You are on page 1of 31

คลังโจทย์ 1

1. กำหนดให้ 𝑣̅ = 2𝑖̅ + 3𝑗̅ + 𝑘̅ ค่ำของ (𝑣̅ × 𝑖̅) ∙ (𝑗̅ + 𝑘̅) เท่ำกับข้อใดต่อไปนี ้


[กสพท คณิต1 (มี.ค. 2563/4)]
1. −3 2. −2 3. −1 4. 1 5. 2

2. ในการทดลองการเคลี่อนที่ของหุ่นยนต์จ๋วิ ได้วางหุ่นยนต์จ๋วิ ไว้ท่ีจดุ 𝐴(4, 5)


หลังจากนัน้ สร้างรูปสี่เหลี่ยม 𝐵 ที่มีพิกดั ของจุดยอด คือ (1, 5) , (5, 6) , (5, 8) และ (3, 9)
และสร้างรูปสามเหลี่ยม 𝐶 ที่มีพิกดั ของจุดยอดคือ (4, 2) , (5, 4) และ (7, −1) ดังรูป
𝑌

10
(3,9)

8 (5,8)

𝐵
6 (5,6)
𝐴(4,5)
(1,5)
4 (5,4)

2 (4,2) 𝐶

𝑋
−2 0 2 4 6 8 10

(7,−1)
−2

พิจารณาข้อความต่อไปนี ้
−4
ก) หุ่นยนต์จ๋วิ เคลื่อนที่จากจุด 𝐴 ในทิศทางเดียวกับเวกเตอร์ 𝑢̅ = [ ] เป็ นระยะทางเท่ากับ |𝑢̅| หน่วย
−1
แล้วหยุดอยู่ภายในรูปสี่เหลี่ยม 𝐵
1
ข) หุ่นยนต์จ๋วิ เคลื่อนที่จากจุด 𝐴 ในทิศทางเดียวกับเวกเตอร์ 𝑣̅ = [ ] เป็ นระยะทางเท่ากับ |𝑣̅ | หน่วย
−2
แล้วหยุดอยู่ภายในรูปสามเหลี่ยม 𝐶
ค) หุ่นยนต์จ๋วิ เคลื่อนที่จากจุด 𝐴 ในทิศทางเดียวกับเวกเตอร์ 𝑤̅ = [01] เป็ นระยะทางเท่ากับ 2|𝑤̅| หน่วย
แล้วหยุดอยู่ภายในรูปสี่เหลี่ยม 𝐵
จากข้อความ ก) ข) และ ค) ข้างต้น ข้อใดถูกต้อง [PAT 1 (มี.ค. 2565/19)]
1. ข้อความ ก) ถูกต้องเพียงข้อเดียวเท่านัน้ 2. ข้อความ ข) ถูกต้องเพียงข้อเดียวเท่านัน้
3. ข้อความ ก) และ ข) ถูกต้องเท่านัน้ 4. ข้อความ ก) และ ค) ถูกต้องเท่านัน้
5. ข้อความ ข) และ ค) ถูกต้องเท่านัน้

.0123456789
2 คลังโจทย์

3. กำหนดให้ 𝑢̅ = 2𝑖̅ − 𝑗̅ + 2𝑘̅ และ 𝑣̅ = 𝑖̅ + 2𝑗̅ − 2𝑘̅ เวกเตอร์ในข้อใดไม่ตงั้ ฉำกกับเวกเตอร์ 𝑢̅ × 𝑣̅


[PAT 1 (ก.พ. 2563/21)]
1. 3𝑖̅ + 𝑗̅ 2. 𝑖̅ − 3𝑗̅ + 4𝑘̅ 3. 4𝑖̅ + 3𝑗̅ − 2𝑘̅
4. 𝑖̅ + 𝑗̅ − 𝑘̅ 5. −5𝑗̅ + 6𝑘̅

4. กาหนดรูปสามเหลีย่ ม 𝐴𝐵𝐶 ในระบบพิกดั ฉากสามมิติ มีจดุ ยอดที่ 𝐴(−2, −4, −4) , 𝐵(0, −2, 0)
และ 𝐶(0, 0, 2) รูปสามเหลีย่ ม 𝐴𝐵𝐶 มีพนื ้ ที่กี่ตารางหน่วย [กสพท คณิต1 (เม.ย. 2564/15)]
1. 1 2. √3 3. 2 4. 2√3 5. 4√3

5. ถ้ำ 𝑢̅ และ 𝑣̅ เป็ นเวกเตอร์ในระบบพิกดั ฉำก 3 มิติ โดยที่ |𝑢̅| = √5 และ |𝑣̅ | = √3
แล้ว |𝑢̅ ∙ 𝑣̅ |2 + |𝑢̅ × 𝑣̅ |2 เท่ำกับข้อใดต่อไปนี ้ [กสพท คณิต1 (ธ.ค. 2558/3)]
1. √15 2. √5 + √3 3. 8
4. 5√3 + 3√5 5. 15

6. ให้เวกเตอร์ 𝑣⃑ = 𝑎𝑖⃑ + 𝑏𝑗⃑ + 𝑐𝑘⃑⃑ เมื่อ 𝑎, 𝑏 และ 𝑐 เป็ นจำนวนจริง และให้เวกเตอร์ 𝑢⃑⃑ = 𝑖⃑ − 𝑘⃑⃑
และ 𝑤 ⃑⃑⃑ = 2𝑖⃑ + 𝑗⃑ + 2𝑘⃑⃑ ถ้ำเวกเตอร์ 𝑣⃑ มีทิศทำงเดียวกับเวกเตอร์ 𝑢
⃑⃑ × 𝑤⃑⃑⃑ และขนำดของเวกเตอร์ 𝑣⃑ เท่ำกับ
6√2 หน่วย แล้วค่ำของ 𝑎 − 𝑏 + 𝑐 เท่ำกับเท่ำใด [PAT 1 (ต.ค. 2559/32)]

.0123456789
คลังโจทย์ 3

7. กำหนดให้ 𝑎⃗ และ 𝑏⃗⃗ เป็ นเวกเตอร์ หนึง่ หน่วย ถ้ ำเวกเตอร์ 𝑎⃗ + 2𝑏⃗⃗ ตังฉำกกั
้ บเวกเตอร์ 5𝑎⃗ − 4𝑏⃗⃗ แล้ ว ควำมยำว
รอบรูปมำกสุดที่เป็ นไปได้ ของรูปสำมเหลีย่ มทีม่ ี 𝑎⃗ และ 𝑏⃗⃗ เป็ นด้ ำนประกอบสองด้ ำน มีคำ่ เท่ำกับเท่ำใด
[สมำคม (พ.ย. 2560/17)]

8. ให้ 𝑢⃗ = 𝑖 + 𝑗 + 𝑘⃗ เวกเตอร์ 𝑣 ในข้อใดต่อไปนีส้ อดคล้องกับสมกำร ⃗ × 𝑣 = ⃗0


𝑢
[กสพท คณิต1 (มี.ค. 2561/3)]
1. 𝑣 = 𝑖 + 𝑗 − 𝑘⃗ 2. 𝑣 = 𝑖 − 𝑗 + 𝑘⃗ 3. 𝑣 = −𝑖 − 𝑗 − 𝑘⃗
4. 𝑣 = −𝑖 + 𝑗 − 𝑘⃗ 5. 𝑣 = −𝑖 − 𝑗 + 𝑘⃗

9. ให้ 𝑎̅ และ 𝑏̅ เป็ นเวกเตอร์หนึง่ หน่วย ถ้ำ 𝑎̅ + 𝑏̅ เป็ นเวกเตอร์หนึง่ หน่วย


แล้วขนำดของเวกเตอร์ 𝑎̅ × 𝑏̅ เท่ำกับข้อใดต่อไปนี ้ [PAT 1 (ก.พ. 2562/23)]
1 √2 √3
1. 0 2. 2
3. 2
4. 2
5. 1

10. กำหนดให้ 𝑎⃑, 𝑏⃑⃑ และ 𝑐⃑ เป็ นเวกเตอร์ในสำมมิติ โดยที่ 𝑎⃑ + 𝑏⃑⃑ + 𝑐⃑ = 0⃑⃑ ถ้ำ 𝑎⃑ = 𝑖̅ + 2𝑗̅ และขนำดของเวกเตอร์
𝑏⃑⃑ และ 𝑐⃑ เท่ำกับ 2 และ 3 หน่วย ตำมลำดับ แล้ว 𝑎⃑ ∙ 𝑏⃑⃑ + 𝑏⃑⃑ ∙ 𝑐⃑ + 𝑐⃑ ∙ 𝑎⃑ เท่ำกับข้อใดต่อไปนี ้
[PAT 1 (ก.พ. 2563/22)]
1. −18 2. −9 3. 8 4. 9 5. 18
4 คลังโจทย์

11. ให้เวกเตอร์ 𝑢⃑ ≠ 0⃑ , 𝑣 ≠ 0⃑ และ |𝑢⃑| ≠ |𝑣| พิจารณาข้อความต่อไปนี ้


ก) มุมระหว่าง 3𝑢⃑ และ 3𝑣 มีขนาดเป็ น 3 เท่าของมุมระหว่าง 𝑢⃑ และ 𝑣
ข) มุมระหว่าง 𝑢⃑ − 𝑣 และ 𝑣 − 𝑢⃑ มีขนาด 180°
ค) มุมระหว่าง 𝑢⃑ + 𝑣 และ 𝑢⃑ − 𝑣 มีขนาด 90°
จากข้อความ ก) ข) และ ค) ข้างต้น ข้อใดถูกต้อง [กสพท คณิต1 (เม.ย. 2564/5)]
1. ข้อความ ก) ถูกต้องเพียงข้อเดียวเท่านัน้ 2. ข้อความ ข) ถูกต้องเพียงข้อเดียวเท่านัน้
3. ข้อความ ค) ถูกต้องเพียงข้อเดียวเท่านัน้ 4. ข้อความ ก) และ ข) ถูกต้องเท่านัน้
5. ข้อความ ข) และ ค) ถูกต้องเท่านัน้

12. ให้ 𝑢̅ = 𝑖̅ + 2𝑗̅ − 𝑘̅ และ 𝑤̅ = 2𝑖̅ + 3𝑗̅ + 8𝑘̅


ถ้า 𝐴 แทนเซตของเวกเตอร์ 𝑣̅ ในระบบพิกดั ฉากสามมิติท่ีทาให้ 𝑢̅ × 𝑣̅ = 𝑤
̅ แล้วข้อใดถูกต้อง
[PAT 1 (มี.ค. 2565/20)]
1. 𝐴 เป็ นเซตว่าง 2. −2𝑖̅ + 𝑘̅ ∈ 𝐴 3. −3𝑖̅ − 2𝑗̅ ∈ 𝐴
4. 2𝑖̅ − 4𝑗̅ − 𝑘̅ ∈ 𝐴 5. −5𝑖̅ − 2𝑗̅ + 2𝑘̅ ∈ 𝐴

13. ให้จดุ 𝐴(0, 3, 2) จุด 𝐵(1, −1, 0) จุด 𝐶(2, 1, 3) และจุด 𝐷(𝑥, 5, 1) อยู่ในระบบพิกดั ฉำกสำมมิติ
เมื่อ 𝑥 เป็ นจำนวนจริง ถ้ำ 𝐴𝐵
⃑⃑⃑⃑⃑ ตัง้ ฉำกกับ 𝐶𝐷
⃑⃑⃑⃑⃑ แล้วขนำดของ 𝐴𝐷
⃑⃑⃑⃑⃑ เท่ำกับเท่ำใด
[กสพท คณิต1 (มี.ค. 2565/17)]
1. √489 2. √329 3. √230 4. √201 5. √174
คลังโจทย์ 5

𝑎 2 0 1
14. ให้ 𝑠 = [𝑏 ] , 𝑢
⃑ = [ 1 ] , 𝑣 = [−3] และ ⃑⃑ = [4]
𝑤 เมื่อ 𝑎 และ 𝑏 เป็ นจำนวนจริง ถ้ำขนำดของมุมระหว่ำง
2 −2 4 3
𝑠 และ 𝑢
⃑เท่ำกับขนำดของมุมระหว่ำง 𝑠 และ 𝑣 และ 𝑠 ตัง้ ฉำกกับ 𝑤
⃑⃑ แล้ว 𝑎+𝑏 เท่ำกับเท่ำใด
[กสพท คณิต1 (มี.ค. 2565/28)]

15. กำหนดให้ 𝑎̅ และ 𝑏̅ เป็ นเวกเตอร์ใดๆ ที่ไม่เป็ นเวกเตอร์ศนู ย์ พิจำรณำข้อควำมต่อไปนี ้


(ก) ถ้ำ 𝑎̅ ขนำนกับ 𝑏̅ แล้ว |𝑎̅ − 𝑏̅| = |𝑎̅| − |𝑏̅|
2 2
(ข) ถ้ำ |𝑎̅ + 𝑏̅| = |𝑎̅|2 + |𝑏̅| แล้ว 𝑎̅ ตัง้ ฉำกกับ 𝑏̅
(ค) ถ้ำเวกเตอร์ 𝑎̅ + 𝑏̅ ตัง้ ฉำกกับเวกเตอร์ 𝑎̅ − 𝑏̅ แล้ว |𝑎̅| = |𝑏̅|
ข้อใดต่อไปนีถ้ กู ต้อง [PAT 1 (ต.ค. 2558/27)]
1. ข้อ (ก) และ ข้อ (ข) ถูก แต่ ข้อ (ค) ผิด 2. ข้อ (ก) และ ข้อ (ค) ถูก แต่ ข้อ (ข) ผิด
3. ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ถูก แต่ ข้อ (ก) ผิด 4. ข้อ (ก) ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ถูกทัง้ สำมข้อ
5. ข้อ (ก) ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ผิดทัง้ สำมข้อ

16. ให้ 𝑢̅, 𝑣̅ และ 𝑤


เป็ นเวกเตอร์ใดๆ ในระบบพิกดั ฉำกสำมมิติ พิจำรณำข้อควำมต่อไปนี ้
̅
ก. (𝑢̅ × 𝑣̅ ) ∙ 𝑤̅ = 𝑢̅ ∙ (𝑣̅ × 𝑤̅) ข. (𝑢̅ × 𝑣̅ ) × 𝑤̅ = 𝑢̅ × (𝑣̅ × 𝑤̅)
ค. (𝑢̅ − 𝑣̅ ) ∙ (𝑢̅ + 𝑣̅ ) = |𝑢̅|2 − |𝑣̅ |2 ง. (𝑢̅ − 𝑣̅ ) × (𝑢̅ + 𝑣̅ ) = 2(𝑢̅ × 𝑣̅ )
จำนวนข้อควำมทีถ่ กู ต้อง เท่ำกับข้อใดต่อไปนี ้ [กสพท คณิต1 (ธ.ค. 2558/15)]
1. 0 (ไม่มีขอ้ ควำมใดถูก) 2. 1 3. 2
4. 3 5. 4
6 คลังโจทย์

17. กำหนดให้ 𝑎⃑ และ 𝑏⃑⃑ เป็ นเวกเตอร์ โดยที่ 𝑎⃑ ∙ 𝑏⃑⃑ = 15 , |𝑎⃑| = 6 และ (2𝑎⃑ + 𝑏⃑⃑) ∙ (𝑎⃑ − 𝑏⃑⃑) = 32
ค่ำของ |𝑎⃑ − 2𝑏⃑⃑| เท่ำกับข้อใดต่อไปนี ้ [PAT 1 (ต.ค. 2559/24)]
1. 4 2. √76 3. 9
4. √106 5. √136

18. กำหนดให้ 𝑢⃗ และ 𝑣 เป็ นเวกเตอร์ในสำมมิติ ซึง่ มีสมบัตติ อ่ ไปนี ้


ก. 𝑢⃗ ไม่ขนำนกับ 𝑣
ข. |𝑢⃗| = |𝑣| = 1
และ ค. |𝑢⃗ + 𝑣|2 = 3|𝑢⃗ × 𝑣|2
ถ้ำ 𝜃 เป็ นมุมระหว่ำงเวกเตอร์ 𝑢⃗ และ 𝑣 แล้ว cos 𝜃 มีคำ่ เท่ำกับข้อใดต่อไปนี ้
[กสพท คณิต1 (มี.ค. 2561/15)]
1 1 √3 1 2
1. 3
2. √2
3. 2
4. 2
5. 3

19. กำหนดให้เวกเตอร์ 𝑎̅ = 𝑖̅ + 𝑗̅ − 2𝑘̅ ถ้ำ 𝑏̅ เป็ นเวกเตอร์ในสำมมิติ โดยที่ (𝑏̅ + 𝑎̅) ∙ (𝑏̅ − 𝑎̅) = 10
และเวกเตอร์ 𝑎̅ ทำมุม 60° กับเวกเตอร์ 𝑏̅ แล้วขนำดของเวกเตอร์ 𝑎̅ × 𝑏̅ อยูใ่ นช่วงในข้อใดต่อไปนี ้
[PAT 1 (ก.พ. 2561/11)]
1. (0, 2] 2. (2, 4] 3. (4, 6] 4. (6, 8] 5. (8, 10]

.0123456789
คลังโจทย์ 7

20. ให้ 𝑎̅, 𝑏̅ และ 𝑐̅ เป็ นเวกเตอร์ในสำมมิติ โดยที่ 𝑎̅ = 𝑖̅ + 𝑗̅ , 𝑏̅ = 3𝑖̅ − 2𝑗̅ + 3√2𝑘̅
เวกเตอร์ 𝑐̅ ทำมุม 45° และ 60° กับเวกเตอร์ 𝑎̅ และเวกเตอร์ 𝑗̅ ตำมลำดับ และ 𝑐̅ ∙ 𝑘̅ > 0
ถ้ำ 𝑢̅ เป็ นเวกเตอร์หนึง่ หน่วยที่มีทศิ ทำงเดียวกับเวกเตอร์ 𝑐̅ แล้ว 𝑢̅ ∙ 𝑏̅ เท่ำกับเท่ำใด
[PAT 1 (ก.พ. 2561/44)]

21. ให้ 𝑢⃗, 𝑣, 𝑤


⃗⃗ เป็ นเวกเตอร์ ซงึ่ |𝑢 ⃗⃗ | = 1 และ
⃗ | = 2 , |𝑣 | = 1 , |𝑤 𝑢 ⃗⃗ = ⃗0
⃗ + 2𝑣 + 3𝑤
จงหาค่าของ |𝑢⃗ × 𝑣| [สมาคม (พ.ย. 2561/21)]
2

22. กำหนดให้ A, B และ C เป็ นจุดในระบบพิกดั ฉำกสำมมิติ และพืน้ ที่ของรูปสำมเหลีย่ ม ABC เท่ำกับ 1 ตำรำงหน่วย
พิจำรณำข้อควำมต่อไปนี ้
ก. 𝐴𝐵
⃗⃗⃗⃗⃗ × 𝐴𝐶 ⃗⃗⃗⃗⃗ ตัง้ ฉำกกับ 𝐴𝐵
⃗⃗⃗⃗⃗ + 𝐴𝐶
⃗⃗⃗⃗⃗
ข. |𝐴𝐵⃗⃗⃗⃗⃗ × 𝐴𝐶 ⃗⃗⃗⃗⃗ | = 2
ค. |𝐴𝐵⃗⃗⃗⃗⃗ ||𝐴𝐶
⃗⃗⃗⃗⃗ | < 2
ง. ⃗⃗⃗⃗⃗
𝐴𝐵 + ⃗⃗⃗⃗⃗ 𝐵𝐶 = ⃗⃗⃗⃗⃗ 𝐴𝐶
จำนวนข้อควำมทีถ่ กู ต้องเท่ำกับข้อใดต่อไปนี ้ [กสพท คณิต1 (มี.ค. 2562/16)]
1. 0 (ไม่มีขอ้ ควำมใดถูก) 2. 1 3. 2
4. 3 5. 4

.0123456789
8 คลังโจทย์

23. ให้ 𝑎̅, 𝑏̅ และ 𝑐̅ เป็ นเวกเตอร์บนระนำบ โดยที่ 𝑎̅ + 𝑏̅ + 𝑐̅ = 0̅ และ มุมระหว่ำงเวกเตอร์ 𝑎̅ กับ 𝑏̅ เท่ำกับ 60°
ถ้ำขนำดของเวกเตอร์ 𝑎̅ และเวกเตอร์ 𝑏̅ เท่ำกับ 2 หน่วย และ 1 หน่วย ตำมลำดับ
แล้วมุมระหว่ำงเวกเตอร์ 𝑏̅ กับเวกเตอร์ 𝑐̅ เท่ำกับข้อใดต่อไปนี ้ [PAT 1 (ก.พ. 2562/19)]
𝜋 2 3 𝜋 3
1. 2
+ arccos
√7
2. 𝜋 − arcsin √
7
3. 2
+ arcsin √
7
√3 2𝜋 √3
4. 𝜋 − arccot 2
5. 3
+ arctan 2

สถานการณ์ตอ่ ไปนีใ้ ช้ในการตอบคาถาม 2 ข้อถัดจากนี ้


ทรงกลม คือ เซตของจุดทัง้ หมดในระบบพิกดั ฉากสามมิติที่หา่ งจากจุดๆ หนึง่ ที่ตรึงอยูก่ บั ทีเ่ ป็ นระยะทางคงตัว
จุดที่ตรึงอยูก่ บั ที่นเี ้ รียกว่า จุดศูนย์กลางของทรงกลม และส่วนของเส้นตรงทีม่ ีจดุ ศูนย์กลางและจุดบนทรงกลมเป็ นจุด
ปลายเรียกว่า รัศมีของทรงกลม
กาหนดทรงกลมรัศมียาว 9 หน่วย มีจดุ ศูนย์กลางอยูท่ จี่ ดุ 𝑂(0, 0, 0) จุด 𝑃1, 𝑃2 และ 𝑃3 อยูบ่ นทรงกลม
6 −6 7
โดยที่ ⃑⃑⃑⃑⃑⃑⃑ ⃑⃑⃑⃑⃑⃑⃑
𝑂𝑃1 = [−6] , 𝑂𝑃2 = [ 3 ] และ ⃑⃑⃑⃑⃑⃑⃑
𝑂𝑃3 = [ 4 ]
3 6 −4
0
24. ถ้า 𝑘1 และ 𝑘2 เป็ นจานวนจริงที่ทาให้เวกเตอร์ 𝑘1 ⃑⃑⃑⃑⃑⃑⃑
𝑂𝑃1 + 𝑘2 ⃑⃑⃑⃑⃑⃑⃑
𝑂𝑃2 = [−1]
3
แล้วผลคูณของ 𝑘1 และ 𝑘2 เท่ากับเท่าใด [PAT 1 (มี.ค. 2564/32)]
1. −1 2. − 19 3. 1
9
4. 1 5. 9

.0123456789
คลังโจทย์ 9

25. กาหนดให้ 𝜃 เป็ นมุมระหว่าง ⃑⃑⃑⃑⃑⃑⃑


𝑂𝑃1 และ ⃑⃑⃑⃑⃑⃑⃑ 𝑂𝑃3 ข้อใดถูกต้อง
𝑂𝑃2 × ⃑⃑⃑⃑⃑⃑⃑ [PAT 1 (มี.ค. 2564/33)]
1. 0° < 𝜃 < 45° 2. 45° < 𝜃 < 90° 3. 𝜃 = 90°
4. 90° < 𝜃 < 180° 5. 𝜃 = 180°

26. กำหนดให้ 𝐴⃗ และ 𝐵⃗⃗ เป็ นเวกเตอร์ในระนำบ โดยที่ 𝐴⃗ = 16𝑖̅ + 𝑎𝑗̅ และ 𝐵⃗⃗ = 8𝑖̅ + 𝑏𝑗̅ เมื่อ 𝑎 และ 𝑏 เป็ น
จำนวนจริง ถ้ำ |𝐴⃗| = |𝐵⃗⃗| และเวกเตอร์ 𝐵⃗⃗ ทำมุม 60° กับเวกเตอร์ 𝐴⃗
แล้วค่ำของ (𝑎 + 𝑏)2 เท่ำกับข้อใดต่อไปนี ้ [PAT 1 (ต.ค. 2558/16)]
1. 8 2. 16 3. 64
4. 192 5. 320

27. ให้ 𝑎, 𝑏⃗, 𝑐 เป็ นเวกเตอร์ ใน ℝ3 ซึง่ 𝑎 + 2𝑏⃗ + 𝑐 = 0 , |𝑎| = 1 , |𝑏⃗| = 2 , |𝑐| = 3
ค่าของ |𝑏⃗ × 𝑐| ตรงกับข้ อใดต่อไปนี ้ [สมาคม (พ.ย. 2559/9)]
ก. 0 ข. 1 ค. 2 ง. 3

.0123456789
10 คลังโจทย์

28. ถ้ำ 𝑎⃑ = 2𝑖⃑ − 𝑗⃑ + 𝑘⃑⃑ และ 𝑏⃑⃑ × 𝑐⃑ = 3𝑖⃑ + 2𝑗⃑ − 𝑘⃑⃑ แล้ว (𝑎⃑ × 𝑐⃑) ∙ (𝑎⃑ + 𝑏⃑⃑ + 𝑐⃑) เท่ำกับข้อใดต่อไปนี ้
[กสพท คณิต1 (ธ.ค. 2559/4)]
1. −3 2. −2 3. 2
4. 3 5. 2√21

29. ให้ 𝑢̅, 𝑣̅ และ 𝑤


̅เป็ นเวกเตอร์ที่ไม่เท่ากับเวกเตอร์ศนู ย์อยูบ่ นระนาบเดียวกัน โดยที่ 𝑢̅ − 𝑣̅ − 𝑤̅ = 0̅ ,
|𝑢̅| = √2|𝑤
̅| และ |𝑣̅ | = √3|𝑤̅| ถ้า 𝜃 เป็ นมุมระหว่าง 𝑢̅ และ 𝑣̅ แล้ว sin 𝜃 เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
[PAT 1 (มี.ค. 2560/6)]
1 √3 √3 √2 1
1. 2
2. 2
3. 3
4. √3
5. 3

30. กำหนดให้ 𝑎⃗ และ 𝑏⃗⃗ เป็ นเวกเตอร์ใน ℝ3 ซึง่ |𝑏⃗⃗| = √673 และ 𝑎⃗ ∙ 𝑏⃗⃗ = 2019
จงหำจำนวนจริง 𝜆 ทัง้ หมดซึง่ ทำให้มีเวกเตอร์ 𝑐⃗ ∈ ℝ3 ที่ทำให้ 𝑎⃗ − 𝜆𝑏⃗⃗ = 𝑐⃗ × 𝑏⃗⃗
[สมำคม (พ.ย. 2562/7)]

31. ในรูปสำมเหลีย่ ม 𝐴𝐵𝐶 มี 𝐷 เป็ นจุดกึ่งกลำงด้ำน 𝐵𝐶 และ จุด 𝐸 และ 𝐹 แบ่ง 𝐴𝐷 ออกเป็ นสำมส่วนเท่ำๆ กัน
ดังนี ้ |𝐴𝐸| = |𝐸𝐹| = |𝐹𝐷| ถ้ำ ⃗⃗⃗⃗⃗⃗ 𝐶𝐴 = 4 และ 𝐵𝐹
𝐵𝐴 ∙ ⃗⃗⃗⃗⃗⃗ 𝐶𝐹 = −1 แล้ว
⃗⃗⃗⃗⃗⃗ ∙ ⃗⃗⃗⃗⃗⃗
2 2 2
จงหำค่ำของ ⃗⃗⃗⃗⃗⃗| + |𝐵𝐶
|𝐴𝐵 ⃗⃗⃗⃗⃗⃗ | + |𝐶𝐴
⃗⃗⃗⃗⃗⃗| [สมำคม (พ.ย. 2562/21)]

.0123456789
คลังโจทย์ 11

32. กาหนดรูปสามเหลีย่ ม 𝐴𝐵𝐶 บนระนาบ 𝑋𝑌 ใน ℝ3 ให้ 𝐷 เป็ นจุดกึ่งกลางด้ าน 𝐴𝐶 และ 𝐸 เป็ นจุดบนด้ าน 𝐵𝐶
ซึง่ 𝐵𝐸 : 𝐸𝐶 = 1 : 2 ลาก 𝐴𝐸 และ 𝐵𝐷 ตัดกันที่จดุ 𝐹 ถ้ า |𝐴𝐹 𝐴𝐵| = 2 แล้ ว |𝐴𝐵
⃗⃗⃗⃗⃗ × ⃗⃗⃗⃗⃗ 𝐴𝐶 | มีคา่ ตรงกับข้ อ
⃗⃗⃗⃗⃗ × ⃗⃗⃗⃗⃗
ใดต่อไปนี ้ [สมาคม (พ.ย. 2559/7)]
ก. 2 ข. 4 ค. 6 ง. 8

33. กาหนดให้ ABC เป็ นรูปสามเหลีย่ ม โดยมี A, B และ C เป็ นจุดยอดของรูปสามเหลีย่ ม ให้ 𝑎̅ = AB ⃗⃗⃗⃗⃗ , 𝑏̅ = BC
⃗⃗⃗⃗⃗
และ 𝑐̅ = CA⃗⃗⃗⃗⃗ ถ้า 𝑎̅ ∙ 𝑏̅ = −15 , 𝑏̅ ∙ 𝑐̅ = −21 และ 𝑐̅ ∙ 𝑎̅ = −10 แล้ว พืน้ ที่ของรู ปสามเหลีย่ ม ABC
เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้ [PAT 1 (มี.ค. 2560/13)]
15√2
1. 7√2 ตารางหน่วย 2. 8√2 ตารางหน่วย 3. 2
ตารางหน่วย
15√3
4. 5√3 ตารางหน่วย 5. 2
ตารางหน่วย

34. กำหนดให้ 𝑎̅, 𝑏̅ และ 𝑐̅ เป็ นเวกเตอร์ ในสำมมิติ โดยที่ 𝑎̅ + 𝑏̅ = 𝑡𝑐̅ โดยที่ 𝑡 เป็ นจำนวนจริ งบวก
ถ้ ำ 𝑎̅ = 𝑖̅ + 𝑗̅ + 𝑘̅ , |𝑏̅| = |𝑎̅|2 , |𝑐̅| = √2 และ 𝑎̅ ∙ 𝑏̅ + 𝑏̅ ∙ 𝑐̅ + 𝑐̅ ∙ 𝑎̅ = 9
แล้ วค่ำของ 𝑡 เท่ำกับเท่ำใด [PAT 1 (มี.ค. 2559/44)]
12 คลังโจทย์

35. กาหนดให้ 𝐴𝐵𝐶𝐷𝐸 เป็ นรูปห้ าเหลีย่ มด้ านเท่ามุมเท่าที่แนบในวงกลม จุดศูนย์กลางที่ 𝑂 และมีรัศมียาว 3 หน่วย
ถ้ า 𝑋 เป็ นจุดใดๆ ที่หา่ งจากจุด 𝑂 เป็ นระยะทาง 4 หน่วย แล้ ว |𝐴𝑋|2 + |𝐵𝑋|2 + |𝐶𝑋|2 + |𝐷𝑋|2 + |𝐸𝑋|2
มีคา่ เท่าใด [สมาคม (พ.ย. 2561/33)]

.0123456789
คลังโจทย์ 1

1. กำหนดให้ 𝑣̅ = 2𝑖̅ + 3𝑗̅ + 𝑘̅ ค่ำของ (𝑣̅ × 𝑖̅) ∙ (𝑗̅ + 𝑘̅) เท่ำกับข้อใดต่อไปนี ้


[กสพท คณิต1 (มี.ค. 2563/4)]
1. −3 2. −2 3. −1 4. 1 5. 2
ตอบ 2
2 1 0
(𝑣̅ × 𝑖̅) ∙ (𝑗̅ + 𝑘̅) = ( [3] × [0] ) ∙ [1]
1 0 1
(3)(0) − (1)(0) 0
= [(1)(1) − (2)(0)] ∙ [1]
(2)(0) − (3)(1) 1
0 0
= [1] ∙ [1] = (0)(0) + (1)(1) + (−3)(1) = −2
−3 1

.0123456789
2 คลังโจทย์

2. ในการทดลองการเคลี่อนที่ของหุ่นยนต์จ๋วิ ได้วางหุ่นยนต์จ๋วิ ไว้ท่ีจดุ 𝐴(4, 5)


หลังจากนัน้ สร้างรูปสี่เหลี่ยม 𝐵 ที่มีพิกดั ของจุดยอด คือ (1, 5) , (5, 6) , (5, 8) และ (3, 9)
และสร้างรูปสามเหลี่ยม 𝐶 ที่มีพิกดั ของจุดยอดคือ (4, 2) , (5, 4) และ (7, −1) ดังรูป
𝑌

10
(3,9)

8 (5,8)

𝐵
6 (5,6)
𝐴(4,5)
(1,5)
4 (5,4)

2 (4,2) 𝐶

𝑋
−2 0 2 4 6 8 10

(7,−1)
−2

พิจารณาข้อความต่อไปนี ้
−4
ก) หุ่นยนต์จ๋วิ เคลื่อนที่จากจุด 𝐴 ในทิศทางเดียวกับเวกเตอร์ 𝑢̅ = [ ] เป็ นระยะทางเท่ากับ |𝑢̅| หน่วย
−1
แล้วหยุดอยู่ภายในรูปสี่เหลี่ยม 𝐵
1
ข) หุ่นยนต์จ๋วิ เคลื่อนที่จากจุด 𝐴 ในทิศทางเดียวกับเวกเตอร์ 𝑣̅ = [
−2
] เป็ นระยะทางเท่ากับ |𝑣̅ | หน่วย
แล้วหยุดอยู่ภายในรูปสามเหลี่ยม 𝐶
ค) หุ่นยนต์จ๋วิ เคลื่อนที่จากจุด 𝐴 ในทิศทางเดียวกับเวกเตอร์ 𝑤̅ = [0] เป็ นระยะทางเท่ากับ 2|𝑤̅| หน่วย
1
แล้วหยุดอยู่ภายในรูปสี่เหลี่ยม 𝐵
จากข้อความ ก) ข) และ ค) ข้างต้น ข้อใดถูกต้อง [PAT 1 (มี.ค. 2565/19)]
1. ข้อความ ก) ถูกต้องเพียงข้อเดียวเท่านัน้ 2. ข้อความ ข) ถูกต้องเพียงข้อเดียวเท่านัน้
3. ข้อความ ก) และ ข) ถูกต้องเท่านัน้ 4. ข้อความ ก) และ ค) ถูกต้องเท่านัน้
5. ข้อความ ข) และ ค) ถูกต้องเท่านัน้
ตอบ 5
ก) เคลื่อนไปทาง 𝑢̅ เป็ นระยะ |𝑢̅| หน่วย คือเคลื่อนจากจุดเริ่มไปที่จดุ ปลายของ 𝑢̅
−4
𝑢̅ = [ ] ดังนัน้ จาก 𝐴(4, 5) จะเคลื่อนไปที่ (4 − 4, 5 − 1) = (0, 4) ซึ่งไม่อยู่ใน 𝐵 → ก) ผิด
−1
1
ข) 𝑣̅ = [ ]
−2
ดังนัน้ จาก 𝐴(4, 5) จะเคลื่อนไปที่ (4 + 1, 5 − 2) = (5, 3) ซึ่งจะอยู่ใน 𝐶 → ข) ถูก
ค) เคลื่อนไปทาง 𝑤̅ เป็ นระยะ 2|𝑤̅| หน่วย คือเคลื่อนจากจุดเริ่มไปที่จดุ ปลายของ 2𝑤̅
0 0
̅ = 2×[ ] = [ ]
2𝑤 ดังนัน้ จาก 𝐴(4, 5) จะเคลื่อนไปที่ (4 + 0, 5 + 2) = (4, 7) ซึ่งขะอยู่ใน 𝐵
1 2
→ ค) ถูก

.0123456789
คลังโจทย์ 3

3. กำหนดให้ 𝑢̅ = 2𝑖̅ − 𝑗̅ + 2𝑘̅ และ 𝑣̅ = 𝑖̅ + 2𝑗̅ − 2𝑘̅ เวกเตอร์ในข้อใดไม่ตงั้ ฉำกกับเวกเตอร์ 𝑢̅ × 𝑣̅


[PAT 1 (ก.พ. 2563/21)]
1. 3𝑖̅ + 𝑗̅ 2. 𝑖̅ − 3𝑗̅ + 4𝑘̅ 3. 4𝑖̅ + 3𝑗̅ − 2𝑘̅
4. 𝑖̅ + 𝑗̅ − 𝑘̅ 5. −5𝑗̅ + 6𝑘̅

ตอบ 4
ตัง้ ฉำกกัน จะดอทกันเป็ น 0 → จะดูวำ่ ตัวเลือกไหนที่ดอทกับ 𝑢̅ × 𝑣̅ แล้วเป็ น 0
2 1 (−1)(−2) − (2)(2) −2
𝑢̅ × 𝑣̅ = [−1] × [ 2 ] = [ (2)(1) − (2)(−2) ] = [ 6 ]
2 −2 (2)(2) − (−1)(1) 5
3 −2
1. [1] ∙ [ 6 ] = (3)(−2) + (1)(6) + (0)(5) = −6 + 6 + 0 = 0 
0 5
1 −2
2. [−3] ∙ [ 6 ] = (1)(−2) + (−3)(6) + (4)(5) = −2 − 18 + 20 = 0 
4 5
4 −2
3. [ 3 ] ∙ [ 6 ] = (4)(−2) + (3)(6) + (−2)(5) = −8 + 18 − 10 = 0 
−2 5
1 −2
4. [ 1 ] ∙ [ 6 ] = (1)(−2) + (1)(6) + (−1)(5) = −2 + 6 − 5 = −1 
−1 5
0 −2
5. [−5] ∙ [ 6 ] = (0)(−2) + (−5)(6) + (6)(5) = 0 − 30 + 30 = 0 
6 5

4. กาหนดรูปสามเหลีย่ ม 𝐴𝐵𝐶 ในระบบพิกดั ฉากสามมิติ มีจดุ ยอดที่ 𝐴(−2, −4, −4) , 𝐵(0, −2, 0)
และ 𝐶(0, 0, 2) รูปสามเหลีย่ ม 𝐴𝐵𝐶 มีพนื ้ ที่กี่ตารางหน่วย [กสพท คณิต1 (เม.ย. 2564/15)]
1. 1 2. √3 3. 2 4. 2√3 5. 4√3
ตอบ 4
𝐵
𝐷
∆𝐴𝐵𝐶 จะเป็ นครึง่ หนึง่ ของพืน้ ที่สเี่ หลีย่ มด้านขนานที่เกิดจาก ⃑⃑⃑⃑⃑
𝐴𝐵 และ ⃑⃑⃑⃑⃑
𝐴𝐶

𝑢̅
0 − (−2) 2 0 − (−2) 2
⃑⃑⃑⃑⃑
𝐴𝐵 = [−2 − (−4)] = [2] , ⃑⃑⃑⃑⃑
𝐴𝐶 = [0 − (−4)] = [4]
𝐶
𝐴 𝑣̅ 0 − (−4) 4 2 − (−4) 6
2 2 (2)(6) − (4)(4) −4
พืน้ ที่  ด้านขนานที่เกิด จะได้ 𝐴𝐵𝐷𝐶 = |[2] × [4]| = |[(4)(2) − (2)(6)]| = |[−4]|
จาก 𝑢̅ และ 𝑣̅ = |𝑢̅ × 𝑣̅ | 4 6 (2)(4) − (2)(2) 4
= √(−4) + (−4)2 + 42
2

= 4√1 + 1 + 1 = 4√3
1
ดังนัน้ ∆𝐴𝐵𝐶 = 2 × 4√3 = 2√3

.0123456789
4 คลังโจทย์

5. ถ้ำ 𝑢̅ และ 𝑣̅ เป็ นเวกเตอร์ในระบบพิกดั ฉำก 3 มิติ โดยที่ |𝑢̅| = √5 และ |𝑣̅ | = √3
แล้ว |𝑢̅ ∙ 𝑣̅ |2 + |𝑢̅ × 𝑣̅ |2 เท่ำกับข้อใดต่อไปนี ้ [กสพท คณิต1 (ธ.ค. 2558/3)]
1. √15 2. √5 + √3 3. 8
4. 5√3 + 3√5 5. 15
ตอบ 5
| 𝑢̅ ∙ 𝑣̅ |2 + |𝑢̅ × 𝑣̅ |2 𝑢̅ ∙ 𝑣̅ = |𝑢̅||𝑣̅ | cos 𝜃
2
= ||𝑢̅||𝑣̅ | cos 𝜃| + (|𝑢̅||𝑣̅ | sin 𝜃)2 |𝑢̅ × 𝑣̅ | = |𝑢̅||𝑣̅ | sin 𝜃
2 2
= |√5√3 cos 𝜃| + (√5√3 sin 𝜃)
= 15 cos 2 𝜃 + 15 sin2 𝜃
= 15(cos 2 𝜃 + sin2 𝜃) sin2 𝜃 + cos2 𝜃 = 1
= 15

6. ให้เวกเตอร์ 𝑣⃑ = 𝑎𝑖⃑ + 𝑏𝑗⃑ + 𝑐𝑘⃑⃑ เมื่อ 𝑎, 𝑏 และ 𝑐 เป็ นจำนวนจริง และให้เวกเตอร์ 𝑢⃑⃑ = 𝑖⃑ − 𝑘⃑⃑
และ 𝑤 ⃑⃑⃑ = 2𝑖⃑ + 𝑗⃑ + 2𝑘⃑⃑ ถ้ำเวกเตอร์ 𝑣⃑ มีทิศทำงเดียวกับเวกเตอร์ 𝑢
⃑⃑ × 𝑤⃑⃑⃑ และขนำดของเวกเตอร์ 𝑣⃑ เท่ำกับ
6√2 หน่วย แล้วค่ำของ 𝑎 − 𝑏 + 𝑐 เท่ำกับเท่ำใด [PAT 1 (ต.ค. 2559/32)]

ตอบ 12
1 2 (0)(2) − (−1)(1) 1 เวกเตอร์ขนำด 𝑘 หน่วย
𝑢 ⃑⃑⃑ = [ 0 ] × [1] = [(−1)(2) − (1)(2)] = [−4]
⃑⃑ × 𝑤
−1 2 (1)(1) − (0)(2) 1
ในทิศของ 𝑢⃑⃑ คือ |𝑢𝑘⃑⃑| 𝑢⃑⃑
ดังนัน้ |𝑢 ⃑⃑⃑| = √12 + (−4)2 + 12 = √18 = 3√2
⃑⃑ × 𝑤
1 1 2 𝑎
6 √2
จะได้เวกเตอร์ขนำด 6√2 หน่วย ในทิศ 𝑢⃑⃑ × 𝑤
⃑⃑⃑ คือ 3 2 [−4] = 2 [−4] = [−8] = [𝑏]

1 1 2 𝑐
ดังนัน้ 𝑎 − 𝑏 + 𝑐 = 2 − (−8) + 2 = 12

7. กำหนดให้ 𝑎⃗ และ 𝑏⃗⃗ เป็ นเวกเตอร์ หนึง่ หน่วย ถ้ ำเวกเตอร์ 𝑎⃗ + 2𝑏⃗⃗ ตังฉำกกั
้ บเวกเตอร์ 5𝑎⃗ − 4𝑏⃗⃗ แล้ ว ควำมยำว
รอบรูปมำกสุดที่เป็ นไปได้ ของรูปสำมเหลีย่ มทีม่ ี 𝑎⃗ และ 𝑏⃗⃗ เป็ นด้ ำนประกอบสองด้ ำน มีคำ่ เท่ำกับเท่ำใด
[สมำคม (พ.ย. 2560/17)]
ตอบ 2 + √3
ตังฉำกกั
้ น จะดอทกันได้ 0 → (𝑎⃗ + 2𝑏⃗⃗) ∙ (5𝑎⃗ − 4𝑏⃗⃗) = 0
𝑎⃗ ∙ 5𝑎⃗ − 𝑎⃗ ∙ 4𝑏⃗⃗ + 2𝑏⃗⃗ ∙ 5𝑎⃗ − 2𝑏⃗⃗ ∙ 4𝑏⃗⃗ = 0
5 𝑎⃗ ∙ 𝑎⃗ + 6 𝑎⃗ ∙ 𝑏⃗⃗ − 8 𝑏⃗⃗ ∙ 𝑏⃗⃗ = 0
𝑢̅ ∙ 𝑢̅ = |𝑢̅|2 2
5|𝑎⃗|2 + 6|𝑎⃗||𝑏⃗⃗| cos 𝜃 − 8 |𝑏⃗⃗| = 0
𝑎⃗ และ 𝑏⃗⃗ เป็ นเวกเตอร์ หนึ่งหน่วย
5 + 6 cos 𝜃 − 8 = 0
3 1
cos 𝜃 = 6 = 2
𝜃 = 60°
ดังนัน้ 𝑎⃗ และ 𝑏⃗⃗ ทำมุมกัน 60° → จะสร้ ำงสำมเหลีย่ มได้ 2 แบบ ดังรูป
จะเห็นว่ำ แบบที่ 2 มี 𝑐 ยำวกว่ำ จึงมีควำมยำวรอบรูปมำกกว่ำ 𝑏⃗⃗ 𝑐 𝑐
𝑏⃗⃗
ใช้ กฎของ cos กับแบบที่ 2 จะได้ 60° 120° 60°
2 𝑎⃗ 𝑎⃗
𝑐 2 = |𝑎⃗|2 + |𝑏⃗⃗| − 2|𝑎⃗||𝑏⃗⃗| cos 120° แบบที่ 1 แบบที่ 2
1
= 1 + 1 − 2 (− 2)
= 3
𝑐 = √3 → จะได้ ควำมยำวรอบรูปมำกสุดคือ 1 + 1 + √3 = 2 + √3

.0123456789
5 𝑎⃗ ∙ 𝑎⃗ + 6 𝑎⃗ ∙ 𝑏 − 8𝑏∙𝑏 = 0
𝑢̅ ∙ 𝑢̅ = |𝑢̅|2 2
5|𝑎⃗| 2
+ 6|𝑎⃗||𝑏⃗⃗| cos 𝜃 − 8 |𝑏⃗⃗| = 0
𝑎⃗ และ 𝑏⃗⃗ เป็ นเวกเตอร์ หนึ่งหน่วย
5 + 6 cos 𝜃 − 8 = 0
cos 𝜃
3
= 6 =
1
คลังโจทย์ 5
2
𝜃 = 60°
ดังนัน้ 𝑎⃗ และ 𝑏⃗⃗ ทำมุมกัน 60° → จะสร้ ำงสำมเหลีย่ มได้ 2 แบบ ดังรูป
จะเห็นว่ำ แบบที่ 2 มี 𝑐 ยำวกว่ำ จึงมีควำมยำวรอบรูปมำกกว่ำ 𝑏⃗⃗ 𝑐 𝑐
𝑏⃗⃗
ใช้ กฎของ cos กับแบบที่ 2 จะได้ 60° 120° 60°
2 𝑎⃗ 𝑎⃗
𝑐 2 = |𝑎⃗|2 + |𝑏⃗⃗| − 2|𝑎⃗||𝑏⃗⃗| cos 120° แบบที่ 1 แบบที่ 2
1
= 1 + 1 − 2 (− 2)
= 3
𝑐 = √3 → จะได้ ควำมยำวรอบรูปมำกสุดคือ 1 + 1 + √3 = 2 + √3

8. ให้ 𝑢⃗ = 𝑖 + 𝑗 + 𝑘⃗ เวกเตอร์ 𝑣 ในข้อใดต่อไปนีส้ อดคล้องกับสมกำร 𝑢 ⃗


⃗ ×𝑣 = 0
[กสพท คณิต1 (มี.ค. 2561/3)]
1. 𝑣 = 𝑖 + 𝑗 − 𝑘⃗ 2. 𝑣 = 𝑖 − 𝑗 + 𝑘⃗ 3. 𝑣 = −𝑖 − 𝑗 − 𝑘⃗
4. 𝑣 = −𝑖 + 𝑗 − 𝑘⃗ 5. 𝑣 = −𝑖 − 𝑗 + 𝑘⃗
ตอบ 3
𝑢
⃗ ×𝑣 จะเป็ น 0⃗ เมื่อ 𝑢⃗ กับ 𝑣 ขนำนกัน ซึง่ จะขนำนกันเมื่อ 𝑣 = 𝑘𝑢⃗ สำหรับ 𝑘 บำงค่ำ
จะเห็นว่ำข้อ 3. 𝑣 = −𝑖 − 𝑗 − 𝑘⃗ = −(𝑖 + 𝑗 + 𝑘⃗) = −𝑢⃗ → ขนำน → 𝑢⃗ × 𝑣 = ⃗
0
ส่วนข้ออื่น จะเห็นว่ำ 𝑢⃗ กับ 𝑣 ไม่เป็ นสัดส่วนกัน จึงไม่ขนำน และ 𝑢⃗ × 𝑣 ≠ ⃗0

9. ให้ 𝑎̅ และ 𝑏̅ เป็ นเวกเตอร์หนึง่ หน่วย ถ้ำ 𝑎̅ + 𝑏̅ เป็ นเวกเตอร์หนึง่ หน่วย


แล้วขนำดของเวกเตอร์ 𝑎̅ × 𝑏̅ เท่ำกับข้อใดต่อไปนี ้ [PAT 1 (ก.พ. 2562/23)]
1 √2 √3
1. 0 2. 2
3. 2
4. 2
5. 1

ตอบ 4
2
|𝑎̅ + 𝑏̅| = |𝑎̅|2 + |𝑏|2 + 2 𝑎̅ ∙ 𝑏̅
2
ให้ 𝜃 เป็ นมุมระหว่ำง 𝑎̅ กับ 𝑏̅
|𝑎̅ + 𝑏̅| = |𝑎̅|2 + |𝑏|2 + 2|𝑎̅||𝑏̅| cos 𝜃
̅ , 𝑏̅
𝑎 และ 𝑎̅ + 𝑏̅ เป็ นเวกเตอร์ 1 หน่วย
12 = 12 + 12 + 2(1)(1)cos 𝜃
1
−2 = cos 𝜃
มุมระหว่ำงเวกเตอร์ จะมีคำ่ ในช่วง 0° ถึง 180°
120° = 𝜃
√3
จำกสูตร จะได้ |𝑎̅ × 𝑏̅| = |𝑎̅||𝑏̅| sin 𝜃 = (1)(1)sin 120° = 2

.0123456789
6 คลังโจทย์

10. กำหนดให้ 𝑎⃑, 𝑏⃑⃑ และ 𝑐⃑ เป็ นเวกเตอร์ในสำมมิติ โดยที่ 𝑎⃑ + 𝑏⃑⃑ + 𝑐⃑ = 0⃑⃑ ถ้ำ 𝑎⃑ = 𝑖̅ + 2𝑗̅ และขนำดของเวกเตอร์
𝑏⃑⃑ และ 𝑐⃑ เท่ำกับ 2 และ 3 หน่วย ตำมลำดับ แล้ว 𝑎⃑ ∙ 𝑏⃑⃑ + 𝑏⃑⃑ ∙ 𝑐⃑ + 𝑐⃑ ∙ 𝑎⃑ เท่ำกับข้อใดต่อไปนี ้
[PAT 1 (ก.พ. 2563/22)]
1. −18 2. −9 3. 8 4. 9 5. 18
ตอบ 2
𝑎⃑ + 𝑏⃑⃑ + 𝑐⃑ = 0̅
2
𝑏⃑⃑ + 𝑐⃑ = −𝑎⃑ |𝑏⃑⃑ + 𝑐⃑| = |−𝑎⃑|2
ดอท 𝑎⃑ ตลอด ⃑⃑
𝑎⃑ ∙ 𝑏 + 𝑎⃑ ∙ 𝑐⃑ = −𝑎⃑ ∙ 𝑎⃑ 2
|𝑏⃑⃑| + |𝑐⃑|2 + 2𝑏⃑⃑ ∙ 𝑐⃑ = |𝑎⃑|2
𝑎⃑ ∙ 𝑏⃑⃑ + 𝑎⃑ ∙ 𝑐⃑ = −|𝑎⃑|2
22 + 32 + 2𝑏⃑⃑ ∙ 𝑐⃑ = 12 + 22
𝑎⃑ ∙ 𝑏⃑⃑ + 𝑎⃑ ∙ 𝑐⃑ = −(12 + 22 )
2𝑏⃑⃑ ∙ 𝑐⃑ = −8
𝑎⃑ ∙ 𝑏⃑⃑ + 𝑐⃑ ∙ 𝑎⃑ = −5 …(1)
𝑏⃑⃑ ∙ 𝑐⃑ = −4 …(2)
(1) + (2) จะได้ 𝑎⃑ ∙ 𝑏⃑⃑ + 𝑏⃑⃑ ∙ 𝑐⃑ + 𝑐⃑ ∙ 𝑎⃑ = −5 − 4 = −9

11. ให้เวกเตอร์ 𝑢⃑ ≠ 0⃑ , 𝑣 ≠ 0⃑ และ |𝑢⃑| ≠ |𝑣| พิจารณาข้อความต่อไปนี ้


ก) มุมระหว่าง 3𝑢⃑ และ 3𝑣 มีขนาดเป็ น 3 เท่าของมุมระหว่าง 𝑢⃑ และ 𝑣
ข) มุมระหว่าง 𝑢⃑ − 𝑣 และ 𝑣 − 𝑢⃑ มีขนาด 180°
ค) มุมระหว่าง 𝑢⃑ + 𝑣 และ 𝑢⃑ − 𝑣 มีขนาด 90°
จากข้อความ ก) ข) และ ค) ข้างต้น ข้อใดถูกต้อง [กสพท คณิต1 (เม.ย. 2564/5)]
1. ข้อความ ก) ถูกต้องเพียงข้อเดียวเท่านัน้ 2. ข้อความ ข) ถูกต้องเพียงข้อเดียวเท่านัน้
3. ข้อความ ค) ถูกต้องเพียงข้อเดียวเท่านัน้ 4. ข้อความ ก) และ ข) ถูกต้องเท่านัน้
5. ข้อความ ข) และ ค) ถูกต้องเท่านัน้
ตอบ 2
ก) 3𝑢⃑ และ 3𝑣 คือ 𝑢⃑ และ 𝑣 ที่เพิ่มขนาดเป็ น 3 เท่า แต่ทิศเหมือนเดิม
ดังนัน้ มุมระหว่าง 3𝑢⃑ และ 3𝑣 จะมีขนาดเท่าเดิม → ก) ผิด
ข) เนื่องจาก 𝑢⃑ − 𝑣 = −(𝑣 − 𝑢⃑) ดังนัน้ 𝑢⃑ − 𝑣 และ 𝑣 − 𝑢⃑ เป็ นเวกเตอร์ทมี่ ีทิศตรงข้ามกัน
180°
จึงทามุม 180° กัน ดังรูป → ข) ถูก
ค) ตัง้ ฉากกัน จะดอทกันได้ 0 : (𝑢⃑ + 𝑣) ∙ (𝑢⃑ − 𝑣) = 𝑢⃑ ∙ 𝑢⃑ − 𝑢⃑ ∙ 𝑣 + 𝑣 ∙ 𝑢⃑ − 𝑣 ∙ 𝑣
⃑ |2
= |𝑢 − |𝑣 |2
เนื่องจาก |𝑢
⃑ | ≠ |𝑣 | จึงสรุปไม่ได้วา่ ผลดอทเป็ น 0 ดังนัน้ 𝑢
⃑ +𝑣 และ 𝑢
⃑ −𝑣 ไม่ตงั้ ฉากกัน → ค) ผิด

12. ให้ 𝑢̅ = 𝑖̅ + 2𝑗̅ − 𝑘̅ และ 𝑤̅ = 2𝑖̅ + 3𝑗̅ + 8𝑘̅


ถ้า 𝐴 แทนเซตของเวกเตอร์ 𝑣̅ ในระบบพิกดั ฉากสามมิติท่ีทาให้ 𝑢̅ × 𝑣̅ = 𝑤
̅ แล้วข้อใดถูกต้อง
[PAT 1 (มี.ค. 2565/20)]
1. 𝐴 เป็ นเซตว่าง 2. −2𝑖̅ + 𝑘̅ ∈ 𝐴 3. −3𝑖̅ − 2𝑗̅ ∈ 𝐴
4. 2𝑖̅ − 4𝑗̅ − 𝑘̅ ∈ 𝐴 5. −5𝑖̅ − 2𝑗̅ + 2𝑘̅ ∈ 𝐴
ตอบ 5
𝑥 1 𝑥 2𝑧 + 𝑦 2𝑧 + 𝑦 = 2 …(1)
ให้ 𝑣̅ = [𝑦] จะได้ 𝑢̅ × 𝑣̅ = [ 2 ] × [𝑦] = [−𝑥 − 𝑧] → เทียบกับ 𝑤̅ จะได้ −𝑥 − 𝑧 = 3 …(2)
𝑧 −1 𝑧 𝑦 − 2𝑥 𝑦 − 2𝑥 = 8 …(3)
(1) − (3) : 2𝑧 + 2𝑥 = −6
𝑧+𝑥 = −3 …(4)
จะเห็นว่าสมการ (4) คูณ −1 ตลอด จะได้เหมือนสมการ (2) เลย ดังนัน้ สมการที่ (2) จะซา้ ซ้อนกับ (1) และ (3)
.0123456789
ตอบ 5
𝑥 1 𝑥 2𝑧 + 𝑦 2𝑧 + 𝑦 = 2 …(1)
ให้ 𝑣̅ = [𝑦] จะได้ 𝑢̅ × 𝑣̅ = [ 2 ] × [𝑦] = [−𝑥 − 𝑧] → เทียบกับ 𝑤̅ จะได้ −𝑥 − 𝑧
คลังโจทย์
= 3 …(2)
7
𝑧 −1 𝑧 𝑦 − 2𝑥 𝑦 − 2𝑥 = 8 …(3)
(1) − (3) : 2𝑧 + 2𝑥 = −6
𝑧+𝑥 = −3 …(4)
จะเห็นว่าสมการ (4) คูณ −1 ตลอด จะได้เหมือนสมการ (2) เลย ดังนัน้ สมการที่ (2) จะซา้ ซ้อนกับ (1) และ (3)
นั่นคือ ถ้า (1) และ (3) จริง จะทาให้ (2) จริงโดยอัตโนมัติ → แก้แค่ (1) กับ (3) ก็พอ
จาก (3) จะได้ 𝑦 = 2𝑥 + 8
จาก (1) จะได้ 𝑧 = 2−𝑦 2
=
2−(2𝑥+8)
2
= 2
−2𝑥−6
= −𝑥 − 3
𝑥 𝑥
ดังนัน้ [𝑦] ที่อยู่ในรูป [ 2𝑥 + 8 ] จะเป็ นคาตอบได้มากมายนับไม่ถว้ น
𝑧 −𝑥 − 3
−2 −3
1. แทน 𝑥 เป็ นคาตอบได้มากมาย 2. แทน 𝑥 = −2 จะได้ [ 4] 3. แทน 𝑥 = −3 จะได้ [ 2 ]

2 −5
4. แทน 𝑥 = 2 จะได้[12] 5. แทน 𝑥 = −5 จะได้ [−2] 
2

13. ให้จดุ 𝐴(0, 3, 2) จุด 𝐵(1, −1, 0) จุด 𝐶(2, 1, 3) และจุด 𝐷(𝑥, 5, 1) อยู่ในระบบพิกดั ฉำกสำมมิติ
เมื่อ 𝑥 เป็ นจำนวนจริง ถ้ำ ⃑⃑⃑⃑⃑
𝐴𝐵 ตัง้ ฉำกกับ ⃑⃑⃑⃑⃑
𝐶𝐷 แล้วขนำดของ ⃑⃑⃑⃑⃑
𝐴𝐷 เท่ำกับเท่ำใด
[กสพท คณิต1 (มี.ค. 2565/17)]
1. √489 2. √329 3. √230 4. √201 5. √174
ตอบ 4
1−0 1 𝑥−2 𝑥−2
⃑⃑⃑⃑⃑
𝐴𝐵 = [−1 − 3] = [−4] และ ⃑⃑⃑⃑⃑
𝐶𝐷 = [5 − 1] = [ 4 ]
0−2 −2 1−3 −2
ตัง้ ฉำกกัน แสดงว่ำ⃑⃑⃑⃑⃑
𝐴𝐵 ∙ ⃑⃑⃑⃑⃑
𝐶𝐷 = 0
(1)(𝑥 −2) + (−4)(4) + (−2)(−2) = 0
𝑥−2 −16 +4 = 0
𝑥 = 14
14 − 0 14
จะได้พิกดั 𝐷(14, 5, 1) ดังนัน้ ⃑⃑⃑⃑⃑
𝐴𝐷 = [ 5 − 3 ] = [ 2 ] ซึ่งมีขนำด = √142 + 22 + (−1)2 = √201
1−2 −1

𝑎 2 0 1
14. ให้ 𝑠= [ 𝑏 ] ⃑ = 1 , 𝑣 = −3]
, 𝑢 [ ] [ และ ⃑⃑ = 4]
𝑤 [ เมื่อ 𝑎 และ 𝑏 เป็ นจำนวนจริง ถ้ำขนำดของมุมระหว่ำง
2 −2 4 3
𝑠 และ 𝑢
⃑เท่ำกับขนำดของมุมระหว่ำง 𝑠 และ 𝑣 และ 𝑠 ตัง้ ฉำกกับ 𝑤
⃑⃑ แล้ว 𝑎+𝑏 เท่ำกับเท่ำใด
[กสพท คณิต1 (มี.ค. 2565/28)]

ตอบ 6
ให้มมุ ระหว่ำง 𝑠 และ 𝑢⃑ = มุมระหว่ำง 𝑠 และ 𝑣 = 𝜃
จำกสูตรกำรดอท : 𝑠 ∙ 𝑢⃑ = |𝑠| |𝑢 ⃑ | cos 𝜃 …(1)
𝑠∙𝑣 = |𝑠| |𝑣| cos 𝜃 …(2)
𝑠∙𝑢
⃑ |𝑢
⃑|
(1) ÷ (2) : =
𝑠 ∙ 𝑣⃑ |𝑣⃑ |
𝑎(2)+𝑏(1)+2(−2) √22+12 +(−2) 2
=
𝑎(0)+𝑏(−3)+2(4) √02+(−3) 2+42
2𝑎+𝑏−4 3
−3𝑏+8
=
5
แลกจำก 𝑠 ตัง้ ฉำกกับ 𝑤
⃑⃑ จะได้
10𝑎 + 5𝑏 − 20 = −9𝑏 + 24 𝑠∙𝑤⃑⃑ = 0
10𝑎 + 14𝑏 = 44 𝑎(1) + 𝑏(4) + 2(3) = 0
5𝑎 + 7𝑏 = 22 …(3) 𝑎 + 4𝑏 = −6 …(4)
5×(4) − (3): 20𝑏 − 7𝑏 = −30 − 22
.0123456789
ตอบ 6
ให้มมุ ระหว่ำง 𝑠 และ 𝑢⃑ = มุมระหว่ำง 𝑠 และ 𝑣 = 𝜃
8 คลังโจทย์
จำกสู ตรกำรดอท : 𝑠 ∙ 𝑢⃑ = |𝑠| |𝑢 ⃑ | cos 𝜃 …(1)
𝑠∙𝑣 = |𝑠| |𝑣| cos 𝜃 …(2)
𝑠∙𝑢
⃑ |𝑢
⃑|
(1) ÷ (2) : =
𝑠 ∙ 𝑣⃑ |𝑣⃑ |
𝑎(2)+𝑏(1)+2(−2) √22+12 +(−2) 2
=
𝑎(0)+𝑏(−3)+2(4) √02+(−3) 2+42
2𝑎+𝑏−4 3
−3𝑏+8
=
5
แลกจำก 𝑠 ตัง้ ฉำกกับ 𝑤
⃑⃑ จะได้
10𝑎 + 5𝑏 − 20 = −9𝑏 + 24 𝑠∙𝑤⃑⃑ = 0
10𝑎 + 14𝑏 = 44 𝑎(1) + 𝑏(4) + 2(3) = 0
5𝑎 + 7𝑏 = 22 …(3) 𝑎 + 4𝑏 = −6 …(4)
5×(4) − (3): 20𝑏 − 7𝑏 = −30 − 22
𝑏 = −4
(4): 𝑎 + 4(−4) = −6
𝑎 = 10 จะได้ 𝑎 + 𝑏 = 10 + (−4) = 6

15. กำหนดให้ 𝑎̅ และ 𝑏̅ เป็ นเวกเตอร์ใดๆ ที่ไม่เป็ นเวกเตอร์ศนู ย์ พิจำรณำข้อควำมต่อไปนี ้


(ก) ถ้ำ 𝑎̅ ขนำนกับ 𝑏̅ แล้ว |𝑎̅ − 𝑏̅| = |𝑎̅| − |𝑏̅|
2 2
(ข) ถ้ำ |𝑎̅ + 𝑏̅| = |𝑎̅|2 + |𝑏̅| แล้ว 𝑎̅ ตัง้ ฉำกกับ 𝑏̅
(ค) ถ้ำเวกเตอร์ 𝑎̅ + 𝑏̅ ตัง้ ฉำกกับเวกเตอร์ 𝑎̅ − 𝑏̅ แล้ว |𝑎̅| = |𝑏̅|
ข้อใดต่อไปนีถ้ กู ต้อง [PAT 1 (ต.ค. 2558/27)]
1. ข้อ (ก) และ ข้อ (ข) ถูก แต่ ข้อ (ค) ผิด 2. ข้อ (ก) และ ข้อ (ค) ถูก แต่ ข้อ (ข) ผิด
3. ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ถูก แต่ ข้อ (ก) ผิด 4. ข้อ (ก) ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ถูกทัง้ สำมข้อ
5. ข้อ (ก) ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ผิดทัง้ สำมข้อ
ตอบ 3
(ก) สังเกตว่ำ |𝑎̅ − 𝑏̅| ทำงซ้ำย คือขนำดของเวกเตอร์ 𝑎̅ − 𝑏̅ จะเป็ นบวกเสมอ
แต่ |𝑎̅| − |𝑏̅| ทำงขวำ มีโอกำสเป็ นลบได้ ถ้ำ 𝑎̅ สัน้ กว่ำ 𝑏̅
ดังนัน้ ถึง 𝑎̅ จะขนำนกับ 𝑏̅ แต่ถำ้ 𝑎̅ สัน้ กว่ำ 𝑏̅ จะทำให้ |𝑎̅ − 𝑏̅| ≠ |𝑎̅| − |𝑏̅| → (ก) ผิด
2 2
(ข) จำก |𝑎̅ + 𝑏̅| = |𝑎̅|2 + |𝑏̅|
2 2 |𝑢̅ + 𝑣|2 = |𝑢̅|2 + |𝑣̅ |2 + 2𝑢̅ ∙ 𝑣̅
|𝑎̅| + |𝑏̅| + 2𝑎̅ ∙ 𝑏̅ = |𝑎̅|2 + |𝑏̅|
2

2𝑎̅ ∙ 𝑏̅ = 0
̅
𝑎̅ ∙ 𝑏 = 0
เนื่องจำก 𝑎̅ และ 𝑏̅ ไม่เป็ นเวกเตอร์ศนู ย์ ถ้ำ 𝑎̅ ∙ 𝑏̅ = 0 จะสรุปได้วำ่ 𝑎̅ ⊥ 𝑏̅ → (ข) ถูก
(ค) จำก 𝑎̅ + 𝑏̅ ⊥ 𝑎̅ − 𝑏̅ จะสรุปได้วำ่ (𝑎̅ + 𝑏̅) ∙ (𝑎̅ − 𝑏̅) = 0 เวกเตอร์ที่ตงั้ ฉำกกัน
𝑎̅ ∙ 𝑎̅ − 𝑎̅ ∙ 𝑏̅ + 𝑏̅ ∙ 𝑎̅ − 𝑏̅ ∙ 𝑏̅ = 0 จะดอทกันได้ 0
𝑢̅ ∙ 𝑢̅ = |𝑢̅|2 2
|𝑎̅|2 − |𝑏̅| = 0
2
|𝑎̅|2 = |𝑏̅|
|𝑎̅| = |𝑏̅| → (ค) ถูก

.0123456789
คลังโจทย์ 9

16. ให้ 𝑢̅, 𝑣̅ และ 𝑤


เป็ นเวกเตอร์ใดๆ ในระบบพิกดั ฉำกสำมมิติ พิจำรณำข้อควำมต่อไปนี ้
̅
ก. (𝑢̅ × 𝑣̅ ) ∙ 𝑤̅ = 𝑢̅ ∙ (𝑣̅ × 𝑤̅) ข. (𝑢̅ × 𝑣̅ ) × 𝑤̅ = 𝑢̅ × (𝑣̅ × 𝑤̅)
ค. (𝑢̅ − 𝑣̅ ) ∙ (𝑢̅ + 𝑣̅ ) = |𝑢̅|2 − |𝑣̅ |2 ง. (𝑢̅ − 𝑣̅ ) × (𝑢̅ + 𝑣̅ ) = 2(𝑢̅ × 𝑣̅ )
จำนวนข้อควำมทีถ่ กู ต้อง เท่ำกับข้อใดต่อไปนี ้ [กสพท คณิต1 (ธ.ค. 2558/15)]
1. 0 (ไม่มีขอ้ ควำมใดถูก) 2. 1 3. 2
4. 3 5. 4
ตอบ 4
ก. กำร ดอท&ครอส จะได้ผลเท่ำเดิมเสมอ ตรำบใดทีต่ ำแหน่ง 𝑢̅ , 𝑣̅ , 𝑤̅ ยังคงเรียงเป็ นวงกลมแบบเดียวกัน
𝑢̅
𝑢̅ ∙ (𝑣̅ × 𝑤
̅) = 𝑣̅ ∙ (𝑤
̅ × 𝑢̅) = 𝑤̅ ∙ (𝑢̅ × 𝑣̅ )
𝑤
̅ 𝑣̅ = (𝑢̅ × 𝑣̅ ) ∙ 𝑤
̅ = (𝑣̅ × 𝑤
̅) ∙ 𝑢̅ = (𝑤̅ × 𝑢̅) ∙ 𝑣̅ → ก. ถูก

ข. เนื่องจำก ผลครอส จะมีทิศตัง้ ฉำกกับระนำบของตัวตัง้ ดังนัน้ กำรเปลีย่ นกลุม่ อำจทำให้ผลลัพธ์มีทิศผิดไปจำกเดิมได้


หรือ จะลองแทนด้วยเวกเตอร์งำ่ ยๆดู เช่น (𝑖̅ × 𝑖̅) × 𝑗̅ = 0̅ × 𝑗̅ = 0̅
แต่ 𝑖̅ × (𝑖̅ × 𝑗̅) = 𝑖̅ × 𝑘̅ ≠ 0̅ → ข. ผิด
ค. (𝑢̅ − 𝑣̅ ) ∙ (𝑢̅ + 𝑣̅ ) = 𝑢̅ ∙ 𝑢̅ + 𝑢̅ ∙ 𝑣̅ − 𝑣̅ ∙ 𝑢̅ − 𝑣̅ ∙ 𝑣̅
= |𝑢̅|2 − |𝑣̅ |2 → ค. ถูก
ง. (𝑢̅ − 𝑣̅ ) × (𝑢̅ + 𝑣̅ ) = 𝑢̅ × 𝑢̅ + 𝑢̅ × 𝑣̅ − 𝑣̅ × 𝑢̅ − 𝑣̅ × 𝑣̅
= 0̅ + 𝑢̅ × 𝑣̅ + 𝑢̅ × 𝑣̅ − 0̅ 𝑢̅ × 𝑣̅ = −𝑣̅ × 𝑢̅
= 2(𝑢̅ × 𝑣̅ ) → ง. ถูก

17. กำหนดให้ 𝑎⃑ และ 𝑏⃑⃑ เป็ นเวกเตอร์ โดยที่ 𝑎⃑ ∙ 𝑏⃑⃑ = 15 , |𝑎⃑| = 6 และ (2𝑎⃑ + 𝑏⃑⃑) ∙ (𝑎⃑ − 𝑏⃑⃑) = 32
ค่ำของ |𝑎⃑ − 2𝑏⃑⃑| เท่ำกับข้อใดต่อไปนี ้ [PAT 1 (ต.ค. 2559/24)]
1. 4 2. √76 3. 9
4. √106 5. √136
ตอบ 2
กำรดอท สำมำรถกระจำยในกำรบวกลบเวกเตอร์ได้ ดังนัน้
(2𝑎⃑ + 𝑏⃑⃑) ∙ (𝑎⃑ − 𝑏⃑⃑) = 32 และจำกสูตร |𝑢̅ − 𝑣̅ |2 = |𝑢̅|2 + |𝑣̅ |2 − 2𝑢̅ ∙ 𝑣̅
⃑⃑ ⃑⃑ ⃑⃑ ⃑⃑
2𝑎⃑ ∙ 𝑎⃑ − 2𝑎⃑ ∙ 𝑏 + 𝑏 ∙ 𝑎⃑ − 𝑏 ∙ 𝑏 = 32 2 2
2 𝑢̅ ∙ 𝑢̅ = |𝑢̅|2 จะได้ |𝑎⃑ − 2𝑏⃑⃑| = |𝑎⃑|2 + |2𝑏⃑⃑| − 2𝑎⃑ ∙ 2𝑏⃑⃑
2 |𝑎⃑|2 − 𝑎⃑ ∙ 𝑏⃑⃑ − |𝑏⃑⃑| = 32 2
2 = |𝑎⃑|2 + 4|𝑏⃑⃑| − 4𝑎⃑ ∙ 𝑏⃑⃑
2(62 ) − 15 − |𝑏⃑⃑| = 32
2 = 62 + 4(52 ) − 4(15)
25 = |𝑏⃑⃑| = 76
5 = |𝑏⃑⃑|
ดังนัน้ |𝑎⃑ − 2𝑏⃑⃑| = √76

.0123456789
10 คลังโจทย์

18. กำหนดให้ 𝑢⃗ และ 𝑣 เป็ นเวกเตอร์ในสำมมิติ ซึง่ มีสมบัตติ อ่ ไปนี ้


ก. 𝑢⃗ ไม่ขนำนกับ 𝑣
ข. |𝑢⃗| = |𝑣| = 1
และ ค. |𝑢⃗ + 𝑣|2 = 3|𝑢⃗ × 𝑣|2
ถ้ำ 𝜃 เป็ นมุมระหว่ำงเวกเตอร์ 𝑢⃗ และ 𝑣 แล้ว cos 𝜃 มีคำ่ เท่ำกับข้อใดต่อไปนี ้
[กสพท คณิต1 (มี.ค. 2561/15)]
1 1 √3 1 2
1. 3
2. √2
3. 2
4. 2
5. 3

ตอบ 1
จำก ค. ⃗ + 𝑣 |2
|𝑢 = ⃗ × 𝑣 |2
3|𝑢
|𝑢|2
⃗ + |𝑣 |2 + 2𝑢 ⃗ ∙𝑣 = ⃗ × 𝑣 |2
3|𝑢
⃗ |2 + |𝑣 |2 + 2|𝑢
|𝑢 ⃗ ||𝑣 | cos 𝜃 = ⃗ ||𝑣 | sin 𝜃)2
3(|𝑢
จำก ข.
1 + 1 + 2 cos 𝜃 = 3 sin2 𝜃
2 + 2 cos 𝜃 = 3(1 − cos 2 𝜃)
3 cos 2 𝜃 + 2 cos 𝜃 − 1 = 0
(3 cos 𝜃 − 1)(cos 𝜃 + 1) = 0
1
cos 𝜃 = 3 , −1
1
แต่จำก ก. จะได้ 𝜃 ≠ 0°, 180° ทำให้ cos 𝜃 = −1 ไม่ได้ → เหลือคำตอบเดียว คือ 3

19. กำหนดให้เวกเตอร์ 𝑎̅ = 𝑖̅ + 𝑗̅ − 2𝑘̅ ถ้ำ 𝑏̅ เป็ นเวกเตอร์ในสำมมิติ โดยที่ (𝑏̅ + 𝑎̅) ∙ (𝑏̅ − 𝑎̅) = 10
และเวกเตอร์ 𝑎̅ ทำมุม 60° กับเวกเตอร์ 𝑏̅ แล้วขนำดของเวกเตอร์ 𝑎̅ × 𝑏̅ อยูใ่ นช่วงในข้อใดต่อไปนี ้
[PAT 1 (ก.พ. 2561/11)]
1. (0, 2] 2. (2, 4] 3. (4, 6] 4. (6, 8] 5. (8, 10]
ตอบ 5

(𝑏̅ + 𝑎̅) ∙ (𝑏̅ − 𝑎̅) = 10


𝑏 ∙ 𝑏 − 𝑏̅ ∙ 𝑎̅ + 𝑎̅ ∙ 𝑏̅ − 𝑎̅ ∙ 𝑎̅
̅ ̅ = 10
𝑢̅ ∙ 𝑢̅ = |𝑢̅|2
𝑏̅ ∙ 𝑏̅ − 𝑎̅ ∙ 𝑎̅ = 10
2
|𝑏̅| − |𝑎̅|2 = 10
2 2 จำก 𝑎̅ = 𝑖̅ + 𝑗̅ − 2𝑘̅
|𝑏̅| − (√6) = 10
2 จะได้ |𝑎̅| = √12 + 12 + (−2)2 = √6
|𝑏̅| = 16
|𝑏̅| = 4
จำกสูตร |𝑎̅ × 𝑏̅| = |𝑎̅||𝑏̅| sin 𝜃
√3
= (√6)(4) sin 60° = (√6)(4) ( 2 ) = 6√2 ≈ 6(1.4) = 8.4 ∈ (8, 10] ในข้อ 5.

.0123456789
คลังโจทย์ 11

20. ให้ 𝑎̅, 𝑏̅ และ 𝑐̅ เป็ นเวกเตอร์ในสำมมิติ โดยที่ 𝑎̅ = 𝑖̅ + 𝑗̅ , 𝑏̅ = 3𝑖̅ − 2𝑗̅ + 3√2𝑘̅
เวกเตอร์ 𝑐̅ ทำมุม 45° และ 60° กับเวกเตอร์ 𝑎̅ และเวกเตอร์ 𝑗̅ ตำมลำดับ และ 𝑐̅ ∙ 𝑘̅ > 0
ถ้ำ 𝑢̅ เป็ นเวกเตอร์หนึง่ หน่วยที่มีทศิ ทำงเดียวกับเวกเตอร์ 𝑐̅ แล้ว 𝑢̅ ∙ 𝑏̅ เท่ำกับเท่ำใด
[PAT 1 (ก.พ. 2561/44)]

ตอบ 3.5
เนื่องจำก 𝑢̅ เป็ นเวกเตอร์หนึง่ หน่วยที่มีทิศเหมือน 𝑐̅ ดังนัน้ 𝑢̅ ทำมุม 45° และ 60° กับ 𝑎̅ และ 𝑗̅ ด้วย
𝑥
ให้ 𝑢̅ = [𝑦] เนื่องจำก 𝑢̅ เป็ นเวกเตอร์หนึง่ หน่วย ดังนัน
้ |𝑢̅| = 1
𝑧
𝑢̅ ทำมุม 60° กับ 𝑗̅ ดังนัน
้ 𝑢̅ ∙ 𝑗̅ = |𝑢̅| |𝑗̅| cos 60°
𝑥 0
1
[𝑦] ∙ [1] = (1)(1)(2)
𝑧 0
𝑦 = 0.5
1
และจำก 𝑎̅ = 𝑖̅ + 𝑗̅ = [1] ดังนัน้ |𝑎̅| = √12 + 12 + 02 = √2
0
𝑢̅ ทำมุม 45° กับ 𝑎̅ ดังนัน้ 𝑢̅ ∙ 𝑎̅ = |𝑢̅| |𝑎̅| cos 45°
𝑥 1
√2
[0.5] ∙ [1] = (1)(√2)( 2 )
𝑧 0
𝑥 + 0.5 = 1
𝑥 = 0.5
และจำก 𝑐̅ ∙ 𝑘̅ > 0 และจำก 𝑢̅ มีขนำดหนึง่ หน่วย ดังนัน้ √𝑥 2 + 𝑦 2 + 𝑧 2 = 1
|𝑐̅|𝑢̅ ∙ 𝑘̅ > 0 0.52 + 0.52 + 𝑧 2 = 1
𝑢̅ ∙ 𝑘̅ > 0 𝑧2 = 0.5
𝑥 0 𝑧 = ±√0.5
[𝑦] ∙ [0] > 0 𝑧 = √0.5
𝑧 1
𝑧 > 0
0.5 3
จะได้ 𝑢̅ ∙ 𝑏̅ = [ 0.5 ] ∙ [ −2 ] = (0.5)(3) + (0.5)(−2) + (√0.5)(3√2)
√0.5 3√2
= 1.5 − 1 +3 = 3.5

21. ให้ 𝑢⃗, 𝑣, 𝑤


⃗⃗ เป็ นเวกเตอร์ ซงึ่ |𝑢 ⃗⃗ | = 1 และ
⃗ | = 2 , |𝑣 | = 1 , |𝑤 𝑢 ⃗⃗ = ⃗0
⃗ + 2𝑣 + 3𝑤
จงหาค่าของ |𝑢⃗ × 𝑣| [สมาคม (พ.ย. 2561/21)]
2

63
ตอบ 16
𝑢
⃗ + 2𝑣 + 3𝑤 ⃗⃗ = ⃗0
𝑢
⃗ + 2𝑣 = −3𝑤 ⃗⃗
⃗ + 2𝑣 |2
|𝑢 = |−3𝑤 ⃗⃗ |2 ⃗ × 𝑣 |2 =
|𝑢 ⃗ ||𝑣 | sin 𝜃)2
(|𝑢
⃗ |2 + |2𝑣 |2 + 2(𝑢
|𝑢 ⃗ ∙ 2𝑣) = |3𝑤 ⃗⃗ |2 = 2 1 sin2 𝜃
2 2
⃗ |2 + |2𝑣 |2 + 4|𝑢
|𝑢 ⃗ ||𝑣 |cos 𝜃 = |3𝑤 ⃗⃗ |2 = 4 (1 − cos2 𝜃)
22 + (2 ∙ 1)2 + 4(2)(1) cos 𝜃 = (3 ∙ 1)2 1 63 63
9−4−4 1 = 4 (1 − 82 ) = 4 (64) = 16
cos 𝜃 = 8
= 8

.0123456789
12 คลังโจทย์

22. กำหนดให้ A, B และ C เป็ นจุดในระบบพิกดั ฉำกสำมมิติ และพืน้ ที่ของรูปสำมเหลีย่ ม ABC เท่ำกับ 1 ตำรำงหน่วย
พิจำรณำข้อควำมต่อไปนี ้
ก. ⃗⃗⃗⃗⃗
𝐴𝐵 × ⃗⃗⃗⃗⃗ 𝐴𝐶 ตัง้ ฉำกกับ ⃗⃗⃗⃗⃗
𝐴𝐵 + ⃗⃗⃗⃗⃗
𝐴𝐶
ข. |𝐴𝐵 ⃗⃗⃗⃗⃗ × ⃗⃗⃗⃗⃗
𝐴𝐶 | = 2
ค. |𝐴𝐵 ⃗⃗⃗⃗⃗ ||𝐴𝐶
⃗⃗⃗⃗⃗ | < 2
ง. 𝐴𝐵⃗⃗⃗⃗⃗ + 𝐵𝐶 ⃗⃗⃗⃗⃗ = 𝐴𝐶
⃗⃗⃗⃗⃗
จำนวนข้อควำมทีถ่ กู ต้องเท่ำกับข้อใดต่อไปนี ้ [กสพท คณิต1 (มี.ค. 2562/16)]
1. 0 (ไม่มีขอ้ ควำมใดถูก) 2. 1 3. 2
4. 3 5. 4
ตอบ 4
ก. จำกสมบัติของกำรครอส ⃗⃗⃗⃗⃗ 𝐴𝐵 × ⃗⃗⃗⃗⃗𝐴𝐶 จะตัง้ ฉำกกับระนำบที่ผำ่ น ⃗⃗⃗⃗⃗
𝐴𝐵 และ ⃗⃗⃗⃗⃗
𝐴𝐶
ในขณะที่ ⃗⃗⃗⃗⃗𝐴𝐵 + ⃗⃗⃗⃗⃗ 𝐴𝐶 เป็ นเวกเตอร์ที่ได้จำกกำรต่อ ⃗⃗⃗⃗⃗
𝐴𝐵 และ ⃗⃗⃗⃗⃗
𝐴𝐶 จึงจะยังอยูบ ่ นระนำบเดิมที่ผำ่ น ⃗⃗⃗⃗⃗
𝐴𝐵 และ ⃗⃗⃗⃗⃗
𝐴𝐶
ดังนัน้ ⃗⃗⃗⃗⃗
𝐴𝐵 × ⃗⃗⃗⃗⃗ 𝐴𝐶 จะตัง้ ฉำกกับ ⃗⃗⃗⃗⃗ 𝐴𝐶 → ก. ถูก
𝐴𝐵 + ⃗⃗⃗⃗⃗
1
ข. จำกสูตร พืน้ ที่ ∆ = 2 ∙ |𝐴𝐵 ⃗⃗⃗⃗⃗ × ⃗⃗⃗⃗⃗
𝐴𝐶 |
1
1 = ⃗⃗⃗⃗⃗ × ⃗⃗⃗⃗⃗
∙ |𝐴𝐵 𝐴𝐶 |
2
2 = ⃗⃗⃗⃗⃗ × 𝐴𝐶
|𝐴𝐵 ข. ถูก
⃗⃗⃗⃗⃗ | →
ค. ต่อจำก ข. 2 = |𝐴𝐵 ⃗⃗⃗⃗⃗ | sin 𝜃 เมื่อ 𝜃 เป็ นมุมระหว่ำง
⃗⃗⃗⃗⃗ | | 𝐴𝐶 ⃗⃗⃗⃗⃗ และ 𝐴𝐶
𝐴𝐵 ⃗⃗⃗⃗⃗
มุมใน ∆ จะอยูร่ ะหว่ำง 0 ถึง 180° ซึง่ จะทำให้ sin 𝜃 < 1
⃗⃗⃗⃗⃗ ||𝐴𝐶
|𝐴𝐵 ⃗⃗⃗⃗⃗ | sin 𝜃 < |𝐴𝐵
⃗⃗⃗⃗⃗ ||𝐴𝐶
⃗⃗⃗⃗⃗ |
2 ⃗⃗⃗⃗⃗ ||𝐴𝐶
< |𝐴𝐵 ค. ผิด
⃗⃗⃗⃗⃗ | →
ง. ⃗⃗⃗⃗⃗
𝐴𝐵 + ⃗⃗⃗⃗⃗
𝐵𝐶 จะต่อเวกเตอร์แบบหัวต่อหำง ที่จดุ 𝐵 และลำกจำกหัวตัวตัง้ 𝐴 ไปยังหำงตัวบวก 𝐶 ได้ ⃗⃗⃗⃗⃗
𝐴𝐶 → ง. ถูก

23. ให้ 𝑎̅, 𝑏̅ และ 𝑐̅ เป็ นเวกเตอร์บนระนำบ โดยที่ 𝑎̅ + 𝑏̅ + 𝑐̅ = 0̅ และ มุมระหว่ำงเวกเตอร์ 𝑎̅ กับ 𝑏̅ เท่ำกับ 60°
ถ้ำขนำดของเวกเตอร์ 𝑎̅ และเวกเตอร์ 𝑏̅ เท่ำกับ 2 หน่วย และ 1 หน่วย ตำมลำดับ
แล้วมุมระหว่ำงเวกเตอร์ 𝑏̅ กับเวกเตอร์ 𝑐̅ เท่ำกับข้อใดต่อไปนี ้ [PAT 1 (ก.พ. 2562/19)]
𝜋 2 3 𝜋 3
1. 2
+ arccos
√7
2. 𝜋 − arcsin √
7
3. 2
+ arcsin √
7
√3 2𝜋 √3
4. 𝜋− arccot 2 5. 3
+ arctan 2

ตอบ 2
ให้มมุ ระหว่ำง 𝑏̅ กับ 𝑐̅ คือ 𝜃 → จำกสูตรกำรดอท จะได้ 𝑏̅ ∙ 𝑐̅ = |𝑏̅||𝑐̅| cos 𝜃
𝑏̅ ∙ 𝑐̅ = (1)|𝑐̅| cos 𝜃
𝑏̅ ∙ 𝑐̅
|𝑐̅|
= cos 𝜃 …(∗)

จะหำ 𝑏̅ ∙ 𝑐̅ และ |𝑐̅| มำแทนใน (∗) เพือ่ หำ 𝜃


จำก 𝑎̅ + 𝑏̅ + 𝑐̅ = 0̅ 𝑎̅ + 𝑏̅ + 𝑐̅ = 0̅
𝑐̅ = −(𝑎̅ + 𝑏̅) 𝑎̅ = −(𝑏̅ + 𝑐̅)
2 2
|𝑐̅|2 = |𝑎̅ + 𝑏̅| |𝑎̅|2 = |𝑏̅ + 𝑐̅|
2 2
|𝑐̅|2 = |𝑎̅|2 + |𝑏̅| + 2 𝑎̅ ∙ 𝑏̅ |𝑎̅|2 = |𝑏̅| + |𝑐̅|2 + 2 𝑏̅ ∙ 𝑐̅
2 2
|𝑐̅|2 = |𝑎̅|2 + |𝑏̅| + 2|𝑎̅||𝑏̅| cos 60° 22 = 12 + √7 + 2 𝑏̅ ∙ 𝑐̅
|𝑐̅|2 = 22 + 12 + 2(2)(1)( ) = 7
1 −4 = 2 𝑏̅ ∙ 𝑐̅
2
−2 = 𝑏̅ ∙ 𝑐̅
|𝑐̅| = √7
−2 2
.0123456789 แทนใน (∗) จะได้ cos 𝜃 = → cos เป็ นลบ แสดงว่ำ 𝜃 อยูใ่ นจตุภำคที่ 2 → จะได้ 𝜃 = 𝜋 − arccos
ให้มมุ ระหว่ำง 𝑏̅ กับ 𝑐̅ คือ 𝜃 → จำกสูตรกำรดอท จะได้ 𝑏̅ ∙ 𝑐̅ = |𝑏̅||𝑐̅| cos 𝜃
𝑏̅ ∙ 𝑐̅ = (1)|𝑐̅| cos 𝜃
𝑏̅ ∙ 𝑐̅
= cos 𝜃 …(∗)
|𝑐̅| คลังโจทย์ 13
จะหำ 𝑏̅ ∙ 𝑐̅ และ |𝑐̅| มำแทนใน (∗) เพือ่ หำ 𝜃
จำก 𝑎̅ + 𝑏̅ + 𝑐̅ = 0̅ 𝑎̅ + 𝑏̅ + 𝑐̅ = 0̅
𝑐̅ = −(𝑎̅ + 𝑏̅) 𝑎̅ = −(𝑏̅ + 𝑐̅)
2 2
|𝑐̅|2 = |𝑎̅ + 𝑏̅| |𝑎̅|2 = |𝑏̅ + 𝑐̅|
2 2
|𝑐̅|2 = |𝑎̅|2 + |𝑏̅| + 2 𝑎̅ ∙ 𝑏̅ |𝑎̅|2 = |𝑏̅| + |𝑐̅|2 + 2 𝑏̅ ∙ 𝑐̅
2 2
|𝑐̅|2 = |𝑎̅|2 + |𝑏̅| + 2|𝑎̅||𝑏̅| cos 60° 22 = 12 + √7 + 2 𝑏̅ ∙ 𝑐̅
|𝑐̅|2 = 22 + 12 + 2(2)(1)( ) = 7
1 −4 = 2 𝑏̅ ∙ 𝑐̅
2
−2 = 𝑏̅ ∙ 𝑐̅
|𝑐̅| = √7
−2 2
แทนใน (∗) จะได้ cos 𝜃 =
√7
→ cos เป็ นลบ แสดงว่ำ 𝜃 อยูใ่ นจตุภำคที่ 2 → จะได้ 𝜃 = 𝜋 − arccos
√7
(มุมระหว่ำงเวคเตอร์ จะมีคำ่ ได้ตงั้ แต่ 0 ถึง 𝜋)
2 3 √3
√7 → จำกสำมเหลีย่ ม จะได้ arccos
√7
= arcsin √7 = arctan 2
√3
2
2 พิจำรณำตัวเลือก จะเห็นว่ำข้อ 2 เท่ำนัน้ ที่มีคำ่ เท่ำกับ 𝜋 − arccos
√7

สถานการณ์ตอ่ ไปนีใ้ ช้ในการตอบคาถาม 2 ข้อถัดจากนี ้


ทรงกลม คือ เซตของจุดทัง้ หมดในระบบพิกดั ฉากสามมิติที่หา่ งจากจุดๆ หนึง่ ที่ตรึงอยูก่ บั ทีเ่ ป็ นระยะทางคงตัว
จุดที่ตรึงอยูก่ บั ที่นเี ้ รียกว่า จุดศูนย์กลางของทรงกลม และส่วนของเส้นตรงทีม่ ีจดุ ศูนย์กลางและจุดบนทรงกลมเป็ นจุด
ปลายเรียกว่า รัศมีของทรงกลม
กาหนดทรงกลมรัศมียาว 9 หน่วย มีจดุ ศูนย์กลางอยูท่ จี่ ดุ 𝑂(0, 0, 0) จุด 𝑃1, 𝑃2 และ 𝑃3 อยูบ่ นทรงกลม
6 −6 7
โดยที่ ⃑⃑⃑⃑⃑⃑⃑
𝑂𝑃1 = [−6] , ⃑⃑⃑⃑⃑⃑⃑
𝑂𝑃2 = [ 3 ] และ ⃑⃑⃑⃑⃑⃑⃑
𝑂𝑃3 = [ 4 ]
3 6 −4
0
24. ถ้า 𝑘1 และ 𝑘2 เป็ นจานวนจริงที่ทาให้เวกเตอร์ 𝑘1 ⃑⃑⃑⃑⃑⃑⃑
𝑂𝑃1 + 𝑘2 ⃑⃑⃑⃑⃑⃑⃑
𝑂𝑃2 = [−1]
3
แล้วผลคูณของ 𝑘1 และ 𝑘2 เท่ากับเท่าใด [PAT 1 (มี.ค. 2564/32)]
1. −1 2. − 19 3. 1
9
4. 1 5. 9

ตอบ 3
6 −6 0
จะได้ 𝑘1 [−6] + 𝑘2 [ 3 ] = [−1]
3 6 3
6𝑘1 −6𝑘2 0 6𝑘1 − 6𝑘2 = 0 …(1)
[ −6𝑘1] + [ 3𝑘 2 ] = [−1] −6𝑘 1 + 3𝑘2 = −1 …(2)
3𝑘1 6𝑘2 3 3𝑘1 + 6𝑘2 = 3 …(3)
(1) + (2) : −3𝑘2 = −1
1
𝑘2 =
1
3
→ แทนใน (1) : 6𝑘1 − 6 (3) = 0
6𝑘1 = 2
1
𝑘1 =
3
1 1 1 1
และเมื่อแทน 𝑘1 = และ 𝑘2 = ใน (3) จะได้
3 3
3 (3) + 6 (3) = 3 จริง
ดังนัน้ จะได้ 𝑘1 × 𝑘2 = 13 × 13 = 19

.0123456789
14 คลังโจทย์

25. กาหนดให้ 𝜃 เป็ นมุมระหว่าง ⃑⃑⃑⃑⃑⃑⃑


𝑂𝑃1 และ ⃑⃑⃑⃑⃑⃑⃑ 𝑂𝑃3 ข้อใดถูกต้อง [PAT 1 (มี.ค. 2564/33)]
𝑂𝑃2 × ⃑⃑⃑⃑⃑⃑⃑
1. 0° < 𝜃 < 45° 2. 45° < 𝜃 < 90° 3. 𝜃 = 90°
4. 90° < 𝜃 < 180° 5. 𝜃 = 180°
ตอบ 4
จากสูตรการดอท จะได้ ⃑⃑⃑⃑⃑⃑⃑ ⃑⃑⃑⃑⃑⃑⃑2 × ⃑⃑⃑⃑⃑⃑⃑
𝑂𝑃1 ∙ (𝑂𝑃 𝑂𝑃3 ) = |𝑂𝑃 ⃑⃑⃑⃑⃑⃑⃑1 ||𝑂𝑃 𝑂𝑃3 | cos 𝜃 …(∗) → จะหาค่าต่างๆ มาแทน
⃑⃑⃑⃑⃑⃑⃑2 × ⃑⃑⃑⃑⃑⃑⃑
−6 7 (3)(−4) − (6)(4) −36 −4
ฝั่งซ้าย: 𝑂𝑃2 × 𝑂𝑃3 = [ 3 ] × [ 4 ] = [
⃑⃑⃑⃑⃑⃑⃑ ⃑⃑⃑⃑⃑⃑⃑ (6)(7) − (−6)(−4)] = [ 18 ] = 9 [ 2 ] …(∗∗)
6 −4 (−6)(4) − (3)(7) −45 −5
6 −4
ดังนัน้ ⃑⃑⃑⃑⃑⃑⃑
𝑂𝑃1 ∙ (𝑂𝑃 ⃑⃑⃑⃑⃑⃑⃑2 × ⃑⃑⃑⃑⃑⃑⃑
𝑂𝑃3 ) = [−6] ∙ 9 [ 2 ] = 9((6)(−4) + (−6)(2) + (3)(−5)) = −459
3 −5
ฝั่งขวา: เนื่องจาก ⃑⃑⃑⃑⃑⃑⃑
𝑂𝑃1 เป็ นรัศมีวงกลมรัศมี 9 หน่วย จะได้ |𝑂𝑃
⃑⃑⃑⃑⃑⃑⃑1 | = 9

และจาก (∗∗) จะได้ ⃑⃑⃑⃑⃑⃑⃑2 × ⃑⃑⃑⃑⃑⃑⃑


|𝑂𝑃 𝑂𝑃3 | = 9√(−4)2 + 22 + (−5)2 = 9√45 = 27√5

แทนทัง้ สองฝั่งใน (∗) : −459 = 9(27√5)cos 𝜃


−17 = 9√5 cos 𝜃
→ cos เป็ นลบ แสดงว่า 90° < 𝜃 < 180°
17
− = cos 𝜃
9√5
(มุมระหว่างเวกเตอร์ จะอยูใ่ นช่วง [0°, 180°])

26. กำหนดให้ 𝐴⃗ และ 𝐵⃗⃗ เป็ นเวกเตอร์ในระนำบ โดยที่ 𝐴⃗ = 16𝑖̅ + 𝑎𝑗̅ และ 𝐵⃗⃗ = 8𝑖̅ + 𝑏𝑗̅ เมื่อ 𝑎 และ 𝑏 เป็ น
จำนวนจริง ถ้ำ |𝐴⃗| = |𝐵⃗⃗| และเวกเตอร์ 𝐵⃗⃗ ทำมุม 60° กับเวกเตอร์ 𝐴⃗
แล้วค่ำของ (𝑎 + 𝑏)2 เท่ำกับข้อใดต่อไปนี ้ [PAT 1 (ต.ค. 2558/16)]
1. 8 2. 16 3. 64
4. 192 5. 320
ตอบ 4
จำก |𝐴⃗| = |𝐵⃗⃗| จะได้ |16𝑖̅ + 𝑎𝑗̅| = |8𝑖̅ + 𝑏𝑗̅|
√162 + 𝑎2 = √82 + 𝑏 2
256 + 𝑎2 = 64 + 𝑏 2 …(∗)

และจำกสูตร 𝐴⃗ ∙ 𝐵 ⃗⃗ = |𝐴⃗||𝐵
⃗⃗| cos 𝜃 จำก |𝐴⃗| = |𝐵⃗⃗|
(16𝑖̅ + 𝑎𝑗̅) ∙ (8𝑖̅ + 𝑏𝑗̅) = |𝐴⃗||𝐴⃗| cos 60° และ 𝐵⃗⃗ ทำมุม 60° กับ 𝐴⃗
2 1
(16)(8) + 𝑎𝑏 = |𝐴⃗| ∙ 2
2 1
128 + 𝑎𝑏 = √162 + 𝑎2 ∙ 2
256 + 2𝑎𝑏 = 256 + 𝑎2
0 = 𝑎2 − 2𝑎𝑏
0 = 𝑎(𝑎 − 2𝑏)
𝑎 = 0 หรือ 𝑎 = 2𝑏
แทนแต่ละแบบใน (∗) กรณี 𝑎 = 0 : กรณี 𝑎 = 2𝑏 :
256 + 0 2
= 64 + 𝑏 2 256 + (2𝑏)2 = 64 + 𝑏 2
192 = 𝑏2 256 + 4𝑏 2 = 64 + 𝑏 2
±√192 = 𝑏 3𝑏 2 = −192
ไม่มีคำตอบ (3𝑏2 เป็ นลบไม่ได้)
ดังนัน้ มีคำตอบเดียว คือ 𝑎=0 และ 𝑏 = ±√192
2 2
จะได้ (𝑎 + 𝑏)2 = (0 + (±√192)) = (±√192) = 192

.0123456789
แทนแต่ละแบบใน (∗) กรณี 𝑎 = 0 : กรณี 𝑎 = 2𝑏 :
256 + 0 2
= 64 + 𝑏 2 256 + (2𝑏)2 = 64 + 𝑏 2
192 = 𝑏2 256 + 4𝑏 2 = 64 + 𝑏 2
±√192 = 𝑏 3𝑏 2 =คลัง−192
โจทย์ 15
ไม่มีคำตอบ (3𝑏 เป็ นลบไม่ได้)
2

ดังนัน้ มีคำตอบเดียว คือ 𝑎=0 และ 𝑏 = ±√192


2 2
จะได้ (𝑎 + 𝑏)2 = (0 + (±√192)) = (±√192) = 192

27. ให้ 𝑎, 𝑏⃗, 𝑐 เป็ นเวกเตอร์ ใน ℝ3 ซึง่ 𝑎 + 2𝑏⃗ + 𝑐 = 0 , |𝑎| = 1 , |𝑏⃗| = 2 , |𝑐| = 3
ค่าของ |𝑏⃗ × 𝑐| ตรงกับข้ อใดต่อไปนี ้ [สมาคม (พ.ย. 2559/9)]
ก. 0 ข. 1 ค. 2 ง. 3
ตอบ ก
𝑎 + 2𝑏⃗ + 𝑐 = 0 แสดงว่า 𝑎 , 2𝑏⃗ , และ 𝑐 ต้ องต่อแล้ ววนกลับมาทีจ่ ดุ ตังต้
้ นเป็ นรูปสามเหลีย่ ม ดังรูป 𝑏⃗⃑
𝑐⃑
𝐴 𝑏⃗⃑
โจทย์ให้ |𝑎| = 1 , |𝑏⃗| = 2 , |𝑐| = 3 → จะได้ ความยาวแต่ละด้ านของ ∆ เป็ นดังรูป 2
𝑎⃑
สังเกตว่า 𝐶𝐴 ยาว = 2 + 2 = 4 เท่ากับผลรวมอีกสองด้ านทีเ่ หลือ 𝐴𝐵 + 𝐵𝐶 = 3 + 1 = 4 3 2
2 𝐶
𝐵
ดังนันเวกเตอร์
้ ทงหมด
ั้ จะต้ องเป็ นแนวเดียวกัน ดังรูป 3
1
2
จะได้ |𝑏⃗ × 𝑐| = 0 (ขนานกัน ครอสกันได้ 0̅)
1

28. ถ้ำ 𝑎⃑ = 2𝑖⃑ − 𝑗⃑ + 𝑘⃑⃑ และ 𝑏⃑⃑ × 𝑐⃑ = 3𝑖⃑ + 2𝑗⃑ − 𝑘⃑⃑ แล้ว (𝑎⃑ × 𝑐⃑) ∙ (𝑎⃑ + 𝑏⃑⃑ + 𝑐⃑) เท่ำกับข้อใดต่อไปนี ้
[กสพท คณิต1 (ธ.ค. 2559/4)]
1. −3 2. −2 3. 2
4. 3 5. 2√21
ตอบ 1
(𝑎⃑ × 𝑐⃑) ∙ (𝑎⃑ + 𝑏⃑⃑ + 𝑐⃑)
กระจำย (𝑎⃑ × 𝑐⃑) ∙ ในกำรบวกเวกเตอร์
= (𝑎⃑ × 𝑐⃑) ∙ 𝑎⃑ + (𝑎⃑ × 𝑐⃑) ∙ 𝑏⃑⃑ + (𝑎⃑ × 𝑐⃑) ∙ 𝑐⃑
หมุน × และ ∙ ค่ำไม่เปลี่ยน
= (𝑎⃑ × 𝑎⃑) ∙ 𝑐⃑ + (𝑐⃑ × 𝑏⃑⃑) ∙ 𝑎⃑ + (𝑐⃑ × 𝑐⃑) ∙ 𝑎⃑
𝑢⃑⃑ × 𝑢⃑⃑ = 0̅
= 0̅ ∙ 𝑐⃑ + (𝑐⃑ × 𝑏⃑⃑) ∙ 𝑎⃑ + 0̅ ∙ 𝑎⃑
0̅ ∙ 𝑢
⃑⃑ = 0
= ⃑⃑
(𝑐⃑ × 𝑏) ∙ 𝑎⃑
𝑢
⃑⃑ × 𝑣⃑ = −(𝑢
⃑⃑ × 𝑣⃑)
= −(𝑏⃑⃑ × 𝑐⃑) ∙ 𝑎⃑
= −(3𝑖⃑ + 2𝑗⃑ − 𝑘⃑⃑ ) ∙ (2𝑖⃑ − 𝑗⃑ + 𝑘⃑⃑ )
= −((3)(2) + (2)(−1) + (−1)(1)) = −3

.0123456789
16 คลังโจทย์

29. ให้ 𝑢̅, 𝑣̅ และ 𝑤


̅ เป็ นเวกเตอร์ที่ไม่เท่ากับเวกเตอร์ศนู ย์อยูบ่ นระนาบเดียวกัน โดยที่ 𝑢̅ − 𝑣̅ − 𝑤̅ = 0̅ ,
|𝑢̅| = √2|𝑤
̅| และ |𝑣̅ | = √3|𝑤̅| ถ้า 𝜃 เป็ นมุมระหว่าง 𝑢̅ และ 𝑣̅ แล้ว sin 𝜃 เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
[PAT 1 (มี.ค. 2560/6)]
1 √3 √3 √2 1
1. 2
2. 2
3. 3
4. √3
5. 3

ตอบ 3
𝑢̅ − 𝑣̅ − 𝑤̅ = 0̅
𝑢̅ − 𝑣̅ = 𝑤̅
|𝑢̅ − 𝑣̅ |2 ̅|2
= |𝑤
|𝑢̅|2 + |𝑣̅ |2 − 2 𝑢̅ ∙ 𝑣̅ ̅|2
= |𝑤
|𝑢̅|2 + |𝑣̅ |2 − 2 |𝑢̅| |𝑣̅ | cos 𝜃 ̅|2
= |𝑤
2 2
̅|) + (√3|𝑤
(√2|𝑤 ̅|) − 2(√2|𝑤|)(√3|𝑤 ̅|2
̅|) cos 𝜃 = |𝑤
หารตลอดด้วย |𝑤
̅|2
2 + 3 − 2√6 cos 𝜃 = 1
4 = 2√6 cos 𝜃
2
= cos 𝜃
√6

ถัดไป หา sin 𝜃 จากสูตร sin2 𝜃 + cos2 𝜃 = 1


2 2
sin2 𝜃 + ( 6) = 1

4 2 1
sin2 𝜃 = 1−6 = 6
= 3
1
sin 𝜃 = ± 3

1 1 √3 √3
แต่มมุ ระหว่างเวกเตอร์ อยูใ่ นช่วง 0° ถึง 180° ซึง่ มีคา่ sin เป็ นบวก → จะได้ sin 𝜃 =
√3
=
√3
× 3

= 3

30. กำหนดให้ 𝑎⃗ และ 𝑏⃗⃗ เป็ นเวกเตอร์ใน ℝ3 ซึง่ |𝑏⃗⃗| = √673 และ 𝑎⃗ ∙ 𝑏⃗⃗ = 2019
จงหำจำนวนจริง 𝜆 ทัง้ หมดซึง่ ทำให้มีเวกเตอร์ 𝑐⃗ ∈ ℝ3 ที่ทำให้ 𝑎⃗ − 𝜆𝑏⃗⃗ = 𝑐⃗ × 𝑏⃗⃗
[สมำคม (พ.ย. 2562/7)]

ตอบ 3
𝑎⃗ − 𝜆𝑏⃗⃗ = 𝑐⃗ × 𝑏⃗⃗ ดอท 𝑏⃗⃗ ทัง้ สองฝั่ง
(𝑎⃗ − 𝜆𝑏⃗⃗) ∙ 𝑏⃗⃗ = (𝑐⃗ × 𝑏⃗⃗) ∙ 𝑏⃗⃗
𝑐⃗ × 𝑏⃗⃗ ตัง้ ฉำกกับ 𝑏⃗⃗ เสมอ → จะดอทกันได้ 0
𝑎⃗ ∙ 𝑏⃗⃗ − 𝜆 𝑏⃗⃗ ∙ 𝑏⃗⃗ = 0
2
𝑎⃗ ∙ 𝑏⃗⃗ = 𝜆 |𝑏⃗⃗|
2
2019 = 𝜆√673
3 = 𝜆

31. ในรูปสำมเหลีย่ ม 𝐴𝐵𝐶 มี 𝐷 เป็ นจุดกึ่งกลำงด้ำน 𝐵𝐶 และ จุด 𝐸 และ 𝐹 แบ่ง 𝐴𝐷 ออกเป็ นสำมส่วนเท่ำๆ กัน
ดังนี ้ |𝐴𝐸| = |𝐸𝐹| = |𝐹𝐷| ถ้ำ ⃗⃗⃗⃗⃗⃗ 𝐶𝐴 = 4 และ ⃗⃗⃗⃗⃗⃗
𝐵𝐴 ∙ ⃗⃗⃗⃗⃗⃗ 𝐶𝐹 = −1 แล้ว
𝐵𝐹 ∙ ⃗⃗⃗⃗⃗⃗
2 2 2
จงหำค่ำของ ⃗⃗⃗⃗⃗⃗| + |𝐵𝐶
|𝐴𝐵 ⃗⃗⃗⃗⃗⃗ | + |𝐶𝐴
⃗⃗⃗⃗⃗⃗| [สมำคม (พ.ย. 2562/21)]

ตอบ 21
𝐴 ให้ 𝐵𝐷 = ⃗⃗⃗⃗⃗⃗
⃗⃗⃗⃗⃗⃗⃗ 𝐷𝐶 = 𝑢̅ และให้ ⃗⃗⃗⃗⃗⃗ 𝐹𝐸 = ⃗⃗⃗⃗⃗⃗
𝐷𝐹 = ⃗⃗⃗⃗⃗⃗ 𝐸𝐴 = 𝑣̅
𝑣̅ ⃗⃗⃗⃗⃗⃗ ∙ 𝐶𝐴
𝐵𝐴 ⃗⃗⃗⃗⃗⃗ = 4 ⃗⃗⃗⃗⃗⃗ ∙ 𝐶𝐹
𝐵𝐹 ⃗⃗⃗⃗⃗⃗ = −1
𝐸 ⃗⃗⃗⃗⃗⃗) ∙ (𝐶𝐷
⃗⃗⃗⃗⃗⃗⃗ + 𝐷𝐴 ⃗⃗⃗⃗⃗⃗ + 𝐷𝐴
⃗⃗⃗⃗⃗⃗) ⃗⃗⃗⃗⃗⃗⃗ + 𝐷𝐹 ⃗⃗⃗⃗⃗⃗ + 𝐷𝐹
⃗⃗⃗⃗⃗⃗ ) ∙ (𝐶𝐷 ⃗⃗⃗⃗⃗⃗ )
𝑣̅ (𝐵𝐷 = 4 (𝐵𝐷 = −1
𝐹 ( 𝑢̅ + 3𝑣̅ ) ∙ (−𝑢̅ + 3𝑣̅ ) = 4 ( 𝑢̅ + 𝑣̅ ) ∙ (−𝑢̅ + 𝑣̅ ) = −1
𝑣̅ −|𝑢̅|2 + 9|𝑣̅ |2 = 4 −|𝑢̅|2 + |𝑣̅ |2 = −1
𝐵 𝑢̅ 𝑢̅ 𝐶
𝐷 …(1) …(2)
5
(1) − (2) : 8|𝑣̅ |2 = 5 (2) : −|𝑢̅|2 + 8 = −1
5
|𝑣̅ |2 = 13
= |𝑢̅|2
8
.0123456789 8
𝑣̅ ⃗⃗⃗⃗⃗⃗ ∙ 𝐶𝐴
𝐵𝐴 ⃗⃗⃗⃗⃗⃗ = 4 𝐵𝐹 ⃗⃗⃗⃗⃗⃗
⃗⃗⃗⃗⃗⃗ ∙ 𝐶𝐹 = −1
𝐸 ⃗⃗⃗⃗⃗⃗⃗ ⃗⃗⃗⃗⃗⃗ ⃗⃗⃗⃗⃗⃗ + ⃗⃗⃗⃗⃗⃗ ⃗⃗⃗⃗⃗⃗⃗ ⃗⃗⃗⃗⃗⃗ ⃗⃗⃗⃗⃗⃗ ⃗⃗⃗⃗⃗⃗
𝑣̅ (𝐵𝐷 + 𝐷𝐴) ∙ (𝐶𝐷 𝐷𝐴) = 4 (𝐵𝐷 + 𝐷𝐹 ) ∙ (𝐶𝐷 + 𝐷𝐹 ) = −1
𝐹 ( 𝑢̅ + 3𝑣̅ ) ∙ (−𝑢̅ + 3𝑣̅ ) = 4 ( 𝑢̅ + 𝑣̅ ) ∙ (−𝑢̅ + 𝑣̅ ) = −1
𝑣̅ −|𝑢̅|2 + 9|𝑣̅ |2 = 4 −|𝑢̅|2 + |𝑣̅ |2 คลังโจทย์= −1 17
𝐵 𝑢̅ 𝑢̅ 𝐶
𝐷 …(1) …(2)
5
(1) − (2) : 8|𝑣̅ |2 = 5 (2) : −|𝑢̅|2 + 8 = −1
5
|𝑣̅ |2 = 13
= |𝑢̅|2
8 8
2 2 2 2 2 2
จะได้ ⃗⃗⃗⃗⃗⃗ | + |𝐵𝐶
|𝐴𝐵 ⃗⃗⃗⃗⃗⃗ | + |𝐶𝐴
⃗⃗⃗⃗⃗⃗| = |𝐴𝐷
⃗⃗⃗⃗⃗⃗ + 𝐷𝐵 ⃗⃗⃗⃗⃗⃗ | + |𝐶𝐷
⃗⃗⃗⃗⃗⃗⃗| + |𝐵𝐶 ⃗⃗⃗⃗⃗⃗ + 𝐷𝐴
⃗⃗⃗⃗⃗⃗|
= |−3𝑣̅ − 𝑢̅| + |2𝑢̅| + |−𝑢̅ + 3𝑣̅ |2
2 2

= 9|𝑣̅ |2 + 6𝑣̅ ∙ 𝑢̅ + |𝑢̅|2 + 4|𝑢̅|2 + |𝑢̅|2 − 6𝑢̅ ∙ 𝑣̅ + 9|𝑣̅ |2


= 18|𝑣̅ |2 + 6|𝑢̅|2
5 13 45+39
= 18 ∙ + 6∙ = = 21
8 8 4

32. กาหนดรูปสามเหลีย่ ม 𝐴𝐵𝐶 บนระนาบ 𝑋𝑌 ใน ℝ3 ให้ 𝐷 เป็ นจุดกึ่งกลางด้ าน 𝐴𝐶 และ 𝐸 เป็ นจุดบนด้ าน 𝐵𝐶
ซึง่ 𝐵𝐸 : 𝐸𝐶 = 1 : 2 ลาก 𝐴𝐸 และ 𝐵𝐷 ตัดกันที่จดุ 𝐹 ถ้ า |𝐴𝐹 𝐴𝐵| = 2 แล้ ว |𝐴𝐵
⃗⃗⃗⃗⃗ × ⃗⃗⃗⃗⃗ 𝐴𝐶 | มีคา่ ตรงกับข้ อ
⃗⃗⃗⃗⃗ × ⃗⃗⃗⃗⃗
ใดต่อไปนี ้ [สมาคม (พ.ย. 2559/7)]
ก. 2 ข. 4 ค. 6 ง. 8
ตอบ ง

ข้ อนี ้ จะใช้ ทฤษฎีสดั ส่วนพื ้นที่ ∆ มาช่วย → 𝐴 𝐵 พื ้นที่ 𝐴 : 𝐵 = 𝑥:𝑦


𝐴 𝐵
𝑥 𝑦 𝑥 𝑦
𝐵 จาก |𝐴𝐹 ⃗⃗⃗⃗⃗ × 𝐴𝐵⃗⃗⃗⃗⃗ | = 2 แสดงว่า  ด้ านขนานที่เกิดจาก 𝐴𝐹
⃗⃗⃗⃗⃗ และ 𝐴𝐵
⃗⃗⃗⃗⃗ มี พื ้นที่ = 2
1
𝐸 ดังนัน้ พื ้นที่ ∆𝐴𝐹𝐵 = 12 ของ  ด้ านขนาน = 12 × 2 = 1
𝐹
2 จาก ทฤษฎีสดั ส่วนพื ้นที่ ∆ จะได้ ∆𝐴𝐹𝐵∆𝐴𝐹𝐶
𝐸𝐵
= 𝐸𝐶 = 2
1

1 1
= → ∆𝐴𝐹𝐶 = 2
𝐴 𝐷 𝐶 ∆𝐴𝐹𝐶 2
∆𝐴𝐹𝐷 + ∆𝐶𝐹𝐷 = 2
แต่จาก 𝐴𝐷 = 𝐷𝐶 จะได้ พื ้นที่ ∆𝐴𝐹𝐷 = ∆𝐶𝐹𝐷 ดังนัน้ ∆𝐴𝐹𝐷 = ∆𝐶𝐹𝐷 = 1 ดังรูป 𝐵
และจาก 𝐴𝐷 = 𝐷𝐶 จะได้ ∆𝐶𝐵𝐷 = ∆𝐴𝐵𝐷 = 1 + 1 = 2
ดังนัน้ พื ้นที่ ∆𝐴𝐵𝐶 = ∆𝐴𝐵𝐷 + ∆𝐶𝐵𝐷 = 2 + 2 = 4 1
ดังนัน้ |𝐴𝐵 ⃗⃗⃗⃗⃗ | = พื ้นที่  ด้ านขนานทีเ่ กิดจาก 𝐴𝐵
⃗⃗⃗⃗⃗ × 𝐴𝐶 ⃗⃗⃗⃗⃗ และ 𝐴𝐶
⃗⃗⃗⃗⃗
1 1
= 2 เท่าของ พื ้นที่ ∆𝐴𝐵𝐶 = 2(4) = 8 𝐴 𝐷 𝐶

.0123456789
18 คลังโจทย์

33. กาหนดให้ ABC เป็ นรูปสามเหลีย่ ม โดยมี A, B และ C เป็ นจุดยอดของรูปสามเหลีย่ ม ให้ 𝑎̅ = AB
⃗⃗⃗⃗⃗ , 𝑏̅ = BC
⃗⃗⃗⃗⃗
และ 𝑐̅ = ⃗⃗⃗⃗⃗
CA ถ้า 𝑎̅ ∙ 𝑏̅ = −15 , 𝑏̅ ∙ 𝑐̅ = −21 และ 𝑐̅ ∙ 𝑎̅ = −10 แล้ว พืน้ ที่ของรู ปสามเหลีย่ ม ABC
เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้ [PAT 1 (มี.ค. 2560/13)]
15√2
1. 7√2 ตารางหน่วย 2. 8√2 ตารางหน่วย 3. 2
ตารางหน่วย
15√3
4. 5√3 ตารางหน่วย 5. 2
ตารางหน่วย
ตอบ 5
⃗⃗⃗⃗⃗ , BC
AB ⃗⃗⃗⃗⃗ , CA
⃗⃗⃗⃗⃗ วนกลับมาที่ A ดังนัน้ ⃗⃗⃗⃗⃗ + BC
AB ⃗⃗⃗⃗⃗ + CA
⃗⃗⃗⃗⃗ = 0̅
̅
𝑎̅ + 𝑏 + 𝑐̅ = 0̅
เอา 𝑎̅ ดอทตลอด เอา 𝑏̅ ดอทตลอด
𝑎̅ ∙ 𝑎̅ + 𝑎̅ ∙ 𝑏̅ + 𝑎̅ ∙ 𝑐̅ = 𝑎̅ ∙ 0̅ 𝑏̅ ∙ 𝑎̅ + 𝑏̅ ∙ 𝑏̅ + 𝑏̅ ∙ 𝑐̅ = 𝑏̅ ∙ 0̅
𝑎̅ ∙ 𝑎̅ + 𝑎̅ ∙ 𝑏̅ + 𝑐̅ ∙ 𝑎̅ = 𝑎̅ ∙ 0̅ 𝑎̅ ∙ 𝑏̅ + 𝑏̅ ∙ 𝑏̅ + 𝑏̅ ∙ 𝑐̅ = 𝑏̅ ∙ 0̅
|𝑎̅|2 + (−15) + (−10) = 0 2
(−15) + |𝑏̅| + (−21) = 0
|𝑎̅|2 = 25 2
|𝑎̅| = 5 |𝑏̅| = 36
|𝑏̅| = 6

เอา |𝑎̅| และ |𝑏̅| ที่ได้ ไปแทนในสูตร 𝑎̅ ∙ 𝑏̅ = |𝑎̅| |𝑏̅| cos 𝜃


−15 = (5)(6) cos 𝜃
1
−2 = cos 𝜃
120° = 𝜃

แต่ 120° จะเป็ นมุมแบบหัวชนหัว ในขณะที่ ∆ABC เป็ นแบบหัวชนหาง → จะได้มมุ ใน ∆ คือ 60° ดังรูป
C ℎ
sin 60° = |𝑏̅|
𝑏̅ 𝑐̅ ℎ 𝑏̅ √3
=

2 6
120° 60° 120° 3√3 = ℎ
𝑎̅ A 𝑎̅ B 𝑎̅

จะได้ พืน้ ที่ ∆ABC = 12 × |𝑎̅| × ℎ =


1
2
× 5 × 3√3 =
15√3
2
ตร.หน่วย

34. กำหนดให้ 𝑎̅, 𝑏̅ และ 𝑐̅ เป็ นเวกเตอร์ ในสำมมิติ โดยที่ 𝑎̅ + 𝑏̅ = 𝑡𝑐̅ โดยที่ 𝑡 เป็ นจำนวนจริ งบวก
ถ้ ำ 𝑎̅ = 𝑖̅ + 𝑗̅ + 𝑘̅ , |𝑏̅| = |𝑎̅|2 , |𝑐̅| = √2 และ 𝑎̅ ∙ 𝑏̅ + 𝑏̅ ∙ 𝑐̅ + 𝑐̅ ∙ 𝑎̅ = 9
แล้ วค่ำของ 𝑡 เท่ำกับเท่ำใด [PAT 1 (มี.ค. 2559/44)]
ตอบ 3
จำก 𝑎̅ = 𝑖̅ + 𝑗̅ + 𝑘̅ จะได้ |𝑎̅| = √12 + 12 + 12 = √3
2
จำก |𝑏̅| = |𝑎̅|2 จะได้ |𝑏̅| = √3 = 3 → ดังนัน้ |𝑎̅| = √3 , |𝑏̅| = 3 , |𝑐̅| = √2
2
จำก 𝑎̅ + 𝑏̅ = 𝑡𝑐̅ จะได้ |𝑎̅ + 𝑏̅| = |𝑡𝑐̅|2
2
|𝑎̅|2 + |𝑏̅| + 2𝑎̅ ∙ 𝑏̅ = 𝑡 2 |𝑐̅|2
2 2
√3 + 32 + 2𝑎̅ ∙ 𝑏̅ = 𝑡 2 √2
12 + 2𝑎̅ ∙ 𝑏̅ = 2𝑡 2
6 + 𝑎̅ ∙ 𝑏̅ = 𝑡2
𝑎̅ ∙ 𝑏̅ = 𝑡2 − 6 …(1)
พยำยำมสร้ ำงอีกสมกำรให้ มี 𝑎̅ ∙ 𝑏̅ → จำก 𝑎̅ ∙ 𝑏̅ + 𝑏̅ ∙ 𝑐̅ + 𝑐̅ ∙ 𝑎̅ = 9
สลับที่กำร dot , สลับที่กำรบวก
𝑎̅ ∙ 𝑏̅ + 𝑎̅ ∙ 𝑐̅ + 𝑏̅ ∙ 𝑐̅ = 9
𝑎̅ ∙ 𝑏̅ + (𝑎̅ + 𝑏̅) ∙ 𝑐̅ = 9
โจทย์ให้ 𝑎̅ + 𝑏̅ = 𝑡𝑐̅
𝑎̅ ∙ 𝑏̅ + ( 𝑡𝑐̅ ) ∙ 𝑐̅ = 9
𝑎̅ ∙ 𝑏̅ + 𝑡(𝑐̅ ∙ 𝑐̅) = 9
𝑢̅ ∙ 𝑢̅ = |𝑢̅|2 𝑎̅ ∙ 𝑏̅ + 𝑡 |𝑐̅|2 = 9
.0123456789 2
|𝑎̅|2 + |𝑏̅| + 2𝑎̅ ∙ 𝑏̅ = 𝑡 2 |𝑐̅|2
2 2
√3 + 32 + 2𝑎̅ ∙ 𝑏̅ = 𝑡 2 √2
12 + 2𝑎̅ ∙ 𝑏̅ = 2𝑡 2
6 + 𝑎̅ ∙ 𝑏̅ = 𝑡2 คลังโจทย์ 19
𝑎̅ ∙ 𝑏̅ = 𝑡2 − 6 …(1)
พยำยำมสร้ ำงอีกสมกำรให้ มี 𝑎̅ ∙ 𝑏̅ → จำก 𝑎̅ ∙ 𝑏̅ + 𝑏̅ ∙ 𝑐̅ + 𝑐̅ ∙ 𝑎̅ = 9
สลับที่กำร dot , สลับที่กำรบวก
𝑎̅ ∙ 𝑏̅ + 𝑎̅ ∙ 𝑐̅ + 𝑏̅ ∙ 𝑐̅ = 9
𝑎̅ ∙ 𝑏̅ + (𝑎̅ + 𝑏̅) ∙ 𝑐̅ = 9
โจทย์ให้ 𝑎̅ + 𝑏̅ = 𝑡𝑐̅
𝑎̅ ∙ 𝑏̅ + ( 𝑡𝑐̅ ) ∙ 𝑐̅ = 9
𝑎̅ ∙ 𝑏̅ + 𝑡(𝑐̅ ∙ 𝑐̅) = 9
𝑢̅ ∙ 𝑢̅ = |𝑢̅|2 𝑎̅ ∙ 𝑏̅ + 𝑡 |𝑐̅|2 = 9
2
𝑎̅ ∙ 𝑏̅ + 𝑡 √2 = 9
𝑎̅ ∙ 𝑏̅ = 9 − 2𝑡 …(2)

(1) = (2) : 𝑡2 − 6 = 9 − 2𝑡
2
𝑡 + 2𝑡 − 15 = 0
(𝑡 + 5)(𝑡 − 3) = 0
𝑡 = −5 , 3 (โจทย์ให้ 𝑡 เป็ นบวก)

35. กาหนดให้ 𝐴𝐵𝐶𝐷𝐸 เป็ นรูปห้ าเหลีย่ มด้ านเท่ามุมเท่าที่แนบในวงกลม จุดศูนย์กลางที่ 𝑂 และมีรัศมียาว 3 หน่วย
ถ้ า 𝑋 เป็ นจุดใดๆ ที่หา่ งจากจุด 𝑂 เป็ นระยะทาง 4 หน่วย แล้ ว |𝐴𝑋|2 + |𝐵𝑋|2 + |𝐶𝑋|2 + |𝐷𝑋|2 + |𝐸𝑋|2
มีคา่ เท่าใด [สมาคม (พ.ย. 2561/33)]
ตอบ 125
2 2 2 2
𝐷 ⃗⃗⃗⃗⃗ | = |𝐴𝑂
|𝐴𝑋|2 = |𝐴𝑋 ⃗⃗⃗⃗⃗ + ⃗⃗⃗⃗⃗
𝑂𝑋| = |𝐴𝑂 ⃗⃗⃗⃗⃗ | + |𝑂𝑋 ⃗⃗⃗⃗⃗ | + 2𝐴𝑂 ⃗⃗⃗⃗⃗ ∙ ⃗⃗⃗⃗⃗
𝑂𝑋
= 3 + 4 2 2
+ 2𝐴𝑂 ∙ ⃗⃗⃗⃗⃗
⃗⃗⃗⃗⃗ 𝑂𝑋
𝐸 𝐶 = 25 ⃗⃗⃗⃗⃗ ∙ 𝑂𝑋
+ 2𝐴𝑂 ⃗⃗⃗⃗⃗ ...(1)
2 2
𝑂 ทานองเดียวกัน |𝐵𝑋| = |𝐵𝑂
2 ⃗⃗⃗⃗⃗ | + |𝑂𝑋
⃗⃗⃗⃗⃗ | + 2𝐵𝑂 ⃗⃗⃗⃗⃗ ∙ 𝑂𝑋 ⃗⃗⃗⃗⃗
𝑋 = 25 ⃗⃗⃗⃗⃗ ∙ 𝑂𝑋
+ 2𝐵𝑂 ⃗⃗⃗⃗⃗ …(2)
𝐴 𝐵 2 ⃗⃗⃗⃗⃗ ∙ 𝑂𝑋 ⃗⃗⃗⃗⃗ …(3)
|𝐶𝑋| = 25 + 2𝐶𝑂
2
|𝐷𝑋| = 25 + 2𝐷𝑂 ∙ ⃗⃗⃗⃗⃗
⃗⃗⃗⃗⃗⃗ 𝑂𝑋 …(4)
|𝐸𝑋|2 = 25 ⃗⃗⃗⃗⃗ ⃗⃗⃗⃗⃗
+ 2𝐸𝑂 ∙ 𝑂𝑋 …(5)
(1) + (2) + … + (5) : |𝐴𝑋|2 + |𝐵𝑋|2 + … + |𝐸𝑋|2 = 5(25) + 2(𝐴𝑂⃗⃗⃗⃗⃗ + ⃗⃗⃗⃗⃗
𝐵𝑂 + … + ⃗⃗⃗⃗⃗
𝐸𝑂) ∙ ⃗⃗⃗⃗⃗
𝑂𝑋 …(∗)
360°
𝐴𝑂 กับ 𝐵𝑂 ทามุมกัน 5 = 72° เมื่อนามาบวกกันแบบหางต่อหัว จะทามุม 180° − 72° = 108° ซึง่ เท่ากับมุม
⃗⃗⃗⃗⃗ ⃗⃗⃗⃗⃗

ภายในของรูปห้ าเหลีย่ มมุมเท่าพอดี ( 180°(5−2)


5
= 36° × 3 = 108° )
นัน่ คือ 𝐴𝑂
⃗⃗⃗⃗⃗ + 𝐵𝑂 ⃗⃗⃗⃗⃗ จะประกอบกันเป็ นห้ าเหลีย่ ม และวนกลับมาที่จด
⃗⃗⃗⃗⃗ + … + 𝐸𝑂 ุ ตังต้
้ น กลายเป็ น 0⃗
แทนใน (∗) จะได้ |𝐴𝑋|2 + |𝐵𝑋|2 + … + |𝐸𝑋|2 = 5(25) + 2 ⃗0 ∙ ⃗⃗⃗⃗⃗ 𝑂𝑋 = 125 + 0 = 125

.0123456789

You might also like