You are on page 1of 9

การแข่งขันดาราศาสตร์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 19 (ระดับมัธยมต้น)

โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร
ข้อสอบภาควิเคราะห์ข้อมูล 14 มิถุนายน 2565
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ข้อ 1. กาแล็กซี Sextans A [75 คะแนน]

Part 1. ระยะห่างจากโชติมาตรปรากฏ
a) [2 คะแนน]
𝑚𝐼 = 21.8 (อ่านค่า error จากครึ่งหนึ่งของขนาด bin)

ค่า magnitude ถูกต้อง ค่าละ 2 คะแนน

b) [4 คะแนน]
𝑑 = 1.44 Mpc
หรือหากนักเรียนใช้ค่า 𝑀𝐼 = +4.00 ตามในโจทย์
𝑑 = 0.0363 Mpc

แสดงวิธีหาระยะห่างถูกต้อง ได้ 2 คะแนน


ค่าระยะห่างถูกต้อง ค่าละ 2 คะแนน

วิธีทำ
คำนวนระยะห่างจาก
𝑚 = 𝑀 − 5 log 𝑑 − 5
𝐼−𝑀𝐼+5
𝑑 = 10{ }
5
21.8+4+5
𝑑 = 10{ 5 }
𝑑 = 1.44 𝑀𝑝𝑐
ดังนั้น ระยะห่างของกาแล็กซี Sextans A เมื่อคำนวณจาก TRGB คือ 𝑑 = 1.44 Mpc
หากนักเรียนใช้คา่ 𝑴𝑰 = +4.00 ± 0.10 ตามในโจทย์
คำนวนระยะห่างจาก
𝑚 = 𝑀 + 5 log 𝑑 − 5
𝑚𝐼−𝑀𝐼+5
𝑑 = 10{ }
5
21.8−4+5
𝑑 = 10{ 5 }
𝑑 = 0.0363 𝑀𝑝𝑐
ดังนั้น ระยะห่างของกาแล็กซี Sextans A เมื่อคำนวณจาก TRGB คือ 𝑑 = 0.0363 Mpc

1
การแข่งขันดาราศาสตร์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 19 (ระดับมัธยมต้น)
โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร
ข้อสอบภาควิเคราะห์ข้อมูล 14 มิถุนายน 2565
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

c) [14 คะแนน]
1400

1200

1000
Number of stars

800

600

400

200

0
24.1 24.3 24.5 24.7 24.9 25.1 25.3 25.5 25.7 25.9
I

คำตอบที่รับได้อยู่ในช่วง 𝑚𝐼 = 24.95 ± 0.10


พล็อตกราฟถูกต้อง จุดละ 1 คะแนน
ลากเส้นถูกต้อง ได้ 2 คะแนน
อ่านค่าถูกต้อง ได้ 2 คะแนน

d) [4 คะแนน]
𝑑 = 1.33 Mpc
แสดงวิธีหาระยะห่างถูกต้อง ได้ 2 คะแนน
ค่าระยะห่างถูกต้อง ค่าละ 2 คะแนน

วิธีทำ
คำนวนระยะห่างจาก
24.95+0.67+5
{ }
𝑑 = 10 5

2
การแข่งขันดาราศาสตร์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 19 (ระดับมัธยมต้น)
โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร
ข้อสอบภาควิเคราะห์ข้อมูล 14 มิถุนายน 2565
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
𝑑 = 1.33 Mpc

ดังนั้น ระยะห่างของกาแล็กซี Sextans A เมื่อคำนวณจาก RC คือ 𝑑 = 1.33 Mpc

Part 2. ค่าความเป็นโลหะของดาวฤกษ์ในกาแล็กซี
e) [10 คะแนน]

พล็อตจุดถูกต้อง จุดละ 0.5 คะแนน


ลากเส้นถูกต้อง เส้นละ 0.5 คะแนน (จำนวน 4 เส้น)

3
การแข่งขันดาราศาสตร์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 19 (ระดับมัธยมต้น)
โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร
ข้อสอบภาควิเคราะห์ข้อมูล 14 มิถุนายน 2565
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
หากไม่ได้พล็อตจุดให้เห็นชัดเจนแต่ลากเส้นถูกต้องก็ได้คะแนนเช่นเดียวกัน

f) [2 คะแนน]
[M/H] = -1.5
อ่านค่า [M/H] ถูกต้อง ได้ 2 คะแนน

g) [6 คะแนน]
สำหรับ TRGB:
ระยะห่างที่คำนวณได้ใหม่คือ 𝑑 = 1.48 Mpc มีค่าต่างเดิม 0.04 Mpc คิดเป็น 3%
สำหรับ RC:
ระยะห่างที่คำนวณได้ใหม่คือ 𝑑 = 1.30 Mpc มีค่าต่างเดิม 0.03 Mpc คิดเป็น 2%

หากนักเรียนใช้คา่ 𝑴𝑰 = +4.00 ตามในโจทย์


สำหรับ TRGB:
ระยะห่างที่คำนวณได้ใหม่คือ 1.48 𝑀𝑝𝑐 โดยมีค่าต่างเดิม 1.44 𝑀𝑝𝑐 คิดเป็น 98%

แสดงการคำนวณระยะห่างถูกต้อง ข้อย่อยละ 1 คะแนน


คำนวณระยะห่างถูกต้อง ค่าละ 1 คะแนน
คำนวณผลต่างของระยะห่างถูกต้อง ค่าละ 0.5 คะแนน
คำนวณเปอร์เซ็นต์ถูกต้อง ค่าละ 0.5 คะแนน

วิธีทำ
สำหรับ TRGB:
𝑀𝐼 = −3.63 + 0.68(−1.5) + 0.26(−1.5)2 = −4.06
21.8+4.06+5
𝑑 = 10{ }
5

𝑑 = 1.48 𝑀𝑝𝑐
ระยะห่างที่คำนวณได้ใหม่คือ 1.48 𝑀𝑝𝑐 โดยมีค่าต่างเดิม 0.04 𝑀𝑝𝑐 คิดเป็น 3%
สำหรับ RC:

4
การแข่งขันดาราศาสตร์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 19 (ระดับมัธยมต้น)
โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร
ข้อสอบภาควิเคราะห์ข้อมูล 14 มิถุนายน 2565
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
𝑀𝐼 = −0.34 + 0.19(−1.5) = −0.62
24.95+0.62+5
𝑑 = 10{ 5 }

𝑑 = 1.30 𝑀𝑝𝑐
ระยะห่างที่คำนวณได้ใหม่คือ 1.30 𝑀𝑝𝑐 โดยมีค่าต่างเดิม 0.03 𝑀𝑝𝑐 คิดเป็น 2%

Part 3. ดาวแปรแสงชนิด Cepheid


h) [10 คะแนน]
ดูเฉลยในตารางข้อ j)
อ่านค่าถูกต้อง ดวงละ 1 คะแนน
โดยความคลาดเคลื่อนที่ยอมรับได้คือ 0.1 magnitude (1 ช่องสเกล)

5
การแข่งขันดาราศาสตร์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 19 (ระดับมัธยมต้น)
โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร
ข้อสอบภาควิเคราะห์ข้อมูล 14 มิถุนายน 2565
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
i) [4 คะแนน]

พล็อตถูกต้อง จุดละ 1 คะแนน


แค่พล็อตถูกต้อง ไม่ตอ้ งวงก็ได้คะแนนเต็ม

j) [17 คะแนน]
คำนวณค่าระยะห่างถูกต้อง ดวงละ 1.5 คะแนน
คำนวณระยะห่างเฉลี่ยถูกต้อง ได้ 2 คะแนน

6
การแข่งขันดาราศาสตร์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 19 (ระดับมัธยมต้น)
โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร
ข้อสอบภาควิเคราะห์ข้อมูล 14 มิถุนายน 2565
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
คาบ (P)
ชื่อ Mode <𝑚𝑉 -𝑚𝐼 > <𝑚𝐼 > log(P) MI 𝑚𝐼 - MI log(d) d (Mpc)
(วัน)
C1-V05 FM 0.58 23.90 1.24 0.09 -1.87 25.77 6.15 1.43
C2-V01 FM 0.80 23.78 1.27 0.10 -1.90 25.68 6.14 1.37
C2-V19 FM 0.48 23.75 1.29 0.11 -1.93 25.68 6.14 1.37
C3-V13 FM 0.69 23.32 2.51 0.40 -2.88 26.20 6.24 1.74
C3-V15 FM 0.93 23.86 1.24 0.09 -1.87 25.73 6.15 1.40
C1-V06 FO 0.53 24.30 0.58 -0.24 -1.35 25.65 6.13 1.35
C2-V04 FO 0.45 24.02 0.66 -0.18 -1.56 25.58 6.12 1.30
C2-V06 FO 0.58 24.03 0.76 -0.12 -1.76 25.79 6.16 1.44
C2-V07 FO 0.51 23.05 1.32 0.12 -2.58 25.63 6.13 1.34
C2-V13 FO 0.54 24.20 0.59 -0.23 -1.39 25.59 6.12 1.31

k) [2 คะแนน]
1.39 𝑀𝑝𝑐
คำนวณระยะห่างเฉลี่ยถูกต้อง ได้ 2 คะแนน
วิธีทำ
1.44 + 1.33 + 1.40
( ) = 1.39 𝑀𝑝𝑐
3

หรือหากนักเรียนใช้คา่ 𝑴𝑰 = +4.00 ± 0.10 ตามในโจทย์


0.92 𝑀𝑝𝑐
คำนวณระยะห่างเฉลี่ยถูกต้อง ได้ 2 คะแนน
คำนวณ error ถูกต้อง ได้ 2 คะแนน
วิธีทำ
0.0363 + 1.33 + 1.40
( ) = 0.92 𝑀𝑝𝑐
3

7
การแข่งขันดาราศาสตร์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 19 (ระดับมัธยมปลาย)
โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร
ข้อสอบภาควิเคราะห์ข้อมูล 14 มิถุนายน 2565
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ข้อ 2. ดาวทุติยภูมิของโนวา [75 คะแนน]
ตารางที่ 1 ข้อมูลตามโจทย์
Luminosity
Star 𝑚" 𝑚# 𝐴" 𝑑 (kpc) 𝑚" − 𝑚𝐻 𝑀"
Class
T CrB 5.99±0.02 5.15±0.04 0.3±0.1 0.9±0.1 0.84±0.04 -4.1±0.3 III

V2487 Oph 15.36±0.08 14.88±0.10 1.6±0.2 12.0±0.2 0.48±0.13 -1.6±0.2 III

CI Aql 13.67±0.04 13.33±0.08 2.6±0.1 5.0±0.2 0.34±0.09 -2.4±0.1 III

AR Cir 11.81±0.02 11.10±0.02 3.5±0.1 4.5±0.2 0.71±0.03 -5.0±0.1 III

V3964 Sgr 10.86±0.03 10.02±0.03 1.6±0.1 15.6±0.4 0.84±0.04 -6.7±0.1 II

V3645 Sgr 15.45±0.06 14.89±0.08 1.3±0.1 25.1±0.1 0.56±0.10 -2.8±0.1 III

EU Sct 12.26±0.05 11.18±0.04 2.6±0.1 5.1±0.2 1.08±0.06 -3.9±0.1 III


*หมายเหตุ : ระบุว่าเป็นดาวในแถบกระบวนหลัก (V)/ ดาวยักษ์เล็ก (IV)/ ดาวยักษ์แดง (III)/ ดาวยักษ์สว่าง (II)/
หรือดาวยักษ์ใหญ่ (I)
ตารางที่ 1 ม.ต้น ตาม Answer sheet
Luminosity
Star 𝑚" 𝑚# 𝐴" 𝑑 (kpc) 𝑚" − 𝑚𝐻 𝑀"
Class
T CrB 5.99 5.15 0.3 5.99 0.84 -8.2 I

V2487 Oph 15.36 14.88 1.6 15.36 0.48 -2.2 III

CI Aql 13.67 13.33 2.6 13.67 0.34 -4.6 III

AR Cir 11.81 11.10 3.5 11.81 0.71 -7.1 II

V3964 Sgr 10.86 10.02 1.6 10.86 0.84 -5.9 III

V3645 Sgr 15.45 14.89 1.3 15.45 0.56 -1.8 III

EU Sct 12.26 11.18 2.6 12.26 1.08 -5.8 III

1
การแข่งขันดาราศาสตร์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 19 (ระดับมัธยมปลาย)
โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร
ข้อสอบภาควิเคราะห์ข้อมูล 14 มิถุนายน 2565
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ตารางที่ 1 ม.ปลาย ตาม Answer sheet
Luminosity
Star 𝑚" 𝑚# 𝐴" 𝑑 (kpc) 𝑚" − 𝑚𝐻 𝑀"
Class
T CrB 5.99±0.02 5.15±0.04 0.3±0.3 0.9±0.2 0.84±0.04 -4.1±0.6 III

V2487 Oph 15.36±0.08 14.88±0.10 1.6±0.6 12.0±0.2 0.48±0.13 -1.6±0.6 III

CI Aql 13.67±0.04 13.33±0.08 2.6±0.9 5.0±2.5 0.34±0.09 -2.4±1.4 III

AR Cir 11.81±0.02 11.10±0.02 3.5±1.0 4.5±0.5 0.71±0.03 -5.0±1.0 III

V3964 Sgr 10.86±0.03 10.02±0.03 1.6±0.2 15.6±1.4 0.84±0.04 -6.7±0.3 II

V3645 Sgr 15.45±0.06 14.89±0.08 1.3±0.2 25.1±2.3 0.56±0.10 -2.8±0.3 III

EU Sct 12.26±0.05 11.18±0.04 2.6±0.6 5.1±1.7 1.08±0.06 -3.9±0.9 III

You might also like