  
GST  GST of 1 Jan   st
 

 24 h   UT [2]
 365.2564 days  
 127 days   UT
GST  GST of 1st Jan     24 h  +  UT [2]
 365.2564 days   365.2564
 127 days  
GST  GST of 1st Jan     24 h 
UT   365.2564 days   [1]
 1 
  1
 365.2564 

7h 18m  6h 38min  8h 21min


UT =
1.00274
UT =  7h 40m [1]

18
การแข่งขันดาราศาสตร์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 15 (ระดับมัธยมต้น)
มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี
ข้อสอบภาคทฤษฎี 8 พฤษภาคม 2561
-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
Bkk Time =  7h 40m + 7h  23h 20min [1]

c)

Zenith
Celestial equator

NCP LHA E

N S
ขอบฟ้า

W
SCP

วาดรูปถูกต้อง [10]
ระบุตาแหน่งดาวผิดหรือไม่ระบุ [-2]
ระบุมุม LHA ผิดหรือไม่ระบุ [-2]
ระบุ Dec. ( ) ผิดหรือไม่ระบุ [-2]
ระบุละติจูด ( ) ผิดหรือไม่ระบุ [-2]
Zenith Distance ผิดหรือไม่ระบุ [-2]

d) ใช้กฎของ Cosine จะได้ว่า

19
การแข่งขันดาราศาสตร์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 15 (ระดับมัธยมต้น)
มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี
ข้อสอบภาคทฤษฎี 8 พฤษภาคม 2561
-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
cos z  cos(90   ) cos(90   )  sin(90   ) sin(90   ) cos LHA
 cos z  sin  sin   [3]
LHA  cos 1  
 cos  cos  
 cos 90  sin19.1 sin15.24 
LHA  cos 1   [4]
 cos19.1 cos15.24 

LHA  95.41 [3]

e)
เวลาที่ต่างจากเวลาขณะผ่านเมอริเดียน= 95.41  365.25  95.14  6h 21min [4]
366.25
ดังนั้นเวลาขณะที่ดาว Arcturus กาลังขึ้นจากขอบฟ้าคือ 23h 20min  6h 21min  16h 59min [3]
ดังนั้นเวลาขณะที่ดาว Arcturus กาลังตกจากขอบฟ้าคือ 23h 20min  6h 21min  5h 41min [3]

20

You might also like