You are on page 1of 47

PAT 1 (มี.ค.

65) 1
27 Jun 2022

PAT 1 (มี.ค. 65)


รหัสวิชา 71 วิชา ความถนัดทางคณิตศาสตร์ (PAT 1)
วันเสาร์ท่ี 12 มีนาคม 2565 เวลา 13.00 - 16.00 น.

ตอนที่ 1 ข้อ 1 – 35 ข้อละ 6 คะแนน


1. ให้ 𝐴 = { 𝑥 ∈ ℝ | 15 |𝑥 − 3| < 1} และ 𝐵 = { 𝑥 ∈ ℝ | −3 < 𝑥 ≤ −2 }
พิจารณาข้อความต่อไปนี ้
ก) 𝐴 ∪ 𝐵 = { 𝑥 ∈ ℝ | −3 < 𝑥 < 8 }
ข) 𝐴 ∩ 𝐵 ⊂ (−1 , 0)
ค) เพาเวอร์เซตของ 𝐴 ∩ 𝐵 มีสมาชิกอย่างน้อย 2 ตัว
จากข้อความ ก) ข) และ ค) ข้างต้น ข้อใดถูกต้อง
1. ข้อความ ก) ถูกต้องเพียงข้อเดียวเท่านัน้ 2. ข้อความ ก) และ ข) ถูกต้องเท่านัน้
3. ข้อความ ก) และ ค) ถูกต้องเท่านัน้ 4. ข้อความ ข) และ ค) ถูกต้องเท่านัน้
5. ข้อความ ก) ข) และ ค) ถูกต้อง

2. กาหนด 𝑝, 𝑞 และ 𝑟 เป็ นประพจน์ ถ้า [(𝑝 ∧ 𝑞) ↔ ((𝑝 ∨ 𝑞) → ~𝑟)] ∨ (𝑝 → 𝑟) มีค่าความจริงเป็ นเท็จ
แล้วประพจน์ในข้อใดมีค่าความจริงเป็ นจริง
1. (𝑝 ∨ 𝑟) → 𝑞 2. 𝑝 ∧ (𝑞 ∧ ~𝑟) 3. 𝑝 ∧ (𝑞 ↔ 𝑟)
4. 𝑝 → (𝑞 ∨ 𝑟) 5. 𝑝 → (~𝑞 ↔ 𝑟)
2 PAT 1 (มี.ค. 65)

3. กาหนด 𝑝, 𝑞 และ 𝑟 เป็ นประพจน์ พิจารณาข้อความต่อไปนี ้


ก) ~(𝑝 ∧ ~q) → (~𝑝 ∧ 𝑟) สมมูลกับ (𝑝 ∨ ~𝑟) → (𝑝 ∧ ~𝑞)
ข) [(𝑝 → 𝑞) ∧ (𝑝 ∨ 𝑟) ∧ ~𝑟] → 𝑞 เป็ นสัจนิรนั ดร์
ค) กาหนดการอ้างเหตุผลต่อไปนี ้
เหตุ 1) 𝑝 → ~𝑞
2) 𝑟 ↔ 𝑞
ผล ~𝑝 ∨ 𝑟
การอ้างเหตุผลนีส้ มเหตุสมผล
จากข้อความ ก) ข) และ ค) ข้างต้น ข้อใดถูกต้อง
1. ข้อความ ก) ถูกต้องเพียงข้อเดียวเท่านัน้ 2. ข้อความ ก) และ ข) ถูกต้องเท่านัน้
3. ข้อความ ก) และ ค) ถูกต้องเท่านัน้ 4. ข้อความ ข) และ ค) ถูกต้องเท่านัน้
5. ข้อความ ก) ข) และ ค) ถูกต้อง

4. พิจารณาข้อความต่อไปนี ้
ก) กาหนดเอกภพสัมพัทธ์เป็ น { 0 , 1 , 2 }
∀𝑥[(𝑥 > 0) → (3|𝑥 − 1| ≤ |𝑥 + 3|)] มีค่าความจริงเป็ นจริง
ข) กาหนดเอกภพสัมพัทธ์เป็ นเซตของจานวนจริง
นิเสธของ ∀𝑥[𝑥 > 0] → ∃𝑥[2𝑥 ≤ 3] คือ ∀𝑥[𝑥 > 0] ∧ ∀𝑥[2𝑥 > 3]
ค) กาหนดเอกภพสัมพัทธ์เป็ นเซตของจานวนจริง
∀𝑥[𝑥 > 0] → ∃𝑥[2𝑥 ≤ 3] สมมูลกับ ∃𝑥[𝑥 ≤ 0] ∨ ∃𝑥[2𝑥 ≤ 3]
จากข้อความ ก) ข) และ ค) ข้างต้น ข้อใดถูกต้อง
1. ข้อความ ก) ถูกต้องเพียงข้อเดียวเท่านัน้ 2. ข้อความ ก) และ ข) ถูกต้องเท่านัน้
3. ข้อความ ก) และ ค) ถูกต้องเท่านัน้ 4. ข้อความ ข) และ ค) ถูกต้องเท่านัน้
5. ข้อความ ก) ข) และ ค) ถูกต้อง
PAT 1 (มี.ค. 65) 3

5. ให้ 𝐴 แทนเซตของจานวนจริง 𝑎 ทัง้ หมดที่ 𝑥 + 𝑎 หาร 𝑥3 + 4𝑥2 − 7𝑥 + 4 เหลือเศษ 14


ถ้า 𝑚 เป็ นสมาชิกในเซต 𝐴 ที่มีค่ามากที่สดุ และ 𝑛 เป็ นสมาชิกในเซต 𝐴 ที่มีค่าน้อยที่สดุ
แล้ว 𝑚 + 𝑛 เท่ากับเท่าใด
1. −3 2. −1 3. 1 4. 3 5. 6

6. ถ้า 𝐴 = { 𝑥 ∈ ℝ | |2−𝑥
𝑥+3
| < 3 } แล้วเซต ℤ−𝐴 มีสมาชิกทั้งหมดกี่ตวั
1. น้อยกว่า 4 2. 4 3. 5 4. 6 5. มากกว่า 6

7. ให้ 𝑓 และ 𝑔 เป็ นฟั งก์ชนั ที่มีโดเมนเป็ นสับเซตของจานวนจริง โดยที่ 𝑓(𝑥) = √1 + 𝑥2 และ 𝑔(𝑥) = √3 − 𝑥2
พิจารณาข้อความต่อไปนี ้
ก) โดเมนของ 𝑓 ∘ 𝑔 คือ [−2 , 2]
ข) เรนจ์ของ 𝑓 ∘ 𝑔 คือ [1 , 2]
ค) 𝑓 ∘ 𝑔 มีฟังก์ชนั ผกผัน
จากข้อความ ก) ข) และ ค) ข้างต้น ข้อใดถูกต้อง
1. ข้อความ ก) ถูกต้องเพียงข้อเดียวเท่านัน้ 2. ข้อความ ข) ถูกต้องเพียงข้อเดียวเท่านัน้
3. ข้อความ ค) ถูกต้องเพียงข้อเดียวเท่านัน้ 4. ข้อความ ก) และ ข) ถูกต้องเท่านัน้
5. ข้อความ ข) และ ค) ถูกต้องเท่านัน้
4 PAT 1 (มี.ค. 65)

𝑡
1
8. ให้ 𝑓 (𝑡) = 𝑐 (2)
4
แทนปริมาณคาเฟอีนในเลือดของคน (หน่วยเป็ นมิลลิกรัมต่อลิตร) เมื่อดื่มกาแฟ
ผ่านไป 𝑡 ชั่วโมง และ 𝑐 แทนปริมาณเริ่มต้นของคาเฟอีนในเลือดของคน (หน่วยเป็ นมิลลิกรัมต่อลิตร)
ถ้าแก้มดื่มกาแฟและวัดปริมาณคาเฟอีนในเลือดเมื่อเวลา 8.00 น. พบว่ามีปริมาณคาเฟอีนในเลือด
อยู่ 3.2 มิลลิกรัมต่อลิตร แล้วเวลาใดที่ปริมาณคาเฟอีนในเลือดของแก้มเหลือ 0.4 มิลลิกรัมต่อลิตร โดยที่แก้มไม่ได้
ดื่มเครื่องดื่มหรือรับประทานอาหารที่มีคาเฟอีนเพิ่ม หลังเวลา 8.00 น.
1. 12.00 น. 2. 14.00 น. 3. 16.00 น. 4. 18.00 น. 5. 20.00 น.

9. ถ้า 𝑎เป็ นจานวนจุดตัดของกราฟ 𝑦 = 3 cos 𝑥 + 3 กับกราฟของ 𝑦=1 บนช่วง [ 0, 2𝜋)


𝑏 เป็ นจานวนจุดตัดของกราฟ 𝑦 = 3 cos 𝑥 + 3 กับกราฟของ 𝑦 = −1 บนช่วง [ 0, 2𝜋)
และ 𝑐 เป็ นจานวนจุดตัดของกราฟ 𝑦 = 3 cos 𝑥 + 3 กับกราฟของ 𝑦 = 2 sin2 𝑥 บนช่วง [ 0, 2𝜋)
แล้ว 𝑎 + 𝑏 + 𝑐 เท่ากับเท่าใด
1. 3 2. 4 3. 5 4. 6 5. 7

10. ให้จดุ 𝑃1 และ 𝑃2 เป็ นจุดบนวงกลมหนึ่งหน่วย โดยที่จดุ 𝑃1 มีพิกดั เป็ น (1, 0)


และส่วนโค้ง 𝑃1 𝑃2 ยาว 𝜋 + 𝜃 หน่วย เมื่อ 𝜃 ∈ (0, 𝜋)
ถ้า (sin 𝜃 )(tan 𝜃) < 0 และ |sin 𝜃| = 12 แล้วจุด 𝑃2 มีพิกดั เป็ นเท่าใด
1 1 1
1. (
√3
2
, − )
2
2. ( , −
2
√3
2
) 3. (−
√3
2
, − )
2
1 √3 1
4. (− ,
2
√3
2
) 5. ( − , )
2 2
PAT 1 (มี.ค. 65) 5

11. เจตออกแบบการติดตัง้ แผงโซลาร์เซลล์รูปสี่เหลี่ยมจัตรุ สั ที่แต่ละด้านยาว 1 เมตร บนหลังคาบ้าน โดยมีขาตั้งที่ปลาย


ด้านหนึ่งของแผงโซลาร์เซลล์ทามุม 60 องศากับหลังคาบ้าน และวางแผงโซลาร์เซลล์ให้ทามุม 10 องศากับแนว
ระดับ ดังรูป หลังคาบ้าน
แผงโซลาร์เซลล์

10° 1 ม.

แนวระดับ
ขาตัง้ 60°

ขาตัง้ นีส้ งู กี่เมตร


2√3
1. 2 sin 10° 2. 3
sin 10° 3. 2 sin 20°
2√3
4. √3
3
sin 20° 5. 3
sin 20°

𝑎 0
12. ให้ 𝐴 = [ ] เมื่อ 𝑎 และ 𝑏 เป็ นจานวนจริง
0 𝑏
ถ้า (𝐴𝑡 − 𝐼2 )(𝐴𝑡 − 2𝐼2 ) = 02×2 แล้ว 𝐴 ที่เป็ นไปได้มีทงั้ หมดกี่เมทริกซ์
1. 0 2. 2 3. 4 4. 8 5. 16
6 PAT 1 (มี.ค. 65)

13. พิจารณาข้อความต่อไปนี ้
ก) ไม่มีจานวนจริง 𝑎, 𝑏 และ 𝑐 ที่ทาให้จานวนเชิงซ้อน 1 + 2i และ 2 เป็ นคาตอบของ
สมการ 𝑎𝑥2 + 𝑏𝑥 + 𝑐 = 0 เมื่อ 𝑎 ≠ 0
ข) รากที่สองของจานวนเชิงซ้อน 4 + 9i คือ 2 + 3i และ 2 − 3i
ค) ค่าสัมบูรณ์ของจานวนเชิงซ้อน √3 − i เท่ากับ √2
จากข้อความ ก) ข) และ ค) ข้างต้น ข้อใดถูกต้อง
1. ข้อความ ก) ถูกต้องเพียงข้อเดียวเท่านัน้ 2. ข้อความ ข) ถูกต้องเพียงข้อเดียวเท่านัน้
3. ข้อความ ค) ถูกต้องเพียงข้อเดียวเท่านัน้ 4. ข้อความ ก) และ ข) ถูกต้องเท่านัน้
5. ข้อความ ก) และ ค) ถูกต้องเท่านัน้

14. พิจารณาข้อความต่อไปนี ้
1 2 1 𝑘 3 1 𝑘 𝑛 1 𝑘
ก) 2
, ∑ ( ) , ∑ ( ) , … , ∑ ( ) , … เป็ นลาดับลูเ่ ข้า
𝑘=1 2 𝑘=1 2 𝑘=1 2
ข) sin 𝜋 , sin 2𝜋 , sin 3𝜋 , … , sin 𝑛𝜋 , … เป็ นลาดับลูอ่ อก

ค) ถ้า 𝑎1 , 𝑎2 , 𝑎3 , … , 𝑎𝑛 , … เป็ นลาดับลูเ่ ข้า แล้ว ∑ 𝑎𝑛 เป็ นอนุกรมลูเ่ ข้า
𝑛=1
จากข้อความ ก) ข) และ ค) ข้างต้น ข้อใดถูกต้อง
1. ข้อความ ก) ถูกต้องเพียงข้อเดียวเท่านัน้ 2. ข้อความ ข) ถูกต้องเพียงข้อเดียวเท่านัน้
3. ข้อความ ค) ถูกต้องเพียงข้อเดียวเท่านัน้ 4. ข้อความ ก) และ ข) ถูกต้องเท่านัน้
5. ข้อความ ก) และ ค) ถูกต้องเท่านัน้
PAT 1 (มี.ค. 65) 7

∞ 4 𝜋
15. ถ้า ∑ (−1)𝑘 tan2𝑘 𝑥 = 5
เมื่อ 0<𝑥<4 แล้ว cos 2𝑥 เท่ากับเท่าใด
𝑘=0
1 2 3 4 2√5
1. 5
2. 5
3. 5
4. 5
5. 5

16. ในวันที่ 1 มกราคม 2565 ต้นนา้ ฝากเงิน 10,000 บาท เข้าบัญชีธนาคารได้รบั อัตราดอกเบีย้ 4% ต่อปี
โดยคิดดอกเบีย้ แบบทบต้นทุก 6 เดือน ถ้าต้นนา้ ได้รบั ดอกเบีย้ สิน้ เดือนมิถนุ ายนและสิน้ เดือนธันวาคมของทุกปี
และในวันที่ 1 มกราคม 2565 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2566 ต้นนา้ ฝากและถอนเงินดังนี ้
รายการ
วันที่ / เดือน / ปี
ฝาก (บาท) ถอน (บาท)
01 / 01 / 2565 10,000 −
01 / 07 / 2565 − 4,000
01 / 01 / 2566 6,000 −

แล้วในวันที่ 1 มกราคม 2567 ต้นนา้ จะมีเงินในบัญชีธนาคารรวมทัง้ หมดกี่บาท


1. 10,000(1.04)4 − 4,000(1.04)3 + 6,000(1.04)
2. 10,000(1.04)4 − 4,000(1.04)3 + 6,000(1.04)2
3. 10,000(1.02)4 − 4,000(1.02)3 + 6,000(1.02)
4. 10,000(1.02)4 − 4,000(1.02)3 + 6,000(1.02)2
5. 10,000(1.02)5 − 4,000(1.02)4 + 6,000(1.02)3
8 PAT 1 (มี.ค. 65)

17. สนามแห่งหนึ่งมีการวางหมุดที่มีลกั ษณะเป็ นตารางจุด 100 จุด โดยให้แต่ละหมุดที่อยู่ติดกันทัง้ แนวตั้งและแนวนอน


อยู่ห่างกัน 1 เมตร และกาหนดตาแหน่งอ้างอิง ในลักษณะคู่อนั ดับ ดังรูป
1 ม.

1 ม. (0,9) (9,9)

(0,1)

(0,0) (1,0) (9,0)

แก้มปั กเสา 3 ต้นไว้ท่ีหมุด (0,0) , (6,5) และ (8,2) และต้องการเลือกเชือก 3 เส้น จากเชือกทัง้ หมด 6 เส้น เพื่อ
ขึงเชือกระหว่างเสาแต่ละต้นเป็ นรูปสามเหลี่ยม โดยแต่ละด้านใช้เชือกเพียงสีเดียว ซึ่งเชือกแต่ละสีมีความยาวดังนี ้
สีของเชือกแต่ละเส้น แดง ขาว เขียว นา้ เงิน ม่วง เหลือง
ความยาว (เมตร) 5 6 7 8 9 10

การเลือกเชือกในข้อใดทาให้แก้มขึงเชือกได้ตามที่ตอ้ งการ
1. เชือกสีแดง สีขาว และ สีม่วง
2. เชือกสีแดง สีเขียว และ สีเหลือง
3. เชือกสีแดง สีนา้ เงิน และ สีม่วง
4. เชือกสีขาว สีเขียว และ สีม่วง
5. เชือกสีขาว สีเขียว และ สีเหลือง

18. กราฟแสดงจานวนเชิงซ้อน 𝑧 ทัง้ หมดที่มีสว่ นจริงของ (𝑧̅ + 6i)( ̅̅̅̅̅̅̅


𝑧−4) เท่ากับ 0
เป็ นกราฟชนิดในในระนาบเชิงซ้อน
1. เส้นตรงที่มีความชันเท่ากับ − 32 2. วงกลมที่มีจุดศูนย์กลางอยู่ท่ี (−2, 3)
3. วงกลมที่มีจุดศูนย์กลางอยู่ท่ี (3, 2) 4. ไฮเพอร์โบลาที่มีแกนตามขวางอยู่ในแนวนอน
5. ไฮเพอร์โบลาที่มีแกนตามขวางอยู่ในแนวตัง้
PAT 1 (มี.ค. 65) 9

19. ในการทดลองการเคลี่อนที่ของหุ่นยนต์จ๋วิ ได้วางหุ่นยนต์จ๋วิ ไว้ท่ีจดุ 𝐴(4, 5)


หลังจากนัน้ สร้างรูปสี่เหลี่ยม 𝐵 ที่มีพิกดั ของจุดยอด คือ (1, 5) , (5, 6) , (5, 8) และ (3, 9)
และสร้างรูปสามเหลี่ยม 𝐶 ที่มีพิกดั ของจุดยอดคือ (4, 2) , (5, 4) และ (7, −1) ดังรูป
𝑌

10
(3,9)

8 (5,8)

𝐵
6 (5,6)
𝐴(4,5)
(1,5)
4 (5,4)

2 (4,2) 𝐶

𝑋
−2 0 2 4 6 8 10

(7,−1)
−2

พิจารณาข้อความต่อไปนี ้
−4
ก) หุ่นยนต์จ๋วิ เคลื่อนที่จากจุด 𝐴 ในทิศทางเดียวกับเวกเตอร์ 𝑢̅ = [ ] เป็ นระยะทางเท่ากับ |𝑢̅| หน่วย
−1
แล้วหยุดอยู่ภายในรูปสี่เหลี่ยม 𝐵
1
ข) หุ่นยนต์จ๋วิ เคลื่อนที่จากจุด 𝐴 ในทิศทางเดียวกับเวกเตอร์ 𝑣̅ = [
−2
] เป็ นระยะทางเท่ากับ |𝑣̅ | หน่วย
แล้วหยุดอยู่ภายในรูปสามเหลี่ยม 𝐶
ค) หุ่นยนต์จ๋วิ เคลื่อนที่จากจุด 𝐴 ในทิศทางเดียวกับเวกเตอร์ 𝑤̅ = [0] เป็ นระยะทางเท่ากับ 2|𝑤̅| หน่วย
1
แล้วหยุดอยู่ภายในรูปสี่เหลี่ยม 𝐵
จากข้อความ ก) ข) และ ค) ข้างต้น ข้อใดถูกต้อง
1. ข้อความ ก) ถูกต้องเพียงข้อเดียวเท่านัน้ 2. ข้อความ ข) ถูกต้องเพียงข้อเดียวเท่านัน้
3. ข้อความ ก) และ ข) ถูกต้องเท่านัน้ 4. ข้อความ ก) และ ค) ถูกต้องเท่านัน้
5. ข้อความ ข) และ ค) ถูกต้องเท่านัน้

20. ให้ 𝑢̅ = 𝑖̅ + 2𝑗̅ − 𝑘̅ และ 𝑤̅ = 2𝑖̅ + 3𝑗̅ + 8𝑘̅


ถ้า 𝐴 แทนเซตของเวกเตอร์ 𝑣̅ ในระบบพิกดั ฉากสามมิติท่ีทาให้ 𝑢̅ × 𝑣̅ = 𝑤
̅ แล้วข้อใดถูกต้อง
1. 𝐴 เป็ นเซตว่าง 2. −2𝑖̅ + 𝑘̅ ∈ 𝐴 3. −3𝑖̅ − 2𝑗̅ ∈ 𝐴
4. 2𝑖̅ − 4𝑗̅ − 𝑘̅ ∈ 𝐴 5. −5𝑖̅ − 2𝑗̅ + 2𝑘̅ ∈ 𝐴
10 PAT 1 (มี.ค. 65)

21. ร้านภูมิใจซือ้ ยางลบจานวน 10 แพ็ก จากห้างสรรพสินค้าแห่งหนึ่ง โดยในแต่ละแพ็กมียางลบ 6 ก้อน ได้แก่ ยางลบ


สีแดง 1 ก้อน สีชมพู 2 ก้อน และสีเหลือง 3 ก้อน จากนัน้ ร้านภูมิใจแกะแพ็กยางลบทัง้ หมด แล้วนายางลบทัง้ หมด
มาใส่รวมกันในกล่องเปล่าอีกในหนึ่ง พบว่า ยางลบแต่ละก้อนมีลวดลายแตกต่างกันทั้งหมด ถ้าภูวดลเป็ นลูกค้าคน
แรกที่ตอ้ งการซือ้ ยางลบจากร้านภูมิใจ โดยสุ่มหยิบยางลบ 3 ก้อนจากกล่องใบนีข้ นึ ้ มาพร้อมกัน แล้วความน่าจะเป็ น
ที่ภูวดลหยิบได้ยางลบที่มีสแี ตกต่างกันทัง้ 3 ก้อน เท่ากับเท่าใด
1. 201 2. 103 50
3. 1,711 300
4. 1,711 400
5. 1,711

22. จากการสารวจนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปี ท่ี 6 จานวน 27 คน ที่สมัครสอบ PAT ประจาปี การศึกษา 2564
มีรายละเอียดจานวนวิชาที่นกั เรียนสมัครสอบ ดังนี ้
จานวนวิชาที่นกั เรียนสมัครสอบ (วิชา) จานวนนักเรียน (คน)
1 2
2 5
3 7
4 5
5 4
6 4

แผนภาพกล่องในข้อใดที่นาเสนอข้อมูลชุดนีไ้ ด้ถูกต้อง
1. 2.
1 2 3 4 5 6 1 2 3 4 5 6
จานวนวิชาที่นักเรียนสมัครสอบ จานวนวิชาที่นักเรียนสมัครสอบ

3. 4.
1 2 3 4 5 6 1 2 3 4 5 6
จานวนวิชาที่นักเรียนสมัครสอบ จานวนวิชาที่นักเรียนสมัครสอบ

5.
1 2 3 4 5 6
จานวนวิชาที่นักเรียนสมัครสอบ
PAT 1 (มี.ค. 65) 11

23. จากการสอบถามนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปี ท่ี 6 ห้องหนึ่ง จานวน 45 คน เกี่ยวกับจานวนชั่วโมงที่อ่านหนังสือใน


วันเสาร์ของสัปดาห์ท่ีผ่านมา พบว่า
 ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของจานวนชั่วโมงที่นกั เรียนอ่านหนังสือในวันเสาร์ คือ 𝑎 ขั่วโมง
 ฐานนิยมของจานวนชั่วโมงที่นักเรียนอ่านหนังสือในวันเสาร์ คือ 𝑏 ขั่วโมง
 ความแปรปรวนของจานวนชั่วโมงที่นกั เรียนอ่านหนังสือในวันเสาร์ คือ 𝑐 ขั่วโมง2
สัปดาห์นีเ้ ป็ นช่วงใกล้สอบ ทาให้นกั เรียนทัง้ 45 คนนี ้ ตัง้ ใจที่จะใช้เวลาอ่านหนังสือในวันเสาร์เพิ่มจากเดิมอีก
คนละ 1 ชั่วโมง
พิจารณาข้อความต่อไปนี ้
ก) ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของจานวนชั่วโมงที่นกั เรียนอ่านหนังสือในวันเสาร์ของสัปดาห์นี ้ คือ 𝑎 + 1 ชั่วโมง
ข) ฐานนิยมของจานวนชั่วโมงที่นักเรียนอ่านหนังสือในวันเสาร์ของสัปดาห์นี ้ คือ 𝑏 + 1 ชั่วโมง
ค) ความแปรปรวนของจานวนชั่วโมงที่นกั เรียนอ่านหนังสือในวันเสาร์ของสัปดาห์นี ้ คือ 𝑐 + 1 ขั่วโมง2
จากข้อความ ก) ข) และ ค) ข้างต้น ข้อใดถูกต้อง
1. ข้อความ ก) ถูกต้องเพียงข้อเดียวเท่านัน้ 2. ข้อความ ก) และ ข) ถูกต้องเท่านัน้
3. ข้อความ ก) และ ค) ถูกต้องเท่านัน้ 4. ข้อความ ข) และ ค) ถูกต้องเท่านัน้
5. ข้อความ ก) ข) และ ค) ถูกต้อง

24. กาหนดกราฟของฟั งก์ชนั 𝑓 ดังนี ้


𝑌

𝑋
−3 −2 −1 0 1 2 3 4
−1

−2

ข้อใดไม่ถูกต้อง
1. 𝑓(0) = 𝑓(3) 2. 𝑥→2
lim 𝑓(𝑥) = 2
1 3
3. 𝑥→0
lim− 𝑓(𝑥) = lim+ 𝑓 (𝑥) 4. 𝑓 เป็ นฟั งก์ชน
ั ต่อเนื่องบนช่วง ( , )
2 2
𝑥→1
5. 𝑓 เป็ นฟั งก์ชน
ั ต่อเนื่องบนช่วง [1, 2)
12 PAT 1 (มี.ค. 65)

25. ให้ 𝑓(𝑥) = 8 − 𝑥2 และ 𝑔(𝑥) = 𝑥2 สาหรับทุกจานวนจริง 𝑥


กราฟของ 𝑓 และกราฟของ 𝑔 ตัดกัน ดังรูป
𝑌
𝑔

𝑋
0
𝑓
ส่วนที่แรเงามีพืน้ ที่เท่ากับกี่ตารางหน่วย
16√2 32√2 8
1. 3
2. 3
3. 3
(4√2 + 1)
16 32
4. 3
(√2 + 2) 5. 3
(√2 − 1)

สถานการณ์ต่อไปนีใ้ ช้ในการตอบคาถามข้อ 26 – 27
ห้างสรรพสินค้าขายปากกายี่หอ้ หนึ่งเป็ นแพ็ก โดยมีสนิ ค้าให้ลกู ค้าเลือกซือ้ 2 แบบ ดังนี ้
 แบบที่ 1 “แพ็กสุดคุม้ ” ขายราคาแพ็กละ 60 บาท
 แบบที่ 2 “แพ็กสุดเยอะ” ขายราคาแพ็กละ 90 บาท
จานวนปากกาในแต่ละแพ็กของแพ็กสุดเยอะมากกว่าจานวนปากกาในแต่ละแพ็กของแพ็กสุดคุม้ อยู่ 4 ด้าม

26. ถ้าราคาของปากกาต่อด้ามของแพ็กสุดคุม้ แพงกว่าราคาของปากกาต่อด้ามของแพ็กสุดเยอะอยู่ 2 บาทต่อด้าม


แล้วการซือ้ ปากกาแพ็กสุดคุม้ 1 แพ็ก และแพ็กสุดเยอะ 1 แพ็ก จากห้างสรรพสินค้านี ้ จะได้ปากกาทั้งหมดกี่ดา้ ม
1. 6 2. 14 3. 24 4. 28 5. 52
PAT 1 (มี.ค. 65) 13

27. ร้านอิ่มใจและร้านพอใจซือ้ ปากกาแพ็กสุดคุม้ จากห้างสรรพสินค้านีเ้ พื่อนาไปขายต่อ โดยที่แต่ละร้านจะซือ้ ปากกา


อย่างน้อย 10 แพ็ก แต่ไม่เกิน 30 แพ็ก และมีเงื่อนไขว่า
 หากร้านอิ่มใจซือ้ ปากกา 𝑎 แพ็ก จะขายปากกาทัง้ หมดในราคา −𝑎2 + 90𝑎 + 800 บาท
เมื่อ 𝑎 เป็ นจานวนเต็มบวก
 หากร้านพอใจซือ้ ปากกา 𝑏 แพ็ก จะขายปากกาทัง้ หมดในราคา −𝑏2 + 100𝑏 + 600 บาท
เมื่อ 𝑏 เป็ นจานวนเต็มบวก
ถ้าร้านอิ่มใจและร้านพอใจซือ้ ปากกาแพ็กสุดคุม้ ตามจานวนแพ็กที่ทาให้แต่ละร้านได้กาไรมากที่สดุ เมื่อขายปากกา
ทัง้ หมด แล้วสองร้านนีไ้ ด้กาไรต่างกันอยู่ก่บี าท
1. 25 2. 50 3. 100 4. 125 5. 275

สถานการณ์ต่อไปนีใ้ ช้ในการตอบคาถามข้อ 28 – 29
ในเมืองแห่งหนึ่งมีบริษัทให้บริการแท็กซี่ 2 บริษัท ซึ่งมีรายละเอียดการเก็บค่าโดยสาร ดังนี ้
บริษัท รายละเอียดการเก็บค่าโดยสาร
คิดค่าโดยสาร 30 บาท ทันทีเมื่อเรียกใช้บริการ
A
และคิดค่าโดยสารกิโลเมตรละ 7.50 บาท
คิดค่าโดยสาร 60 บาท สาหรับการเดินทางไม่เกิน 5 กิโลเมตร
B
และการเดินทางส่วนที่เกิน 5 กิโลเมตร คิดค่าโดยสารกิโลเมตรละ 6 บาท

28. พิจารณาข้อความต่อไปนี ้
ก) ให้ 𝑥 เป็ นระยะทางทัง้ หมดที่มีการเรียกใช้บริการ 1 ครัง้ (หน่วยเป็ นกิโลเมตร) ฟั งก์ชนั แสดงค่าโดยสาร
แท็กซี่ของบริษัท B (หน่วยเป็ นบาท) คือ 𝑓 (𝑥) = { 60 เมื่อ 0 < 𝑥 ≤ 5
6𝑥 + 30 เมื่อ 𝑥 > 5
ข) สาหรับทุกการเดินทางที่มีระยะทางไม่เกิน 5 กิโลเมตร ค่าโดยสารรถแท็กซี่ของบริษัท A ถูกกว่าค่าโดยสาร
รถแท็กซี่ของบริษัท B
ค) สาหรับทุกการเดินทางที่มีระยะทางมากกว่า 5 กิโลเมตร ค่าโดยสารรถแท็กซี่ของบริษัท B ถูกกว่าค่า
โดยสารรถแท็กซี่ของบริษัท A
จากข้อความ ก) ข) และ ค) ข้างต้น ข้อใดถูกต้อง
1. ข้อความ ก) ถูกต้องเพียงข้อเดียวเท่านัน้ 2. ข้อความ ก) และ ข) ถูกต้องเท่านัน้
3. ข้อความ ก) และ ค) ถูกต้องเท่านัน้ 4. ข้อความ ข) และ ค) ถูกต้องเท่านัน้
5. ข้อความ ก) ข) และ ค) ถูกต้อง
14 PAT 1 (มี.ค. 65)

29. บริษัท C ต้องการเข้ามาให้บริการรถแท็กซี่อีกบริษัทหนึ่ง โดยให้บริการเฉพาะลูกค่าที่เดินทางไม่เกิน 30 กิโลเมตร


ฟั งก์ชนั แสดงค่าโดยสารเมื่อเรียกใช้บริการรถแท็กซี่ของบริษัท C (หน่วยเป็ นบาท)
คือ ℎ(𝑥) = 𝑎 log(𝑥 + 1) + 𝑏 เมื่อ 𝑥 เป็ นระยะทางทัง้ หมดที่มีการเรียกใช้บริการ 1 ครัง้ (หน่วยเป็ นกิโลเมตร)
และ 𝑎, 𝑏 เป็ นจานวนจริง
โดยที่ เมื่อลูกค่าเดินทาง 2 กิโลเมตร บริษัท C คิดค่าโดยสาร 65 บาท
และ เมื่อลูกค่าเดินทาง 26 กิโลเมตร บริษัท C คิดค่าโดยสาร 105 บาท
ถ้าวันนีก้ ๊กุ ต้องการเดินทางจากบ้านไปที่ทางานซึ่งมีระยะทาง 8 กิโลเมตร โดยเที่ยวไปเลือกใช้บริการรถแท็กซี่ของ
บริษัท A แต่เที่ยวกลับใช้บริการรถแท็กซี่ของบริษัท C และเดินทางกลับโดยใช้เส้นทางเดิม แล้ววันนีก้ ๊กุ ต้องจ่ายค่า
เดินทางทัง้ เที่ยวไปและเที่ยวกลับรวมกี่บาท
1. 255 2. 195 3. 180 4. 175 5. 170

สถานการณ์ต่อไปนีใ้ ช้ในการตอบคาถามข้อ 30 – 31
ให้ วงรี E มี F1 และ F2 เป็ นจุดโฟกัส D
S
R
วงกลม C มีจดุ ศูนย์กลางอยู่ท่ีจดุ F1 E
C
และ วงกลม D มีจดุ ศูนย์กลางอยู่บนวงรี E ที่จดุ R F1 F2
โดยที่วงกลม D สัมผัสกับวงกลม C ที่จดุ S และผ่านจุด F2 ดังรูป
โดยที่  ระยะห่างระหว่างจุด F1 และ F2 เท่ากับ 32 หน่วย
 ความยาวของเส้นผ่านศูนย์กลางของวงกลม C เท่ากับ 128 หน่วย

30. แกนโทของวงรี E ยาวกี่หน่วย


1. 32√3 2. 16√3 3. 32√15 4. 16√15 5. 32
PAT 1 (มี.ค. 65) 15

31. สร้างระบบพิกดั ฉากสองมิติโดยให้จดุ ศูนย์กลางของวงกลม C อยู่ท่ีจดุ กาเนิด และโฟกัสทัง้ สองของวงรี E อยู่บน


แกน 𝑋 ถ้าจุด R อยู่ในจตุภาคที่ 1 และวงกลม D สัมผัสแกน 𝑋 ที่จดุ F2 โดยที่ RF2 = 24
แล้วสมการวงกลม D ตรงกับข้อใด
1. (𝑥 − 24)2 + (𝑦 − 32)2 = 242 2. (𝑥 − 24)2 + (𝑦 − 40)2 = 242
3. (𝑥 − 32)2 + (𝑦 − 24)2 = 242 4. (𝑥 − 32)2 + (𝑦 − 32)2 = 242
5. (𝑥 − 40)2 + (𝑦 − 24)2 = 242

สถานการณ์ต่อไปนีใ้ ช้ในการตอบคาถามข้อ 32 – 33
ผูน้ าชุมชนแห่งหนึ่งแจกหน้ากากสาหรับใช้ป้องกันฝุ่ น PM2.5 และเชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 ให้แก่สมาชิกในชุมชน
คนละ 1 ชุด ซึ่งประกอบด้วย
 หน้ากากผ้า จานวน 3 ชิน้ โดยที่ทกุ ชิน้ มีลวดลายแตกต่างกัน
 หน้ากากอนามัย จานวน 5 ชิน้ โดยที่ทกุ ชิน้ เหมือนกัน
 หน้ากาก N95 จานวน 4 ชิน้ โดยที่ทกุ ชิน้ เหมือนกัน

32. พรฤดีอยู่ในชุมชนแห่งนี ้ และได้รบั หน้ากาก 1 ชุด พรฤดีตงั้ ใจที่จะสวมหน้ากากทุกวัน วันละ 1 ชิน้ ในช่วง
วันที่ 2 – 4 เมษายน 2565 โดยจะไม่สวมหน้ากากชิน้ เดิมซา้ ถ้าพรฤดีจะสวมหน้ากาก N95 ในวันที่ 3 เมษายน
2565 เพียงวันเดียวเท่านัน ้ แล้วพรฤดีจะมีวิธีเลือกหน้ากากที่ได้รบั แจกเพื่อมาสวมในช่วงสามวันนีไ้ ด้ทงั้ หมดกี่วิธี
1. 6 2. 13 3. 24 4. 52 5. 56

33. พีรดนย์อยู่ในชุมชนแห่งนี ้ และได้รบั หน้ากาก 1 ชุด ถ้าพีรดนย์ตงั้ ใจที่จะสวมหน้ากากทุกวัน วันละ 1 ชิน้ โดยแต่ละ
วันเลือกสวมหน้ากากแบบใดก็ได้ และจะไม่สวมหน้ากากชิน้ เดิมซา้ แล้วพีรดนย์จะมีวิธีเลือกหน้ากากที่ได้รบั แจกเพื่อ
มาสวมเป็ นเวลา 12 วัน ได้ทงั้ หมดกี่วิธี
1. 12!3!
2. 12! 9!
3. 3!12!9! 4. 4!12!5! 5. 3!12!4! 5!
16 PAT 1 (มี.ค. 65)

สถานการณ์ต่อไปนีใ้ ช้ในการตอบคาถามข้อ 34 – 35
นักวิชาการจากกรมป่ าไม้สารวจข้อมูลของต้นมะค่าโมงทัง้ หมดในป่ าแห่งหนึ่ง พบว่า ความสูงของต้นมะค่าโมงมีการ
แจกแจงปกติ โดยค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของความสูงของต้นมะค่าโมงเท่ากับ 15 และ 5 เมตร
ตามลาดับ กาหนดตารางแสดงพืน้ ที่ใต้เส้นโค้งปกติมาตรฐาน ดังนี ้

𝑧 0 0 𝑧
𝑧 −2 −1 −0.8 −0.5 0 0.5 0.8 1 2
พืน้ ที่ใต้เส้นโค้งปกติมาตรฐาน 0.02 0.16 0.21 0.31 0.5 0.69 0.79 0.84 0.98

34. ถ้านักวิจัยสุ่มต้นมะค่าโมงในป่ าแห่งนีม้ า 3 ต้น แล้ว ความน่าจะเป็ นที่จะสุม่ ได้ตน้ มะค่าโมงอย่างน้อย 1 ต้น ที่มี
ความสูง ตัง้ แต่ 10 ถึง 15 เมตร เท่ากับเท่าใด
1. 1 − (0.66)3 2. 1 − (0.34)3 3. (0.66)3
4. 0.66 5. 0.34

35. จากข้อมูลการสารวจของนักวิชาการจากกรมป่ าไม้ พบว่า ความยาวของเส้นผ่านศูนย์กลาง (หน่วยเป็ นเซนติเมตร)


ของต้นมะค่าโมงในป่ าแห่งนีม้ ีการแจกแจงปกติ และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของความยาวของเส้นผ่านศูนย์กลางของ
ต้นมะค่าโมง เท่ากับ 5 เซนติเมตร ถ้าสุม่ ต้นมะค่าโมงในป่ าแห่งนีม้ า 1 ต้น แล้วความน่าจะเป็ นที่จะได้ตน้ มะค่าโมงที่
มีผลต่างระหว่างความยาวของเส้นผ่านศูนย์กลาง และค่าเฉลี่ยของความยาวของเส้นผ่านศูนย์กลางมากกว่า 10
เซนติเมตร เท่ากับเท่าใด
1. 0.98 2. 0.32 3. 0.16 4. 0.04 5. 0.02
PAT 1 (มี.ค. 65) 17

ตอนที่ 2 ข้อ 36 – 45 ข้อละ 9 คะแนน


36. การสารวจการลงทะเบียนเรียนวิชาภาษาต่างประเทศของนักศึกษาจานวน 180 คน ได้ผลสารวจดังนี ้
จานวนนักศึกษา (คน)

64
62
60
58
56
54
0 วิชา
ภาษาจีน ภาษาอังกฤษ ภาษาฝรั่งเศส ภาษาญี่ปนุ่

และได้ขอ้ มูลเพิ่มเติม ดังต่อไปนี ้


 นักศึกษาทัง้ 180 คน ลงทะเบียนเรียนวิชาภาษาต่างประเทศอย่างน้อย 1 วิชา
 ไม่มีนกั ศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนวิชาภาษาจีน พร้อมกับวิชาภาษาอื่น
 มีนกั ศึกษา 17 คน ที่ละทะเบียนเรียนวิชาภาษาอังกฤษและวิชาภาษาฝรั่งเศส
 มีนกั ศึกษา 23 คน ที่ละทะเบียนเรียนวิชาภาษาอังกฤษและวิชาภาษาญี่ปน ุ่
 มีนกั ศึกษา 21 คน ที่ละทะเบียนเรียนวิชาภาษาฝรั่งเศสและวิชาภาษาญี่ปน ุ่
มีนกั ศึกษากี่คน ที่ลงทะเบียนเรียนวิชาภาษาต่างประเทศอย่างน้อย 2 วิชา

37. กาหนดกราฟของ 𝑓 (𝑥) = log 2 𝑥 + log 1 𝑎 เมื่อ 𝑎 เป็ นจานวนจริงบวก ดังรูป


5
𝑌
4

𝑋
−4 −2 0 2 4

−2

−4

ค่าของ 𝑎 เท่ากับเท่าใด
18 PAT 1 (มี.ค. 65)

38. ติดตัง้ กล้องวงจรปิ ดชนิดหนึ่งมีขอบเขตของการบันทึกภาพได้ไม่เกิน 60 องศากับเส้นที่ตั้งฉากกับพืน้ ที่จุด P


และอยู่สงู จากจุด P เป็ นระยะ 5 เมตร ดังรูป
กล้องวงจรปิ ด
60° 60°
5 เมตร

พืน้
P

ถ้าวางลูกกอล์ฟ 1 ลูก ที่จดุ P จากนัน้ วางลูกกอล์ฟตามแนวเส้นตรงเดียวกันทัง้ ด้านซ้ายและด้านขวาของจุด P


ด้านละ 10 ลูก โดยให้จุดศูนย์กลางของลูกกอล์ฟที่อยู่ติดกัน อยู่ห่างกัน 1 เมตร แล้วกล้องวงจรปิ ดนีส้ ามารถ
บันทึกภาพของลูกกอล์ฟได้ก่ีลกู

39. กาหนดระบบสมการ 𝑥 + 𝑦 + 2𝑧 = 10
3𝑦 + 2𝑧 = 11
2𝑥 + 𝑦 + 3𝑧 = 17
1 0 0 𝑎
ถ้าเมทริกซ์แต่งเติมของระบบสมการนีส้ มมูลกับ [0 1 0 | 𝑏] เมื่อ 𝑎, 𝑏 และ 𝑐 เป็ นจานวนจริง
0 0 1 𝑐
แล้ว 𝑎+𝑏+𝑐 เท่ากับเท่าใด

40. สาหรับจานวนเต็มบวก 𝑛 ≥ 3 ผลรวมของขนาดของมุมภายในทุกมุมของรูป 𝑛 เหลี่ยม


เท่ากับ 180𝑛 − 360 องศา ถ้าสร้างรูป 𝑛 เหลี่ยมรูปหนึ่ง ที่มีเงื่อนไขดังนี ้
 มุมภายในทุกมุมมีขนาดน้อยกว่า 180 องศา
 เมื่อนาขนาดของมุมภายในทุกมุมมาเรียงกันจากน้อยไปมาก
จะเป็ นลาดับเลขคณิตที่มีผลต่างร่วมเท่ากับ 4 องศา
 มุมภายในที่เล็กที่สด ุ มีขนาด 126 องศา
แล้วค่าของ 𝑛 ที่มากที่สดุ เท่ากับเท่าใด
PAT 1 (มี.ค. 65) 19

41. มะลิมีลกู ปั ดที่แตกต่างกันทัง้ หมด 9 เม็ด ได้แก่ ลูกปั ดสีขาว 3 เม็ด สีชมพู 2 เม็ด สีม่วง 2 เม็ด และสีฟ้า 2 เม็ด
ถ้ามะลิตอ้ งการตกแต่งกรอบรูปวงกลม โดยการนาลูกปั ดทัง้ หมดมาวางเรียงต่อกันที่ขอบของกรอบรูป
โดยมีเงื่อนไขดังนี ้
 ลูกปั ดสีเดียวกันต้องไม่อยู่ติดกัน
 ลูกปั ดสีชมพูและสีม่วงต้องไม่อยู่ติดกัน
แล้วมะลิมีวิธีตกแต่งกรอบรูปตามเงื่อนไขที่กาหนดได้ทงั้ หมดกี่วิธี

42. จากข้อมูลของผูป้ ่ วยโรคไข้หวัดใหญ่ของโรงพยาบาลแห่งหนึ่ง ในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2564 พบว่า


 ความน่าจะเป็ นที่ผป ู้ ่ วยไม่มีโรคประจาตัว เท่ากับ 0.75
 ความน่าจะเป็ นที่ผป ู้ ่ วยมีอายุมากกว่า 60 ปี เท่ากับ 0.20
 ความน่าจะเป็ นที่ผป ู้ ่ วยมีโรคประจาตัวหรือมีอายุมากกว่า 60 ปี เท่ากับ 0.35
ถ้าสุม่ ผูป้ ่ วยโรคไข้หวัดใหญ่ในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2564 มา 1 คน แล้วความน่าจะเป็ นที่จะได้ผปู้ ่ วยที่มีโรคประจาตัว
และมีอายุมากกว่า 60 ปี เท่ากับเท่าใด
20 PAT 1 (มี.ค. 65)

43. ร้านแห่งหนึ่งทาซาลาเปาไส้ใหม่ 3 ไส้ ได้แก่ ซาลาเปาไส้ไข่เค็มลาวา ไส้ช็อกโกแลตลาวา และไส้ผกั รวมมิตร


ร้านแห่งนีไ้ ด้สารวจความชอบชองลูกค้าที่มีต่อซาลาเปาไส้ใหม่นีเ้ ป็ นเวลา 3 วัน โดยให้ลกู ค้าชิมซาลาเปาไส้ใหม่ทงั้
สามไส้ แล้วเลือกไส้ท่ีชอบที่สดุ มาเพียง 1 ไส้ เท่านัน้ ผลการสารวจในแต่ละวันแสดงด้วยแผนภูมิแท่งได้ดงั นี ้
ร้อยละของจานวนลูกค้าที่ชอบซาลาเปาไส้ใหม่
100
20 25
80 40
60 40
45
40 35
20 40 30 25
0
วันที่ 1 วันที่ 2 วันที่ 3
ไส้ไข่เค็มลาวา ไส้ช็อกโกแลตลาวา ไส้ผักรวมมิตร
จากการสารวจข้อมูล พบว่า
 การสารวจวันที่ 1 มีลกู ค้าที่ชอบซาลาเปาไว้ผกั รวมมิตร จานวน 60 คน
 จานวนลูกค้าที่ชอบซาลาเปาไส้ไข่เค็มลาวาจากการสารวจวันที่ 2 น้อยกว่า
จานวนลูกค้าที่ชอบซาลาเปาไส้ไข่เค็มลาวาจากการสารวจวันที่ 3 อยู่ 1 คน
 การสารวจวันที่ 1 ถึงวันที่ 3 มีลกู ค้าที่ชอบซาลาเปาไส้ไข่เค็มลาวาทัง้ หมด 229 คน
จากการสารวจวันที่ 2 มีจานวนลูกค้าที่ชอบซาลาเปาไส้ช็อกโกแลตลาวา มากกว่า ไส้ผกั รวมมิตรอยู่ก่ีคน

44. ให้จดุ 𝐴 และ 𝐵 เป็ นจุดบนพาราโบลา 9𝑥2 + 10𝑦 = 81


ถ้าเส้นสัมผัสพาราโบลาที่จดุ 𝐴 และเส้นสัมผัสพาราโบลาที่จดุ 𝐵 ตัดกันที่จดุ (0, 9)
แล้วระยะห่างระหว่างจุด 𝐴 และ 𝐵 เท่ากับกี่หน่วย

45. ให้ 𝑎 เป็ นจานวนจริงบวก ถ้าบริเวณที่ปิดล้อมด้วยเส้นโค้ง 𝑦 = 𝑎𝑥2 + 2 แกน 𝑋 เส้นตรง 𝑥 = 0 และ


เส้นตรง 𝑥 = 5 มีพนื ้ ที่เท่ากับ 135 ตารางหน่วย แล้วความชันของเส้นโค้ง 𝑦 = 𝑎𝑥2 + 2 ที่ 𝑥 = 𝑎
เท่ากับเท่าใด
PAT 1 (มี.ค. 65) 21

เฉลย
1. 2 11. 5 21. 4 31. 3 41. 1728
2. 3 12. 3 22. 1 32. 2 42. 0.1
3. 2 13. 1 23. 2 33. 4 43. 36
4. 5 14. 1 24. 2 34. 1 44. 2
5. 4 15. 3 25. 5 35. 4 45. 18
6. 2 16. 4 26. 2 36. 51
7. 2 17. 3 27. 1 37. 5
8. 5 18. 5 28. 3 38. 17
9. 3 19. 5 29. 4 39. 12
10. 1 20. 5 30. 1 40. 10

แนวคิด
1. ให้ 𝐴 = { 𝑥 ∈ ℝ | 15 |𝑥 − 3| < 1} และ 𝐵 = { 𝑥 ∈ ℝ | −3 < 𝑥 ≤ −2 }
พิจารณาข้อความต่อไปนี ้
ก) 𝐴 ∪ 𝐵 = { 𝑥 ∈ ℝ | −3 < 𝑥 < 8 }
ข) 𝐴 ∩ 𝐵 ⊂ (−1 , 0)
ค) เพาเวอร์เซตของ 𝐴 ∩ 𝐵 มีสมาชิกอย่างน้อย 2 ตัว
จากข้อความ ก) ข) และ ค) ข้างต้น ข้อใดถูกต้อง
1. ข้อความ ก) ถูกต้องเพียงข้อเดียวเท่านัน้ 2. ข้อความ ก) และ ข) ถูกต้องเท่านัน้
3. ข้อความ ก) และ ค) ถูกต้องเท่านัน้ 4. ข้อความ ข) และ ค) ถูกต้องเท่านัน้
5. ข้อความ ก) ข) และ ค) ถูกต้อง
ตอบ 2
1
|𝑥 − 3| < 1
5
|𝑥 − 3| < 5
−5 < 𝑥 − 3 < 5 +3 ตลอด
−2 < 𝑥 < 8
จะได้ 𝐴 = (−2 , 8)
ก) เมื่อนา 𝐴 มายูเนียนกับ 𝐵 จะ ต่อกันที่ −2 ดี ดังนัน้ 𝐴 ∪ 𝐵 = (−3, 8) → ก) ถูก
ข) เนื่องจาก 𝐴 กับ 𝐵 ไม่มีสว่ นซ้อนทับกันเลย จะได้ 𝐴 ∩ 𝐵 = ∅ และเนื่องจาก ∅ เป็ นสับเซตของทุกเซต → ข) ถูก
ค) 𝑃(𝐴 ∩ 𝐵) = 𝑃(∅) = { ∅ } มีสมาชิก 1 ตัว → ค) ผิด

2. กาหนด 𝑝, 𝑞 และ 𝑟 เป็ นประพจน์ ถ้า [(𝑝 ∧ 𝑞) ↔ ((𝑝 ∨ 𝑞) → ~𝑟)] ∨ (𝑝 → 𝑟) มีค่าความจริงเป็ นเท็จ
22 PAT 1 (มี.ค. 65)

แล้วประพจน์ในข้อใดมีค่าความจริงเป็ นจริง
1. (𝑝 ∨ 𝑟) → 𝑞 2. 𝑝 ∧ (𝑞 ∧ ~𝑟) 3. 𝑝 ∧ (𝑞 ↔ 𝑟)
4. 𝑝 → (𝑞 ∨ 𝑟) 5. 𝑝 → (~𝑞 ↔ 𝑟)
ตอบ 3
[(𝑝 ∧ 𝑞) ↔ ((𝑝 ∨ 𝑞) → ~𝑟)] ∨ (𝑝 → 𝑟)
F
F ∨ F
T → F
(T ∧ 𝑞) ↔ ((T ∨ 𝑞) → ~F) แทน 𝑝 ≡ T , 𝑟 ≡ F ในก้อนหน้า
(T ∧ 𝑞) ↔ ( T → T)
ผลก็ต่อเมื่อ F ↔ T
ต้องเป็ น F F
จะได้ 𝑝 ≡ T , 𝑞 ≡ F และ 𝑟≡F แทนในตัวเลือกแต่ละข้อ จะได้
1. (T ∨ F) → F 2. T ∧ (F ∧ ~F) 3. T ∧ (F ↔ F)
T →F ≡ F T∧ F ≡ F T∧ T ≡ T
4. T → (F ∨ F) 5. T → (~F ↔ F)
T→ F ≡ F T→ F ≡ F

3. กาหนด 𝑝, 𝑞 และ 𝑟 เป็ นประพจน์ พิจารณาข้อความต่อไปนี ้


ก) ~(𝑝 ∧ ~q) → (~𝑝 ∧ 𝑟) สมมูลกับ (𝑝 ∨ ~𝑟) → (𝑝 ∧ ~𝑞)
ข) [(𝑝 → 𝑞) ∧ (𝑝 ∨ 𝑟) ∧ ~𝑟] → 𝑞 เป็ นสัจนิรนั ดร์
ค) กาหนดการอ้างเหตุผลต่อไปนี ้
เหตุ 1) 𝑝 → ~𝑞
2) 𝑟 ↔ 𝑞
ผล ~𝑝 ∨ 𝑟
การอ้างเหตุผลนีส้ มเหตุสมผล
จากข้อความ ก) ข) และ ค) ข้างต้น ข้อใดถูกต้อง
1. ข้อความ ก) ถูกต้องเพียงข้อเดียวเท่านัน้ 2. ข้อความ ก) และ ข) ถูกต้องเท่านัน้
3. ข้อความ ก) และ ค) ถูกต้องเท่านัน้ 4. ข้อความ ข) และ ค) ถูกต้องเท่านัน้
5. ข้อความ ก) ข) และ ค) ถูกต้อง
ตอบ 2
ก. ~(𝑝 ∧ ~q) → (~𝑝 ∧ 𝑟) ≡ (𝑝 ∨ ~𝑟) → (𝑝 ∧ ~𝑞)
~~(𝑝 ∧ ~q) ∨ (~𝑝 ∧ 𝑟) ≡ ~(𝑝 ∨ ~𝑟) ∨ (𝑝 ∧ ~𝑞)
(𝑝 ∧ ~q) ∨ (~𝑝 ∧ 𝑟) ≡ (~𝑝 ∧ 𝑟) ∨ (𝑝 ∧ ~𝑞) 
ข. สมมติให้ประพจน์เป็ นเท็จ : [(𝑝 → 𝑞) ∧ (𝑝 ∨ 𝑟) ∧ ~𝑟] → 𝑞
F
[ T ∧ T ∧ T ]→F
แทน 𝑞 ≡ F
𝑝→F ~F
F ขั
ด แย้

F∨F
เกิดการขัดแย้ง จึงเป็ นสัจนิรนั ดร์ 
ค. สมมติให้เหตุทกุ เหตุเป็ นจริง แต่ผลเป็ นเท็จ : เหตุ 1 เหตุ 2 ผล
𝑝 → ~𝑞 𝑟↔𝑞 ~𝑝 ∨ 𝑟
T T F
F ∨F
~T
แทน 𝑝 ≡ T
T → ~𝑞 F↔𝑞 𝑟≡F
T F
~F
PAT 1 (มี.ค. 65) 23

จะได้ 𝑝≡T, 𝑞≡F และ 𝑟≡F ไม่เกิดการขัดแย้ง จึงไม่สมเหตุสมผล → ค. ผิด

4. พิจารณาข้อความต่อไปนี ้
ก) กาหนดเอกภพสัมพัทธ์เป็ น { 0 , 1 , 2 }
∀𝑥[(𝑥 > 0) → (3|𝑥 − 1| ≤ |𝑥 + 3|)] มีค่าความจริงเป็ นจริง
ข) กาหนดเอกภพสัมพัทธ์เป็ นเซตของจานวนจริง
นิเสธของ ∀𝑥[𝑥 > 0] → ∃𝑥[2𝑥 ≤ 3] คือ ∀𝑥[𝑥 > 0] ∧ ∀𝑥[2𝑥 > 3]
ค) กาหนดเอกภพสัมพัทธ์เป็ นเซตของจานวนจริง
∀𝑥[𝑥 > 0] → ∃𝑥[2𝑥 ≤ 3] สมมูลกับ ∃𝑥[𝑥 ≤ 0] ∨ ∃𝑥[2𝑥 ≤ 3]
จากข้อความ ก) ข) และ ค) ข้างต้น ข้อใดถูกต้อง
1. ข้อความ ก) ถูกต้องเพียงข้อเดียวเท่านัน้ 2. ข้อความ ก) และ ข) ถูกต้องเท่านัน้
3. ข้อความ ก) และ ค) ถูกต้องเท่านัน้ 4. ข้อความ ข) และ ค) ถูกต้องเท่านัน้
5. ข้อความ ก) ข) และ ค) ถูกต้อง
ตอบ 5
ก. ไล่แทนค่า 𝑥 = 0 , 1 , 2
𝑥 = 0 : (0 > 0) → ??? 𝑥 = 1 : (1 > 0) → (3|1 − 1| ≤ |1 + 3|)
F → ??? ≡ T T →( 0 ≤ 4) ≡ T

𝑥 = 2 : (2 > 0) → (3|2 − 1| ≤ |2 + 3|)


T →( 3 ≤ 5) ≡ T
เป็ นจริงทุกกรณี ดังนัน้ ก ถูก
ข. ~( ∀𝑥[𝑥 > 0] → ∃𝑥[2𝑥 ≤ 3] ) ค. ∀𝑥[𝑥 > 0] → ∃𝑥[2𝑥 ≤ 3]
≡ ~(~∀𝑥[𝑥 > 0] ∨ ∃𝑥[2𝑥 ≤ 3]) ≡ ~∀𝑥[𝑥 > 0] ∨ ∃𝑥[2𝑥 ≤ 3])
≡ ∀𝑥[𝑥 > 0] ∧ ~∃𝑥[2𝑥 ≤ 3] ≡ ∃𝑥[𝑥 ≤ 0] ∨ ∃𝑥[2𝑥 ≤ 3] ค. ถูก
≡ ∀𝑥[𝑥 > 0] ∧ ∀𝑥[2𝑥 > 3] ข. ถูก

5. ให้ 𝐴 แทนเซตของจานวนจริง 𝑎 ทัง้ หมดที่ 𝑥 + 𝑎 หาร 𝑥3 + 4𝑥2 − 7𝑥 + 4 เหลือเศษ 14


ถ้า 𝑚 เป็ นสมาชิกในเซต 𝐴 ที่มีค่ามากที่สดุ และ 𝑛 เป็ นสมาชิกในเซต 𝐴 ที่มีค่าน้อยที่สดุ
แล้ว 𝑚 + 𝑛 เท่ากับเท่าใด
1. −3 2. −1 3. 1 4. 3 5. 6
ตอบ 4
จากทฤษฎีเศษ ถ้าจะหาเศษจากการนา 𝑥 − 𝑐 ไปหารพหุนาม ให้แทน 𝑥 = 𝑐 ในพหุนาม
เนื่องจาก 𝑥 + 𝑎 = 𝑥 − (−𝑎) ถ้าแทน 𝑥 = −𝑎 จะได้เศษ = (−𝑎)3 + 4(−𝑎)2 − 7(−𝑎) + 4
= −𝑎3 + 4𝑎2 + 7𝑎 +4
แต่โจทย์ให้เศษ = 14 ดังนัน้ −𝑎3 + 4𝑎2 + 7𝑎 + 4 = 14
0 = 𝑎3 − 4𝑎2 − 7𝑎 + 10
24 PAT 1 (มี.ค. 65)

แยกตัวประกอบด้วยทฤษฎีเศษ โดยแทนค่า 𝑎 ด้วยตัวประกอบของ 10 (±1 , ±2 , ±5)


𝑎 = 1 : 13 − 4(12 ) − 7(1) + 10 = 0 ใช้ได้ 0 = 𝑎3 − 4𝑎2 − 7𝑎 + 10
1 1 −4 −7 10 0 = (𝑎 − 1)(𝑎 2 − 3𝑎 − 10)
1 −3 −10 0 = (𝑎 − 1)(𝑎 + 2)(𝑎 − 5)
1 −3 −10 0 𝑎 = 1 , −2 , 5

จะได้ค่า 𝑎 มากสุด คือ 5 และค่า 𝑎 น้อยสุด คือ −2 บวกกัน จะได้ 5 + (−2) = 3

6. ถ้า 𝐴 = { 𝑥 ∈ ℝ | |2−𝑥
𝑥+3
| < 3 } แล้วเซต ℤ−𝐴 มีสมาชิกทั้งหมดกี่ตวั
1. น้อยกว่า 4 2. 4 3. 5 4. 6 5. มากกว่า 6
ตอบ 2
2−𝑥
| | < 3
𝑥+3
|𝑥 + 3| เป็ นบวก จึงย้ายขึน้ มาคูณได้
|2−𝑥|
|𝑥+3|
< 3 ไม่ตอ้ งกลับเครื่อหมายน้อยกว่าเป็ นมากกว่า
|2 − 𝑥| < 3|𝑥 + 3| เมื่อ 𝑥 ≠ −3
(2 − 𝑥 )2
< (3𝑥 + 9 )2
0 < (3𝑥 + 9)2 − (2 − 𝑥)2
0 < ((3𝑥 + 9) + (2 − 𝑥))((3𝑥 + 9) − (2 − 𝑥))
0 < (2𝑥 + 11)(4𝑥 + 7)

+ − +
11 7
ℤ−𝐴 จะเหลือจานวนเต็มที่อยู่ในช่วง [− 112 , − 74]
− −4
2 คือตัง้ แต่ −5.5 ถึง −1.75
−3 ที่ทาให้ตวั หารเป็ นศูนย์ ไม่อยู่ใน
ซึ่งจะมี −5 , −4 , −3 , −2 ทัง้ หมด 4 จานวน
ช่วงนีอ้ ยู่แล้ว จึงไม่ตอ้ งหักอะไรเพิม่

7. ให้ 𝑓 และ 𝑔 เป็ นฟั งก์ชนั ที่มีโดเมนเป็ นสับเซตของจานวนจริง โดยที่ 𝑓(𝑥) = √1 + 𝑥2 และ 𝑔(𝑥) = √3 − 𝑥2
พิจารณาข้อความต่อไปนี ้
ก) โดเมนของ 𝑓 ∘ 𝑔 คือ [−2 , 2]
ข) เรนจ์ของ 𝑓 ∘ 𝑔 คือ [1 , 2]
ค) 𝑓 ∘ 𝑔 มีฟังก์ชนั ผกผัน
จากข้อความ ก) ข) และ ค) ข้างต้น ข้อใดถูกต้อง
1. ข้อความ ก) ถูกต้องเพียงข้อเดียวเท่านัน้ 2. ข้อความ ข) ถูกต้องเพียงข้อเดียวเท่านัน้
3. ข้อความ ค) ถูกต้องเพียงข้อเดียวเท่านัน้ 4. ข้อความ ก) และ ข) ถูกต้องเท่านัน้
5. ข้อความ ข) และ ค) ถูกต้องเท่านัน้
ตอบ 2
2 2
ก) (𝑓 ∘ 𝑔)(𝑥) = 𝑓(𝑔(𝑥)) = √1 + (𝑔(𝑥)) = √1 + (√3 − 𝑥 2 )
หาโดเมน → ในรูทต้อง ≥ 0 จะเห็นว่า 𝑓 ∘ 𝑔 มีรูทซ้อนกันอยู่ 2 ชัน้ → ในรูทของทัง้ 2 ชัน้ ต้อง ≥ 0
2
ในรูทชัน้ ใน : 3 − 𝑥2 ≥ 0 ในรูทชัน้ นอก : 1 + (√3 − 𝑥 2 ) ≥ 0
0 ≥ 𝑥2 − 3 2
(√3 − 𝑥 2 ) ≥ −1
0 ≥ (𝑥 + √3)(𝑥 − √3)
PAT 1 (มี.ค. 65) 25

เป็ นจริงเสมออยู่แล้ว เพราะ


+ − + ผลยกกาลัง 2 เป็ นลบไม่ได้
−√3 √3
รวมทุกเงื่อนไข จะได้โดเมน = [ −√3 , √3 ] → ก) ผิด
ข) หาเรนจ์จากการพิจารณาช่วงค่าที่เป็ นไปได้
𝑥2 ≥ 0
0 ≥ −𝑥 2
3 ≥ 3 − 𝑥2
√3 ≥ √3 − 𝑥 2 ≥ 0
2
3 ≥ (√3 − 𝑥2 ) ≥ 0
2
4 ≥ 1 + (√3 − 𝑥 2 ) ≥ 1
2
2 ≥ √1 + (√3 − 𝑥 2 ) ≥ 1 → จะได้เรนจ์คือ [1, 2] → ข) ถูก
ค) 𝑓∘𝑔 จะมีฟังก์ชนั ผกผันเมื่อ 𝑓 ∘ 𝑔 เป็ น 1 – 1
แต่จะเห็นว่า 𝑥 ในสูตรของ 𝑓 ∘ 𝑔 ถูกยกกาลังสองอยู่ ดังนัน้ 𝑓 ∘ 𝑔 จะไม่ใช่ 1 – 1
2
(เช่น 𝑥 = 1 กับ −1 จะคานวณ √1 + (√3 − 𝑥2 ) ได้ √3 เท่ากัน)
จึงสรุปได้ว่า 𝑓 ∘ 𝑔 ไม่มีฟังก์ชนั ผกผัน → ค) ผิด
𝑡

8. ให้ 𝑓(𝑡) = 𝑐 (12)4 แทนปริมาณคาเฟอีนในเลือดของคน (หน่วยเป็ นมิลลิกรัมต่อลิตร) เมื่อดื่มกาแฟ


ผ่านไป 𝑡 ชั่วโมง และ 𝑐 แทนปริมาณเริ่มต้นของคาเฟอีนในเลือดของคน (หน่วยเป็ นมิลลิกรัมต่อลิตร)
ถ้าแก้มดื่มกาแฟและวัดปริมาณคาเฟอีนในเลือดเมื่อเวลา 8.00 น. พบว่ามีปริมาณคาเฟอีนในเลือด
อยู่ 3.2 มิลลิกรัมต่อลิตร แล้วเวลาใดที่ปริมาณคาเฟอีนในเลือดของแก้มเหลือ 0.4 มิลลิกรัมต่อลิตร โดยที่แก้มไม่ได้
ดื่มเครื่องดื่มหรือรับประทานอาหารที่มีคาเฟอีนเพิ่ม หลังเวลา 8.00 น.
1. 12.00 น. 2. 14.00 น. 3. 16.00 น. 4. 18.00 น. 5. 20.00 น.
ตอบ 5
ตอนเริ่มต้น มีคาเฟอีน 3.2 มิลลิกรัมต่อลิตร → 𝑐 = 3.2 𝑘

ให้คมเฟอีนเหลือ 0.4 มิลลิกรัมต่อลิตร เมื่อผ่านไป 𝑘 ชั่วโมง → 3.2 (12)4 = 0.4


𝑘
1 4 0.4 1 1 3
( ) = = = (2)
2 3.2 8
𝑘
= 3
4
𝑘 = 12

เมื่อผ่านไป 12 ชั่วโมง จะเป็ นเวลา 8 + 12 = 20 นาฬิกา

9. ถ้า 𝑎 เป็ นจานวนจุดตัดของกราฟ 𝑦 = 3 cos 𝑥 + 3 กับกราฟของ 𝑦=1 บนช่วง [ 0, 2𝜋)


26 PAT 1 (มี.ค. 65)

เป็ นจานวนจุดตัดของกราฟ
𝑏 𝑦 = 3 cos 𝑥 + 3 กับกราฟของ 𝑦 = −1 บนช่วง [ 0, 2𝜋)
และ 𝑐 เป็ นจานวนจุดตัดของกราฟ 𝑦 = 3 cos 𝑥 + 3 กับกราฟของ 𝑦 = 2 sin2 𝑥 บนช่วง [ 0, 2𝜋)
แล้ว 𝑎 + 𝑏 + 𝑐 เท่ากับเท่าใด
1. 3 2. 4 3. 5 4. 6 5. 7
ตอบ 3
𝑎: เชื่อมสองสมการด้วยค่า 𝑦 จะได้ 3 cos 𝑥 + 3 = 1
2
cos 𝑥 = −3
−1 − 2
จากวงกลมหนึ่งหน่วย มุมที่มีพิกัด 𝑋 เป็ น − 23 จะอยู่ใน Q2 และ Q3 ดังรูป 3

ดังนัน้ บนช่วง [ 0, 2𝜋) จะมีค่า 𝑥 ที่เป็ นคาตอบได้ 2 ค่า มาคู่กบั 𝑦 = 1 → จะได้ 𝑎=2
𝑏: เชื่อมสองสมการด้วยค่า 𝑦 จะได้ 3 cos 𝑥 + 3 = −1
4
cos 𝑥 = −3
แต่ค่า cos จะต้องอยู่ในช่วง [ −1 , 1 ] จึงไม่สามารถเท่ากับ − 43 ได้
นั่นคือ กราฟทัง้ สอง จะไม่ตดั กัน → จะได้ 𝑏 = 0
𝑐: เชื่อมสองสมการด้วยค่า 𝑦 จะได้ 3 cos 𝑥 + 3 = 2 sin2 𝑥
3 cos 𝑥 + 3 = 2(1 − cos2 𝑥 )
3 cos 𝑥 + 3 = 2 − 2 cos2 𝑥
2 cos2 𝑥 + 3 cos 𝑥 + 1 = 0
(2 cos 𝑥 + 1)(cos 𝑥 + 1) = 0
1
cos 𝑥 = − 2 , −1
𝑥 = 120° , 240° , 180° มี 3 ค่า → จะได้ 𝑐=3
(นาค่า 𝑥 แต่ละค่า ไปแทนใน 𝑦 = 3 cos 𝑥 + 3 จะหาค่า 𝑦 ที่จบั คู่กนั ได้)
จะได้ 𝑎+𝑏+𝑐 = 2+0+3 = 5

10. ให้จดุ 𝑃1 และ 𝑃2 เป็ นจุดบนวงกลมหนึ่งหน่วย โดยที่จดุ 𝑃1 มีพิกดั เป็ น (1, 0)


และส่วนโค้ง 𝑃1 𝑃2 ยาว 𝜋 + 𝜃 หน่วย เมื่อ 𝜃 ∈ (0, 𝜋)
ถ้า (sin 𝜃 )(tan 𝜃) < 0 และ |sin 𝜃| = 12 แล้วจุด 𝑃2 มีพิกดั เป็ นเท่าใด
1 1 1
1. (
√3
2
, − )
2
2. ( , −
2
√3
2
) 3. (−
√3
2
, − )
2
1 √3 1
4. (− ,
2
√3
2
) 5. ( − , )
2 2
ตอบ 1
𝜃 ∈ (0, 𝜋) ดังนัน้ 𝜃 อยู่ใน Q1 หรือ Q2
แต่ใน Q1 ทัง้ sin และ tan เป็ นบวก จะไม่มีทางทาให้ (sin 𝜃 )(tan 𝜃) < 0 ดังนั้น 𝜃 อยู่ใน Q2
มุมใน Q2 ที่ทาให้ |sin 𝜃| = 12 จะมีมมุ เดียว คือ 5𝜋 6
ดังนัน้ 𝜋 + 𝜃 = 𝜋 + 5𝜋6
11𝜋
= 6
ข้อนี ้ โจทย์ไม่ได้บอกว่า ส่วนโค้ง 𝑃1 𝑃2 เริ่มจาก 𝑃1 ไปทางทิศทวนเข็ม หรือตามเข็ม
11𝜋 1 𝑃2
ถ้าเริ่มจาก 𝑃1 (1, 0) ไป
6
ไปทางทวนเข็ม จะได้พิกดั ของ 𝑃2 คือ (
√3
2
,− )
2
𝑃1
√3 1
𝑃1
ไปทางตามเข็ม จะได้พิกัดของ 𝑃2 คือ ( 2 , 2) 𝑃2
PAT 1 (มี.ค. 65) 27

11. เจตออกแบบการติดตัง้ แผงโซลาร์เซลล์รูปสี่เหลี่ยมจัตรุ สั ที่แต่ละด้านยาว 1 เมตร บนหลังคาบ้าน โดยมีขาตั้งที่ปลาย


ด้านหนึ่งของแผงโซลาร์เซลล์ทามุม 60 องศากับหลังคาบ้าน และวางแผงโซลาร์เซลล์ให้ทามุม 10 องศากับแนว
ระดับ ดังรูป หลังคาบ้าน
แผงโซลาร์เซลล์

10° 1 ม.

แนวระดับ
ขาตัง้ 60°

ขาตัง้ นีส้ งู กี่เมตร


2√3
1. 2 sin 10° 2. 3
sin 10° 3. 2 sin 20°
2√3
4. √3
3
sin 20° 5. 3
sin 20°
ตอบ 5
C ใน ∆ABC จะได้ B̂ = 90° + 10° = 100°
10° 1 และจะเหลือ Ĉ = 180° − 100° − 60° = 20°
BC BA
B
จากกฎของ sin จะได้ sin A
=
sin C
60° 1 BA
A sin 60°
= sin 20°
sin 20° 2 sin 20° 2√3
ดังนัน้ BA =
sin 60°
=
√3
×
√3
√3
=
3
sin 20°

12. ให้ 𝐴 = [𝑎0 0𝑏] เมื่อ 𝑎 และ 𝑏 เป็ นจานวนจริง


ถ้า (𝐴𝑡 − 𝐼2 )(𝐴𝑡 − 2𝐼2 ) = 02×2 แล้ว 𝐴 ที่เป็ นไปได้มีทงั้ หมดกี่เมทริกซ์
1. 0 2. 2 3. 4 4. 8 5. 16
ตอบ 3
𝑎 0 1 0 𝑎 0 1 0 0 0 (ข้อนี ้ 𝐴𝑡 = 𝐴)
([ ]−[ ]) ([ ]− 2[ ]) = [ ]
0 𝑏 0 1 0 𝑏 0 1 0 0
𝑎−1 0 𝑎−2 0 0 0
[ ][ ] = [ ]
0 𝑏−1 0 𝑏−2 0 0
(𝑎 − 1)(𝑎 − 2) 0 0 0
[ ] = [ ]
0 (𝑏 − 1)(𝑏 − 2) 0 0
(𝑎 − 1)(𝑎 − 2) = 0 และ (𝑏 − 1)(𝑏 − 2) = 0
𝑎=1, 2 𝑏=1, 2
𝑎 เลือกได้ 2 แบบ และ 𝑏 เลือกได้ 2 แบบ ดังนัน้ จะมี 𝐴 ได้ทงั้ หมด 2 × 2 = 4 แบบ
28 PAT 1 (มี.ค. 65)

13. พิจารณาข้อความต่อไปนี ้
ก) ไม่มีจานวนจริง 𝑎, 𝑏 และ 𝑐 ที่ทาให้จานวนเชิงซ้อน 1 + 2i และ 2 เป็ นคาตอบของ
สมการ 𝑎𝑥2 + 𝑏𝑥 + 𝑐 = 0 เมื่อ 𝑎 ≠ 0
ข) รากที่สองของจานวนเชิงซ้อน 4 + 9i คือ 2 + 3i และ 2 − 3i
ค) ค่าสัมบูรณ์ของจานวนเชิงซ้อน √3 − i เท่ากับ √2
จากข้อความ ก) ข) และ ค) ข้างต้น ข้อใดถูกต้อง
1. ข้อความ ก) ถูกต้องเพียงข้อเดียวเท่านัน้ 2. ข้อความ ข) ถูกต้องเพียงข้อเดียวเท่านัน้
3. ข้อความ ค) ถูกต้องเพียงข้อเดียวเท่านัน้ 4. ข้อความ ก) และ ข) ถูกต้องเท่านัน้
5. ข้อความ ก) และ ค) ถูกต้องเท่านัน้
ตอบ 1
ก) เนื่องจาก 𝑎, 𝑏 และ 𝑐 เป็ นจานวนจริง ถ้า 1 + 2i เป็ นคาตอบ จะได้ว่า 1 − 2i ต้องเป็ นคาตอบด้วย
แต่สมการกาลังสอง จะมีคาตอบได้ไม่เกิน 2 คาตอบ จึงไม่สามารถมี 2 เป็ นอีกคาตอบได้ → ก) ถูก
ข) ถ้าเป็ นรากที่สอง จะต้องยกกาลังสองแล้วได้ 4 + 9i
(2 + 3i)2 = 22 + 12i + (3i)2
= 4 + 12i − 9 = −5 + 12i → ข) ผิด
2
ค) |√3 + i| = √√3 + 12 = √4 = 2 → ค) ผิด

14. พิจารณาข้อความต่อไปนี ้
1 2 1 𝑘 3 1 𝑘 𝑛 1 𝑘
ก) 2
, ∑ ( ) , ∑ ( ) , … , ∑ ( ) , … เป็ นลาดับลูเ่ ข้า
𝑘=1 2 𝑘=1 2 𝑘=1 2
ข) sin 𝜋 , sin 2𝜋 , sin 3𝜋 , … , sin 𝑛𝜋 , … เป็ นลาดับลูอ่ อก

ค) ถ้า 𝑎1 , 𝑎2 , 𝑎3 , … , 𝑎𝑛 , … เป็ นลาดับลูเ่ ข้า แล้ว ∑ 𝑎𝑛 เป็ นอนุกรมลูเ่ ข้า
𝑛=1
จากข้อความ ก) ข) และ ค) ข้างต้น ข้อใดถูกต้อง
1. ข้อความ ก) ถูกต้องเพียงข้อเดียวเท่านัน้ 2. ข้อความ ข) ถูกต้องเพียงข้อเดียวเท่านัน้
3. ข้อความ ค) ถูกต้องเพียงข้อเดียวเท่านัน้ 4. ข้อความ ก) และ ข) ถูกต้องเท่านัน้
5. ข้อความ ก) และ ค) ถูกต้องเท่านัน้
ตอบ 1
ก) จะเป็ นลาดับลูเ่ ข้าเมื่อ lim 𝑎𝑛 หาค่าได้
𝑛→∞
𝑛 1 𝑘 1 1 1 2 1 3 1
lim 𝑎𝑛 = lim ∑ ( ) = ( ) + ( ) + ( ) + …
𝑛→∞ 𝑛→∞ 𝑘=1 2 2 2 2
เป็ นอนุกรมเรขาคณิตอนันต์ท่ีมี 𝑟=
2

เนื่องจาก |𝑟| < 1 ดังนัน้ อนุกรมอนันต์นีจ้ ะหาค่าได้ → ก) ถูก


ข) จะเห็นว่าทุกตัวในลาดับ sin 𝜋 , sin 2𝜋 , sin 3𝜋 , ... มีค่าเป็ น 0 ทุกตัว จึงเป็ นลาดับลูเ่ ข้าสู่ 0 → ข) ผิด

ค) ∑ 𝑎𝑛 คือการบวกกันของพจน์ในลาดับทุกตัว จึงลูเ่ ข้าได้ยากกว่า ลาดับ 𝑎𝑛
𝑛=1
เช่นลาดับ 1, 1, 1, … เป็ นลาดับที่ลเู่ ข้าสู่ 1
แต่ผลบวก 1 + 1 + 1 + … จะมากขึน้ ได้อย่างไม่มีขอบเขต เป็ นอนุกรมลูอ่ อก → ค) ผิด
PAT 1 (มี.ค. 65) 29

∞ 4 𝜋
15. ถ้า ∑ (−1)𝑘 tan2𝑘 𝑥 = 5
เมื่อ 0<𝑥<4 แล้ว cos 2𝑥 เท่ากับเท่าใด
𝑘=0
1 2 3 4 2√5
1. 5
2. 5
3. 5
4. 5
5. 5
ตอบ 3

∑ (−1)𝑘 tan2𝑘 𝑥 = (−1)0 tan0 𝑥 + (−1)1 tan2 𝑥 + (−1)2 tan4 𝑥 + …
𝑘=0
= 1 − tan2 𝑥 + tan4 𝑥 +…
เป็ นอนุกรมเรขาคณิตอนันต์ท่ีมี 𝑎1 = 1 และ 𝑟 = − tan 𝑥 2

ซึ่งผลบวกจะลูเ่ ข้าเมื่อ |𝑟| < 1 (จะเห็นว่าเมื่อ 0 < 𝑥 < 𝜋4 จะได้ |− tan2 𝑥| < 1)
𝑎1 1 1 4
และจะมีค่าผลบวก = 1−𝑟 = 1−(− tan2 𝑥) = 1+tan2 𝑥 ซึ่งโจทย์กาหนดให้ผลบวก = 5
5 = 4 + 4 tan2 𝑥
1
𝜋 = tan2 𝑥
0 < 𝑥 < 4 ดังนัน้ 𝑥 อยู่ใน Q1 4
1
sin, cos, tan เป็ นบวกทัง้ หมด = tan 𝑥
2

= √12 + 22 = √5 2
1
𝑥
จะได้ cos 𝑥 =
√5
2
ดังนัน้ cos 2𝑥 = 2 cos2 𝑥 − 1
2 2 8 3
= 2( ) − 1 = −1 =
√5 5 5

16. ในวันที่ 1 มกราคม 2565 ต้นนา้ ฝากเงิน 10,000 บาท เข้าบัญชีธนาคารได้รบั อัตราดอกเบีย้ 4% ต่อปี
โดยคิดดอกเบีย้ แบบทบต้นทุก 6 เดือน ถ้าต้นนา้ ได้รบั ดอกเบีย้ สิน้ เดือนมิถนุ ายนและสิน้ เดือนธันวาคมของทุกปี
และในวันที่ 1 มกราคม 2565 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2566 ต้นนา้ ฝากและถอนเงินดังนี ้
รายการ
วันที่ / เดือน / ปี
ฝาก (บาท) ถอน (บาท)
01 / 01 / 2565 10,000 −
01 / 07 / 2565 − 4,000
01 / 01 / 2566 6,000 −

แล้วในวันที่ 1 มกราคม 2567 ต้นนา้ จะมีเงินในบัญชีธนาคารรวมทัง้ หมดกี่บาท


1. 10,000(1.04)4 − 4,000(1.04)3 + 6,000(1.04)
2. 10,000(1.04)4 − 4,000(1.04)3 + 6,000(1.04)2
3. 10,000(1.02)4 − 4,000(1.02)3 + 6,000(1.02)
4. 10,000(1.02)4 − 4,000(1.02)3 + 6,000(1.02)2
5. 10,000(1.02)5 − 4,000(1.02)4 + 6,000(1.02)3
ตอบ 4
ทบต้นทุก 6 เดือน → งวดละ 6 เดือน ดังนัน้ 1 ปี = 126 = 2 งวด
หาดอกเบีย้ ต่ดงวด → ดอกเบีย้ 4% ต่อปี จะเท่ากับ 4% 2
= 2% ต่อวงด → จะได้ 1 + 𝑟 = 1 + 100 = 1.02
2

ใช้สตู ร 𝑃(1 + 𝑟)𝑛 เพื่อหาเงินรวมเมื่อผ่านไป 𝑛 งวด


30 PAT 1 (มี.ค. 65)

เงิน 10,000 บาท ที่ฝากวันที่ 01/01/2565 เมื่อถึง 1 ม.ค. 2567 จะผ่านไป 2 ปี ซึ่งคิดเป็ น 2 × 2 = 4 งวด
ดังนัน้ จะเพิ่มเป็ น 10,000(1.02)4
เงิน 4,000 บาท ที่ถอนวันที่ 01/07/2565 เมื่อถึง 1 ม.ค. 2567 จะผ่านไป 1 ปี ครึง่ ซึ่งคิดเป็ น 1.5 × 2 = 3 งวด
ดังนัน้ จะเพิ่มเป็ น 4,000(1.02)3
เงิน 6,000 บาท ที่ถอนวันที่ 01/01/2566 เมื่อถึง 1 ม.ค. 2567 จะผ่านไป 1 ปี ซึ่งคิดเป็ น 2 งวด
ดังนัน้ จะเพิ่มเป็ น 6,000(1.02)2
รวมเงินที่ฝาก – ถอน จะมีเงิน 10,000(1.02)4 − 4,000(1.02)3 + 6,000(1.02)2

17. สนามแห่งหนึ่งมีการวางหมุดที่มีลกั ษณะเป็ นตารางจุด 100 จุด โดยให้แต่ละหมุดที่อยู่ติดกันทัง้ แนวตั้งและแนวนอน


อยู่ห่างกัน 1 เมตร และกาหนดตาแหน่งอ้างอิง ในลักษณะคู่อนั ดับ ดังรูป
1 ม.

1 ม. (0,9) (9,9)

(0,1)

(0,0) (1,0) (9,0)

แก้มปั กเสา 3 ต้นไว้ท่ีหมุด (0,0) , (6,5) และ (8,2) และต้องการเลือกเชือก 3 เส้น จากเชือกทัง้ หมด 6 เส้น เพื่อ
ขึงเชือกระหว่างเสาแต่ละต้นเป็ นรูปสามเหลี่ยม โดยแต่ละด้านใช้เชือกเพียงสีเดียว ซึ่งเชือกแต่ละสีมีความยาวดังนี ้
สีของเชือกแต่ละเส้น แดง ขาว เขียว นา้ เงิน ม่วง เหลือง
ความยาว (เมตร) 5 6 7 8 9 10

การเลือกเชือกในข้อใดทาให้แก้มขึงเชือกได้ตามที่ตอ้ งการ
1. เชือกสีแดง สีขาว และ สีม่วง
2. เชือกสีแดง สีเขียว และ สีเหลือง
3. เชือกสีแดง สีนา้ เงิน และ สีม่วง
4. เชือกสีขาว สีเขียว และ สีม่วง
5. เชือกสีขาว สีเขียว และ สีเหลือง
ตอบ 3
ใช้สตู รระยะระหว่างจุด √(∆𝑥)2 + (∆𝑦)2
ระยะจาก (0,0) ไป (6,5) = √62 + 52 = √61 ≈ 7 กว่าๆ (เพราะ 72 < 61 < 82 ) → ใช้เชือกสีนา้ เงินได้
ระยะจาก (6,5) ไป (8,2) = √22 + 32 = √13 ≈ 3 กว่าๆ (เพราะ 32 < 13 < 42 ) → ใช้เชือกสีแดงได้
PAT 1 (มี.ค. 65) 31

ระยะจาก (0,0) ไป (8,2) = √82 + 22 = √68 ≈ 8 กว่าๆ (เพราะ 82 < 68 < 92 ) → ใช้เชือกสีม่วงได้

18. กราฟแสดงจานวนเชิงซ้อน 𝑧 ทัง้ หมดที่มีสว่ นจริงของ (𝑧̅ + 6i)( ̅̅̅̅̅̅̅


𝑧 − 4 ) เท่ากับ 0
เป็ นกราฟชนิดในในระนาบเชิงซ้อน
1. เส้นตรงที่มีความชันเท่ากับ − 32 2. วงกลมที่มีจุดศูนย์กลางอยู่ท่ี (−2, 3)
3. วงกลมที่มีจุดศูนย์กลางอยู่ท่ี (3, 2) 4. ไฮเพอร์โบลาที่มีแกนตามขวางอยู่ในแนวนอน
5. ไฮเพอร์โบลาที่มีแกนตามขวางอยู่ในแนวตัง้
ตอบ 5
ให้ 𝑧 = 𝑥 + 𝑦i จะได้ (𝑧̅ + 6i)( ̅̅̅̅̅̅̅
𝑧 − 4 ) = (𝑥 − 𝑦i + 6i)( ̅̅̅̅̅̅̅̅̅̅̅̅̅
𝑥 + 𝑦i − 4 )
= (𝑥 + (−𝑦 + 6)i)((𝑥 − 4) − 𝑦i)
ส่วนจริงของการคูณจานวนเชิงซ้อน จะเกิดจาก ส่วนจริง × ส่วนจริง กับ ส่วนจินตภาพ × ส่วนจินตภาพ เพื่อให้ i คูณกัน
เกิดเป็ น i2 = −1 กลายเป็ นจานวนจริง → จะได้ ส่วนจริง = 𝑥(𝑥 − 4) + (−𝑦 + 6)(−𝑦)i2
= 𝑥 2 − 4𝑥 − 𝑦 2 + 6𝑦
เมื่อส่วนจริงเท่ากับ 0 จะได้ 𝑥 2 − 4𝑥 − 𝑦 2 + 6𝑦 = 0
(𝑥 2 − 4𝑥 + 4) − (𝑦 2 − 6𝑦 + 9) = 4−9
(𝑥 − 2)2 − (𝑦 − 3)2 = −5
(𝑦 − 3)2 − (𝑥 − 2)2 = 5
(𝑦−3)2 (𝑥−2)2
5
− 5
= 1 → ไฮเพอร์โบลาแนวตัง้

19. ในการทดลองการเคลี่อนที่ของหุ่นยนต์จ๋วิ ได้วางหุ่นยนต์จ๋วิ ไว้ท่ีจดุ 𝐴(4, 5)


หลังจากนัน้ สร้างรูปสี่เหลี่ยม 𝐵 ที่มีพิกดั ของจุดยอด คือ (1, 5) , (5, 6) , (5, 8) และ (3, 9)
และสร้างรูปสามเหลี่ยม 𝐶 ที่มีพิกดั ของจุดยอดคือ (4, 2) , (5, 4) และ (7, −1) ดังรูป
𝑌

10
(3,9)

8 (5,8)
𝐵
6 (5,6)
𝐴(4,5)
(1,5)
4 (5,4)

2 (4,2) 𝐶

𝑋
−2 0 2 4 6 8 10

(7,−1)
−2

พิจารณาข้อความต่อไปนี ้
−4
ก) หุ่นยนต์จ๋วิ เคลื่อนที่จากจุด 𝐴 ในทิศทางเดียวกับเวกเตอร์ 𝑢̅ = [
−1
] เป็ นระยะทางเท่ากับ |𝑢̅| หน่วย
แล้วหยุดอยู่ภายในรูปสี่เหลี่ยม 𝐵
1
ข) หุ่นยนต์จ๋วิ เคลื่อนที่จากจุด 𝐴 ในทิศทางเดียวกับเวกเตอร์ 𝑣̅ = [
−2
] เป็ นระยะทางเท่ากับ |𝑣̅ | หน่วย
แล้วหยุดอยู่ภายในรูปสามเหลี่ยม 𝐶
32 PAT 1 (มี.ค. 65)

ค) หุ่นยนต์จ๋วิ เคลื่อนที่จากจุด 𝐴 ในทิศทางเดียวกับเวกเตอร์ 𝑤̅ = [0] เป็ นระยะทางเท่ากับ 2|𝑤̅| หน่วย


1
แล้วหยุดอยู่ภายในรูปสี่เหลี่ยม 𝐵
จากข้อความ ก) ข) และ ค) ข้างต้น ข้อใดถูกต้อง
1. ข้อความ ก) ถูกต้องเพียงข้อเดียวเท่านัน้ 2. ข้อความ ข) ถูกต้องเพียงข้อเดียวเท่านัน้
3. ข้อความ ก) และ ข) ถูกต้องเท่านัน้ 4. ข้อความ ก) และ ค) ถูกต้องเท่านัน้
5. ข้อความ ข) และ ค) ถูกต้องเท่านัน้
ตอบ 5
ก) เคลื่อนไปทาง 𝑢̅ เป็ นระยะ |𝑢̅| หน่วย คือเคลื่อนจากจุดเริ่มไปที่จดุ ปลายของ 𝑢̅
−4
𝑢̅ = [
−1
] ดังนัน้ จาก 𝐴(4, 5) จะเคลื่อนไปที่ (4 − 4, 5 − 1) = (0, 4) ซึ่งไม่อยู่ใน 𝐵 → ก) ผิด
1
ข) 𝑣̅ = [ ]
−2
ดังนัน้ จาก 𝐴(4, 5) จะเคลื่อนไปที่ (4 + 1, 5 − 2) = (5, 3) ซึ่งจะอยู่ใน 𝐶 → ข) ถูก
ค) เคลื่อนไปทาง 𝑤̅ เป็ นระยะ 2|𝑤̅| หน่วย คือเคลื่อนจากจุดเริ่มไปที่จดุ ปลายของ 2𝑤̅
0 0
̅ = 2×[ ] = [ ]
2𝑤 ดังนัน้ จาก 𝐴(4, 5) จะเคลื่อนไปที่ (4 + 0, 5 + 2) = (4, 7) ซึ่งขะอยู่ใน 𝐵
1 2
→ ค) ถูก

20. ให้ 𝑢̅ = 𝑖̅ + 2𝑗̅ − 𝑘̅ และ 𝑤̅ = 2𝑖̅ + 3𝑗̅ + 8𝑘̅


ถ้า 𝐴 แทนเซตของเวกเตอร์ 𝑣̅ ในระบบพิกดั ฉากสามมิติท่ีทาให้ 𝑢̅ × 𝑣̅ = 𝑤
̅ แล้วข้อใดถูกต้อง
1. 𝐴 เป็ นเซตว่าง 2. −2𝑖̅ + 𝑘̅ ∈ 𝐴 3. −3𝑖̅ − 2𝑗̅ ∈ 𝐴
4. 2𝑖̅ − 4𝑗̅ − 𝑘̅ ∈ 𝐴 5. −5𝑖̅ − 2𝑗̅ + 2𝑘̅ ∈ 𝐴
ตอบ 5
𝑥 1 𝑥 2𝑧 + 𝑦 2𝑧 + 𝑦 = 2 …(1)
ให้ 𝑣̅ = [𝑦] จะได้ 𝑢̅ × 𝑣̅ = [ 2 ] × [𝑦] = [−𝑥 − 𝑧] → เทียบกับ 𝑤̅ จะได้ −𝑥 − 𝑧 = 3 …(2)
𝑧 −1 𝑧 𝑦 − 2𝑥 𝑦 − 2𝑥 = 8 …(3)
(1) − (3) : 2𝑧 + 2𝑥 = −6
𝑧+𝑥 = −3 …(4)
จะเห็นว่าสมการ (4) คูณ −1 ตลอด จะได้เหมือนสมการ (2) เลย ดังนัน้ สมการที่ (2) จะซา้ ซ้อนกับ (1) และ (3)
นั่นคือ ถ้า (1) และ (3) จริง จะทาให้ (2) จริงโดยอัตโนมัติ → แก้แค่ (1) กับ (3) ก็พอ
จาก (3) จะได้ 𝑦 = 2𝑥 + 8
2−𝑦 2−(2𝑥+8) −2𝑥−6
จาก (1) จะได้ 𝑧 = 2
= 2
= 2
= −𝑥 − 3
𝑥 𝑥
ดังนัน้ [𝑦] ที่อยู่ในรูป [ 2𝑥 + 8 ] จะเป็ นคาตอบได้มากมายนับไม่ถว้ น
𝑧 −𝑥 − 3
−2 −3
1. แทน 𝑥 เป็ นคาตอบได้มากมาย 2. แทน 𝑥 = −2 จะได้ 4 ]
[ 3. แทน 𝑥 = −3 จะได้ 2 ]
[

2 −5
4. แทน 𝑥 = 2 จะได้[12] 5. แทน 𝑥 = −5 จะได้ [−2] 
2
PAT 1 (มี.ค. 65) 33

21. ร้านภูมิใจซือ้ ยางลบจานวน 10 แพ็ก จากห้างสรรพสินค้าแห่งหนึ่ง โดยในแต่ละแพ็กมียางลบ 6 ก้อน ได้แก่ ยางลบ


สีแดง 1 ก้อน สีชมพู 2 ก้อน และสีเหลือง 3 ก้อน จากนัน้ ร้านภูมิใจแกะแพ็กยางลบทัง้ หมด แล้วนายางลบทัง้ หมด
มาใส่รวมกันในกล่องเปล่าอีกในหนึ่ง พบว่า ยางลบแต่ละก้อนมีลวดลายแตกต่างกันทั้งหมด ถ้าภูวดลเป็ นลูกค้าคน
แรกที่ตอ้ งการซือ้ ยางลบจากร้านภูมิใจ โดยสุ่มหยิบยางลบ 3 ก้อนจากกล่องใบนีข้ นึ ้ มาพร้อมกัน แล้วความน่าจะเป็ น
ที่ภูวดลหยิบได้ยางลบที่มีสแี ตกต่างกันทัง้ 3 ก้อน เท่ากับเท่าใด
1. 201 2. 103 50
3. 1,711 300
4. 1,711 400
5. 1,711
ตอบ 4
แต่ละแพ็กมี 6 ก้อน เป็ น แดง 1 ก้อน ชมพู 2 ก้อน เหลือง 3 ก้อน
10 แพ็ก จะมี 60 ก้อน เป็ น แดง 10 ก้อน ชมพู 20 ก้อน เหลือง 30 ก้อน
จานวนแบบทัง้ หมด : เลือก 3 ก้อนจาก 60 ก้อน ได้ (603) = 60 3∙2∙1 ∙ 59 ∙ 58
= 10 ∙ 59 ∙ 58 แบบ
จานวนแบบที่สนใจ : ต้องได้ แดง ชมพู เหลือง อย่างละ 1 ก้อน
จากจานวนก้อนของแต่ละสี จะเลือกแดงได้ 10 แบบ เลือกชมพูได้ 20 แบบ เลือกเหลืองได้ 30 แบบ
จะได้จานวนแบบที่สนใจ = 10 ∙ 20 ∙ 30 แบบ
จะได้ความน่าจะเป็ น = 10 ∙ 20 ∙ 30
10 ∙ 59 ∙ 58
=
10 ∙ 30
59 ∙ 29
=
30
1,711

22. จากการสารวจนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปี ท่ี 6 จานวน 27 คน ที่สมัครสอบ PAT ประจาปี การศึกษา 2564
มีรายละเอียดจานวนวิชาที่นกั เรียนสมัครสอบ ดังนี ้
จานวนวิชาที่นกั เรียนสมัครสอบ (วิชา) จานวนนักเรียน (คน)
1 2
2 5
3 7
4 5
5 4
6 4

แผนภาพกล่องในข้อใดที่นาเสนอข้อมูลชุดนีไ้ ด้ถูกต้อง
1. 2.
1 2 3 4 5 6 1 2 3 4 5 6
จานวนวิชาที่นักเรียนสมัครสอบ จานวนวิชาที่นักเรียนสมัครสอบ

3. 4.
1 2 3 4 5 6 1 2 3 4 5 6
จานวนวิชาที่นักเรียนสมัครสอบ จานวนวิชาที่นักเรียนสมัครสอบ

5.
1 2 3 4 5 6
จานวนวิชาที่นักเรียนสมัครสอบ

ตอบ 1
หาตาแหน่งของ 𝑄1 , 𝑄2 , 𝑄3 จากสูตร 𝑟4 (𝑛 + 1)
1 2 3
มีนกั เรียน 27 คน จะได้ตาแหน่งของ 𝑄1 , 𝑄2 , 𝑄3 คือ 4
(27 + 1) , 4
(27 + 1) , 4
(27 + 1)
= 7 , 14 , 21
34 PAT 1 (มี.ค. 65)

วิชา จานวนคน จานวนคนสะสม


คนที่ 𝑘 จะอยู่ในชัน้ ที่ความถี่สะสมเพิ่มถึง 𝑘 เป็ นครัง้ แรก
1 2 2
2 5 7 นั่นคือ คนที่ 7 , 14 และ 21 จะอยู่ในชัน้ ตามรูป
3 7 14
4 5 19
จะได้ 𝑄1 , 𝑄2 , 𝑄3 คือ 2 , 3 , 5
5 4 23 ซึ่งเมื่อแสดงด้วยแผนภาพกล่อง จะได้ขอบกล่องตรงกับข้อ 1
6 4 27

23. จากการสอบถามนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปี ท่ี 6 ห้องหนึ่ง จานวน 45 คน เกี่ยวกับจานวนชั่วโมงที่อ่านหนังสือใน


วันเสาร์ของสัปดาห์ท่ีผ่านมา พบว่า
 ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของจานวนชั่วโมงที่นกั เรียนอ่านหนังสือในวันเสาร์ คือ 𝑎 ขั่วโมง
 ฐานนิยมของจานวนชั่วโมงที่นักเรียนอ่านหนังสือในวันเสาร์ คือ 𝑏 ขั่วโมง
 ความแปรปรวนของจานวนชั่วโมงที่นกั เรียนอ่านหนังสือในวันเสาร์ คือ 𝑐 ขั่วโมง2
สัปดาห์นีเ้ ป็ นช่วงใกล้สอบ ทาให้นกั เรียนทัง้ 45 คนนี ้ ตัง้ ใจที่จะใช้เวลาอ่านหนังสือในวันเสาร์เพิ่มจากเดิมอีก
คนละ 1 ชั่วโมง
พิจารณาข้อความต่อไปนี ้
ก) ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของจานวนชั่วโมงที่นกั เรียนอ่านหนังสือในวันเสาร์ของสัปดาห์นี ้ คือ 𝑎 + 1 ชั่วโมง
ข) ฐานนิยมของจานวนชั่วโมงที่นักเรียนอ่านหนังสือในวันเสาร์ของสัปดาห์นี ้ คือ 𝑏 + 1 ชั่วโมง
ค) ความแปรปรวนของจานวนชั่วโมงที่นกั เรียนอ่านหนังสือในวันเสาร์ของสัปดาห์นี ้ คือ 𝑐 + 1 ขั่วโมง2
จากข้อความ ก) ข) และ ค) ข้างต้น ข้อใดถูกต้อง
1. ข้อความ ก) ถูกต้องเพียงข้อเดียวเท่านัน้ 2. ข้อความ ก) และ ข) ถูกต้องเท่านัน้
3. ข้อความ ก) และ ค) ถูกต้องเท่านัน้ 4. ข้อความ ข) และ ค) ถูกต้องเท่านัน้
5. ข้อความ ก) ข) และ ค) ถูกต้อง
ตอบ 2
จากสมบัติของค่ากลาง ถ้าข้อมูลทุกตัวเพิ่ม 1 แล้ว ค่ากลางจะเพิ่ม 1 ด้วย → ก และ ข ถูก
จากสมบัติของส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ถ้าข้อมูลทุกตัวเพิ่ม 1 แล้ว ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานจะไม่เปลี่ยน
ซึ่งทาให้ความแปรปรวนมีค่าเท่าเดิม → ค ผิด

24. กาหนดกราฟของฟั งก์ชนั 𝑓 ดังนี ้


𝑌

𝑋
−3 −2 −1 0 1 2 3 4
−1

−2
PAT 1 (มี.ค. 65) 35

ข้อใดไม่ถูกต้อง
1. 𝑓(0) = 𝑓(3) 2. lim 𝑓(𝑥) = 2
𝑥→2
1 3
3. lim 𝑓(𝑥) = lim+ 𝑓 (𝑥)
𝑥→0−
4. 𝑓 เป็ นฟั งก์ชน
ั ต่อเนื่องบนช่วง ( , )
2 2
𝑥→1
5. 𝑓 เป็ นฟั งก์ชน
ั ต่อเนื่องบนช่วง [1, 2)
ตอบ 2
1. ที่ 𝑥 = 0 และ 3 กราฟมีจดุ อยู่ดา้ นล่างที่ 𝑦 = −1 เหมือนกัน ดังนัน้ 𝑓(0) = 𝑓(3) = −1 → ถูก
2. 𝑥→2
lim 𝑓(𝑥) จะดูค่า 𝑓 บริเวณ 𝑥 ใกล้ๆ 2 (ไม่ได้ดต ู รง 𝑥 = 2) ซึ่งบริเวณนัน้ กราฟมีค่า 𝑦 ประมาณ 3 → ผิด
3. lim 𝑓(𝑥)
𝑥→0−
คือบริเวณ 𝑥 น้อยกว่า 0 นิดๆ ซึ่งกราฟมีค่า 𝑦 ประมาณ −1
lim 𝑓(𝑥) คือบริเวณ 𝑥 มากกว่า 1 นิดๆ ซึ่งกราฟมีค่า 𝑦 ประมาณ −1 เท่ากัน → ถูก
𝑥→1+

4. บนช่วงระหว่าง 𝑥 = 12 กับ 32 กราฟต่อเนื่องเป็ นเส้นเดียว ดังรูป


ดังนัน้ 𝑓 ต่อเนื่องบนช่วง (12 , 32)
ช้อ 5.
5. บนช่วง [1, 2) (รวม 1 แต่ไม่รวม 2) กราฟต่อเนื่องเป็ นเส้นเดียว 1 1 3
2 2

ดังนัน้ 𝑓 ต่อเนื่องบนช่วง [1, 2) ช้อ 4. 1 2

25. ให้ 𝑓(𝑥) = 8 − 𝑥2 และ 𝑔(𝑥) = 𝑥2 สาหรับทุกจานวนจริง 𝑥


กราฟของ 𝑓 และกราฟของ 𝑔 ตัดกัน ดังรูป
𝑌
𝑔

𝑋
0
𝑓
ส่วนที่แรเงามีพืน้ ที่เท่ากับกี่ตารางหน่วย
16√2 32√2 8
1. 3
2. 3
3. 3
(4√2 + 1)
16 32
4. 3
(√2 + 2) 5. 3
(√2 − 1)
ตอบ 5
หาจุดตัดกราฟตรงส่วนที่แรเงาใน 𝑄1 โดยการแก้ระบบสมการ 𝑦 = 8 − 𝑥 2 …(1)
𝑦 = 𝑥2 …(2)
(1) + (2) : 2𝑦 = 8
𝑦 = 4
(2) : 4 = 𝑥2
𝑄1 จะมี 𝑥 > 0
2 = 𝑥
หาจุดที่ 𝑓 ตัดแกน 𝑋 ตรงส่วนที่แรเงาใน 𝑄1 → แทน 𝑦 = 0 : 0 = 8 − 𝑥 2
𝑥2 = 8
𝑄1 จะมี 𝑥 > 0
𝑥 = √8
36 PAT 1 (มี.ค. 65)

จะได้พิกดั ดังรูป (2,4) ดังนัน้ ส่วนที่แรเงา จะประกอบด้วย พืน้ ที่ใต้ 𝑔 จาก 0 ถึง 2 และพืน้ ที่ใต้ 𝑓 จาก 2 ถึง √8
𝑔 2 √8
𝑓
= ∫ 𝑔(𝑥) 𝑑𝑥 + ∫ 𝑓(𝑥) 𝑑𝑥
0 2
0 2 √8 𝑥3 2 𝑥 3 √8
= 3
| + 8𝑥 − 3
|
0 2
8 8√8 8
= 3
−0 + (8√8 − 3
) − (16 − )
3
32 16√8
= − 3
+ 3
32√2 32 32
= − = (√2 − 1)
3 3 3

สถานการณ์ต่อไปนีใ้ ช้ในการตอบคาถามข้อ 26 – 27
ห้างสรรพสินค้าขายปากกายี่หอ้ หนึ่งเป็ นแพ็ก โดยมีสนิ ค้าให้ลกู ค้าเลือกซือ้ 2 แบบ ดังนี ้
 แบบที่ 1 “แพ็กสุดคุม้ ” ขายราคาแพ็กละ 60 บาท
 แบบที่ 2 “แพ็กสุดเยอะ” ขายราคาแพ็กละ 90 บาท
จานวนปากกาในแต่ละแพ็กของแพ็กสุดเยอะมากกว่าจานวนปากกาในแต่ละแพ็กของแพ็กสุดคุม้ อยู่ 4 ด้าม

26. ถ้าราคาของปากกาต่อด้ามของแพ็กสุดคุม้ แพงกว่าราคาของปากกาต่อด้ามของแพ็กสุดเยอะอยู่ 2 บาทต่อด้าม


แล้วการซือ้ ปากกาแพ็กสุดคุม้ 1 แพ็ก และแพ็กสุดเยอะ 1 แพ็ก จากห้างสรรพสินค้านี ้ จะได้ปากกาทั้งหมดกี่ดา้ ม
1. 6 2. 14 3. 24 4. 28 5. 52
ตอบ 2
สมมติให้แพ็กสุดคุม้ มีแพ็กละ 𝑥 ด้าม ขายแพ็กละ 60 บาท จะได้ราคาต่อด้าม = 60 𝑥
บาท
แพ็กสุดเยอะ มีมากกว่าแพ็กสุดคุม้ 4 ด้าม → แพ็กสุดเยอะ มีแพ็กละ 𝑥 + 4 ด้าม
90
→ ขายแพ็กละ 90 บาท จะได้ราคาต่อด้าม = 𝑥+4 บาท

โจทย์ให้ราคาต่อด้าม แพ็กสุดคุม้ แพงกว่า 2 บาท : 60


𝑥

90
𝑥+4
= 2
30 45
𝑥
− 𝑥+4
= 1
30(𝑥 + 4) − 45𝑥 = 𝑥(𝑥 + 4)
−15𝑥 + 120 = 𝑥 2 + 4𝑥
0 = 𝑥 2 + 19𝑥 − 120
0 = (𝑥 − 5)(𝑥 + 24)
𝑥 = 5 , −24 จานวนด้าม เป็ นลบไม่ได้
ดังนัน้ แพ็กสุดคุม้ มี 5 ด้าม และแพ็กสุดเยอะมี 5 + 4 = 9 ด้าม → รวม 5 + 9 = 14 ด้าม

27. ร้านอิ่มใจและร้านพอใจซือ้ ปากกาแพ็กสุดคุ้มจากห้างสรรพสินค้านีเ้ พื่อนาไปขายต่อ โดยที่แต่ละร้านจะซือ้ ปากกา


อย่างน้อย 10 แพ็ก แต่ไม่เกิน 30 แพ็ก และมีเงื่อนไขว่า
 หากร้านอิ่มใจซือ้ ปากกา 𝑎 แพ็ก จะขายปากกาทัง้ หมดในราคา −𝑎2 + 90𝑎 + 800 บาท
เมื่อ 𝑎 เป็ นจานวนเต็มบวก
 หากร้านพอใจซือ้ ปากกา 𝑏 แพ็ก จะขายปากกาทัง้ หมดในราคา −𝑏2 + 100𝑏 + 600 บาท
เมื่อ 𝑏 เป็ นจานวนเต็มบวก
PAT 1 (มี.ค. 65) 37

ถ้าร้านอิ่มใจและร้านพอใจซือ้ ปากกาแพ็กสุดคุม้ ตามจานวนแพ็กที่ทาให้แต่ละร้านได้กาไรมากที่สดุ เมื่อขายปากกา


ทัง้ หมด แล้วสองร้านนีไ้ ด้กาไรต่างกันอยู่ก่บี าท
1. 25 2. 50 3. 100 4. 125 5. 275
ตอบ 1
สุดคุม้ แพ็กละ 60 บาท ร้านอิ่มใจซือ้ 𝑎 แพ็ก ต้องจ่ายเงิน 60𝑎 บาท จะเหลือกาไร = −𝑎2 + 90𝑎 + 800 − 60𝑎
= −𝑎2 + 30𝑎 + 800
ซึ่งเป็ นฟั งก์ชนั กาลังสอง ที่มี สปส คือ −1, 30, 800
30
เนื่องจาก สปส ของ 𝑎2 คือ −1 เป็ นลบ → ใช้สตู รจุดยอด ร้านอิ่มใจจะได้กาไรสูงสุดเมื่อ 𝑎 = − 2(−1) = 15 แพ็ก
ดังนัน้ จะได้กาไร −152 + 30(15) + 800 = 1,025 บาท
ทานองเดียวกัน ร้านพอใจจอต้องจ่ายค่าปากกา 60𝑏 บาท จะเหลือกาไร = −𝑏2 + 100𝑎 + 600 − 60𝑏
= −𝑏2 + 40𝑎 + 600
40
สปส ของ 𝑏2 เป็ นลบ → ร้านพอใจจะได้กาไรสูงสุดเมื่อ 𝑏 = − 2(−1) = 20 แพ็ก
ดังนัน้ จะได้กาไร −202 + 40(20) + 600 = 1,000 บาท → น้อยกว่าร้านแรกอยู่ 25 บาท

สถานการณ์ต่อไปนีใ้ ช้ในการตอบคาถามข้อ 28 – 29
ในเมืองแห่งหนึ่งมีบริษัทให้บริการแท็กซี่ 2 บริษัท ซึ่งมีรายละเอียดการเก็บค่าโดยสาร ดังนี ้
บริษัท รายละเอียดการเก็บค่าโดยสาร
คิดค่าโดยสาร 30 บาท ทันทีเมื่อเรียกใช้บริการ
A
และคิดค่าโดยสารกิโลเมตรละ 7.50 บาท
คิดค่าโดยสาร 60 บาท สาหรับการเดินทางไม่เกิน 5 กิโลเมตร
B
และการเดินทางส่วนที่เกิน 5 กิโลเมตร คิดค่าโดยสารกิโลเมตรละ 6 บาท

28. พิจารณาข้อความต่อไปนี ้
ก) ให้ 𝑥 เป็ นระยะทางทัง้ หมดที่มีการเรียกใช้บริการ 1 ครัง้ (หน่วยเป็ นกิโลเมตร) ฟั งก์ชนั แสดงค่าโดยสาร
แท็กซี่ของบริษัท B (หน่วยเป็ นบาท) คือ 𝑓 (𝑥) = { 60 เมื่อ 0 < 𝑥 ≤ 5
6𝑥 + 30 เมื่อ 𝑥 > 5
ข) สาหรับทุกการเดินทางที่มีระยะทางไม่เกิน 5 กิโลเมตร ค่าโดยสารรถแท็กซี่ของบริษัท A ถูกกว่าค่าโดยสาร
รถแท็กซี่ของบริษัท B
ค) สาหรับทุกการเดินทางที่มีระยะทางมากกว่า 5 กิโลเมตร ค่าโดยสารรถแท็กซี่ของบริษัท B ถูกกว่าค่า
โดยสารรถแท็กซี่ของบริษัท A
จากข้อความ ก) ข) และ ค) ข้างต้น ข้อใดถูกต้อง
1. ข้อความ ก) ถูกต้องเพียงข้อเดียวเท่านัน้ 2. ข้อความ ก) และ ข) ถูกต้องเท่านัน้
3. ข้อความ ก) และ ค) ถูกต้องเท่านัน้ 4. ข้อความ ข) และ ค) ถูกต้องเท่านัน้
5. ข้อความ ก) ข) และ ค) ถูกต้อง
ตอบ 3
ก) เมื่อ 𝑥 > 5 ระยะทางส่วนที่เกิน 5 กม.จะเท่ากับ 𝑥 − 5 กม. ซึ่งคิด กม. ละ 6 บาท → คิดเป็ นเงิน (𝑥 − 5)(6)
รวมกับ 60 บาทของ 5 กม. แรก จะเป็ นเงิน (𝑥 − 5)(6) + 60 = 6𝑥 + 30 → ก) ถูก
38 PAT 1 (มี.ค. 65)

ข) ค่าโดยสารของ A คือ 30 + 7.5𝑥 ซึ่งในช่วงไม่เกิน 5 กม. จะถูกกว่า B เมื่อ 30 + 7.5𝑥 < 60


30
𝑥 < 7.5
= 4
ดังนัน้ เมื่อ 𝑥 ≥ 4 ค่าโดยสารของ A จะแพงกว่าหรือเท่ากับ B → ข) ผิด
ค) เมื่อเกิน 5 กม. B จะถูกกว่าเมื่อ 6𝑥 + 30 < 30 + 7.5𝑥
0 < 1.5𝑥
0 < 𝑥 ซึ่งเป็ นจริง (เพราะเกิน 5 กม. คือ 𝑥 > 5) → ค) ถูก
29. บริษัท C ต้องการเข้ามาให้บริการรถแท็กซี่อีกบริษัทหนึ่ง โดยให้บริการเฉพาะลูกค่าที่เดินทางไม่เกิน 30 กิโลเมตร
ฟั งก์ชนั แสดงค่าโดยสารเมื่อเรียกใช้บริการรถแท็กซี่ของบริษัท C (หน่วยเป็ นบาท)
คือ ℎ(𝑥) = 𝑎 log(𝑥 + 1) + 𝑏 เมื่อ 𝑥 เป็ นระยะทางทัง้ หมดที่มีการเรียกใช้บริการ 1 ครัง้ (หน่วยเป็ นกิโลเมตร)
และ 𝑎, 𝑏 เป็ นจานวนจริง
โดยที่ เมื่อลูกค่าเดินทาง 2 กิโลเมตร บริษัท C คิดค่าโดยสาร 65 บาท
และ เมื่อลูกค่าเดินทาง 26 กิโลเมตร บริษัท C คิดค่าโดยสาร 105 บาท
ถ้าวันนีก้ ๊กุ ต้องการเดินทางจากบ้านไปที่ทางานซึ่งมีระยะทาง 8 กิโลเมตร โดยเที่ยวไปเลือกใช้บริการรถแท็กซี่ของ
บริษัท A แต่เที่ยวกลับใช้บริการรถแท็กซี่ของบริษัท C และเดินทางกลับโดยใช้เส้นทางเดิม แล้ววันนีก้ ๊กุ ต้องจ่ายค่า
เดินทางทัง้ เที่ยวไปและเที่ยวกลับรวมกี่บาท
1. 255 2. 195 3. 180 4. 175 5. 170
ตอบ 4
40
จากข้อมูลค่าโดยสารของ C จะได้ 𝑎 log(2 + 1) + 𝑏 = 65 …(1) log 9
∙ log 3 + 𝑏 = 65
𝑎 log(26 + 1) + 𝑏 = 105 …(2) 40
(2) − (1) : 𝑎 log 27 − 𝑎 log 3 = 40 ∙ log 3 + 𝑏 = 65
log 32
𝑎(log 27 − log 3) = 40 40
𝑎 log 9 = 40 ∙ log 3 + 𝑏 = 65
2 log 3
𝑎 =
40
log 9
แทนใน (1) 𝑏 = 45
40
เดินทาง 8 กม. ไปด้วย A กลับด้วย C เป็ นเงิน 30 + 7.5(8) +
log 9
∙ log(8 + 1) + 45
= 90 + 85 = 175
PAT 1 (มี.ค. 65) 39

สถานการณ์ต่อไปนีใ้ ช้ในการตอบคาถามข้อ 30 – 31
ให้ วงรี E มี F1 และ F2 เป็ นจุดโฟกัส D
S
R
วงกลม C มีจดุ ศูนย์กลางอยู่ท่ีจดุ F1 E
C
และ วงกลม D มีจดุ ศูนย์กลางอยู่บนวงรี E ที่จดุ R F1 F2
โดยที่วงกลม D สัมผัสกับวงกลม C ที่จดุ S และผ่านจุด F2 ดังรูป
โดยที่  ระยะห่างระหว่างจุด F1 และ F2 เท่ากับ 32 หน่วย
 ความยาวของเส้นผ่านศูนย์กลางของวงกลม C เท่ากับ 128 หน่วย

30. แกนโทของวงรี E ยาวกี่หน่วย


1. 32√3 2. 16√3 3. 32√15 4. 16√15 5. 32
ตอบ 1
เมื่อวงกลมสัมผัสกัน จุดสัมผัส และจุดศูนย์กลางของวงลมทุกวง จะอยู่บนแนวเส้นตรงเดียวกันเสมอ (เพราะรัศมีจะตัง้
ฉากกับเส้นสัมผัสที่สดุ สัมผัส) ดังนัน้ จะสรุปได้ว่า F1 , R และ S อยู่บนเส้นตรงเดียวกัน
ดังนัน้ F1R + RS = รัศมีของ C = 128
R เป็ นจุดศูนย์กลางของ D ดังนัน้ RS = RF2
F1R + RF2 = 128
จากสมบัติของวงรี
แกนเอกชอง E = 128
จะได้วงรี E มีครึง่ แกนเอก 𝑎 = 128
2
= 64
32
และจาก F1F2 = 32 จะได้ ระยะโฟกัส 𝑐 = 2
= 16 แทนในสูตร 𝑐 2 = 𝑎2 − 𝑏2
162 = 642 − 𝑏2
𝑏 = √642 − 162
= 16√42 − 12 = 16√15
จะได้ความยาวแกนโท = 2𝑏 = 32√15

31. สร้างระบบพิกดั ฉากสองมิติโดยให้จดุ ศูนย์กลางของวงกลม C อยู่ท่ีจดุ กาเนิด และโฟกัสทัง้ สองของวงรี E อยู่บน


แกน 𝑋 ถ้าจุด R อยู่ในจตุภาคที่ 1 และวงกลม D สัมผัสแกน 𝑋 ที่จดุ F2 โดยที่ RF2 = 24
แล้วสมการวงกลม D ตรงกับข้อใด
1. (𝑥 − 24)2 + (𝑦 − 32)2 = 242 2. (𝑥 − 24)2 + (𝑦 − 40)2 = 242
3. (𝑥 − 32)2 + (𝑦 − 24)2 = 242 4. (𝑥 − 32)2 + (𝑦 − 32)2 = 242
5. (𝑥 − 40)2 + (𝑦 − 24)2 = 242
ตอบ 3
C
รัศมีจะตัง้ ฉากกับเส้นสัมผัสที่จุดสัมผัสเสมอ ดังนัน้ ̅̅̅̅̅
RF2 ตัง้ ฉากกับแกน 𝑋 ดังรูป
D
จาก F1F2 = 32 และ RF2 = 24 จะได้พิกดั R(32, 24) R
S
E
ดังนัน้ วงกลม D มีจดุ ศูนย์กลางคือ (32, 24) และรัศมี 24
จะได้สมการของ D คือ (𝑥 − 32)2 + (𝑦 − 24)2 = 242 F1 F2
40 PAT 1 (มี.ค. 65)

สถานการณ์ต่อไปนีใ้ ช้ในการตอบคาถามข้อ 32 – 33
ผูน้ าชุมชนแห่งหนึ่งแจกหน้ากากสาหรับใช้ป้องกันฝุ่ น PM2.5 และเชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 ให้แก่สมาชิกในชุมชน
คนละ 1 ชุด ซึ่งประกอบด้วย
 หน้ากากผ้า จานวน 3 ชิน้ โดยที่ทกุ ชิน้ มีลวดลายแตกต่างกัน
 หน้ากากอนามัย จานวน 5 ชิน้ โดยที่ทกุ ชิน้ เหมือนกัน
 หน้ากาก N95 จานวน 4 ชิน้ โดยที่ทกุ ชิน้ เหมือนกัน

32. พรฤดีอยู่ในชุมชนแห่งนี ้ และได้รบั หน้ากาก 1 ชุด พรฤดีตงั้ ใจที่จะสวมหน้ากากทุกวัน วันละ 1 ชิน้ ในช่วง
วันที่ 2 – 4 เมษายน 2565 โดยจะไม่สวมหน้ากากชิน้ เดิมซา้ ถ้าพรฤดีจะสวมหน้ากาก N95 ในวันที่ 3 เมษายน
2565 เพียงวันเดียวเท่านัน้ แล้วพรฤดีจะมีวิธีเลือกหน้ากากที่ได้รบั แจกเพื่อมาสวมในช่วงสามวันนีไ้ ด้ทงั้ หมดกี่วิธี
1. 6 2. 13 3. 24 4. 52 5. 56
ตอบ 2
ข้อนี ้ จานวนแบบของวันที่ 4 จะขึน้ กับผลการเลือกในวันที่ 2 จึงใช้กฏการคูณตรงๆ ไม่ได้ เช่นถ้าวันที่ 2 เลือกหน้ากากผ้า
วันที่ 4 จะเหลือตัวเลือกน้อยลง แต่ถา้ วันที่ 2 เลือกหน้ากากอนามัย จะไม่ทาให้ตัวเลือกในวันที่ 4 น้อยลง → ต้องแบ่งกรณี
กรณีท่ีวนั ที่ 2 เลือกหน้ากากผ้า
วันที่ 2 เลือกหน้ากากผ้าได้ 3 แบบ
วันที่ 3 เลือกเลือกหน้าการ N95 ได้ 1 แบบ (ทุกชิน้ เหมือนกัน นับเป็ นแบบเดียว)
วันที่ 4 จะเหลือหน้ากากผ้า 2 แบบ หรือหน้ากากอนามัยได้ 1 แบบ → รวม 3 แบบ
รวมจานวนแบบ = 3 × 1 × 3 = 9 แบบ
กรณีท่ีวนั ที่ 2 เลือกหน้ากากอนามัย
วันที่ 2 เลือกหน้ากากอนามัยได้ 1 แบบ
วันที่ 3 เลือกเลือกหน้าการ N95 ได้ 1 แบบ
วันที่ 4 เลือกหน้ากากผ้าได้ 3 แบบ หรือหน้ากากอนามัย (ที่เหลือ 4 ชิน้ ) ได้ 1 แบบ → รวม 4 แบบ
รวมจานวนแบบ = 1 × 1 × 4 = 4 แบบ
รวมทุกกรณี จะได้จานวนแบบ = 9 + 4 = 13 แบบ

33. พีรดนย์อยู่ในชุมชนแห่งนี ้ และได้รบั หน้ากาก 1 ชุด ถ้าพีรดนย์ตงั้ ใจที่จะสวมหน้ากากทุกวัน วันละ 1 ชิน้ โดยแต่ละ
วันเลือกสวมหน้ากากแบบใดก็ได้ และจะไม่สวมหน้ากากชิน้ เดิมซา้ แล้วพีรดนย์จะมีวิธีเลือกหน้ากากที่ได้รบั แจกเพื่อ
มาสวมเป็ นเวลา 12 วัน ได้ทงั้ หมดกี่วิธี
1. 12!3!
2. 12!9!
3. 3!12!9! 4. 4!12!5! 5. 3!12!4! 5!
ตอบ 4
นาหน้ากากทั้ง 12 ชิน้ มาเรียง แล้วใส่ตามลาดับ
หน้ากากอนามัยซา้ 5 ชิน้ และหน้ากาก N95 ซา้ 4 ชิน้ → ใช้สตู รเรียงของซา้ จะเรียงได้ 5!12!4!
PAT 1 (มี.ค. 65) 41

สถานการณ์ต่อไปนีใ้ ช้ในการตอบคาถามข้อ 34 – 35
นักวิชาการจากกรมป่ าไม้สารวจข้อมูลของต้นมะค่าโมงทัง้ หมดในป่ าแห่งหนึ่ง พบว่า ความสูงของต้นมะค่าโมงมีการ
แจกแจงปกติ โดยค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของความสูงของต้นมะค่าโมงเท่ากับ 15 และ 5 เมตร
ตามลาดับ กาหนดตารางแสดงพืน้ ที่ใต้เส้นโค้งปกติมาตรฐาน ดังนี ้

𝑧 0 0 𝑧
𝑧 −2 −1 −0.8 −0.5 0 0.5 0.8 1 2
พืน้ ที่ใต้เส้นโค้งปกติมาตรฐาน 0.02 0.16 0.21 0.31 0.5 0.69 0.79 0.84 0.98

34. ถ้านักวิจัยสุ่มต้นมะค่าโมงในป่ าแห่งนีม้ า 3 ต้น แล้ว ความน่าจะเป็ นที่จะสุม่ ได้ตน้ มะค่าโมงอย่างน้อย 1 ต้น ที่มี
ความสูง ตัง้ แต่ 10 ถึง 15 เมตร เท่ากับเท่าใด
1. 1 − (0.66)3 2. 1 − (0.34)3 3. (0.66)3
4. 0.66 5. 0.34
ตอบ 1
ให้ 𝑋 เป็ นตัวแปรสุ่มแทนความสูง ซึ่งจากโจทย์ จะมี 𝜇 = 15 และ 𝜎 = 5
ใช้สตู ร 𝑧 = 𝑥 −𝜎 𝜇 เมื่อ 𝑥 = 10 จะได้ 𝑧 = 10−15 5
= −1
15−15
เมื่อ 𝑥 = 15 จะได้ 𝑧 = 5
= 0
ดังนัน้ 𝑃 (10 < 𝑋 < 15) = 𝑃(−1 < 𝑍 < 0) จากตาราง
= 0.5 − 0.16 = 0.34
นั่นคือ ความน่าจะเป็ นที่สมุ่ 1 ต้นได้ความสูงอยู่ตงั้ แต่ 10 ถึง 15 เมตร คือ 0.34
โจทย์ถาม “อย่างน้อย 1” ซึ่งจะหาความน่าจะเป็ นยาก → จะหาแบบตรงข้ามคือ “ไม่มีเลย” ซึ่งหาความน่าจะเป็ นง่ายกว่า
แล้วค่อยเอา 1 ตัง้ ลบ
จะได้ 𝑃(อย่างน้อย 1 ต้น สูง 10 ถึง 15) = 1 − 𝑃(สุม่ ทั้ง 3 ต้น ไม่สงู 10 ถึง 15)
3
= 1 − (𝑃(สุม
่ 1 ต้น ไม่สงู 10 ถึง 15))
= 1−( 1 − 0.34 )3 = 1 − 0.663

35. จากข้อมูลการสารวจของนักวิชาการจากกรมป่ าไม้ พบว่า ความยาวของเส้นผ่านศูนย์กลาง (หน่วยเป็ นเซนติเมตร)


ของต้นมะค่าโมงในป่ าแห่งนีม้ ีการแจกแจงปกติ และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของความยาวของเส้นผ่านศูนย์กลางของ
ต้นมะค่าโมง เท่ากับ 5 เซนติเมตร ถ้าสุม่ ต้นมะค่าโมงในป่ าแห่งนีม้ า 1 ต้น แล้วความน่าจะเป็ นที่จะได้ตน้ มะค่าโมงที่
มีผลต่างระหว่างความยาวของเส้นผ่านศูนย์กลาง และค่าเฉลี่ยของความยาวของเส้นผ่านศูนย์กลางมากกว่า 10
เซนติเมตร เท่ากับเท่าใด
1. 0.98 2. 0.32 3. 0.16 4. 0.04 5. 0.02
ตอบ 4
ให้ 𝑋 เป็ นตัวแปรสุ่มแทนความยาวเส้นผ่านศูนย์กลาง ซึ่งจากโจทย์จะมี 𝜎 = 5
คาว่า “ผลต่าง” ของ 𝑋 และ 𝜇 จะรวมทัง้ กรณี “𝑋 มากกว่า 𝜇” และ “𝜇 มากกว่า 𝑋”
42 PAT 1 (มี.ค. 65)

นั่นคือ โจทย์ตอ้ งการ 𝑋 − 𝜇 > 10 หรือ 𝜇 − 𝑋 > 10


𝑋 > 𝜇 + 10 หรือ 𝜇 − 10 > 𝑋
𝑥−𝜇 (𝜇+10) − 𝜇
ใช้สตู ร 𝑧=
𝜎
เมื่อ 𝑥 = 𝜇 + 10 จะได้ 𝑧 =
5
= 2
(𝜇−10) − 𝜇
เมื่อ 𝑥 = 𝜇 − 10 จะได้ 𝑧 = 5
= −2
ดังนัน้ 𝑃(𝑋 > 10 + 𝜇 หรือ 𝑋 < 𝜇 − 10) = 𝑃(𝑍 > 2 หรือ
𝑍 < −2) จากตาราง
= (1 − 0.98) + 0.02 = 0.04

36. การสารวจการลงทะเบียนเรียนวิชาภาษาต่างประเทศของนักศึกษาจานวน 180 คน ได้ผลสารวจดังนี ้


จานวนนักศึกษา (คน)

64
62
60
58
56
54
0 วิชา
ภาษาจีน ภาษาอังกฤษ ภาษาฝรั่งเศส ภาษาญี่ปนุ่

และได้ขอ้ มูลเพิ่มเติม ดังต่อไปนี ้


 นักศึกษาทัง้ 180 คน ลงทะเบียนเรียนวิชาภาษาต่างประเทศอย่างน้อย 1 วิชา
 ไม่มีนกั ศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนวิชาภาษาจีน พร้อมกับวิชาภาษาอื่น
 มีนกั ศึกษา 17 คน ที่ละทะเบียนเรียนวิชาภาษาอังกฤษและวิชาภาษาฝรั่งเศส
 มีนกั ศึกษา 23 คน ที่ละทะเบียนเรียนวิชาภาษาอังกฤษและวิชาภาษาญี่ปน ุ่
 มีนกั ศึกษา 21 คน ที่ละทะเบียนเรียนวิชาภาษาฝรั่งเศสและวิชาภาษาญี่ ปน ุ่
มีนกั ศึกษากี่คน ที่ลงทะเบียนเรียนวิชาภาษาต่างประเทศอย่างน้อย 2 วิชา
ตอบ 51
จีน 56 คน จะไม่เรียนภาษาอื่น ดังนัน้ คนที่เรียนภาษาอื่น จะไม่เรียนจีน
คนที่ไม่เรียนจีนมี 180 − 56 = 124 คน ดังนัน้ 3 วิชาที่เหลือมี 124 คน
ใช้สตู ร Inclusive – Exclusive กับ 3 วิชาที่เหลือ จะได้
𝑛(อ ∪ ฝ ∪ ญ) = 𝑛(อ) + 𝑛(ฝ) + 𝑛(ญ) − 𝑛(อ ∩ ฝ) − 𝑛(อ ∩ ญ) − 𝑛(ฝ ∩ ญ) + 𝑛(อ ∩ ฝ ∩ ญ)
124 = 58 + 62 + 60 − 17 − 23 − 21 + 𝑛(อ ∩ ฝ ∩ ญ)
5 = 𝑛(อ ∩ ฝ ∩ ญ)
อ ฝ วาดแผนภาพ จะได้ตรงกลาง = 5
12
5
หัก 5 ออกจาก อ ∩ ฝ , อ ∩ ญ , ฝ ∩ ญ จะได้ดงั รูป
18 16
ดังนัน้ มีคนเรียนอย่างน้อย 3 วิชา = 12 + 18 + 16 + 5
ญ = 51 คน
PAT 1 (มี.ค. 65) 43

37. กาหนดกราฟของ 𝑓 (𝑥) = log 2 𝑥 + log 1 𝑎 เมื่อ 𝑎 เป็ นจานวนจริงบวก ดังรูป


5
𝑌
4

𝑋
−4 −2 0 2 4

−2

−4

ค่าของ 𝑎 เท่ากับเท่าใด
ตอบ 5
กราฟผ่าน (2, 0) → แทน 𝑥 = 2 , 𝑦 = 0 จะทาให้สมการกราฟเป็ นจริง : 0 = log 2 2 + log 1 𝑎
5
0 = 1 + log 1 𝑎
5
−1 = log 1 𝑎
5
1 −1
( ) = 𝑎
5
5 = 𝑎

38. ติดตัง้ กล้องวงจรปิ ดชนิดหนึ่งมีขอบเขตของการบันทึกภาพได้ไม่เกิน 60 องศากับเส้นที่ตั้งฉากกับพืน้ ที่จุด P


และอยู่สงู จากจุด P เป็ นระยะ 5 เมตร ดังรูป
กล้องวงจรปิ ด
60° 60°
5 เมตร

พืน้
P

ถ้าวางลูกกอล์ฟ 1 ลูก ที่จดุ P จากนัน้ วางลูกกอล์ฟตามแนวเส้นตรงเดียวกันทัง้ ด้านซ้ายและด้านขวาของจุด P


ด้านละ 10 ลูก โดยให้จุดศูนย์กลางของลูกกอล์ฟที่อยู่ติดกัน อยู่ห่างกัน 1 เมตร แล้วกล้องวงจรปิ ดนีส้ ามารถ
บันทึกภาพของลูกกอล์ฟได้ก่ีลกู
ตอบ 17
𝑥
tan 60° = 5
60°
𝑥
5
√3 = 5
5(1.73) ≈ 𝑥
P 𝑥 8.65

ถ้าไม่นบั จุด P ระยะทาง 8.65 เมตร จะวางลูกกอล์ฟได้ตรงเมตรที่ 1 , 2 , 3 , … , 8 → ได้ 8 ลูก


กล้องสมมาตรซ้ายขวา ดังนัน้ พืน้ ทางฝั่ งซ้าย จะวางลูกกอล์ดได้ 8 ลูกเช่นกัน
รวมกับลูกกอล์ฟตรงจุด P จะมีลกู กอล์ฟทัง้ หมด 8 + 8 + 1 = 17 ลูก
44 PAT 1 (มี.ค. 65)

39. กาหนดระบบสมการ 𝑥 + 𝑦 + 2𝑧 = 10
3𝑦 + 2𝑧 = 11
2𝑥 + 𝑦 + 3𝑧 = 17
1 0 0 𝑎
ถ้าเมทริกซ์แต่งเติมของระบบสมการนีส้ มมูลกับ [0 1 0 | 𝑏] เมื่อ 𝑎, 𝑏 และ 𝑐 เป็ นจานวนจริง
0 0 1 𝑐
แล้ว 𝑎+𝑏+𝑐 เท่ากับเท่าใด
ตอบ 12
จากสมบัติของเมทริกซ์แต่งเติม จะได้ 𝑎, 𝑏, 𝑐 คือคาตอบของระบบสมการนั่นเอง
𝑥 + 𝑦 + 2𝑧 = 10 …(1)
3𝑦 + 2𝑧 = 11 …(2)
2𝑥 + 𝑦 + 3𝑧 = 17 …(3)
2×(1) − (3) : 𝑦+ 𝑧 = 3 …(4)
(2) − 2×(4) : 𝑦 = 5
(4) : 5+𝑧 = 3
𝑧 = −2
(1) : 𝑥 + 5 + 2(−2) = 10
𝑥 = 9 → จะได้ 𝑎 + 𝑏 + 𝑐 = 9 + 5 + (−2) = 12

40. สาหรับจานวนเต็มบวก 𝑛 ≥ 3 ผลรวมของขนาดของมุมภายในทุกมุมของรูป 𝑛 เหลี่ยม


เท่ากับ 180𝑛 − 360 องศา ถ้าสร้างรูป 𝑛 เหลี่ยมรูปหนึ่ง ที่มีเงื่อนไขดังนี ้
 มุมภายในทุกมุมมีขนาดน้อยกว่า 180 องศา
 เมื่อนาขนาดของมุมภายในทุกมุมมาเรียงกันจากน้อยไปมาก
จะเป็ นลาดับเลขคณิตที่มีผลต่างร่วมเท่ากับ 4 องศา
 มุมภายในที่เล็กที่สด ุ มีขนาด 126 องศา
แล้วค่าของ 𝑛 ที่มากที่สดุ เท่ากับเท่าใด
ตอบ 10
จากสองข้อหลัง จะได้มมุ ภายใน เรียงจากน้อยไปมาก คือ 126 , 130 , 134 , …
จากสูตรอนุกรมเลขคณิต 𝑆𝑛 = 𝑛2 (2𝑎1 + (𝑛 − 1)𝑑) จะได้ผลบวกมุมภายใน = 𝑛2 (2(126) + (𝑛 − 1)(4))
= 126𝑛 + 2𝑛2 − 2𝑛
= 2𝑛2 + 124𝑛
ซึ่งจะต้องได้เท่ากับสูตรผลบวกมุมภายใน → 2𝑛2 + 124𝑛 = 180𝑛 − 360
𝑛2 + 62𝑛 = 90𝑛 − 180
𝑛2 − 28𝑛 + 180 = 0
(𝑛 − 10)(𝑛 − 18) = 0
𝑛 = 10 , 18 …(∗)
แต่ยงั ต้องเช็คด้วยว่ามุมที่ใหญ่ท่ีสดุ (คือมุมสุดท้ายของลาดับ) มีขนาดน้อยกว่า 180° ตามเงื่อนไขข้อแรกหรือไม่
จากสูตรลาดับเลขคณิต 𝑎𝑛 = 𝑎1 + (𝑛 − 1)𝑑 จะได้ 126 + (𝑛 − 1)(4) < 180
(𝑛 − 1)(4) < 54
𝑛 < 14.5
ดังนัน้ จาก (∗) จะเหลือ 𝑛 = 10 ได้เพียงคาตอบเดียว
PAT 1 (มี.ค. 65) 45

41. มะลิมีลกู ปั ดที่แตกต่างกันทัง้ หมด 9 เม็ด ได้แก่ ลูกปั ดสีขาว 3 เม็ด สีชมพู 2 เม็ด สีม่วง 2 เม็ด และสีฟ้า 2 เม็ด
ถ้ามะลิตอ้ งการตกแต่งกรอบรูปวงกลม โดยการนาลูกปั ดทัง้ หมดมาวางเรียงต่อกันที่ขอบของกรอบรูป
โดยมีเงื่อนไขดังนี ้
 ลูกปั ดสีเดียวกันต้องไม่อยู่ติดกัน
 ลูกปั ดสีชมพูและสีม่วงต้องไม่อยู่ติดกัน
แล้วมะลิมีวิธีตกแต่งกรอบรูปตามเงื่อนไขที่กาหนดได้ทงั้ หมดกี่วิธี
ตอบ 1,728
เรียงลูกปั ดสีชมพู 2 เม็ด กับสีม่วง 2 เม็ด รวม 4 เม็ด เป็ นวงกลมด้วยสูตร (𝑛 − 1)! ก่อน 1

จะเรียงได้ (4 − 1)! = 6 แบบ  4 2

เนื่องจากสีเดียวกันห้ามติดกัน ชมพูกบั ม่วงก็หา้ มติดกัน ดังนัน้ ช่องว่างทัง้ 4 ช่อง ต้องมีสอี ่ืนมาคั่น 3

แต่เหลือลูกปั ดแค่ 5 ลูก (สีขาว 3 เม็ด + สีฟ้า 2 เม็ด)


ดังนัน้ จะมี 1 ช่องที่มีลกู ปั ดคั่น 2 เม็ด (ซึ่งต้องเป็ นขาว 1 เม็ดและฟ้า 1 เม็ด เพราะสีเดียวกันห้ามติดกัน)
ส่วนอีก 3 ช่อง จะเหลือลูกปั ดคั่นช่องละ 1 เม็ดพอดี
เลือก 1 ช่องจาก 4 ช่อง ที่จะมีลกู ปั ดคั่น 2 เม็ด จะเลือกได้ 4 แบบ 
เลือกขาว 1 เม็ดจาก 3 เม็ด , เลือกฟ้า 1 เม็ดจาก 2 เม็ด , สลับขาวฟ้าภายในช่อง → 3 × 2 × 2 = 12 แบบ 
จะเหลือลูกปั ด 3 เม็ด (ขาว 2 เม็ด + ฟ้า 1 เม็ด) นามาเรียงใน 3 ช่องที่เหลือ จะเรียงได้ 3! = 6 แบบ 
จากกฏการคูณตามขัน้ ตอนที่มีเครื่องหมาย  จะได้จานวนแบบ = 6 × 4 × 12 × 6 = 1,728 แบบ

42. จากข้อมูลของผูป้ ่ วยโรคไข้หวัดใหญ่ของโรงพยาบาลแห่งหนึ่ง ในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2564 พบว่า


 ความน่าจะเป็ นที่ผป ู้ ่ วยไม่มีโรคประจาตัว เท่ากับ 0.75
 ความน่าจะเป็ นที่ผป ู้ ่ วยมีอายุมากกว่า 60 ปี เท่ากับ 0.20
 ความน่าจะเป็ นที่ผป ู้ ่ วยมีโรคประจาตัวหรือมีอายุมากกว่า 60 ปี เท่ากับ 0.35
ถ้าสุม่ ผูป้ ่ วยโรคไข้หวัดใหญ่ในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2564 มา 1 คน แล้วความน่าจะเป็ นที่จะได้ผปู้ ่ วยที่มีโรคประจาตัว
และมีอายุมากกว่า 60 ปี เท่ากับเท่าใด
ตอบ 0.1
โจทย์ให้ 𝑃(ไม่มีโรค) = 0.75 ดังนัน้ 𝑃(มีโรค) = 1 − 0.75 = 0.25
ใช้สตู ร Inclusive – Exclusive สาหรับความน่าจะเป็ น จะได้
𝑃(มีโรค ∪ อายุมากกว่า 60 ปี ) = 𝑃(มีโรค) + 𝑃(อายุมากกว่า 60 ปี ) − 𝑃(มีโรค ∩ อายุมากกว่า 60 ปี )
0.35 = 0.25 + 0.20 − 𝑃(มีโรค ∩ อายุมากกว่า 60 ปี )
𝑃(มีโรค ∩ อายุมากกว่า 60 ปี ) = 0.1
46 PAT 1 (มี.ค. 65)

43. ร้านแห่งหนึ่งทาซาลาเปาไส้ใหม่ 3 ไส้ ได้แก่ ซาลาเปาไส้ไข่เค็มลาวา ไส้ช็อกโกแลตลาวา และไส้ผกั รวมมิตร


ร้านแห่งนีไ้ ด้สารวจความชอบชองลูกค้าที่มีต่อซาลาเปาไส้ใหม่นีเ้ ป็ นเวลา 3 วัน โดยให้ลกู ค้าชิมซาลาเปาไส้ใหม่ทงั้
สามไส้ แล้วเลือกไส้ท่ีชอบที่สดุ มาเพียง 1 ไส้ เท่านัน้ ผลการสารวจในแต่ละวันแสดงด้วยแผนภูมิแท่งได้ดงั นี ้
ร้อยละของจานวนลูกค้าที่ชอบซาลาเปาไส้ใหม่
100
20 25
80 40
60 40
45
40 35
20 40 30 25
0
วันที่ 1 วันที่ 2 วันที่ 3
ไส้ไข่เค็มลาวา ไส้ช็อกโกแลตลาวา ไส้ผักรวมมิตร
จากการสารวจข้อมูล พบว่า
 การสารวจวันที่ 1 มีลกู ค้าที่ชอบซาลาเปาไว้ผกั รวมมิตร จานวน 60 คน
 จานวนลูกค้าที่ชอบซาลาเปาไส้ไข่เค็มลาวาจากการสารวจวันที่ 2 น้อยกว่า
จานวนลูกค้าที่ชอบซาลาเปาไส้ไข่เค็มลาวาจากการสารวจวันที่ 3 อยู่ 1 คน
 การสารวจวันที่ 1 ถึงวันที่ 3 มีลกู ค้าที่ชอบซาลาเปาไส้ไข่เค็มลาวาทัง้ หมด 229 คน
จากการสารวจวันที่ 2 มีจานวนลูกค้าที่ชอบซาลาเปาไส้ช็อกโกแลตลาวา มากกว่า ไส้ผกั รวมมิตรอยู่ก่ีคน
ตอบ 36
จากแผนภูมิ วันที่ 1 มีคนชอบผัก 20% คือมีคนชอบผัก 20 คน จากทัง้ หมด 100 คน
แต่วนั ที่ 1 มีคนชอบผัก 60 คน ดังนัน้ วันที่ 1 มีคนทัง้ หมด 100
20
× 60 = 300 คน
40
จากแผนภูมิ วันที่ 1 มีชอบไข่เค็ม 40% = 100 × 300 = 120 คน …(∗)
โจทย์ให้คนชอบไข่เค็มวันที่ 2 น้อยกว่าวันที่ 3 อยู่ 1 คน → ถ้าให้วนั ที่ 2 ชอบไข่เค็ม 𝑥 คน …(∗)
จะได้วนั ที่ 3 ชอบไข่เค็ม 𝑥 + 1 คน …(∗)
โจทย์ให้คนชอบไข่เค็ม ทัง้ หมด 229 คน → รวม (∗) จะได้ 120 + 𝑥 + 𝑥 + 1 = 229
2𝑥 = 108
𝑥 = 54
ดังนัน้ วันที่ 2 ที่ชอบไข่เค็ม 30% จะคิดเป็ นจานวนคน 54 คน
54
จากแผนภูมิ วันที่ 2 ชอบช็อกโก มากกว่าผัก = 45% − 25% = 20% จะคิดเป็ นจานวนคน 30
× 20 = 36 คน

44. ให้จดุ 𝐴 และ 𝐵 เป็ นจุดบนพาราโบลา 9𝑥2 + 10𝑦 = 81


ถ้าเส้นสัมผัสพาราโบลาที่จดุ 𝐴 และเส้นสัมผัสพาราโบลาที่จดุ 𝐵 ตัดกันที่จดุ (0, 9)
แล้วระยะห่างระหว่างจุด 𝐴 และ 𝐵 เท่ากับกี่หน่วย
ตอบ 2
𝑦−9
ความชันเส้นสัมผัส หาได้จาก 𝑦 ′ ความชันจาก (0, 9) ไปยังจุด (𝑥, 𝑦) บนพาราโบลาคือ 𝑥−0
2
9𝑥 + 10𝑦 = 81 สมการพาราโบลาคือ 𝑦 = 8.1 − 0.9𝑥 2
8.1−0.9𝑥 2 − 9
81−9𝑥 2 = 𝑥
𝑦 = 10 −0.9𝑥 2 −0.9
= 8.1 − 0.9𝑥 2 =
𝑥

𝑦 = −1.8𝑥
PAT 1 (มี.ค. 65) 47

−0.9𝑥 2 −0.9
ดังนัน้ −1.8𝑥 = 𝑥
−1.8𝑥 2 = −0.9𝑥 2 − 0.9
−0.9𝑥 2 = −0.9 แทนในสมการพาราโบลา : 𝑦 = 8.1 − 0.9𝑥 2
𝑥2 = 1 = 8.1 − 0.9(1)
𝑥 = ±1 = 7.2

จะได้จดุ A และ B คือ (1, 7.2) และ (−1, 7.2) ซึ่งจะห่างกัน 1 − (−1) = 2

45. ให้ 𝑎 เป็ นจานวนจริงบวก ถ้าบริเวณที่ปิดล้อมด้วยเส้นโค้ง 𝑦 = 𝑎𝑥2 + 2 แกน 𝑋 เส้นตรง 𝑥 = 0 และ


เส้นตรง 𝑥 = 5 มีพนื ้ ที่เท่ากับ 135 ตารางหน่วย แล้วความชันของเส้นโค้ง 𝑦 = 𝑎𝑥2 + 2 ที่ 𝑥 = 𝑎
เท่ากับเท่าใด
ตอบ 18
เนื่องจาก 𝑎 เป็ นบวก ดังนัน้ 𝑦 = 𝑎𝑥2 + 2 จะเป็ นบวกเสมอ
ทาให้พืน้ ที่ท่ีปิดล้อมด้วยเส้นโค้ง 𝑦 = 𝑎𝑥2 + 2 และแกน 𝑋 จะอยู่เหนือแกน 𝑋
5
จะได้พืน้ ที่ตงั้ แต่ 𝑥 = 0 ถึง 𝑥 = 5 คือ ∫ 𝑎𝑥 2 + 2 𝑑𝑥
0
𝑎𝑥 3 5
135 = 3
+ 2𝑥 |
0

𝑎(53 ) 𝑎(03 )
135 = ( 3
+ 2(5)) − ( 3
+ 2(0))

𝑎(52 )
27 = 3
+2
81 = 25𝑎 + 6
3 = 𝑎
แทนในสมการเส้นโค้ง จะได้ 𝑦 = 3𝑥 2 + 2
𝑦 ′ = 6𝑥 → เมื่อ 𝑥=𝑎=3 จะได้ความชันเส้นสัมผัส = 6(3) = 18

เครดิต
ขอบคุณ ข้อสอบ จาก อ. ปิ๋ ง GTRmath
ขอบคุณ เฉลยวิธีทา จากคุณ คณิต มงคลพิทักษ์สขุ (นวย) ผูเ้ ขียน Math E-book
ขอบคุณ คุณ Chonlakorn Chiewpanich
และ คุณ Tonson Lalitkanjanakul
และ คุณ Sornchai Thongkrajang ที่ช่วยตรวจสอบความถูกต้องของเอกสาร

You might also like