You are on page 1of 84

ฟังก์ชนั

ตรี โกณมิติ

22 Jan 2021
สารบัญ

การวัดมุมในหน่วยเรเดียน ....................................................................................................................................................... 1
ฟั งก์ชนั ตรีโกณมิติ .................................................................................................................................................................... 5
การวัดมุมในหน่วยองศา .......................................................................................................................................................... 7
การแปลงมุมเป็ นรูปอย่างง่าย .................................................................................................................................................. 9
กราฟฟั งก์ชนั ตรีโกณมิติ ........................................................................................................................................................ 14
สูตรพืน้ ฐาน ........................................................................................................................................................................... 18
สูตรผลบวกผลต่างมุม ........................................................................................................................................................... 22
สูตรมุมสองเท่า สามเท่า ครึง่ เท่า .......................................................................................................................................... 29
สูตรแปลงผลคูณกับผลบวกลบ............................................................................................................................................. 39
สมการตรีโกณมิติ .................................................................................................................................................................. 48
ฟั งก์ชนั อาร์ค .......................................................................................................................................................................... 55
การนาไปใช้กบั สามเหลีย่ ม ................................................................................................................................................... 67
ฟังก์ชนั ตรีโกณมิติ 1

การวัดมุมในหน่วยเรเดียน

เมื่อก่อน เราจะวัดมุม 𝜃 ในหน่วยองศา แต่จากนีไ้ ป เราจะมีวิธีวดั มุมแบบใหม่ เป็ นหน่วย “เรเดียน”


จะวัดมุมเป็ นเรเดียนได้ ต้องรูจ้ กั “วงกลมหนึง่ หน่วย” ก่อน
(0,1)

“วงกลมหนึง่ หน่วย” หมายถึง วงกลมที่มีรศั มี 1 หน่วย


ที่มีจดุ ศูนย์กลางอยูท่ ี่ (0, 0) ในระนาบ XY ดังรูป (−1,0) (1,0)

(0, −1)

𝜃
การวัดมุมในหน่วยเรเดียน จะนับพิกดั (1, 0) เป็ น “จุดเริม่ ต้น”
“มุมที่กาง 𝜃 เรเดียน” จะหมายถึง มุมที่เริม่ เดินจาก (1, 0) (1,0)
ในทิศ “ทวนเข็มนาฬิกา” ไปตามเส้นรอบวงกลมเป็ น “ระยะทาง” 𝜃 หน่วย

เนื่องจากวงกลมหนึง่ หน่วย มีความยาวเส้นรอบวง = 2𝜋(1) = 2𝜋 2𝜋

ดังนัน้ มุมที่กาง 2𝜋 เรเดียน จะวนครบ 1 รอบพอดี มาหยุดที่ (1, 0) (1,0)

𝜋
เนื่องจาก 1 รอบ = 2𝜋 ดังนัน้ ครึง่ รอบ = 𝜋
นั่นคือ มุมที่กาง 𝜋 เรเดียน จะเดินได้แค่ครึง่ รอบ มาหยุดที่ (−1, 0) (−1,0)

จากนีไ้ ป เรานิยมจาว่า 𝜋 = 180° และถ้าเจอมุมอื่นๆ ก็ให้แทน 𝜋 ด้วย 180°


เช่น 𝜋2 เรเดียน = 180° 2
= 90°
𝜋
3
เรเดียน = 180°
3
= 60° 𝜋 = 180°
𝜋 180° 𝜋 180°
4
เรเดียน = 4
= 45° 6
เรเดียน = 6
= 30°

หมายเหตุ : เรานิยมจาขนาดของมุม 2𝜋 , 𝜋 , , 𝜋3 , 𝜋4 , 𝜋6 ให้ขนึ ้ ใจ ชนิดที่นกึ ภาพออกโดยไม่ตอ้ งแทน


𝜋
2
𝜋 = 180°
และถ้าไม่บอกหน่วยของมุมมาให้ เราจะถือว่าเป็ นหน่วยเรเดียน

 ในกรณีที่มมุ ติดลบ ให้วดั โดยเดิน “ตาม” เข็มนาฬิกาแทน


เช่น มุม – 𝜋2 เรเดียน จะหยุดอยูท่ ี่ (0, −1) ดังรูป −
𝜋
(0, −1) 2

 ในกรณีที่มมุ ใหญ่เกิน 2𝜋 เรเดียน ก็ให้วนทับรอบสอง รอบสาม ไปเรือ่ ยๆ


เช่น มุม 3𝜋 เรเดียน จะเป็ นมุมที่เกิน 1 รอบไปอีกครึง่ รอบ ดังรูป
จะเห็นว่า มุม 𝜋 , 3𝜋 , 5𝜋 , 7𝜋 , … จะหยุดที่จดุ เดียวกัน
(−1,0)
มุม 0 , 2𝜋 , 4𝜋 , 6𝜋 , … จะหยุดที่จดุ เดียวกัน 3𝜋
คนส่วนใหญ่มกั จะท่องว่า คู่ 𝜋 = หนึง่ รอบ และ คี่ 𝜋 = ครึง่ รอบ
2 ฟั งก์ชนั ตรีโกณมิติ

สิง่ แรกที่ตอ้ งทาให้ได้ในเรือ่ งนี ้ คือ ต้องหา “จุดหยุด” ทัง้ 16 จุด ของมุมพืน้ ฐานให้ได้ ดังนี ้
𝜋
2
1 √3 (0, 1) 1 √3 𝜋
(− , ) ( , ) →
2 2 2 2 3
√2 √2 √2 √2 𝜋
(− , ) ( , ) →
2 2 2 2 4
√3 1 √3 1 𝜋
(− , ) ( , ) →
2 2 2 2 6

คี่ 𝜋 (1, 0)
คู่ 𝜋
(−1, 0)

√3 1 √3 1
(− ,− ) ( ,− )
2 2 2 2
√2 √2 (
√2
,−
√2
) (−, +) (+, +)
(− ,− ) 2 2
2 2
1 1 √3
(− , −
√3
) ( ,− ) (−, −) (+, −)
2 2
2 2 (0, −1)

จะเห็นว่าตัวเลขพิกดั (𝑥, 𝑦) จะเป็ นค่าเดียวกันกับ sin และ cos ของ มุม 30° , 45° , 60° ที่เคยเรียนในเลขพืน้ ฐาน
โดย เรานิยมใช้สญ
ั ลักษณ์ P(𝜃) แทน พิกดั ของจุดปลายมุม 𝜃
𝜋 𝜋 √2 √2
เช่น P ( 2 ) = (0, 1) P (4 ) = ( 2
, 2 )
𝜋 1 √3
P(𝜋) = (−1, 0) P (− 3 ) = ( 2 , − 2
)

ในกรณีที่ 𝜃 เป็ นมุมใหญ่ๆ การแทน 𝜋 ด้วย 180° อาจต้องคิดเลขเยอะ


ในกรณีนี ้ เรานิยมแบ่งมุมเป็ น 𝑛𝜋 ± 𝜃 แล้วเริม่ ต้นเดินจาก 𝑛𝜋 แล้วต่อด้วย ±𝜃

ตัวอย่าง จงหา P( 3𝜋 2
)
3𝜋 3×180
วิธีทา จะใช้วิธีแทน 𝜋 ด้วย 180° ก็ได้ จะได้ 2
= 2
= 270°

(−1, 0)
3𝜋 𝜋
หรือจะมองว่า 2
= 𝜋 + 2 = (−1, 0) + 90°

3𝜋 𝜋 (1, 0)
หรือจะมองว่า 2
= 2𝜋 − 2 = (1, 0) − 90°

3𝜋 𝜋
จะมองว่า 2
คือ 2
สามครัง้ ก็ได้

3𝜋
ไม่วา่ จะมองแบบไหน ก็จะได้ P( 2
) = (0, −1) #
ฟังก์ชนั ตรีโกณมิติ 3

กระบวนการดังกล่าว ควรหัดทาให้คล่อง ขนาดที่นกึ รูปวงกลม + จุดหยุด ในใจได้ โดยที่ไม่ตอ้ งวาดรูป


4𝜋 𝜋 1 √3
เช่น P ( 3 ) = P (𝜋 + 3 ) = (−1, 0) + 60° = (− 2 , − 2
)
17𝜋 𝜋 √3 1
P( ) = P (3𝜋 − ) = (−1, 0) − 30° = (− , )
6 6 2 2
2009𝜋 𝜋 √2 √2
P (− 4 ) = P (−502𝜋 − 4 ) = (1, 0) − 45° = ( 2 , − 2
)

แบบฝึ กหัด
1. จงหาพิกดั ต่อไปนี ้
1. P(𝜋2) 2. P(𝜋)

𝜋
3. P(3𝜋) 4. P( 3 )

3𝜋 𝜋
5. P(− 2
) 6. P( 4 )

4𝜋 5𝜋
7. P(− 3
) 8. P( 3 )

13𝜋 7𝜋
9. P(− 2
) 10. P( 6 )
4 ฟั งก์ชนั ตรีโกณมิติ

5𝜋 11𝜋
11. P(− 4
) 12. P(− 6
)

11𝜋 5𝜋
13. P( 3
) 14. P(− 6
)

103𝜋 55𝜋
15. P(
2
) 16. P(−
3
)
ฟังก์ชนั ตรีโกณมิติ 5

ฟั งก์ชนั ตรีโกณมิติ

ฟั งก์ชนั ตรีโกณมิติ คือ ฟังก์ชนั ทีม่ ี sin , cos , tan , cot , cosec , sec อยูใ่ นสมการฟั งก์ชนั
สมัยก่อน เราได้เรียนวิธีหา sin 𝜃 กับ cos 𝜃 จากสามเหลีย่ มมุมฉาก แต่วิธีนจี ้ ะมีขอ้ จากัดนิดหน่อย
เพราะมุมในสามเหลีย่ มมุมฉากจะเกิน 90° ไม่ได้ เป็ นมุมติดลบก็ไม่ได้

ในเรือ่ งนี ้ จะมีวธิ ีหา sin 𝜃 กับ cos 𝜃 อีกวิธี โดย sin 𝜃 จะหาจาก “พิกดั 𝑦” ของ P(𝜃)
cos 𝜃 จะหาจาก “พิกดั 𝑥 ” ของ P(𝜃)

2𝜋 1 √3 2𝜋 √3
เช่น P ( 3 ) = (− 2 , 2
) ดังนัน้ sin 3
และ cos 2𝜋
= 2 3
1
= −2
P(−𝜋) = (−1, 0) ดังนัน้ sin (−𝜋) = 0 และ cos (−𝜋) = −1
7𝜋 √3 1 7𝜋 1 7𝜋 √3
P ( 6 ) = (− 2
, − 2) ดังนัน้ sin 6
= −2 และ cos 6
=− 2
4𝜋 1 √3 4𝜋 √3 4𝜋 1
P( ) =
3
(− , − )
2 2
ดังนัน้ sin
3
=−
2
และ cos = −
3 2

เนื่องจาก P(𝜃) เป็ นพิกดั บนวงกลมหนึง่ หน่วย ดังนัน้ พิกดั 𝑥 และ พิกดั 𝑦 ของ P(𝜃) จะอยูร่ ะหว่าง −1 และ 1 เสมอ
ซึง่ จะทาให้ได้วา่ −1 ≤ sin 𝜃 ≤ 1 และ −1 ≤ cos 𝜃 ≤ 1 เสมอ

เมื่อได้ sin กับ cos เราจะหาฟังก์ชนั ตรีโกณมิติที่เหลืออื่นๆได้ ดังนี ้


sin 𝜃 cos 𝜃 1
tan 𝜃 = cot 𝜃 = =
cos 𝜃 sin 𝜃 tan 𝜃
1 1
cosec 𝜃 = sec 𝜃 =
sin 𝜃 cos 𝜃

2𝜋 1 √3 2𝜋 2 2𝜋 2
เช่น P ( 3 ) = (− 2 , 2
) ดังนัน้ cosec 3
=
√3
sec 3
= − 1 = −2
2𝜋 √3/2 2𝜋 −1/2 1
tan 3
= −1/2 = −√3 cot 3
=
√3/2
= −
√3
เป็ นต้น

หมายเหตุ: cot 𝜃 กับ cosec 𝜃 จะหาค่าไม่ได้ เมื่อ sin 𝜃 = 0


tan 𝜃 กับ sec 𝜃 จะหาค่าไม่ได้ เมื่อ cos 𝜃 = 0

แบบฝึ กหัด
1. จงหาค่าในแต่ละข้อต่อไปนี ้
1. sin 𝜋2 = 2. cos (−𝜋) =
6 ฟั งก์ชนั ตรีโกณมิติ

𝜋 𝜋
3. tan 3 = 4. sec (− 4 ) =

5𝜋 4𝜋
5. cosec 6
= 6. cot 3
=

2𝜋 5𝜋
7. cos 3
= 8. cosec 2 (− 2
) =

11𝜋 7𝜋
9. sin
6
= 10. sec 2
6
=

3𝜋 34𝜋
11. tan
2
= 12. cot 2(−
3
) =
ฟังก์ชนั ตรีโกณมิติ 7

การวัดมุมในหน่วยองศา

ปกติ หน่วยวัดมุมหลักที่ใช้กนั ในเรือ่ งนี ้ คือหน่วย เรเดียน แทน 𝜋 ด้วย 180°


อย่างไรก็ตาม เราสามารถแปลงมุมระหว่างหน่วย เรเดียน และ องศา ดังนี ้
เรเดียน องศา
แปลงเรเดียน เป็ นองศา → แทน 𝜋 ด้วย 180°
𝜋
แปลงองศา เป็ นเรเดียน → คูณด้วย 180 𝜋 คูณ 180

2𝜋 2×180 16𝜋 16×180


เช่น 3
เรเดียน = 3
= 120° 9
เรเดียน = 9
= 320°
225𝜋 5𝜋 50𝜋 5𝜋
225° = 180
= 4
เรเดียน 50° = 180
= 18 เรเดียน

นอกจากนี ้ ในการวัดมุมแบบองศา ยังซอย 1 องศา เป็ นหน่วยที่ยอ่ ยเล็กลงไปได้อีก ดังนี ้


1° (องศา) = 60′ (ลิบดา)
1′ (ลิบดา) = 60′′ (ฟิ ลบ ิ ดา)
หมายเหตุ: ความสัมพันธ์ของ องศา ลิบดา ฟิ ลบิ ดา จะคล้ายๆกับ ชั่วโมง นาที วินาที
เช่น 1.5 ชั่วโมง = 1 ชั่วโมง 30 นาที
1.5 องศา = 1 องศา 30 ลิบดา เป็ นต้น

แบบฝึ กหัด
1. จงแปลงมุมต่อไปนี ้ ให้มีหน่วยเป็ นองศา
1. 7𝜋 3
2. 4𝜋
5

10π
3. 101𝜋 4. − 4

2. จงแปลงมุมต่อไปนี ้ ให้มีหน่วยป็ นเรเดียน


1. 150° 2. 180°

3. 40° 4. −2700°
8 ฟั งก์ชนั ตรีโกณมิติ

3. จงหาค่าในแต่ละข้อต่อไปนี ้
1. sin 150° 2. cos(−150°)

3. tan 300° 4. cosec(−2700°)


ฟังก์ชนั ตรีโกณมิติ 9

การแปลงมุมเป็ นรูปอย่างง่าย

ในเรือ่ งนี ้ เราจะเรียนวิธีแปลงฟั งก์ชนั ตรีโกณมิติของมุมยุง่ ๆ ให้เป็ นมุมที่งา่ ยขึน้


แต่ก่อนอื่น ต้องรูว้ ิธีหา “เครือ่ งหมาย” ของฟั งก์ชนั ตรีโกณมิติในจตุภาคต่างๆ ก่อน ดังนี ้
sin , cosec cos , sec tan , cot
+ + − + − +

− − − + + −

sin all
เรามักนิยมใช้แผนภาพ tan cos เพื่อช่วยจาว่าฟังก์ชนั ไหนเป็ นบวกในจตุภาคไหน
โอ ซานตาคอส

ตัวอย่าง ถ้า sin 𝜃 < 0 และ cos 𝜃 > 0 แล้ว จงหาว่า 𝜃 อยูใ่ นจตุภาคใด
วิธีทา sin 𝜃 < 0 แสดงว่า 𝜃 อยูใ่ นจตุภาคที่ 3 หรือ 4
cos 𝜃 > 0 แสดงว่า 𝜃 อยูใ่ นจตุภาคที่ 1 หรือ 4
ดังนัน้ 𝜃 ต้องอยูใ่ นจตุภาคที่ 4 จึงจะทาให้ sin 𝜃 < 0 และ cos 𝜃 > 0 จริงทัง้ สองเงื่อนไข #

ตัวอย่าง ถ้า tan2 𝜃 = 15 และ 𝜃 เป็ นมุมในจตุภาคที่ 2 แล้ว จงหาค่า cot 𝜃


1
วิธีทา ถอดรูททัง้ สองข้าง จะได้ tan 𝜃 = ± √5
1
แต่เนื่องจาก 𝜃 เป็ นมุมในจตุภาคที่ 2 ดังนัน้ tan 𝜃 ต้องเป็ นลบ ดังนัน้ tan 𝜃 = −
√5
1
จะได้ cot 𝜃 = tan 𝜃
= −
√5
1
= −√5 #

ในเรือ่ งนี ้ เราจะแปลงมุม 2 แบบ คือ “แกน X ± 𝜃” กับ “แกน Y ± 𝜃”


มุมที่อยูใ่ นรูป “แกน X ± 𝜃” ได้แก่มมุ ที่อยูใ่ นรูป 𝑛𝜋 ± 𝜃 มุมพวกนี ้ จะสามารถแปลงเป็ น “ฟังก์ชนั เดิมของมุม 𝜃” ได้
แต่ตอ้ งใส่เครือ่ งหมายบวกหรือลบ ตามจตุภาคทีม่ มุ นัน้ ตกอยู่

คู𝜋่ + 𝜃 → Q1 คู𝜋่ − 𝜃 → Q4
คี่𝜋 คู𝜋่
คี่𝜋 + 𝜃 → Q3 คี่𝜋 − 𝜃 → Q2

หมายเหตุ: เวลาคิดจตุภาค จะสมมติให้ 𝜃 เป็ นมุมน้อยๆ แต่ผลลัพธ์สดุ ท้าย จะเป็ นจริงสาหรับมุม 𝜃 ใหญ่ๆด้วย

เช่น sin(3𝜋 + 𝜃) = sin Q 3 = −sin 𝜃 cos(2𝜋 + 𝜃) = cos Q1 = cos 𝜃


tan(5𝜋 − 𝜃) = tan Q 2 = −tan 𝜃 cot(𝜃 − 𝜋) = cot(−𝜋 + 𝜃) = cot Q 3 = cot 𝜃
sec(−2𝜋 − 𝜃) = sec Q 4 = sec 𝜃 cosec(10𝜋 − 𝜃) = cosec Q 4 = − cosec 𝜃
sin(−𝜃) = sin(0 − 𝜃) = sin Q 4 = − sin 𝜃
cos(−𝜃) = cos(0 − 𝜃) = cos Q 4 = cos 𝜃 สามอันนีค้ วรจา
tan(−𝜃) = tan(0 − 𝜃) = tan Q 4 = − tan 𝜃
10 ฟังก์ชนั ตรีโกณมิติ

9𝜋 𝜋 𝜋
cot( 5 ) = cot(2𝜋 − 5 ) = cot Q 4 = − cot 5
8𝜋 𝜋 𝜋 1
cos( 3 ) = cos(3𝜋 − 3 ) = cos Q 2 = − cos 3 = − 2
13𝜋 𝜋 𝜋
cosec(− 6
) = cosec(−2𝜋 − 6 ) = cosec Q 4 = − cosec 6 = −2

มุมที่อยูใ่ นรูป “แกน Y ± 𝜃” ได้แก่มมุ ที่อยูใ่ นรูป 𝑛𝜋


2
± 𝜃 มุมพวกนี ้ จะสามารถแปลงเป็ น “โคฟั งก์ชนั ของมุม 𝜃” ได้
โดยต้องใส่เครือ่ งหมายบวกหรือลบ ตามจตุภาคที่มมุ นัน้ ตกอยู่ sin ↔ cos
𝑛𝜋
คราวนี ้ จะดูยากขึน้ นิดหน่อย ว่า 2 ± 𝜃 อยูใ่ น จตุภาคไหน tan ↔ cot
sec ↔ cosec
วิธีการ คือ ให้แตก 𝑛𝜋 2
± 𝜃 เป็ น 𝑘𝜋 ±
𝜋
2
± 𝜃 แล้ ว ค่
อ ยๆเดิ น ที ละส่
ว น
3𝜋 𝜋 7𝜋 𝜋
เช่น sin( 2 + 𝜃) = sin(𝜋 + 2 + 𝜃) cot(−
2
− 𝜃) = cot(−4𝜋 + − 𝜃)
2

คี่𝜋
คู𝜋

= sin Q 4 = cot Q1
= −cos 𝜃 = tan 𝜃

𝜋 3𝜋 3𝜋
sec(− − 𝜃) = cos(𝜃 − 2
) = cos(− 2
+ 𝜃)
2
𝜋
= cos(−𝜋 − 2 + 𝜃)
= sec Q 3
= −cosec 𝜃 คี่𝜋
= cos Q 2
= −sin 𝜃

ตัวอย่าง กาหนดให้ sin 𝜃 = 0.1 จงหาค่าของ sin(4𝜋 − 𝜃)


วิธีทา sin(4𝜋 − 𝜃) = sin Q4
= − sin 𝜃
= −0.1 #

ตัวอย่าง กาหนดให้ cos 𝜃 = 0.5 จงหาค่าของ sin (5𝜋


2
− 𝜃)
5𝜋 𝜋
วิธีทา sin ( 2 − 𝜃) = sin (2𝜋 + 2 − 𝜃) = sin Q1
= cos 𝜃
= 0.5 #

ในบางกรณี เราอาจเลือกได้วา่ จะใช้สตู ร “แกน X ± 𝜃” หรือ “แกน Y ± 𝜃”


ปกติแล้ว เราจะนิยมใช้สตู ร “แกน X ± 𝜃” มากกว่า เพราะคิดง่ายกว่า
เราจะใช้สตู ร “แกน Y ± 𝜃” ก็เมื่อเราต้องการเปลีย่ น ให้เป็ นโคฟังก์ชนั
ฟังก์ชนั ตรีโกณมิติ 11

ตัวอย่าง จงแปลง sin 190° ให้เป็ นมุมในจตุภาคที่ 1


วิธีทา ก่อนอื่น วาดมุม 190° ก่อน จะได้ดงั รูป
ดังนัน้ sin 190° = sin Q3 → เป็ นลบ
ข้อนี ้ จะใช้สตู ร “แกน X ± 𝜃” หรือ “แกน Y ± 𝜃” ก็ได้
เนื่องจาก เราอาจมองว่า 190° = แกน X + 10° ก็ได้ หรือจะมองว่า 190° = แกน Y − 80° ก็ได้

ดังนัน้ sin 190° = แกน X + 10° = − sin 10°


หรือ sin 190° = แกน Y − 80° = − cos 80° #

แบบฝึ กหัด
1. จงแปลงให้อยูใ่ นรูปอย่างง่าย
1. sin(𝜋 − 𝜃) 2. cos(𝜋 − 𝜃)

3. tan(𝜋 + 𝜃) 4. cos(𝜋 + 𝜃)

𝜋 𝜋
5. sec(2 − 𝜃) 6. sin(2 − 𝜃)

𝜋 𝜋
7. cot(𝜃 − )
2
8. cosec(𝜃 − )
2

7𝜋
9. sec( 2 − 𝜃) 10. tan(−𝜃)

3𝜋
11. sec(−𝜃) 12. cosec(𝜃 −
2
)
12 ฟังก์ชนั ตรีโกณมิติ

3𝜋
13. tan(𝜃 − 2
) 14. cot(𝜃 − 𝜋)

3𝜋
15. cos( 2 + 𝜃) 16. sin(𝜃 − 𝜋)

17. cosec(2𝜋 − 𝜃) 18. cos(2𝜋 − 𝜃)

5
19. tan(−5𝜋 + 𝜃) 20. sec(− 𝜋 − 𝜃)
2

73
21. sin(−72𝜋 − 𝜃) 22. cot(−
2
𝜋 + 𝜃)

23. sin 100° 24. cos 220°

25. tan(−15°) 26. sec 170°

27. cosec 305° 28. cot 3710°


ฟังก์ชนั ตรีโกณมิติ 13

2. จงหาผลลัพธ์ในแต่ละข้อต่อไปนี ้
1. sin 40° − sin 140° 2. cos 80° + cos 100°

3. จงหาค่าของ cos3 20° + cos3 40° + cos3 60° + … + cos3 160°


14 ฟังก์ชนั ตรีโกณมิติ

กราฟฟั งก์ชนั ตรีโกณมิติ

เรือ่ งนี ้ ต้องจารูปกราฟของฟั งก์ชนั ตรีโกณทัง้ 6 ให้ได้ ดังนี ้

𝑦 = sin 𝑥 𝑦 = cos 𝑥

1 1

−2𝜋 − 3𝜋 −𝜋 − 𝜋 0 𝜋 𝜋 3𝜋 2𝜋 −2𝜋 − 3𝜋 −𝜋 − 𝜋 0 𝜋 𝜋 3𝜋 2𝜋
2 2 2 2 2 2 2 2

−1 −1

โดเมน = R เรนจ์ = [−1, 1] โดเมน = R เรนจ์ = [−1, 1]

𝑦 = tan 𝑥 𝑦 = cot 𝑥

−2𝜋 − 3𝜋 −𝜋 − 𝜋 0 𝜋 𝜋 3𝜋 2𝜋 −2𝜋 − 3𝜋 −𝜋 − 𝜋 0 𝜋 𝜋 3𝜋 2𝜋
22 2 2 2 2 2 2

โดเมน = R − {คี2่𝜋} เรนจ์ = R โดเมน = R − {𝑛𝜋} เรนจ์ = R

𝑦 = cosec 𝑥 𝑦 = sec 𝑥

1 1

−2𝜋 − 3𝜋 −𝜋 − 𝜋 0 𝜋 𝜋 3𝜋 2𝜋 −2𝜋 − 3𝜋 −𝜋 − 𝜋 0 𝜋 𝜋 3𝜋 2𝜋
2 2 2 2 2 2 2 2

−1 −1

โดเมน = R − {𝑛𝜋} โดเมน = R − {คี2่𝜋}


เรนจ์ = (−∞, −1] ∪ [1, ∞) เรนจ์ = (−∞, −1] ∪ [1, ∞)
ฟังก์ชนั ตรีโกณมิติ 15

อย่างไรก็ตาม โจทย์มกั จะนากราฟมาดัดแปลง โดยอาจจะมีตวั เลขอื่น คูณหรือบวกเพิม่ เข้าไป


วิธีวาดกราฟแบบดัดแปลง ให้เราแทนค่า หาจุดที่กราฟผ่านหลายๆจุด
เมื่อได้แนวโน้มของกราฟแล้ว จึงวาดกราฟ โดยอิงกับรูปกราฟพืน้ ฐานทัง้ 6 แบบ

จะเห็นว่า กราฟ sin กับ cos จะมีคา่ 𝑦 ถูกจากัดในช่วงแคบๆ ต่างจากกราฟอื่นทีค่ า่ 𝑦 จะมากหรือน้อยขนาดไหนก็ได้


ดังนัน้ โจทย์ของกราฟ sin กับ cos มักจะให้เราหาค่า 𝑦 มากสุด หรือ น้อยสุด ซึง่ จะมีหลักดังนี ้
sin 𝜃 จะมากที่สดุ = 1 เมื่อ 𝜃 = 2𝑛𝜋 + 𝜋2 เมื่อ 𝑛 เป็ น
3𝜋
จะน้อยที่สดุ = −1 เมื่อ 𝜃 = 2𝑛𝜋 + 2 จานวนเต็ม
cos 𝜃 จะมากที่สดุ = 1 เมื่อ 𝜃 = 2𝑛𝜋 อะไรก็ได้
จะน้อยที่สดุ = −1 เมือ่ 𝜃 = (2𝑛 + 1)𝜋

หมายเหตุ: คลืน่ ในวิชาฟิ สกิ ส์ จะมีลกั ษณะเหมือนกราฟ sin และ cos และจะนิยมใช้ 𝑡 เป็ นตัวแปรแทน 𝑥

ตัวอย่าง กาหนดให้ 0 < 𝑡 < 2𝜋 และ 𝑦 = 2 sin(2𝑡 + 𝜋2) จงหาค่าต่าสุดของ 𝑦 พร้อมทัง้ หาค่า 𝑡 ที่ทาให้ 𝑦 มีคา่
ต่าสุด
วิธีทา เนื่องจาก 𝑦 = 2 sin(2𝑡 + 𝜋2) ดังนัน้ 𝑦 จะต่าที่สดุ เมื่อ sin(2𝑡 + 𝜋2) ต่าที่สดุ
ไม่วา่ 𝜃 จะเป็ นอะไรก็ตาม ค่าต่าสุดของ sin 𝜃 คือ −1
ดังนัน้ sin(2𝑡 + 𝜋2) จะต่าที่สดุ ได้เท่ากับ −1
ดังนัน้ 𝑦 = 2 sin(2𝑡 + 𝜋2) จะต่าสุดได้เท่ากับ 2 (−1) = −2
และเนื่องจาก sin 𝜃 จะเท่ากับ −1 เมื่อ 𝜃 = 2𝑛𝜋 + 3𝜋 2
เมื่อ 𝑛 เป็ นจานวนเต็มอะไรก็ได้
𝜋
ดังนัน้ sin(2𝑡 + 2) จะต่าที่สดุ เมื่อ 2𝑡 + 𝜋 = 2𝑛𝜋 + 3𝜋
2 2
2𝑡 = 2𝑛𝜋 + 𝜋
𝜋
𝑡 = 𝑛𝜋 + 2

ดังนัน้ 𝑦 จะต่าสุด เมื่อ 𝑡 = 𝑛𝜋 + 𝜋2 เมื่อ 𝑛 เป็ นจานวนเต็มอะไรก็ได้


แต่เนื่องจาก 0 < 𝑡 < 2𝜋 ดังนัน้ 𝑛= −1 : 𝑡 = −𝜋 + 𝜋2 = − 𝜋2 → <0 ใช้ไม่ได้
𝜋 𝜋
𝑛= 0 : 𝑡 = 0𝜋 + 2 = 2
ใช้ได้
𝜋 3𝜋
𝑛= 1 : 𝑡 = 𝜋+2 = 2
ใช้ได้
𝜋
𝑛= 2 : 𝑡 = 2𝜋 + 2 → > 2𝜋 ใช้ไม่ได้
𝜋 3𝜋
นั่นคือ 𝑦 ต่าสุด เมื่อ 𝑡=2 กับ 2
#

𝑦𝑚𝑎𝑥 −𝑦𝑚𝑖𝑛
คาศัพท์อกี คาทีจ่ ะเจอในกราฟ sin กับ cos คือ คาว่า “แอมพลิจดู ” ซึง่ หาได้จาก 2
เรามีวิธีหาแอมพลิจดู แบบง่ายๆ ดังนี ้

𝑦 = 𝐴 sin(𝐵𝑥 + 𝐶)
𝑦 = 𝐴 cos(𝐵𝑥 + 𝐶)
แอมพลิจดู = |𝐴|
16 ฟังก์ชนั ตรีโกณมิติ

“คาบ” คือ ระยะทางแกน X ที่กราฟเริม่ ซา้ รูปเดิม

𝑦 = 𝐴 sin(𝐵𝑥 + 𝐶)
𝑦 = 𝐴 tan(𝐵𝑥 + 𝐶) 𝜋
𝑦 = 𝐴 cos(𝐵𝑥 + 𝐶) 2𝜋
คาบ = |𝐵| คาบ = |𝐵|
𝑦 = 𝐴 sec(𝐵𝑥 + 𝐶) 𝑦 = 𝐴 cot(𝐵𝑥 + 𝐶)
𝑦 = 𝐴 cosec(𝐵𝑥 + 𝐶)

เช่น 𝑦 = −5 sin(𝜋 − 2𝑥) → แอมพลิจดู = |−5| = 5


2𝜋
→ คาบ = |−2| = 𝜋
𝜋
𝑦 = 0.08 cos(30𝜋𝑡 + 4 ) → แอมพลิจดู = |0.08| = 0.08
2𝜋 1
→ คาบ = |30𝜋| = 15
𝜋
𝑦 = − tan(−𝑥 + 𝜋) → คาบ = |−1|
= 𝜋
𝜋−𝑥 2𝜋
𝑦 = − sec( 2
) → คาบ = |−1/2|
= 4𝜋 เป็ นต้น

แบบฝึ กหัด
1. จงหาแอมพลิจดู ของกราฟต่อไปนี ้
𝜋
1. 𝑦 = sin(𝑥 + 𝜋) 2. 𝑦 = −cos(2 − 𝑥)

3. 2𝑦 = 0.1 sin(2𝑥) 4. 4𝑦 = −3 cos(2𝜋𝑡 + 30°)

2. จงหาคาบของกราฟต่อไปนี ้
1. 𝑦 = sin(𝑥 + 𝜋2) 2. 𝑦 = −2cos(− 𝑥)

3. 𝑦 = 3 tan(2𝑥) 4. 𝑦 = 0.008 sec(2𝜋𝑡 − 20°)

𝜋
5. 4𝑦 = 5 cosec(3 − 3𝑡) 6. 2𝑦 = −1 cot(600𝜋𝑡 + 60°)
ฟังก์ชนั ตรีโกณมิติ 17

𝜋
3. กาหนดให้ 0 < 𝑥 < 2𝜋 และ 𝑦 = 5 sin(2𝑥 + 2 ) จงหาค่าสูงสุดของ 𝑦 พร้อมทัง้ หาค่า 𝑥 ที่ทาให้ 𝑦 มีคา่ สูงสุด

𝜋
4. กาหนดให้ 0 < 𝑡 < 4𝜋 และ 𝑦 = 3 sin( − 𝑡)
2
จงหาค่าต่าสุดของ 𝑦 พร้อมทัง้ หาค่า 𝑡 ที่ทาให้ 𝑦 มีคา่ ต่าสุด
18 ฟังก์ชนั ตรีโกณมิติ

สูตรพืน้ ฐาน

ในหัวข้อถัดๆไป จะต้องท่อง และหัดใช้สตู รต่างๆมากมาย


หัวข้อนีจ้ ะเป็ นสูตรพืน้ ฐาน ที่อาจเคยพบตามหัวข้อต่างๆ ก่อนหน้านี ้

 สูตรส่วนกลับ
1 1 1
cosec 𝜃 = sin 𝜃 sec 𝜃 = cos 𝜃 cot 𝜃 = tan 𝜃

 สูตรเปลีย่ นทุกอย่างให้เป็ น sin กับ cos

sin 𝜃 cos 𝜃
tan 𝜃 = cot 𝜃 =
cos 𝜃 sin 𝜃
1 1
cosec 𝜃 = sec 𝜃 =
sin 𝜃 cos 𝜃

 สูตรโคฟั งก์ชนั : ถ้ามุมสองมุมรวมกันได้ 90° แล้ว “โคฟั งก์ชนั ” จะเท่ากัน

cos เป็ นโคฟั งก์ชนั ของ sin


cot เป็ นโคฟั งก์ชนั ของ tan
cosec เป็ นโคฟั งก์ชนั ของ sec

เช่น sin 18° = cos 72° cos 30° = sin 60°


cot 45° = tan 45° sec 54° = cosec 36°

 สูตรกาลังสอง

sin2 𝜃 + cos2 𝜃 = 1
tan2 𝜃 + 1 = sec 2 𝜃
1 + cot 2 𝜃 = cosec 2 𝜃

 สูตรมุมติดลบ
sin(−𝜃) = − sin 𝜃
cos(−𝜃) = cos 𝜃
tan(−𝜃) = − tan 𝜃
ฟังก์ชนั ตรีโกณมิติ 19

แบบฝึ กหัด
1. จงหาค่าในแต่ละข้อต่อไปนี ้
1. cos 𝜋5 sec 𝜋5 2. cot
3𝜋
7
sin
7𝜋
3
tan
3𝜋
7

𝜋 𝜋 𝜋
3. cos tan cosec
8 8 8
4. tan 30° cosec 40° cos 50°

𝜋 4𝜋 𝜋 3𝜋 𝜋
5. sin 10 sec 10 6. sin 5 tan 10 sec 5

7. cot 2 𝜃 − cosec 2 𝜃 8. (tan 𝜃 − sec 𝜃)(tan 𝜃 + sec 𝜃)

9. sin2 70° + sin2 20°


20 ฟังก์ชนั ตรีโกณมิติ

1 1
2. จงพิสจู น์วา่ 1−sin 𝐴
+ 1+sin 𝐴 = 2 + 2 tan2 𝐴

𝜋
3. กาหนดให้ 4 sin2 𝜃 + 11 cos 𝜃 − 1 = 0 แล้ว cot 2 (𝜃 + 2 ) + sec(𝜃 − 3𝜋) มีคา่ เท่ากับเท่าไร

4. กาหนด 0 ≤ 𝜃 ≤ 90° และ 𝑓(𝑥) = 12𝑥 − 9𝑥 2 เมื่อ 0 < 𝑥 < 1


ถ้า sin 𝜃 = 𝑎 เมื่อ 𝑎 เป็ นจานวนจริงที่ 𝑓(𝑎) มีคา่ มากที่สดุ แล้ว
(cot2 𝜃)(sec 𝜃−1) (sec2 𝜃)(sin 𝜃−1)
ค่าของ 1+sin 𝜃
+
1+sec 𝜃
เท่ากับเท่าใด [PAT 1 (มี.ค. 58)/6]
ฟังก์ชนั ตรีโกณมิติ 21

sin2 0°+sin2 10°+sin2 20°+ … +sin2 170°+sin2 180° 𝑎


5. ถ้า cos2 0°+cos2 10°+cos2 20°+ …+cos2 170°+cos2 180°
=𝑏 เมื่อ 𝑎 และ 𝑏 เป็ นจานวนเต็มบวก
โดยที่ ห.ร.ม. ของ 𝑎 และ 𝑏 เท่ากับ 1 แล้วค่าของ 𝑎 + 𝑏 2 เท่ากับเท่าใด [PAT 1 (มี.ค. 58)/32]
2

6. กาหนดให้ 𝑥 เป็ นจานวนจริง โดยที่ sin 𝑥 + cos 𝑥 = 43


ถ้า (1 + tan2 𝑥) cot 𝑥 = 𝑎𝑏 เมื่อ 𝑎 และ 𝑏 เป็ นจานวนเต็ม โดยที่ ห.ร.ม. ของ 𝑎 และ 𝑏 เท่ากับ 1
แล้ว 𝑎2 + 𝑏2 เท่ากับเท่าใด [PAT 1 (มี.ค. 56)/28]
22 ฟังก์ชนั ตรีโกณมิติ

สูตรผลบวกผลต่างมุม

สูตรชุดนี ้ จะใช้กระจาย sin, cos เข้าไปใน ผลบวก หรือผลต่าง ของมุม 2 มุม

sin(𝐴 + 𝐵) = sin 𝐴 cos 𝐵 + cos 𝐴 sin 𝐵


sin(𝐴 − 𝐵) = sin 𝐴 cos 𝐵 − cos 𝐴 sin 𝐵
cos(𝐴 + 𝐵) = cos 𝐴 cos 𝐵 − sin 𝐴 sin 𝐵
cos(𝐴 − 𝐵) = cos 𝐴 cos 𝐵 + sin 𝐴 sin 𝐵

เช่น sin 75° = sin(30° + 45°) = sin 30° cos 45° + cos 30° sin 45°
1 √2 √3 √2 √2+√6
= (2) (2) + (2) (2) = 4
𝜋 𝜋 𝜋 𝜋 𝜋 𝜋 𝜋
cos 12 = cos ( 3 − 4 ) = cos 3 cos 4 + sin 3 sin 4
1 √2 √3 √2 √2+√6
= ( ) ( ) +( ) ( ) =
2 2 2 2 4

cos(𝜋 + 𝜃) = cos 𝜋 cos 𝜃 − sin 𝜋 sin 𝜃


= (−1) cos 𝜃 − (0) sin 𝜃 = − cos 𝜃

ตัวอย่าง กาหนดให้ 𝜋2 < 𝐴 < 𝜋 และ 𝜋2 < 𝐵 < 𝜋 ถ้า sin 𝐴 = 35 และ cos 𝐵 = − 13
5
แล้วจงหา cos(𝐴 + 𝐵)
วิธีทา cos(𝐴 + 𝐵) = cos 𝐴 cos 𝐵 − sin 𝐴 sin 𝐵
5 3
= cos 𝐴 (− 13) − (5) sin 𝐵 → ต้องหา cos 𝐴 กับ sin 𝐵 เพิ่มเอง

เราจะใช้สตู ร sin2 𝜃 + cos2 𝜃 = 1 เพื่อหา cos 𝐴 กับ sin 𝐵 ที่เหลือ ดังนี ้


sin2 𝐴 + cos 2 𝐴 = 1 sin2 𝐵 + cos 2 𝐵 = 1
3 2 5 2
( ) + cos 2 𝐴 = 1 sin2 𝐵 + (− ) = 1
5 13
9 16 25 144
cos 2 𝐴 = 1 − 25
= 25
sin2 𝐵 = 1− =
169 169
4 12
cos 𝐴 = ± 5 sin 𝐵 = ± 13
𝜋
แต่ 2
<𝐴<𝜋 ดังนัน้ cos ต้องเป็ นลบ แต่ 𝜋
2
<𝐵<𝜋 ดังนัน้ sin ต้องเป็ นบวก
4
จะได้ cos 𝐴 =−5 จะได้ sin 𝐵 = 13
12

ดังนัน้ cos(𝐴 + 𝐵) = cos 𝐴 cos 𝐵 − sin 𝐴 sin 𝐵


4 5 3 12 20 36 16
= (− 5) (− 13) − (5) (13) = 65
− 65 = − 65 #

ตัวอย่าง จงหาค่าของ cos 15° + √3 sin 15°


วิธีทา เราจะพยายามจัดโจทย์ให้อยูใ่ นรูป sin cos ± cos sin หรือ cos cos ∓ sin sin เพื่อให้เข้าสูตรได้
จะเห็นว่า √3 สามารถเปลีย่ นให้เป็ น cos ได้ เนื่องจาก √23 = cos 30° ดังนัน้ √3 = 2 cos 30°
ดังนัน้ cos 15° + √3 sin 15° = cos 15° + 2 cos 30°sin 15°
1
= 2 ( 2 cos 15° + cos 30°sin 15°)
= 2 (sin 30°cos 15° + cos 30°sin 15°)
√2
= 2 sin (30°+15°) = 2 sin 45° = 2 × 2
= √2 #
ฟังก์ชนั ตรีโกณมิติ 23

ตัวอย่าง จงหาค่ามากสุดของ 3 cos 𝐴 + 4 sin 𝐴


วิธีทา เราจะพยายามจัดโจทย์ให้อยูใ่ นรูป sin cos ± cos sin หรือ cos cos ∓ sin sin เพื่อให้เข้าสูตรได้
5
จากรูป จะเห็นว่า sin 𝜃 = 35 และ cos 𝜃 = 45
3
𝜃 ดังนัน้ 35 และ 45 สามารถเขียนเป็ น sin และ cos ของมุมเดียวกันได้
4
ดังนัน้ เราจะ คูณ 55 แล้วกระจาย 15 เข้าไป เพื่อให้เข้าสูตรได้ ดังนี ้
5
3 cos 𝐴 + 4 sin 𝐴 = (3 cos 𝐴 + 4 sin 𝐴)
5
3 4
= 5 (5 cos 𝐴 + 5 sin 𝐴)
= 5(sin 𝜃 cos 𝐴 + cos 𝜃 sin 𝐴)
= 5 sin(𝜃 + 𝐴)
เนื่องจาก sin(𝜃 + 𝐴) ≤ 1 ดังนัน้ ค่ามากสุดของ 3 cos 𝐴 + 4 sin 𝐴 คือ 5(1) = 5 #

สาหรับสูตร tan กับ cot จะใช้ไม่คอ่ ยบ่อยเท่า sin กับ cos แต่ก็ตอ้ งท่อง
tan 𝐴+tan 𝐵 cot 𝐵 cot 𝐴−1
tan(𝐴 + 𝐵) = 1−tan 𝐴 tan 𝐵
cot(𝐴 + 𝐵) = cot 𝐵+cot 𝐴
tan 𝐴−tan 𝐵 cot 𝐵 cot 𝐴+1
tan(𝐴 − 𝐵) = 1+tan 𝐴 tan 𝐵
cot(𝐴 − 𝐵) = cot 𝐵−cot 𝐴

tan 60°−tan 45° √3−1 √3−1


เช่น tan 15° = tan(60° − 45°) = 1+tan 60° tan 45°
= 1+(√3)(1)
=
√3+1
√3−1 √3−1 3−2√3+1
ทาให้สว่ นไม่ติดรูท จะได้ √3+1
×
√3−1
=
3−1
= 2 − √3

𝜋 𝜋 1 1−√3
7𝜋 𝜋 𝜋 cot cot −1 ( )(1)−1 1−√3
3 4 √3 √3
cot = cot ( + ) = 𝜋 𝜋 = 1 = √3+1
=
12 3 4 cot +cot 1+ √3+1
4 3 √3 √3
1−√3 √3−1 √3−1−3+√3 2√3−4
ทาให้สว่ นไม่ติดรูท จะได้ √3+1
× 3−1

= 3−1
= 2
= √3 − 2

ตัวอย่าง จงหาค่าของ tan 1° + tan 44° + tan 1° tan 44°


วิธีทา จะเห็นว่าข้อนี ้ มีทงั้ tan บวกกัน และ tan คูณกัน ซึง่ คล้ายกับสูตร tan(𝐴 + 𝐵)
ดังนัน้ เราจะลองตัง้ สูตร tan(𝐴 + 𝐵) ให้มี 1° และ 44° อยูใ่ นสูตร จะได้
tan 1°+tan 44°
= tan(1° + 44°)
1−tan 1° tan 44°
= tan 45°
= 1
tan 1° + tan 44° = 1 − tan 1° tan 44°
tan 1° + tan 44° + tan 1° tan 44° = 1 #
24 ฟังก์ชนั ตรีโกณมิติ

ตัวอย่าง กาหนดให้ 𝐴 + 𝐵 + 𝐶 = 180° จงพิสจู น์วา่ tan 𝐴 + tan 𝐵 + tan 𝐶 = tan 𝐴 tan 𝐵 tan 𝐶
วิธีทา เนื่องจาก 𝐴 + 𝐵 + 𝐶 = 180° จะได้ 𝐶 = 180°− (𝐴 + 𝐵)
tan C = tan(180°− (𝐴 + 𝐵))
tan(180° − 𝜃) = −tan 𝜃
= − tan(𝐴 + 𝐵)

tan 𝐴 + tan 𝐵 + tan 𝐶 = tan 𝐴 tan 𝐵 tan 𝐶


tan 𝐴 + tan 𝐵 − tan(𝐴 + 𝐵) = − tan 𝐴 tan 𝐵 tan(𝐴 + 𝐵)
tan 𝐴 + tan 𝐵 = − tan 𝐴 tan 𝐵 tan(𝐴 + 𝐵) + tan(𝐴 + 𝐵)
tan 𝐴 + tan 𝐵 = tan(𝐴 + 𝐵) (− tan 𝐴 tan 𝐵 + 1)
tan 𝐴+tan 𝐵
tan 𝐴 + tan 𝐵 = ( ) (− tan 𝐴 tan 𝐵 + 1)
1−tan 𝐴 tan 𝐵
tan 𝐴 + tan 𝐵 = tan 𝐴 + tan 𝐵 #

แบบฝึ กหัด
1. กาหนดให้ sin 𝐴 = 45 และ sin 𝐵 = − 5
3
ถ้า 𝜋
2
<𝐴<𝜋 และ 𝜋<𝐵<
3𝜋
2
จงหาค่าของ
1. sin(𝐴 + 𝐵) 2. sin(𝐴 − 𝐵)

3. cos(𝐴 + 𝐵) 4. cos(𝐴 − 𝐵)

2. กาหนดให้ tan 𝐴 = 34 และ cot 𝐵 =


3
2
จงหาค่าของ
1. tan(𝐴 + 𝐵) 2. tan(𝐴 − 𝐵)

3. cot(𝐴 + 𝐵) 4. cot(𝐴 − 𝐵)
ฟังก์ชนั ตรีโกณมิติ 25

3. จงหาค่าในแต่ละข้อต่อไปนี ้
1. sin 15° 2. cos 75°

7𝜋 𝜋
3. sin
12
4. cos(−
12
)

𝜋
5. tan 105° 6. cot 12

4. จงเปลีย่ นให้เป็ นรูปอย่างง่ายโดยใช้สตู รผลบวกผลต่างมุม


1. sin (𝜋2 + 𝜃) 2. cos (𝜋 − 𝜃)

3𝜋
3. cos (
2
+ 𝜃) 4. sin (𝜃 − 2𝜋)

𝜋
5. tan (𝜋 − 𝜃) 6. cot ( 2 + 𝜃)
26 ฟังก์ชนั ตรีโกณมิติ

5. จงหาค่าในแต่ละข้อต่อไปนี ้
1. sin 20° cos 25° + cos 20° sin 25° 2. cos 105° cos 60° + sin 105° sin 60°

3. sin(60° + 𝜃) cos(30° + 𝜃) − cos(60° + 𝜃) sin(30° + 𝜃)

𝜋 𝜋 𝜋 𝜋
4. cos( + 𝜃) cos( − 𝜃) − sin( + 𝜃) sin( − 𝜃)
6 6 6 6

√2 √2
5. 2
cos 15° −
2
sin 15° 6. sin 15° + cos 15°

7. √3 cos 75° + sin 75° 8. sin 36° tan 18° + cos 36°
ฟังก์ชนั ตรีโกณมิติ 27

9. tan 10° + tan 35° + tan 10° tan 35° 10. (1 + tan 95°)(1 + tan 130°)

11. (tan 32° − 1)( tan 77° + 1) 12. (1 − cot 22°)(1 − cot 23°)

6. ถ้า 𝑥 และ 𝑦 เป็ นจานวนจริงที่สอดคล้องกับสมการ 3 sin(𝑥 − 𝑦) = 2 sin(𝑥 + 𝑦)


แล้ว (tan3 𝑥)(cot 3 𝑦) เท่ากับเท่าใด [PAT 1 (มี.ค. 57)/23]
28 ฟังก์ชนั ตรีโกณมิติ

3 5
7. ให้ ABC เป็ นรูปสามเหลีย่ ม โดยที่ sin 𝐴 = 5 และ cos 𝐵 = 13 ค่าของ cos 𝐶 เท่ากับเท่าใด
[PAT 1 (มี.ค. 54)/6]

𝑥
8. ถ้า 1 − cot 20° = 1−cot 25° แล้ว 𝑥 มีคา่ เท่าใด [PAT 1 (ต.ค. 52)/2-5]

9. ค่าของ (1 + tan 1°)(1 + tan 2°)…(1 + tan 44°) เท่ากับเท่าใด [PAT 1 (มี.ค. 54)/30*]
ฟังก์ชนั ตรีโกณมิติ 29

สูตรมุมสองเท่า สามเท่า ครึง่ เท่า

สูตรมุมสองเท่า
2 tan 𝐴
sin 2𝐴 = 2 sin 𝐴 cos 𝐴 = 1+tan2 𝐴
1−tan2 𝐴
cos 2𝐴 = cos 2 𝐴 − sin2 𝐴 = 1+tan2 𝐴
= 2 cos 2 𝐴 − 1
= 1 − 2 sin2 𝐴
2 tan 𝐴 cot2 𝐴−1
tan 2𝐴 = cot 2𝐴 =
1−tan2 𝐴 2 cot 𝐴

สูตรมุมสามเท่า

sin 3𝐴 = 3 sin 𝐴 − 4 sin3 𝐴


cos 3𝐴 = 4 cos 3 𝐴 − 3 cos 𝐴
3 tan 𝐴−tan3 𝐴
tan 3𝐴 = 1−3 tan2 𝐴
cot3 𝐴−3 cot 𝐴
cot 3𝐴 =
3 cot2 𝐴−1

สูตรมุมครึง่ เท่า

𝐴 1−cos 𝐴
sin = ±√
2 2
𝐴 1+cos 𝐴
cos 2 = ±√ 2
𝐴 1−cos 𝐴 sin 𝐴
tan 2 = ±√1+cos 𝐴 = 1+cos 𝐴

หมายเหตุ: ผลลัพธ์จะเป็ น บวก หรือ ลบ อย่างใดอย่างหนึง่ ตามจตุภาคของ 𝐴2

ตัวอย่าง กาหนดให้ tan 𝐴 = 34 จงหา sin 2𝐴


2 tan 𝐴
วิธีทา จากสูตร sin 2𝐴 = 1+tan 2𝐴
3 3
2× 3 16 24
4 2
= 3 2
= 9 = × = #
1+( ) 1+ 2 25 25
4 16

ตัวอย่าง จงหาค่าของ tan 22.5°


วิธีทา เนื่องจาก 22.5 เป็ นครึง่ หนึง่ ของ 45 ดังนัน้ เราจะใช้สตู รมุมครึง่ เท่า ดังนี ้
√2 2−√2
45° 1−cos 45° 1− 2−√2 2−√2 4−4√2+2
tan 22.5° = tan = ±√ = ±√ 2 2
= ±√ 2+√2 = ±√ × = ±√
2 1+cos 45° 1+
√2 2+√2 2−√2 4−2
2 2

= ±√3 − 2√2 = ±(√2 − 1)


แต่ 22.5° เป็ นมุมในจตุภาคที่ 1 จะมีคา่ tan เป็ นบวก ดังนัน้ tan 22.5° = √2 − 1 #
30 ฟังก์ชนั ตรีโกณมิติ

แบบฝึ กหัด
1. กาหนดให้ 3𝜋
2
< A < 2𝜋 และ cos 𝐴 =
3
5
จงหาค่าของ
1. sin 𝐴 2. sin 2𝐴

3. cos 2𝐴 4. sin 4𝐴

2. จงใช้สตู รมุมสองเท่า เพื่อหาค่าในแต่ละข้อต่อไปนี ้


1. 2 sin 15° cos 15° 2. cos 22.5° sin 22.5°

sin 1° sin 88° sin 89°


3. sin 15° sin 75° 4. sin 4°

5. (sin 15° − cos 15°)2 6. cosec 10° − √3 sec 10°


ฟังก์ชนั ตรีโกณมิติ 31

cos 22.5° sin 22.5°


7. sin 22.5°
− cos 22.5° 8. 2 sin 18° cos 36°

3. กาหนดให้ tan 𝐴 = 2 จงใช้สตู รมุมสองเท่า เพื่อหาค่าของ


1. sin 2𝐴 2. cos 2𝐴

3. tan 2𝐴 4. cot 2𝐴

4. กาหนดให้ 𝜋2 < A < 𝜋 และ 3


sin A = 5 จงใช้สตู รมุมสามเท่า เพื่อหาค่าของ
1. sin 3𝐴 2. cos 3𝐴

3. tan 3𝐴 4. cot 3𝐴
32 ฟังก์ชนั ตรีโกณมิติ

5. จงใช้สตู รมุมครึง่ เท่า เพื่อหาค่าของ sin 15°

1
6. กาหนดให้ sin 𝜃 cos 𝜃 =
8
จงหาค่าของ cos 2 2𝜃

7. จงพิสจู น์วา่ (sin 𝜃 + cos 𝜃)2 = 1 + sin 2𝜃

√2
8. จงพิสจู น์วา่ sin 1° sin 2° sin 3°… sin 89° = 245
sin 2° sin 4° sin 6°… sin 88°
ฟังก์ชนั ตรีโกณมิติ 33

9. จงพิสจู น์วา่ sin4 𝜃 − cos 4 𝜃 = − cos 2𝜃

10. ให้ 𝜃 เป็ นจานวนจริงใดๆ ถ้า 𝑎 และ 𝑏 เป็ นค่ามากสุดของ cos 4 𝜃 − sin4 𝜃 และ 3 sin 𝜃 + 4 cos 𝜃
ตามลาดับ แล้ว 𝑎 + 𝑏 เท่ากับเท่าใด [PAT 1 (ต.ค. 55)/29]

11. ค่าของ (sin 30°


sin 10°

cos 30°
cos 10°
) เท่ากับเท่าใด [PAT 1 (ก.ค. 52)/11]
34 ฟังก์ชนั ตรีโกณมิติ

12. ถ้า cos 𝜃 − sin 𝜃 =


√5
3
แล้วค่าของ sin 2𝜃 เท่ากับเท่าใด [PAT 1 (มี.ค. 52)/11]

13. ถ้า sec 𝜃 + cosec 𝜃 = 1 แล้ว sin 2𝜃 มีคา่ เท่ากับเท่าใด [A-NET 49/1-8]

14. ถ้า sin 15° และ cos 15° เป็ นคาตอบของสมการ 𝑥 2 + 𝑎𝑥 + 𝑏 = 0 แล้ว ค่าของ 𝑎4 − 𝑏 เท่ากับเท่าใด
[PAT 1 (ก.ค. 53)/13]
ฟังก์ชนั ตรีโกณมิติ 35

15. (3 − 4 sin2 9°)(3 − 4 sin2 27°)(3 − 4 sin2 81°)(3 − 4 sin2 243°) มีคา่ เท่ากับเท่าใด
[PAT 1 (ต.ค. 58)/4]

𝜃 𝜋 (1+sin 𝜃) sec2 𝜃
16. ถ้า 2 cot 2 = (1 + cot 𝜃)2 และ 0<𝜃<2 แล้วค่าของ cos 2𝜃
เท่ากับเท่าใด
[PAT 1 (ต.ค. 58)/5]

17. ข้อใดต่อไปนีถ้ กู ต้องบ้าง [PAT 1 (เม.ย. 57)/13]


1. ถ้า 𝐴 และ 𝐵 เป็ นจานวนจริง สอดคล้องกับสมการ sin2 𝐵 = sin 𝐴 cos 𝐴
แล้ว cos 2𝐵 = 2 cos2(45° + 𝐴)
2. ถ้า 0 ≤ 𝐴, 𝐵 ≤ 𝜋2 สอดคล้องกับ sin 𝐴 = √2 sin 𝐵 และ √3 sec 𝐵 = √2 sec 𝐴
แล้ว sin 10𝐴 + cos 10𝐵 = 0.5
36 ฟังก์ชนั ตรีโกณมิติ

18. ถ้า cos 5𝜃 = 𝑎 cos5 𝜃 + 𝑏 cos3 𝜃 + 𝑐 cos 𝜃 เมื่อ 𝜃 เป็ นจานวนจริงใดๆ


แล้วค่าของ 𝑎2 + 𝑏2 + 𝑐 2 เท่ากับเท่าใด [PAT 1 (เม.ย. 57)/33]

sin4 𝑥 cos4 𝑥 1 sin2 (2𝑥) cos2(2𝑥)


19. ถ้า 5
+ 7
= 12 สาหรับบาง 𝑥 > 0 แล้วค่าของ 5
+ 7
ตรงกับเท่าใด
[PAT 1 (พ.ย. 57)/29]

20. ให้ 𝑎 = sec 1° − tan 1° , 𝑏 = sec 2° − tan 2° ข้อใดต่อไปนี ้ มีคา่ มากที่สดุ


1. √𝑎 2. √𝑏 3. 𝑎 4. 𝑏
ฟังก์ชนั ตรีโกณมิติ 37

𝑎
21. กาหนดให้ 𝑎, 𝑏 ∈ 𝑅+ และ tan 𝜃 = 𝑏
cos 𝜃 4 sin 𝜃 4 sin 2𝜃 3𝑎 3 𝑏 2
ถ้า ( 𝑎
) +( 𝑏
) = 𝑎𝑏(𝑎2 +𝑏2 ) แล้ว จงหาค่าของ ( 𝑏 ) + (2𝑎) [PAT 1 (ธ.ค. 54)/41]

22. กาหนดให้ 𝑥 เป็ นจานวนจริง ถ้า sin 𝑥 + cos 𝑥 = 𝑎 และ sin 𝑥 − cos 𝑥 = 𝑏
แล้วค่าของ sin 4𝑥 เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้ [PAT 1 (มี.ค. 53)/7]
1. 12 (𝑎3 𝑏 − 𝑎𝑏3) 2. 12 (𝑎𝑏3 − 𝑎3 𝑏) 3. 𝑎𝑏3 − 𝑎3 𝑏 4. 𝑎3 𝑏 − 𝑎𝑏 3

23. ให้ 𝜃 เป็ นจานวนจริง ซึง่ สอดคล้องกับสมการ tan12 𝜃 + cot12 𝜃 + sin12 𝜃 + cos12 𝜃 = 7 แล้ว
tan2 2𝜃 มีคา่ เท่าใด [A-NET 51/2-6]
38 ฟังก์ชนั ตรีโกณมิติ

1
24. กาหนดให้ (sin 1°)(sin 3°)(sin 5°)...(sin 89°) =
2𝑛
ค่าของ 4𝑛 เท่ากับเท่าใด [PAT 1 (ต.ค. 53)/32]

25. ข้อใดต่อไปนีถ้ กู ต้องบ้าง [PAT 1 (มี.ค. 56)/9]


1. cos 10°−sin 10°
cos 10°+sin 10°
= sec 20° − tan 20°
2. √3 cot 20° = 1 + 4 cos 20°
ฟังก์ชนั ตรีโกณมิติ 39

สูตรแปลงผลคูณกับผลบวกลบ

สูตรแปลงผลคูณเป็ นผลบวกลบ

2 sin 𝐴 cos 𝐵 = sin(𝐴 + 𝐵) + sin(𝐴 − 𝐵)


2 cos 𝐴 sin 𝐵 = sin(𝐴 + 𝐵) − sin(𝐴 − 𝐵)
2 cos 𝐴 cos 𝐵 = cos(𝐴 + 𝐵) + cos(𝐴 − 𝐵)
−2 sin 𝐴 sin 𝐵 = cos(𝐴 + 𝐵) − cos(𝐴 − 𝐵)

เช่น 2 sin 15° cos 75° = sin(15° + 75°) + sin(15° − 75°)


√3 2−√3
= sin 90° + sin(−60°) = 1 + (− 2
) = 2
5𝜋 𝜋 5𝜋 𝜋 1
cos 12 cos 12 = (2 cos 12 cos 12) (2)
5𝜋 𝜋 5𝜋 𝜋 1
= (cos ( 12 + 12) + cos ( 12 − 12)) (2)
𝜋 𝜋 1 1 1 1
= (cos 2 + cos 3 ) (2) = (0 + 2) (2) = 4

√2 1 2
cos 15° = (2 cos 15° ∙ )( ∙ )
2 2 √2
1 2
= (2 cos 15° sin 45°)(2 ∙ 2)

1
= (sin 60° − sin(−30°))( )
√2
√3 1 1 √3+1 √6+√2
= ( 2 − (− 2)) ( 2) = 2√2
= 4

1
sin (𝜃 + 30°) sin (𝜃 − 30°) = (−2 sin (𝜃 + 30°) sin (𝜃 − 30°))(− 2)
1 − cos(2𝜃) 1
= (cos(2𝜃) − cos(60°))(− ) = +
2 2 4
1
sin 20° sin 40° sin 80° = (−2 sin 20° sin 40°)(sin 80°)(− 2)
1
= (cos 60° − cos(−20°))(sin 80°)(− 2)
1 1
= ( − cos 20°)(sin 80°)(− )
2 2
sin 80° 1
= ( 2 − cos 20° sin 80°) (− 2)
sin 80° 1 1
= ( 2 − 2 cos 20° sin 80° (2)) (− 2)
sin 80° 1 1
= ( − (sin 100° − sin(−60°)) ( )) (− )
2 2 2

sin 80° √3 1 1
= ( 2
− (sin 80° + 2
) (2)) (− 2)
sin 80° sin 80° √3 1 √3 1 √3
= ( 2
− 2 − 4 ) (− 2) = (− 4
) (− 2) = 8
40 ฟังก์ชนั ตรีโกณมิติ

สูตรแปลงผลบวกลบเป็ นผลคูณ

𝐴+𝐵 𝐴−𝐵
sin 𝐴 + sin 𝐵 = 2 sin ( 2
) cos ( 2 )
𝐴+𝐵 𝐴−𝐵
sin 𝐴 − sin 𝐵 = 2 cos ( 2 ) sin ( 2 )
𝐴+𝐵 𝐴−𝐵
cos 𝐴 + cos 𝐵 = 2 cos ( ) cos ( )
2 2
𝐴+𝐵 𝐴−𝐵
cos 𝐴 − cos 𝐵 = −2 sin ( 2 ) sin ( 2 )

หมายเหตุ: จะเห็นว่าไม่มีสตู รแปลง sin 𝐴 + cos 𝐵 กับ cos 𝐴 + sin 𝐵


ถ้าจะแปลง ต้องใช้โคฟังก์ชนั แปลงให้เป็ น sin ทัง้ คู่ (หรือ cos ทั่งคู)่ ก่อน
15°+75° 15°−75°
เช่น sin 15° + sin 75° = 2 sin ( 2
) cos ( 2 )
√2 √3 √6
= 2 sin 45° cos (−30°) = 2 ∙ 2
∙ 2 = 2
5𝜋 5𝜋 5𝜋 𝜋 5𝜋
cos 12 − sin 12 = cos 12 − cos ( 2 − 12 )
5𝜋 𝜋
= cos − cos
12 12
𝜋 𝜋 √2 1 √2
= −2 sin sin = −2 ∙ ∙ = −
4 6 2 2 2

cos 20° − sin 50° + cos 100° = sin 70° − sin 50° + cos 100°
= 2 cos 60° sin 10° + cos 100°
= sin 10° + cos 100°
= sin 10° − sin 10° = 0

แบบฝึ กหัด
1. จงหาค่าในแต่ละข้อต่อไปนี ้
5𝜋 𝜋
1. 2 cos 75° cos 15° 2. sin
12
sin
12

𝜃 3𝜃
3. cos 2 sin 2
4. cos 20° − 2 sin 70° sin 50°
ฟังก์ชนั ตรีโกณมิติ 41

5. cos 20° cos 40° cos 80° 6. cos 10° sin 40° cos 70°

2. จงหาค่าในแต่ละข้อต่อไปนี ้
𝜋 𝜋
1. cos 15° + cos 75° 2. sin 12 − cos 12

3. cos 20° + cos 100° − sin 130° 4. sin 80° − sin 20° + cos 230°

cos 20°+sin 50°


5. sin 80°
6. sin 10° + sin 20° + sin 40° + sin 50°
− sin 70° − sin 80°
42 ฟังก์ชนั ตรีโกณมิติ

3. จงหาค่าของ cos2 20° + cos2 40° + cos2 60° + … + cos2 160°

4. ข้อใดต่อไปนีถ้ กู ต้อง [PAT 1 (ต.ค. 55)/9]


1. cos 75° = (2 − √3) cos 15°
2. cos 10° + sin 40° = cos 20°
3. ถ้า 𝐴 เป็ นจานวนจริงใดๆแล้ว tan 3𝐴
cot 𝐴
cos 2𝐴+cos 4𝐴
= cos 2𝐴−cos 4𝐴
4. ถ้า 𝐴 และ 𝐵 เป็ นจานวนจริงใดๆแล้ว sin 2𝐴 + cos 2𝐵 = 2 sin(𝐴 − 𝐵) cos(𝐴 + 𝐵)
ฟังก์ชนั ตรีโกณมิติ 43

5. จงหาค่าของ 2 sin2 60° (tan 5° + tan 85°) − 12 sin 70° [PAT 1 (มี.ค. 55)/28]

sin 25° sin 85° sin 35°


6. sin 75°
ตรงกับข้อใดต่อไปนี ้ [PAT 1 (พ.ย. 57)/6]
1. tan 15° 2. sin 15° sin 75°
3. cos 20° cos 40° cos 80° 4. sec 420°
44 ฟังก์ชนั ตรีโกณมิติ

7. กาหนดให้ 𝜃 เป็ นจานวนจริงใดๆ ข้อใดต่อไปนีถ้ กู ต้องบ้าง [PAT 1 (มี.ค. 57)/11]


1. 16 sin3 𝜃 cos2 𝜃 = 2 sin 𝜃 + sin 3𝜃 − sin 5𝜃
2. sin 3𝜃 = (sin 2𝜃 + sin 𝜃)(2 cos 𝜃 − 1)

𝜃 5𝜃
8. กาหนดให้ 8 cos(2𝜃) + 8 sec(2𝜃) = 65 เมื่อ 0 < 𝜃 < 90° ค่าของ 160 sin(2 ) sin( 2 ) เท่ากับเท่าใด
[PAT 1 (พ.ย. 57)/40]
ฟังก์ชนั ตรีโกณมิติ 45

2 cos 10°−cos 50°


9. ค่าของ arctan ( sin 70°−cos 80°
) เท่ากับกี่องศา [PAT 1 (มี.ค. 58)/8]

10. จงหาค่าของ (cos2 70° + cos2 20°)(cos2 50° + cos2 10°) − sin 40° sin 80°

11. ถ้า 𝛼 และ 𝜃 เป็ นจานวนจริงโดยที่ 0 < 𝜃 < 𝛼 < 90° และสอดคล้องกับสมการ tan(𝛼 + 𝜃) = 5 tan(𝛼 − 𝜃)
แล้ว (sin 2𝜃)(cosec 2𝛼) เท่ากับเท่าใด [PAT 1 (มี.ค. 58)/14]
46 ฟังก์ชนั ตรีโกณมิติ

12. จงหาค่าของ cos 72° + cos 144°

13. พิจารณาข้อความต่อไปนี ้ ข้อใดต่อไปนีถ้ กู ต้องบ้าง [PAT 1 (ต.ค. 55)/8]


1. cos 𝜋5 + cos 3𝜋
5
+ cos 𝜋 = 2
1

2. tan 7𝜋
16
− tan
3𝜋
8
= cosec
𝜋
8

tan 20°+4 sin 20°


14. จงหาค่าของ sin 20° sin 40° sin 80°
[PAT 1 (ธ.ค. 54)/31]
ฟังก์ชนั ตรีโกณมิติ 47

cos 36°−cos 72°


15. ค่าของ sin 36° tan 18°+cos 36°
เท่ากับเท่าใด [PAT 1 (มี.ค. 53)/30]

44 44
 cos n  sin n
16. ค่าของ n 1
44
− n 1
44
เท่ากับเท่าใด [PAT 1 (ก.ค. 53)/29]
 sin n  cos n
n 1 n 1
48 ฟังก์ชนั ตรีโกณมิติ

สมการตรีโกณมิติ

สมการตรีโกณมิติ คือ สมการที่มฟี ั งก์ชนั ตรีโกณมิติอยูใ่ นสมการ


โดยปกติแล้ว สมการตรีโกณมิติ มักจะมี “หลายคาตอบ” เนื่องจาก

 sin (และ cosec) ใช้คา่ จากแกน Y คี่𝜋 − 𝜃 คู𝜋่ + 𝜃


ดังนัน้ “มุมสะท้อนแกน Y” จะมีคา่ sin เท่ากันเสมอ 𝜃
เช่น sin 30° = sin 150° เป็ นต้น
จากรูป สูตรหามุมสะท้อนแกน Y ของ 𝜃 คือ คู𝜋่ + 𝜃 และ คี่𝜋 − 𝜃

 cos (และ sec) ใช้คา่ จากแกน X


2𝑛𝜋 + 𝜃
ดังนัน้ “มุมสะท้อนแกน X” จะมีคา่ cos เท่ากันเสมอ 𝜃
เช่น cos 30° = cos(−30°) เป็ นต้น
2𝑛𝜋 − 𝜃
จากรูป สูตรหามุมสะท้อนแกน X ของ 𝜃 คือ 2𝑛𝜋 + 𝜃 และ 2𝑛𝜋 − 𝜃

 tan (และ cot) ใช้คา่ จากแกน Y หาร แกน X


คู𝜋่ + 𝜃
ดังนัน้ “มุมสะท้อน 2 แกน” จะมีคา่ tan เท่ากันเสมอ
𝜃
เช่น tan 30° = tan 210° เป็ นต้น 𝜃
คี่𝜋 + 𝜃
จากรูป สูตรหามุมสะท้อน 2 แกนของ 𝜃 และ 𝑛𝜋 + 𝜃

หมายเหตุ: cosec คิดเหมือน sin , sec คิดเหมือน cos , cot คิดเหมือน tan

ในการแก้สมการตรีโกณ เราจะหา “คาตอบพืน้ ฐาน” ที่ตวั เลขน้อยๆ ออกมาก่อน


sin , tan , cosec → คาตอบพืน้ ฐานจะอยูใ่ นช่วง −90° ถึง 90°
cos , cot , sec → คาตอบพืน้ ฐานจะอยูใ่ นช่วง 0° ถึง 180°
จากนัน้ เราจะนาคาตอบพืน้ ฐานที่ได้ มาสะท้อนหาคาตอบที่เหลือ ในช่วงมุมที่โจทย์ตอ้ งการ

√3
ตัวอย่าง กาหนดให้ 𝜃 ∈ [0 , 2𝜋] จงแก้สมการ cos 𝜃 = −
2

วิธีทา หา 𝜃 เลขน้อยๆซักตัว ที่ทาให้ cos 𝜃 = − √23 จะได้ 𝜃 = 150°


จากนัน้ เราจะสะท้อนมุม 150° เพื่อหาคาตอบทีเ่ หลือ
สมการ cos ต้องสะท้อนแกน X โดยเอาเฉพาะช่วง [0 , 2𝜋]
จากรูป จะได้คาตอบคือ 150° และ 210° #

ในกรณีที่โจทย์ ไม่ระบุชว่ งคาตอบที่ตอ้ งการ เรานิยมใช้สตู รสะท้อน 𝜃 ดังนี ้

sin , cosec → มุมสะท้อนแกน Y ของ 𝜃 = 𝑛𝜋 + (−1)𝑛 𝜃


เมื่อ 𝑛 เป็ นจานวน
cos , sec → มุมสะท้อนแกน X ของ 𝜃 = 2𝑛𝜋 ± 𝜃 เต็มอะไรก็ได้
tan , cot → มุมสะท้อน 2 แกน ของ 𝜃 = 𝑛𝜋 + 𝜃
ฟังก์ชนั ตรีโกณมิติ 49

ตัวอย่าง จงแก้สมการ sin 𝜃 = 12


วิธีทา หา 𝜃 เลขน้อยๆ ที่ทาให้ sin 𝜃 = 12 จะได้ 𝜃 = 30° =6
𝜋

สมการ sin ต้องหามุมสะท้อนแกน Y ของ 𝜋6


จะได้คาตอบ คือ 𝜃 = 𝑛𝜋 + (−1)𝑛 (𝜋6) #

ตัวอย่าง จงแก้สมการ sin 𝑥 + cos 𝑥 = 1 เมื่อ 𝑥 ∈ [0, 2𝜋]


วิธีทา ใช้สตู รผลบวกผลต่างมุม จัดรูป sin 𝑥 + cos 𝑥 ให้ง่ายขึน้ ได้ดงั นี ้
sin 𝑥 + cos 𝑥 = 1
√2 √2 √2
( 2 ) sin 𝑥 + ( 2 ) cos 𝑥 = 2
√2
cos 45° sin 𝑥 + sin 45° cos 𝑥 = 2
√2
sin(𝑥 + 45°) = 2

สมการ sin 𝜃 = √22 จะมีคาตอบพืน้ ฐานคือ 𝜃 = 45° ดังนัน้ คาตอบทั่วไป คือ 𝑛𝜋 + (−1)𝑛 (45°)
ดังนัน้ 𝑥 + 45° = 𝑛𝜋 + (−1)𝑛 (45°) จะได้ 𝑥 = 𝑛𝜋 + (−1)𝑛 (45°) − 45°
แทน 𝑛 = … , −3 , −2 , −1 , 0 , 1 , 2 , 3 , … แล้วเลือกตอบเฉพาะ 𝑥 ∈ [0, 2𝜋]
𝑛 = −1: 𝑥 = −180° − 45° − 45° = −270° ใช้ไม่ได้
𝑛=0: 𝑥 = 0° + 45° − 45° = 0° ใช้ได้
𝑛=1: 𝑥 = 180° − 45° − 45° = 90° ใช้ได้
𝑛=2: 𝑥= 360° + 45° − 45° = 360° ใช้ได้
𝑛=3: 𝑥= 540° − 45° − 45° = 450° ใช้ไม่ได้
ดังนัน้ จะได้คาตอบคือ 𝑥 = 0°, 90°, 360° #

เทคนิคทุกอย่างจากเรือ่ งสมการ สามารถนามาใช้กบั การแก้สมการตรีโกณมิติได้ทงั้ หมด


ไม่วา่ จะเป็ นเทคนิคการแยกตัวประกอบแล้วจับแต่ละวงเล็บ = 0
หรือ เทคนิคการเปลีย่ นตัวแปร เช่น sin2 𝜃 + sin 𝜃 − 2 → 𝐴2 + 𝐴 − 2
(ถ้าจะให้ 𝐴 = sin 𝜃 หรือ cos 𝜃 ต้องตัดคาตอบ ให้เหลือเฉพาะ −1 ≤ 𝐴 ≤ 1 เท่านัน้ )

ตัวอย่าง จงแก้สมการ cos 2𝑥 = cos 𝑥


วิธีทา ข้อนี ้ ทาได้หลายวิธี วิธีแรกคือ กระจาย cos 2𝑥 แล้วแยกตัวประกอบ
cos 2𝑥 = cos 𝑥
2 cos 2 𝑥 − 1 = cos 𝑥
2 cos2 𝑥 − cos 𝑥 − 1 = 0
(2 cos 𝑥 + 1)(cos 𝑥 − 1) = 0

1 cos 𝑥 = 1
cos 𝑥 = − 2
2𝜋 𝑥 = 2𝑛𝜋 ± 0
𝑥 = 2𝑛𝜋 ± = 2𝑛𝜋
3
50 ฟังก์ชนั ตรีโกณมิติ

อีกวิธี อาศัยหลักว่า cos 2𝑥 กับ cos 𝑥 จะเท่ากันได้ เมื่อ 2𝑥 และ 𝑥 เป็ นมุมสะท้อนแกน X ซึง่ กันและกัน
นั่นคือ 2𝑥 = 2𝑛𝜋 ± 𝑥

2𝑥 = 2𝑛𝜋 + 𝑥 2𝑥 = 2𝑛𝜋 − 𝑥
𝑥 = 2𝑛𝜋 3𝑥 = 2𝑛𝜋
2𝑛𝜋
𝑥 = 3

โดยทัง้ สองวิธี เมื่อแจงคาตอบออกมา จะได้คาตอบชุดเดียวกัน #

แบบฝึ กหัด
1. กาหนดให้ 𝜃 ∈ [0 , 2𝜋] จงแก้สมการต่อไปนี ้
1. sin 𝜃 = 12 2. cos 𝜃 =
1
2

3. tan 𝜃 = 1 4. cot 𝜃 = −√3

2. จงแก้สมการต่อไปนี ้
1. cosec 𝜃 = √2 2. sec 𝜃 = −2

1
3. tan 𝜃 = √3 4. sin 𝜃 = − 2

5. sin 2𝑥 = cos 𝑥
ฟังก์ชนั ตรีโกณมิติ 51

3. กาหนดให้ 𝜃 ∈ [0 , 3𝜋
2
] จงแก้สมการต่อไปนี ้
1. 4 sin2 𝜃 = 1 2. sin2 𝜃 + cos 𝜃 + 1 = 0

3. cos 3𝑥 = cos 𝑥

𝜋
4. กาหนดให้ sin 𝐴 − sin 2𝐴 + sin 3𝐴 = 0 โดยที่ 0<𝐴<2
แล้ว tan 𝐴 − tan 2𝐴 + tan 3𝐴 จะมีคา่ เท่าใด
52 ฟังก์ชนั ตรีโกณมิติ

5. พิจารณาข้อความต่อไปนี ้ เมื่อเอกภพสัมพัทธ์ คือเซตของจานวนจริง ข้อใดถูกต้องบ้าง


1. ∃𝑥(cot 2𝑥 − cot 𝑥 = 0)
2. ∀𝑥 (sin4 𝑥 + cos4 𝑥 = 1 − 12 sin2 2𝑥)

6. สาหรับ 0 ≤ 𝑥 ≤ 2𝜋 กาหนดให้ 𝐴 = { 𝑥 | −3 cos 𝑥 = 2 sin2 𝑥 และ cos 𝑥 < 0 }


และ 𝐵 = { sec 3𝑥 − cos 2𝑥 | 𝑥 ∈ 𝐴 } จงหาค่าของผลบวกของสมาชิกทัง้ หมดทีอ่ ยูใ่ น 𝐵

7. กาหนดให้ sin 𝜃 − sin 2𝜃 + sin 3𝜃 = 0 โดยที่ 0 < 𝜃 < 𝜋2


tan 𝜃−tan 2𝜃 sin 3𝜃+sin 4𝜃+sin 5𝜃
ถ้า 𝑎 = cos 𝜃−cos 2𝜃
และ 𝑏 = cos 3𝜃+cos 4𝜃+cos 5𝜃
แล้วค่าของ 𝑎4 + 𝑏 4 เท่ากับเท่าใด
[PAT 1 (มี.ค. 57)/36]
ฟังก์ชนั ตรีโกณมิติ 53

8. กาหนดให้ 180° < 𝜃 < 270°


2
4 cos 𝜃
ถ้า 3(2)sin 𝜃 (9) = 2(3)sin 𝜃 แล้วจงหาค่าของ 3 tan2 𝜃 − 2 sin 3𝜃 [PAT 1 (ธ.ค. 54)/8]

9. ให้ 𝐴 เป็ นเซตคาตอบของ cos 𝑥 = cos (𝑥4) จานวนสมาชิกในเซต 𝐴 ∩ (0, 24𝜋) เท่ากับเท่าใด
[PAT 1 (มี.ค. 54)/33]
54 ฟังก์ชนั ตรีโกณมิติ

10. กาหนดให้ 𝑎 เป็ นจานวนจริง และสอดคล้องกับสมการ 5(sin 𝑎 + cos 𝑎) + 2 sin 𝑎 cos 𝑎 = 0.04
ค่าของ 125(sin3 𝑎 + cos 3 𝑎) + 75 sin 𝑎 cos 𝑎 เท่ากับเท่าใด [PAT 1 (ต.ค. 53)/33]

4 sin 𝑥 12 sin 3𝑥 36 sin 9𝑥 27


11. จงแก้สมการ 1+2 cos 2𝑥
+ 1+2 cos 6𝑥 + 1+2 cos 18𝑥 = sin 27𝑥 − 1
ฟังก์ชนั ตรีโกณมิติ 55

ฟั งก์ชนั อาร์ค

หัวข้อนี ้ จะเรียนเกี่ยวกับ “อินเวอร์ส” ของฟั งก์ชนั ตรีโกณมิติ ซึง่ จะหมายถึง ฟั งก์ชนั ทีใ่ ห้ผลลัพธ์กลับกันกับฟั งก์ชนั ปกติ
sin
เนื่องจาก sin, cos, tan จะเปลีย่ น “มุมเป็ นค่า” เช่น sin 30° = 12 1
30°
ดังนัน้ อินเวอร์ส จะเปลีย่ นกลับจาก 12 เป็ น 30° ดังรูป 2
sin−1

เนื่องจากฟังก์ชนั ตรีโกณ เป็ นแบบ many to one (เช่น sin 30° กับ sin 150° ได้ 12 เท่ากัน)
ดังนัน้ อินเวอร์ส จะมีผลลัพธ์ได้หลายค่า และจะไม่ใช่ฟังก์ชนั (เช่น sin−1 จะโยง 12 ไปที่ 30°, 150°, 390°, … เป็ นต้น)
อย่างไรก็ตาม นักคณิตศาสตร์ตอ้ งการอินเวอร์สที่ไม่กากวม จึงกาหนด “ฟั งก์ชนั arc” ขึน้ มา
โดยถ้าอยากได้อินเวอร์สของฟั งก์ชนั ไหน เราจะเติม arc เข้าไปข้างหน้า เช่น arcsin , arccos , arctan เป็ นต้น
หลักทั่วๆไปในการหาอินเวอร์สด้วยฟั งก์ชนั arc คือ ให้ตอบมุมที่ “เลขน้อยที่สดุ ” แค่มมุ เดียว
เช่น sin 30° = sin 150° = 12 แต่ถา้ ถาม arcsin 12 ให้ตอบ 30° มุมเดียว
1 1
sin (−30°) = sin 210° = − 2 แต่ถา้ ถาม arcsin (− 2) ให้ตอบ −30° มุมเดียว เป็ นต้น
√3 √3
ดังนัน้ arcsin 2
= 60° , 120° arccos 2
= 30° , 330°
√3
arcsin(− 2
) = −60° , 240° , 300° arctan(−1) = −45° , 135° , 315°
arccot √3 = 30° , 210° arcsec(−2) = 120°, 240°

โดยเราจะต้องจาว่า arcsin , arctan , arccosec จะได้มมุ ในช่วง −90° ถึง 90°


arccos , arccot , arcsec จะได้มมุ ในช่วง 0° ถึง 180°
หรือถ้าตอบในหน่วยเรเดียน เราจะสรุปโดเมน กับ เรนจ์ ของฟั งก์ชนั อาร์ค ได้ดงั นี ้
กลุม่ −90° ถึง 90° กลุม่ 0° ถึง 180°
โดเมน เรนจ์ โดเมน เรนจ์
𝜋 𝜋
arcsin [−1, 1] [− , ] arccos [−1, 1] [0, 𝜋]
2 2
𝜋 𝜋
arctan R (− , ) arccot R (0, 𝜋)
2 2
𝜋 𝜋 𝜋 𝜋
arccosec (−∞,−1] ∪ [1, ∞) [− , 0) ∪ (0, ] arcsec (−∞,−1] ∪ [1, ∞) [ 0, ) ∪ ( , 𝜋 ]
2 2 2 2

เนื่องจากฟังก์ชนั อาร์ค เป็ นการแปลงย้อนกลับ ดังนัน้ arcsin(sin 𝑥) = 𝑥 และ sin(arcsin 𝑥) = 𝑥


แต่ตอ้ งอย่าลืมว่า ประโยคดังกล่าว จะเป็ นจริงเฉพาะเมื่อ 𝑥 อยูใ่ นขอบเขตของโดเมนกับเรนจ์ที่ระบุในตารางเท่านัน้
กล่าวคือ sin(arcsin 𝑥) = 𝑥 จริงเฉพาะเมื่อ 𝑥 อยูใ่ น “เรนจ์” ของ sin นั่นคือ เมื่อ 𝑥 ∈ [−1, 1]
𝜋 𝜋
arcsin(sin 𝑥) = 𝑥 จริงเฉพาะเมื่อ 𝑥 อยูใ่ น “เรนจ์” ของ arcsin นั่นคือ เมื่อ 𝑥 ∈ [− 2 , 2 ]
ดังจะเห็นได้จาก arcsin (sin 150°) = arcsin (12) = 30° ≠ 150°
56 ฟังก์ชนั ตรีโกณมิติ

และเนื่องจาก sin(arcsin 𝑥) = 𝑥 ดังนัน้ arcsin 𝑥 คือ “มุมที่ sin แล้วได้ 𝑥” นั่นเอง


เราสามารถใช้สามเหลีย่ ม แสดง “มุมที่ sin แล้วได้ 𝑥” ได้ดงั รูป
C
1
𝑥 จากพีทากอรัส จะได้ AB = √12 − 𝑥 2 = √1 − 𝑥 2
arcsin 𝑥
A B

เมื่อรู ้ AB เราจะสามารถหาฟั งก์ชนั ตรีโกณมิติอื่นๆ ของมุม arcsin 𝑥 ได้


𝑥
เช่น cos(arcsin 𝑥) = √1 − 𝑥 2 tan(arcsin 𝑥) =
√1−𝑥 2
เป็ นต้น

ในกรณีที่เป็ นฟังก์ชนั อาร์คของเลขติดลบ ให้แยกคิดเครือ่ งหมาย กับ ตัวเลข


 ตอนคิดเครือ่ งหมาย ให้พิจารณาจตุภาคของฟั งก์ชน ั อาร์คเป็ นหลักโดยไม่ตอ้ งสนใจตัวเลข
 ตอนคิดตัวเลข ให้เปลีย่ นเลขติดลบเป็ นเลขบวก แล้วคิดเป็ นมุมในจตุภาคที่ 1 ได้เลย
แล้วจึงเอา เครือ่ งหมาย กับ ตัวเลข ที่ได้ มาแปะติดกันแล้วตอบ

ตัวอย่าง จงหาค่าของ sin (arcsec (− 54))


วิธีทา 1. คิดเครือ่ งหมาย ตามจตุภาคก่อน
5 5
arcsec (− 4) คือมุมที่ sec แล้วได้ − 4 → sec เป็ นลบ แปลว่าเป็ นมุมใน Q 2 หรือ Q 3
ดังนัน้ sin (arcsec (− 54)) = sin Q2 → ได้เครือ่ งหมายเป็ นบวก

2. คิดตัวเลข แบบไม่ตอ้ งสนใจเครือ่ งหมาย


5 5
C
arcsec 4 คือมุมที่ sec แล้วได้ 4 → วาดได้ดงั รู ป 5
จากพีทากอรัส จะได้ BC = 3 5
arcsec
ดังนัน้ sin (arcsec (− 54)) = 35
4
A B
4

5 3
รวมเครือ่ งหมายจาก 1. กับตัวเลขจาก 2. จะได้ sin (arcsec (− 4)) = 5
#

ตัวอย่าง จงหาค่าของ cosec (arctan (− 43))


วิธีทา 1. คิดเครือ่ งหมาย ตามจตุภาคก่อน
4 4
arctan (− 3) คือมุมที่ tan แล้วได้ − 3 → tan เป็ นลบ แปลว่าเป็ นมุมใน Q 2 หรือ Q 4
ดังนัน้ cosec (arctan (− 43)) = cosec Q4 → ได้เครือ่ งหมายเป็ นลบ

2. คิดตัวเลข แบบไม่ตอ้ งสนใจเครือ่ งหมาย


C
4 4
arctan ( ) คือมุมที่ tan แล้วได้ → วาดได้ดงั รู ป
3 3
จากพีทากอรัส จะได้ AC = 5 4
4
arctan
3
ดังนัน้ cosec (arctan (43)) = 54 A
3
B

4 5
รวมเครือ่ งหมายจาก 1. กับตัวเลขจาก 2. จะได้ cosec (arctan (− 3)) = − 4 #
ฟังก์ชนั ตรีโกณมิติ 57

ตัวอย่าง จงหาค่าของ sin(2 arctan 2)


C
วิธีทา จากสูตร sin มุม 2 เท่า จะได้ = √22 + 12
= √5
sin(2 arctan 2) = 2 sin(arctan 2) cos(arctan 2) 2
2 1
=2× × arctan 2
√5 √5 A B
4 1
= 5
#

อย่างไรก็ตาม มีสตู รที่นิยมท่องกัน ดังนี ้


1. สูตรอินเวอร์ส
sin(arcsin 𝑥) = 𝑥 cosec(arccosec 𝑥) = 𝑥
cos(arccos 𝑥) = 𝑥 sec(arcsec 𝑥) =𝑥
tan(arctan 𝑥) = 𝑥 cot(arccot 𝑥) =𝑥

2. สูตรส่วนกลับ
1 1
sin(arccosec 𝑥) = cosec(arcsin 𝑥) =
𝑥 𝑥
1 1
cos(arcsec 𝑥) = 𝑥
sec(arccos 𝑥) = 𝑥
1 1
tan(arccot 𝑥) = 𝑥
cot(arctan 𝑥) = 𝑥

3. สูตรค่าลบ
arcsin(−𝑥) = − arcsin 𝑥 arccosec(−𝑥) = − arccosec 𝑥
arccos(−𝑥) = 𝜋 − arccos 𝑥 arcsec(−𝑥) = 𝜋 − arcsec 𝑥
arctan(−𝑥) = − arctan 𝑥 arccot(−𝑥) = 𝜋 − arccot 𝑥

4. สูตรโคฟั งก์ชนั
arcsin 𝑥 + arccos 𝑥 = 90°
arctan 𝑥 + arccot 𝑥 = 90°
arcsec 𝑥 + arccosec 𝑥 = 90°

5. สูตรพิทากอรัส
sin(arccos 𝑥) = √1 − 𝑥 2
cos(arcsin 𝑥) = √1 − 𝑥 2

หมายเหตุ : สูตรเหล่านี ้ จะเป็ นจริงเมื่อ 𝑥 อยูใ่ นโดเมนของฟั งก์ชนั arc ในสูตรเท่านัน้

โจทย์อีกประเภท คือ การแก้สมการอาร์ค


ส่วนใหญ่วิธีแก้ คือให้ใส่ฟังก์ชนั ตรีโกณมิติเข้าไปทัง้ สองข้าง เพื่อตัดฟั งก์ชนั อาร์คให้หายไป
และก่อนตอบ ให้ตรวจคาตอบด้วยเสมอ
58 ฟังก์ชนั ตรีโกณมิติ

ตัวอย่าง จงแก้สมการ arcsin 𝑥 = arccos 𝑥


วิธีทา arcsin 𝑥 = arccos 𝑥
sin(arcsin 𝑥) = sin(arccos 𝑥) C
𝑥 = √1 − 𝑥2 1
= √1 − 𝑥 2
𝑥2 = 1 − 𝑥2
arccos 𝑥
2 A 𝑥 B
2𝑥 = 1
1
𝑥2 =
2
1 √2
𝑥 = ±√2 = ± 2

√2 √2 √2
ตรวจคาตอบ: แทน 𝑥= 2
จะได้ arcsin 2
= 45° = arccos 2
จริง
√2 √2
แทน 𝑥=− 2
จะได้ arcsin (− 2
) = −45°
√2
แต่ arccos (− 2 ) = 135° ดังนัน้ − √22 ไม่ใช่คาตอบ
√2
ดังนัน้ คาตอบของข้อนี ้ จึงมีเพียง 𝑥 = 2 #

แบบฝึ กหัด
1. จงหาค่าในแต่ละข้อต่อไปนี ้
√2
1. arcsin
2
2. arccos 0

3. arctan(−√3) 4. arccosec(−1)

√2 √2
5. arccos (− 2
) 6. arcsin (− 2
)

2. จงหาค่าในแต่ละข้อต่อไปนี ้
1. sin (arcsin 13) 2. cos (arcsin 4)
3

2 3
3. sin (arccos (− 3)) 4. sec (arctan − 4)
ฟังก์ชนั ตรีโกณมิติ 59

1 1
5. sin (arcsin 3 + arccos 2) 6. cot (arccot 2 − arccot 3)

7. tan (arctan 3 + arctan 2 + arccot 1)

3. จงแก้สมการต่อไปนี ้
1. arcsin 𝑥 = − 𝜋3 2. sin (2arctan 𝑥) =
3
5

𝜋
3. arccos 2𝑥 + arccos 𝑥 = 2
60 ฟังก์ชนั ตรีโกณมิติ

4. ถ้า 𝑥 เป็ นจานวนจริงที่มากที่สดุ โดยที่ 0 < 𝑥 < 1 และสอดคล้องกับ


1
arctan(1 − 𝑥) + arccot(2𝑥) = 2arcsec√1 + 2𝑥(1 − 𝑥) แล้ว ค่าของ cos 𝜋𝑥 เท่ากับเท่าไร

𝜋 𝜋
5. กาหนดให้ 𝑥 เป็ นจานวนจริง ถ้า arcsin 𝑥 = 4
แล้วค่าของ sin (15 + arccos(𝑥 2 )) อยูใ่ นช่วงใด
[PAT 1 (ก.ค. 53)/6]
1 1 1 1 √3 √3
1. (0, 2) 2. (2 ,
√2
) 3. ( , )
√2 2
4. ( 2 , 1)

6. sin(arctan 2 + arctan 3) เท่ากับเท่าใด [A-NET 49/1-7]


ฟังก์ชนั ตรีโกณมิติ 61

2 1+√6
7. cot (arccos √ − arccos
3 2√3
) มีคา่ เท่ากับเท่าใด [PAT 1 (มี.ค. 57)/12]

1 1
8. ค่าของ sec 2 (2 arctan 3 + arctan 7) เท่ากับเท่าใด [PAT 1 (ต.ค. 55)/28]

3
9. ค่าของ sec 2(arctan 2) + cosec 2(arccot 3) + cosec (2 arccot 2 + arccos 5) เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
[PAT 1 (ต.ค. 58)/6]
335 351 375 385 399
1. 24
2. 24
3. 24
4. 24
5. 24
62 ฟังก์ชนั ตรีโกณมิติ

1 2 𝜋
10. ถ้า arcsec 𝑥 = arcsin
√17
− 2 arccos
√5
แล้ว cot ( 2 + arcsec 𝑥) เท่ากับเท่าใด
[PAT 1 (ต.ค. 55)/10]

11. ค่าของ cot(arccot 7 + arccot 13 + arccot 21 + arccot 31) เท่ากับเท่าใด [PAT 1 (มี.ค. 54)/7]

1 1 7
tan[arccot − arccot + arctan ]
12. ค่าของ 5
5
3
12
9
เท่ากับเท่าใด [PAT 1 (ต.ค. 53)/31]
sin[arcsin +arcsin ]
13 13
ฟังก์ชนั ตรีโกณมิติ 63

𝜋 𝜋
13. กาหนดให้ 𝐴 = arcsin (cos 3 ) และ 0<𝐵<2
sin2 𝐵 + sin2 (𝐴 + 𝐵) + sin2 (5𝐴 + 𝐵) ตรงกับข้อใดต่อไปนี ้ [PAT 1 (ต.ค. 58)/7]
3
1. 0 2. 1 3. 2
− sin 2𝐵
3 3
4. 2
− cos 2𝐵 5. 2
− 2 cos 2𝐵

3 cos 𝜃 cos 𝜃
14. กาหนดให้ 0 < 𝜃 < 15° ค่าของ 𝑦 = arctan (
1−3 sin 𝜃
)− arccot (
3−sin 𝜃
) เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
[PAT 1 (เม.ย. 57)/12]
1. arctan(cot 𝜃) 2. arctan(tan 𝜃) 3. arctan(sin 𝜃) 4. arctan(cos 𝜃)

3 𝜋
15. ถ้า (sin 𝜃 + cos 𝜃)2 =
2
เมื่อ 0≤𝜃≤ 4
แล้ว arccos(tan 3𝜃) มีคา่ เท่าใด [PAT 1 (ต.ค. 52)/2-6]
64 ฟังก์ชนั ตรีโกณมิติ

16. ถ้า arcsin(5𝑥) + arcsin(𝑥) = 𝜋2 แล้วค่าของ tan(arcsin 𝑥) เท่ากับเท่าใด [PAT 1 (ก.ค. 52)/13]

17. กาหนดให้ 0 < 𝜃 < 𝜋2 โดยที่ 𝜃 = arctan (√1−𝑥+1


√𝑥
) − arctan(√𝑥) เมื่อ 0<𝑥<1
ค่าของ tan 𝜃 + cot 𝜃 เท่ากับเท่าใด [PAT 1 (มี.ค. 56)/32]

18. ถ้า 𝑥 เป็ นจานวนจริงที่มากสุด โดยที่ 0<𝑥<1 และสอดคล้องกับ


1
arctan(1 − 𝑥) + arccot (2𝑥) = 2 arcsec √1 + 2𝑥(1 − 𝑥) แล้ว ค่าของ cos 𝜋𝑥 เท่ากับเท่าใด
[PAT 1 (มี.ค. 56)/10]
ฟังก์ชนั ตรีโกณมิติ 65

𝜋
19. ให้ −1 ≤ 𝑥 ≤ 1 เป็ นจานวนจริงซึง่ arccos 𝑥 − arcsin 𝑥 = 2552
𝜋
แล้ว ค่าของ sin (2552) เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้ [PAT 1 (มี.ค. 52)/13]
1. 2𝑥 2. 1 − 2𝑥 2 3. 2𝑥 2 − 1 4. −2𝑥

20. ข้อใดถูกต้องบ้าง [A-NET 50/1-12]


1. tan 14° + tan 76° = 2 cosec 28°
2. ถ้า 𝑥 > 0 และ sin(2 arctan 𝑥) = 45 แล้ว 𝑥 ∈ (13 , 3)

21. ให้ 𝐴 เป็ นเซตคาตอบของสมการ arccos(𝑥) = arccos(𝑥√3) + arccos(√1 − 𝑥 2 )


และให้ 𝐵 เป็ นเซตคาตอบของสมการ arccos(𝑥) = arcsin(𝑥) + arcsin(1 − 𝑥)
จานวนสมาชิกของเซต 𝑃(𝐴 − 𝐵) เท่ากับเท่าใด เมื่อ 𝑃(𝑆) แทนเพาเวอร์เซตของเซต 𝑆
[PAT 1 (มี.ค. 55)/29]
66 ฟังก์ชนั ตรีโกณมิติ

22. กาหนดให้ 𝑐 = arcsin 35 + arccot 53 − arctan 198


1 1
ถ้า 𝐴 เป็ นเซตคาตอบของสมการ arccot 2𝑥 + arccot 3𝑥 = 𝑐 จงหาผลคูณของสมาชิกใน 𝐴
[PAT 1 (ธ.ค. 54)/16]

23. ให้ 𝛼 และ 𝛽 เป็ นมุมแหลมของรูปสามเหลีย่ มมุมฉาก โดยที่ tan 𝛼 = 𝑎𝑏


ถ้า cos (arcsin (√𝑎2𝑎+𝑏2)) + sin (arccos (√𝑎2𝑎+𝑏2)) = 1 แล้ว sin 𝛽 มีคา่ เท่ากับเท่าใด
[PAT 1 (มี.ค. 53)/29]
ฟังก์ชนั ตรีโกณมิติ 67

การนาไปใช้กบั สามเหลีย่ ม

ในเลขพืน้ ฐาน เราได้เรียนวิธีนาความรูใ้ นเรือ่ งอัตราส่วนตรีโกณมิติไปใช้หาความยาวด้านของสามเหลีย่ มมุมฉากมาแล้ว


ในเรือ่ งนี ้ เราจะได้เรียนกฎเกี่ยวกับสามเหลีย่ มเพิ่มอีก 2 กฎ คือ กฎของ cos และ กฎของ sin
ซึง่ 2 กฎนีจ้ ะสามารถนาไปใช้กบั สามเหลีย่ มอะไรก็ได้ ไม่ตอ้ งจาเป็ นต้องเป็ นสามเหลีย่ มมุมฉากเหมือนเมื่อก่อน

กฎของ cos
C
𝑎2 = 𝑏 2 + 𝑐 2 − 2𝑏𝑐 cos A
𝑏 𝑎 𝑏 2 = 𝑎2 + 𝑐 2 − 2𝑎𝑐 cos B
𝑐 2 = 𝑎2 + 𝑏 2 − 2𝑎𝑏 cos C
A 𝑐 B

กฎของ sin
C

𝑏 𝑎
𝑎 𝑏 𝑐
𝑅 sin A
= sin B
= sin C
(= 2R)
A 𝑐 B

ตัวอย่าง จากรูป จงหา AB


C
5 60° 6

A B

วิธีทา จากกฎของ cos จะได้ AB 2 = 52 + 62 − 2(5)(6) cos 60°


1
= 25 + 36 − 2(5)(6) (2) = 31
ดังนัน้ AB = √31 #

ตัวอย่าง สามเหลีย่ ม ABC มีดา้ นทัง้ สาม ยาว 3, 5 และ 7 หน่วย ตามลาดับ จงหาว่าสามเหลีย่ ม ABC เป็ นสามเหลีย่ ม
มุมแหลม, สามเหลีย่ มมุมฉาก หรือ สามเหลีย่ มมุมป้าน
วิธีทา ถ้าอยากจะรูว้ า่ เป็ นสามเหลีย่ มแบบไหน ต้องหาว่ามุมทีใ่ หญ่ที่สดุ ของสามเหลีย่ ม
7 3
เป็ นมุมแหลม มุมฉาก หรือมุมป้าน
𝑥
5 มุมที่ใหญ่ที่สดุ ของสามเหลีย่ ม ก็คือมุมที่อยูต่ รงข้ามด้านที่ยาวที่สดุ นั่นเอง
เนื่องจาก cos มุมแหลมเป็ นบวก cos มุมฉากเป็ นศูนย์ และ cos มุมป้านเป็ นลบ
เราจะใช้กฎของ cos เพื่อหาเครือ่ งหมายของ cos 𝑥
72 = 52 + 32 − 2(3)(5) cos 𝑥
2(3)(5) cos 𝑥 = 25 + 9 − 49
15 1
cos 𝑥 = − 60 = − 4
จะเห็นว่า cos 𝑥 เป็ นลบ ดังนัน้ 𝑥 เป็ นมุมป้าน นั่นคือสามเหลีย่ ม ABC เป็ นสามเหลีย่ มมุมป้านนั่นเอง #
68 ฟังก์ชนั ตรีโกณมิติ

ตัวอย่าง จากรูป ถ้า sin 𝐴 = 13 และกาหนดให้ B เป็ นมุมป้าน จงหา cos B


C
6
3

A B

วิธีทา ข้อนี ้ ไม่รูค้ วามยาว AB จะใช้ยงั ไม่สามารถใช้กฎของ cos เพื่อหา cos B ได้
แต่จะเห็นว่าใช้กฎของ sin เพื่อหา sin B ก่อนได้ ดังนี ้
3 6
sin A
= sin B
6 6 1 2
sin B = 3 × sin A = 3 × 3 = 3
แต่จากเอกลักษณ์ sin2 B + cos2 B = 1
2
จะได้ cos B = ±√1 − sin2 B = ±√1 − (23) 4
= ±√1 − 9 = ±
√5
3

แต่โจทย์บอกว่ามุม B เป็ นมุมป้าน ดังนัน้ cos ต้องเป็ นลบ ดังนัน้ cos B = − √5


3
#

แบบฝึ กหัด
1. จากรูป จงหาค่า 𝑥
1. 2.
60° 3 120° 𝑥
5
4
7
𝑥

3. 4.
30°
5 √39 𝑥
𝑥
7
45° 4

5.
45°
𝑥

3 75°
ฟังก์ชนั ตรีโกณมิติ 69

AC
2. กาหนดสามเหลีย่ ม ABC มี ̂ = 30°
A และ Ĉ = 105° จงหาค่าของ BC

3. กาหนดให้ ABC เป็ นรูปสามเหลีย่ มที่มีมมุ A เท่ากับ 60°, BC = √6 และ AC = 1


ค่าของ cos(2B) เท่ากับเท่าใด [PAT 1 (มี.ค. 52)/12]

4. ให้ ABC เป็ นรูปสามเหลีย่ ม โดยมี 𝑎, 𝑏 และ 𝑐 เป็ นความยาวของด้านตรงข้ามมุม A มุม B และ มุม C ตามลาดับ
ถ้ามุม C เท่ากับ 60° 𝑏 = 5 และ 𝑎 − 𝑐 = 2
แล้วความยาวของเส้นรอบรูปสามเหลีย่ ม ABC เท่ากับเท่าใด [PAT 1 (มี.ค. 55)/6]
70 ฟังก์ชนั ตรีโกณมิติ

5. กาหนดให้ ABC เป็ นรูปสามเหลีย่ มใดๆ ถ้าด้านตรงข้ามมุม A ยาว 14 หน่วย ความยาวของเส้นรอบรูปสามเหลีย่ ม


เท่ากับ 30 หน่วยและ 3 sin 𝐵 = 5 sin 𝐶 แล้ว sin 2𝐴 เท่ากับเท่าใด [PAT 1 (มี.ค. 56)/16]

6. กาหนดให้ ABC เป็ นรูปสามเหลีย่ มที่มีมมุ B และมุม C เป็ นมุมแหลม โดยที่ 25 cos B − 13 cos C = 15 ,
65(cos B + cos C) = 77 และด้านตรงข้ามมุม C ยาว 20 หน่วย ความยาวของเส้นรอบรู ปสามเหลีย่ ม ABC
เท่ากับเท่าใด [PAT 1 (เม.ย. 57)/32]
ฟังก์ชนั ตรีโกณมิติ 71

7. กาหนดให้ 𝐴𝐵𝐶 เป็ นรูปสามเหลีย่ มโดยมีความยาวของด้านตรงข้ามมุม 𝐴 มุม 𝐵 และมุม 𝐶 เท่ากับ 𝑎 หน่วย


𝑏 หน่วย และ 𝑐 หน่วย ตามลาดับ สมมุติวา่ มุม 𝐴 มีขนาดเป็ นสามเท่าของมุม 𝐵 และ 𝑎 = 2𝑏
ข้อใดต่อไปนีถ้ กู ต้องบ้าง [PAT 1 (พ.ย. 57)/3]
1. 𝐴𝐵𝐶 เป็ นรูปสามเหลีย่ มมุมฉาก
2. ถ้า 𝑎 = 𝑘𝑐 แล้ว 𝑘 สอดคล้องกับ 3𝑥 3 − 9𝑥 2 − 𝑥 + 3 = 0

8. กาหนดให้ ABC เป็ นรูปสามเหลีย่ มใดๆ โดยที่มีความยาวของด้านตรงข้ามมุม A มุม B และมุม C เท่ากับ 𝑎


หน่วย 𝑏 หน่วย และ 𝑐 หน่วย ตามลาดับ ถ้ามุม A มีขนาดมากกว่า 90° มุม B มีขนาด 45°
และ √2𝑐 = (√3 − 1)𝑎 แล้ว cos2(A − B − C) + cos 2 B + cos 2 C เท่ากับเท่าใด
[PAT 1 (มี.ค. 57)/33]
72 ฟังก์ชนั ตรีโกณมิติ

9. กาหนดให้ ABC เป็ นรูปสามเหลีย่ มใดๆ ถ้า 𝑎, 𝑏 และ 𝑐 เป็ นความยาวด้านของด้านตรงข้ามมุม A มุม B และ
1 1 3
มุม C ตามลาดับ โดยที่ 𝑎+𝑐 +
𝑏+𝑐
=
𝑎+𝑏+𝑐
แล้ว sin C เท่ากับเท่าใด [PAT 1 (ต.ค. 55)/16]

10. กาหนดให้ ABC เป็ นรูปสามเหลีย่ มซึง่ มีดา้ นตรงข้ามมุม A, B, C ยาว 2𝑎, 3𝑎, 4𝑎 ตามลาดับ ถ้า sin A = 𝑘 แล้ว
cot B + cot C มีคา่ เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้ [A-NET 50/1-13]
1
1. 6𝑘 2. 𝑘6 3. 3𝑘 1
4. 𝑘
3

11. ให้ ABC เป็ นรูปสามเหลีย่ ม ดังรูป


A

B D E C

ถ้ามุม AB̂C = 30° ̂ C = 135°


BA และ AD และ AE แบ่งมุม BÂC ออกเป็ น 3 ส่วนเท่าๆกัน
EC
แล้ว BC มีคา่ เท่าใด [PAT 1 (ต.ค. 53)/7]
ฟังก์ชนั ตรีโกณมิติ 73

12. กาหนดให้ ABC เป็ นรูปสามเหลีย่ มและ D เป็ นจุดกึ่งกลางด้าน BC


ถ้า AB = 4 หน่วย, AC = 3 หน่วย และ AD = 52 หน่วย แล้วด้าน BC ยาวเท่ากับเท่าใด
[PAT 1 (ก.ค. 52)/12]

13. กาหนดให้ ABC เป็ นรูปสามเหลีย่ มที่มีดา้ น AB ยาว √2 หน่วย


ถ้า BC3 + AC3 = 2BC + 2AC แล้ว cot C มีคา่ เท่ากับเท่าใด [PAT 1 (ต.ค. 52)/1-7]
74 ฟังก์ชนั ตรีโกณมิติ

14. ในรูปสามเหลีย่ ม ABC ใดๆ ถ้า 𝑎, 𝑏 และ 𝑐 เป็ นความยาวของด้านตรงข้ามมุม A มุม B และ มุม C ตามลาดับ
แล้ว 𝑎1 cos A + 𝑏1 cos B + 1𝑐 cos C เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้ [PAT 1 (ก.ค. 53)/7]
𝑎 2 +𝑏2 +𝑐 2 (𝑎+𝑏+𝑐)2 (𝑎+𝑏+𝑐)2 𝑎 2 +𝑏2 +𝑐 2
1. 2𝑎𝑏𝑐
2. 𝑎𝑏𝑐
3. 2𝑎𝑏𝑐
4. 𝑎𝑏𝑐

15. ให้ A, B และ C เป็ นจุดยอดของรูปสามเหลีย่ ม ABC และ Â < B̂ < Ĉ


โดยที่ tan A tan B tan C = 3 + 2√3 และ tan B + tan C = 2 + 2√3
ข้อใดถูกต้องบ้าง [A-NET 51/1-16]
1. tan C = 2 + √3
2. Ĉ = 5𝜋12
ฟังก์ชนั ตรีโกณมิติ 75

16. กาหนดให้รูปสามเหลีย่ ม ABC มีดา้ นตรงข้ามมุม A, B, C ยาว 𝑎, 𝑏, 𝑐 ตามลาดับ


และ (sin A − sin B + sin C)(sin A + sin B + sin C) = 3 sin A sin C
จงหาค่าของ √3 cosec 2 B + 3 sec 2 B [PAT 1 (ธ.ค. 54)/43]

17. กาหนดให้ 𝐴𝐵𝐶 เป็ นรูปสามเหลีย่ มใดๆ มีความยาวตรงข้ามมุม 𝐴 , 𝐵 และ 𝐶 เป็ น 𝑎 , 𝑏 และ 𝑐 หน่วยตามลาดับ
ถ้า 𝑎2 + 𝑏2 = 31𝑐 2 แล้วค่าของ 3 tan 𝐶 (cot 𝐴 + cot 𝐵) เท่ากับเท่าใด [PAT 1 (มี.ค. 54)/32]
76 ฟังก์ชนั ตรีโกณมิติ

18. กาหนด 𝐴𝐵𝐶 เป็ นรูปสามเหลีย่ ม โดยที่ จุดยอด 𝐴 จุดยอด 𝐵 และจุดยอด 𝐶 อยูบ่ นเส้นรอบวงของวงกลมวงหนึง่ มี
รัศมีเท่ากับ 𝑅 หน่วย ถ้าความยาวของด้านตรงข้ามมุม 𝐴 และมุม 𝐵 เท่ากับ 𝑎 และ 𝑏 หน่วยตามลาดับ
มุม 𝐴𝐵̂𝐶 เท่ากับ 18° และมุม 𝐴𝐶̂ 𝐵 เท่ากับ 36° แล้วค่าของ 𝑎 − 𝑏 เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
[PAT 1 (มี.ค. 58)/7]
1. 𝑅 2. 12 𝑅 3. 14 𝑅 4. 16 1
𝑅

19. กาหนดให้ ABC เป็ นรูปสามเหลีย่ ม โดยที่มีความยาวของด้านตรงข้ามมุม A มุม B มุม C เท่ากับ 𝑎 หน่วย 𝑏 หน่วย
และ 𝑐 หน่วย ตามลาดับ และมุม A มีขนาดเป็ นสองเท่าของมุม B ข้อใดต่อไปนีถ้ กู ต้อง [PAT 1 (เม.ย. 57)/11]
1. 𝑐 2 = 𝑎2 + 𝑎𝑏 2. 𝑐 2 = 𝑏2 + 𝑎𝑏 3. 𝑎2 = 𝑏2 + 𝑏𝑐 4. 𝑎2 = 𝑐 2 + 𝑏𝑐
ฟังก์ชนั ตรีโกณมิติ 77

การวัดมุมในหน่วยเรเดียน

1 √3
1. 1. (0, 1) 2. (−1, 0) 3. (−1, 0) 4. (2, 2
)
√2 √2 1 √3 1 √3
5. (0, 1) 6. ( 2
, 2 ) 7. (− 2 ,2
) 8. (2,− 2 )
√3 1 √2 √2 √3 1
9. (0, −1) 10. (− 2 , − 2 ) 11. (− 2 , 2 ) 12. ( 2 ,2)
1 √3 √3 1 1 √3
13. (2,− 2
) 14. (− 2 , − 2 ) 15. (0, −1) 16. (2,− 2 )

ฟั งก์ชนั ตรีโกณมิติ

1. 1. 1 2. −1 3. √3 4. √2
1
5. 2 6. √3
7. − 12 8. 1
1 4 1
9. −2 10. 3
11. หาไม่ได้ 12. 3

การวัดมุมในหน่วยองศา

1. 1. 420° 2. 144° 3. 18180° 4. −450°


5𝜋 2𝜋
2. 1. 6
2. 𝜋 3. 9
4. −15𝜋
1 √3
3. 1. 2
2. −
2
3. −√3 4. หาค่าไม่ได้

การแปลงมุมเป็ นรูปอย่างง่าย

1. 1. sin 𝜃 2. − cos 𝜃 3. tan 𝜃 4. − cos 𝜃


5. cosec 𝜃 6. cos 𝜃 7. − tan 𝜃 8. − sec 𝜃
9. − cosec 𝜃 10. − tan 𝜃 11. sec 𝜃 12. sec 𝜃
13. − cot 𝜃 14. cot 𝜃 15. sin 𝜃 16. − sin 𝜃
17. − cosec 𝜃 18. cos 𝜃 19. tan 𝜃 20. − cosec 𝜃
21. − sin 𝜃 22. − tan 𝜃 23. sin 80° 24. − cos 40°
25. − tan 15° 26. − sec 10° 27. − cosec 55° 28. − cot 70°
2. 1. 0 2. 0

3. 0
สังเกตุวา่ ดังนัน้ cos 3 20° = − cos3 160°
cos 20° = − cos 160°
cos 40° = − cos 140° ดังนัน ้ cos 3 40° = − cos3 140°
cos 60° = − cos 120° ดังนัน ้ cos 3 60° = − cos3 120°
cos 80° = − cos 100° ดังนัน ้ cos 3 80° = − cos3 100°
จะเห็นว่า ผลบวกที่โจทย์ถาม จะหักกันได้เป็ นคูๆ่
ดังนัน้ cos3 20° + cos3 40° + cos3 60° + … + cos3 160° = 0 #
78 ฟังก์ชนั ตรีโกณมิติ

กราฟฟั งก์ชนั ตรีโกณมิติ


3
1. 1. 1 2. 1 3. 0.05 4. 4
𝜋
2. 1. 2𝜋 2. 2𝜋 3. 2
4. 1
5. 2𝜋
3
6. 1
600
3. 𝑦 = 5 , 𝑥=𝜋 4. 𝑦 = −3 , 𝑡 = 𝜋, 3𝜋

สูตรพืน้ ฐาน

√3 1
1. 1. 1 2. 2
3. 1 4. √3
5. 1 6. 1 7. −1 8. −1
9. 1

1+sin 𝐴+1−sin 𝐴 2 2(cos2 𝐴+sin2 𝐴) 2 cos2 𝐴 2 sin2 𝐴


2. LHS = 1−sin2 𝐴
= cos2 𝐴 = cos2 𝐴
= cos2 𝐴
+ cos2 𝐴
= RHS

3. 19
= 4(1 − cos2 𝜃) + 11 cos 𝜃 − 1 → 0 = 4 cos2 𝜃 − 11 cos 𝜃 − 3 = (4 cos 𝜃 + 1)(cos 𝜃 − 3)
1
จะได้ cos 𝜃 = − 4 , 3 → วาดสามเหลีย่ ม ได้ ชิด = −1, ฉาก = 4 → ข้าม = ±√15
2
𝜋
ดังนัน้ cot 2 (𝜃 + 2 ) + sec(𝜃 − 3𝜋) = tan2 𝜃 − sec 𝜃 = (±
√15
1
) − (−4) = 19

4. 0 5. 181 6. 373

สูตรผลบวกผลต่างมุม
7 24
1. 1. − 25 2. −1 3. 25
4. 0
17 1 6
2. 1. 6
2. 18
3. 17
4. 18
√6−√2 √6−√2 √6+√2 √6+√2
3. 1. 4
2. 4
3. 4
4. 4
5. −2 − √3 6. 2 + √3
4. 1. cos 𝜃 2. −cos 𝜃 3. sin 𝜃 4. sin 𝜃
5. −tan 𝜃 6. −tan 𝜃
√2 √2 1 1
5. 1. 2
2. 2
3. 2
4. 2
1 √6
5. 2
6. 2
7. √2 8. 1
9. 1 10. 2 11. −2 12. 2
16
6. 125 7. 65
8. 2 9. 222

สูตรมุมสองเท่า สามเท่า ครึง่ เท่า


4 24 7 336
1. 1. −5 2. − 25 3. − 25 4. 625
ฟังก์ชนั ตรีโกณมิติ 79

1 √2 1 1
2. 1. 2
2. 4
3. 4
4. 4
1 1
5. 2
6. 4 7. 2 8. 2
4 3 4 3
3. 1. 5
2. −
5
3. −
3
4. −
4
117 44 117 44
4. 1. 125
2. 125
3. 44
4. 117
√6−√2 15
5. 4
6. 16
7. 8.
4
9. 10. 6 11. 2 12. 9
13. 2 − 2√2 14. 2 15. 1 16. 4
25
17. 1 18. 681 19. 126

20. 1
สมมติให้ sec 1° − tan 1° > sec 2° − tan 2°
1 sin 1° 1 sin 2°
cos 1°
− cos 1° > cos 2°
− cos 2°
1−sin 1° 1−sin 2°
cos 1°
> cos 2°
cos 2° − sin 1° cos 2° > cos 1° − sin 2° cos 1°
sin 2° cos 1° – sin 1° cos 2° > cos 1° − cos 2°
sin (2 − 1)° > cos 1° − cos 2°
cos 2° > cos 1° − sin 1°
cos 2 2° > cos2 1° + sin2 1° − 2 sin 1° cos 1°
1 − sin2 2° > 1 − sin 2°
sin 2° > sin2 2°
เนื่องจาก sin 2° < 1 ยิ่งยกกาลัง จะยิ่งน้อย ดังนัน้ sin 2° > sin2 2° จึงถูกต้อง ดังนัน้ 𝑎>𝑏
ถัดมา เราจะตรวจสอบว่า 𝑎 มากกว่า 1 หรือไม่
สมมติให้ sec 1° − tan 1° > 1
1−sin 1°
cos 1°
> 1
1 − sin 1° > cos 1°
1 > sin 1° + cos 1°
1 > sin2 1° + cos 2 1° + 2 sin 1° cos 1°
0 > 2 sin 1° cos 1°
เนื่องจาก 0 < 2 sin 1° cos 1° ดังนัน้ ที่สมมติไม่ถกู ต้อง ดังนัน้ 𝑎 < 1 ยิ่งถอดรูทจะยิ่งมาก ดังนัน้ √𝑎 > 𝑎
และเนื่องจาก 𝑎 > 𝑏 ดังนัน้ √𝑎 > √𝑏 ดังนัน้ √𝑎 มากที่สดุ

21. 27.25 22. 3

23. 8
จาก sin2 𝜃 + cos 2 𝜃 = 1 ได้ sin4 𝜃 + cos 4 𝜃 = 1 − 2 sin2 𝜃 cos2 𝜃
sin4 𝜃+cos4 𝜃+cos2 𝜃+sin2 𝜃 2−2 sin2 𝜃 cos2 𝜃 4−sin2 2𝜃
จะได้ LHS = sin2 𝜃 cos2 𝜃
= sin2 𝜃 cos2 𝜃
= sin2 2𝜃
=7
80 ฟังก์ชนั ตรีโกณมิติ

8 1
แก้สมการ ได้ sin2 2𝜃 = 9 ได้ cos 2 2𝜃 = 9 → tan2 2𝜃 = 8

24. 178 25. 1, 2

สูตรแปลงผลคูณกับผลบวกลบ
1 1 sin 2𝜃+sin 𝜃 1
1. 1. 2
2. 4
3. 2
4. −
2
1 √3
5. 8
6. 8
√6 √2
2. 1. 2
2. − 2
3. 0 4. 0
5. √3 6. 0

3. 3.5
สังเกตว่า cos 20° = − cos 160° ดังนัน้ cos 2 20° = cos2 160°
cos 40° = − cos 140° ดังนัน้ cos 2 40° = cos2 140°
cos 60° = − cos 120° ดังนัน้ cos 2 60° = cos2 120°
cos 80° = − cos 100° ดังนัน้ cos 2 80° = cos2 100°
ดังนัน้ ผลบวก = 2(cos 2 20° + cos 2 40° + cos2 60° + cos2 80°)
1
= 2(cos 2 20° + cos 2 40° + 4
+ cos 2 80°)
1
= 2
+ 2(cos2 20° + cos2 40° + cos 2 80°)
1 1+cos 40° 1+cos 80° 1+cos 160°
= 2
+ 2( 2
+ 2
+ 2
)
1
= 2
+ 3 + cos 40° + cos 80° + cos 160°
1
= 2
+ 3 + 2 cos 60° cos 20° + cos 160°
1
= 2
+3+ cos 20° + cos 160°
1
= +3 + 0 = 3.5
2
4. 1 5. 6 6. 2 7. 1, 2
3 2
8. 55 9. 60 10. 4
11. 3

1
12. −2
2 sin 18° cos 18° cos 36° sin 36° cos 36° sin 72° 1
= 2 cos 108° cos 36° = 2 sin 18° cos 36° = = = =
cos 18° cos 18° 2 cos 18° 2

1
13. 2 14. 8 15. 2
16. 2

สมการตรีโกณมิติ

1. 1. 30° , 150° 2. 60° , 300° 3. 45° , 225° 4. 150° , 330°


𝜋 2𝜋 𝜋 𝜋
2. 1. 𝑛𝜋 + (−1)𝑛 ( 4 ) 2. 2𝑛𝜋 ± 3
3. 𝑛𝜋 + 3
4. 𝑛𝜋 + (−1)𝑛 (− 6 )
𝜋 𝜋
5. 2𝑛𝜋 ± 2 หรือ
𝑛𝜋 + (−1)𝑛 ( 6 )
ฟังก์ชนั ตรีโกณมิติ 81

3. 1. 30°, 150°, 210° 2. 180° 3. 0°, 90°, 180°, 270°

4. 2√3
sin 𝐴 − sin 2𝐴 + sin 3𝐴 = (sin 𝐴 + sin 3𝐴) − sin 2𝐴 = 2 sin 2𝐴 cos 𝐴 − sin 2𝐴
1
= (2 cos 𝐴 − 1)(sin 2𝐴) = 0 → cos 𝐴 = 2 หรือ sin 2𝐴 = 0 → 𝐴 = 60°, 0°, 90°
tan 𝐴 − tan 2𝐴 + tan 3𝐴 = √3 − (−√3) + 0 = 2√3

5. 2
ต้องแก้สมการ cot 2𝑥 = cot 𝑥 จาก cot 𝐴 = cot 𝐵 เมือ่ 𝐴 = 𝑛𝜋 + 𝐵 จะได้ 2𝑥 = 𝑛𝜋 + 𝑥 → 𝑥 = 𝑛𝜋
แต่ cot 𝑛𝜋 จะหาค่าไม่ได้ ดังนัน้ ข้อ 1 เท็จ
1
sin4 𝑥 + cos 4 𝑥 = (sin2 𝑥 + cos 2 𝑥)2 − 2 sin2 𝑥 cos 2 𝑥 = 1 − (2 sin 𝑥 cos 𝑥)2
2
1
= 1 − 2 sin2 2𝑥 → 2 จริง

6. 1.5
แก้สมการได้ cos 𝑥 = − 12 → 𝑥 = 120°, 240°
ทัง้ สองมุม จะได้ sec 3𝑥 − cos 2𝑥 = 1 − (− 12) =
3
2
เท่ากัน ดังนีน้ 𝐵={ } →
3
2
ผลบวกสมาชิก = 1.5

7. 153 8. 3 9. 20
10. 1

𝜋
11. 2𝑛𝜋 + 2
4 sin 𝑥 4 sin 𝑥 4 sin2 𝑥 12 sin2 3𝑥 36 sin2 9𝑥
1+2 cos 2𝑥
= 3−4 sin2 𝑥
= sin 3𝑥
ทาแบบเดียวกันที่สองตัวที่เหลือ ได้ sin 9𝑥
กับ sin 27𝑥
36 sin2 9𝑥 27 27−36 sin2 9𝑥 9(3−4 sin2 9𝑥) 9 sin 27𝑥 9
ย้าย sin 27𝑥
ไปลบกับ
sin 27𝑥
ทางขวา ได้ sin 27𝑥
=
sin 27𝑥
= (sin 27𝑥)(sin 9𝑥)
=
sin 9𝑥
12 sin2 3𝑥 9 3(3−4 sin2 3𝑥) 3
ย้าย sin 9𝑥
ไปลบกับ
sin 9𝑥
ที่เหลือ แบบเดียวกัน ได้ sin 9𝑥
=
sin 3𝑥
4 sin2 𝑥 3 3−4 sin2 3𝑥 1
ย้าย sin 3𝑥
ไปลบกับ sin 3𝑥
ที่เหลือ แบบเดียวกัน ได้ sin 3𝑥
= sin 𝑥
1 𝜋
ดังนัน้ สุดท้ายเหลือ 0=
sin 𝑥
−1 → sin 𝑥 = 1 → 𝑥 = 2𝑛𝜋 +
2

ฟั งก์ชนั อาร์ค

1. 1. 45° 2. 90° 3. −60° 4. −90°


5. 135° 6. −45°
1 √7 5
2. 1. 3
2. 4
3. √5
3
4. 4
1+2√6
5. 6
6. 7 7. 0
√3 1
3. 1. −
2
2. 3
, 3 3. √5
5

4. 12
1
วาดสามเหลีย่ มจะได้ tan(arccot (2𝑥) ) = 2𝑥 และ tan(arcsec√1 + 2𝑥(1 − 𝑥)) = √2𝑥(1 − 𝑥)
82 ฟังก์ชนั ตรีโกณมิติ

1−𝑥+2𝑥 2√2𝑥(1−𝑥)
ใส่ tan ตลอด ได้ 1−(1−𝑥)(2𝑥) =
1−2𝑥(1−𝑥)
ตัดส่วนทัง้ สองข้าง เหลือ 1 + 𝑥 = 2√2𝑥(1 − 𝑥)
1 1
ยกกาลังสอง ได้ 1 + 2𝑥 + 𝑥 2 = 8𝑥 − 8𝑥 2 → 9𝑥 2 − 6𝑥 + 1 = 0 → 𝑥 = 3 → cos 𝜋𝑥 = 2

1
5. 4 6. √2
7. √3 8. 2
13 13
9. 4 10. 16
11. 4
12. 1
1
13. 4 14. 2 15. 0 16. 5
1
17. 2 18. 2
19. 2 20. 1, 2
1
21. 1 22. 6
23. 0.5

การนาไปใช้กบั สามเหลีย่ ม

1. 1. √21 2. 5 3. 60° 4. 4√2


3√6
5. 2
3 √3
2. √2 3. 4
4. 45 5. − 2
√3
6. 54 7. 1 8. 2 9. 2
1 1
10. 3 11. √3
12. 5 13. √3
14. 1 15. 1, 2 16. 4 17. 0.2
18. 1 19. 3

เครดิต
ขอบคุณ คุณ Theerat Piyaanangul
และ คุณ Hassatorn Thamkijjanon ที่ช่วยตรวจสอบความถูกต้องของเอกสารด้วยครับ

You might also like