You are on page 1of 320

เฉลยละเอียด

สําหรับผูส
 อน

หนังสือเรียน รายวิชาเพิ่มเติม
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร

คณิตศาสตร
ม.5 เลม 1
สารบัญ

หน้า
• หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ฟังก์ชันตรีโกณมิติ 1
• หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เมทริกซ์ 147
• หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เวกเตอร์ในสามมิติ 247
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ฟงกชันตรีโกณมิติ
Thinking Time (หน้า 6)
ให้นักเรียนตอบคำาถามในแต่ละข้อต่อไปนี้
1) จุดปลายส่วนโค้งที่ยาว ∙ θ ∙ หน่วย บนวงกลมหนึ่งหน่วยของรูปที่ 3-12 เป็นเท่าใด
2) จุดปลายส่วนโค้งที่ยาว ∙ θ ∙ หน่วย บนวงกลมหนึ่งหน่วยของรูปที่ 3-12 รูปใดบ้าง
ที่เป็นจุดเดียวกัน
3) ถ้าวัดระยะจากจุด (1, 0) ไปบนส่วนโค้งของวงกลมเป็นระยะ ∙ θ ∙ หน่วย ด้วย θ
ทีแ่ ตกต่างกันหลายค่า แล้วพิกดั ของจุดปลายส่วนโค้งทีย่ าว ∙ θ ∙ หน่วย จะเป็นจุดเดียวกัน
ได้หรือไม่ เพราะเหตุใด
แนวคิด
1) จุดปลายส่วนโค้งของรูปที่ 3 คือ (0, 1) จุดปลายส่วนโค้งของรูปที่ 4 คือ (-1, 0)
จุดปลายส่วนโค้งของรูปที่ 5 คือ (0, -1) จุดปลายส่วนโค้งของรูปที่ 6 คือ (1, 0)
จุดปลายส่วนโค้งของรูปที่ 7 คือ (0, 1) จุดปลายส่วนโค้งของรูปที่ 8 คือ (0, -1)
จุดปลายส่วนโค้งของรูปที่ 9 คือ (-1, 0) จุดปลายส่วนโค้งของรูปที่ 10 คือ (0, 1)
จุดปลายส่วนโค้งของรูปที่ 11 คือ (1, 0) จุดปลายส่วนโค้งของรูปที่ 12 คือ (0, -1)
2) รูปที่ 3, รูปที่ 7 และรูปที่ 10 มีจุดปลายส่วนโค้ง คือ (0, 1)
รูปที่ 4 และรูปที่ 9 มีจุดปลายส่วนโค้ง คือ (-1, 0)
รูปที่ 5, รูปที่ 8 และรูปที่ 12 มีจุดปลายส่วนโค้ง คือ (0, -1)
รูปที่ 6 และรูปที่ 11 มีจุดปลายส่วนโค้ง คือ (1, 0)
3) อาจจะเป็นจุดเดียวกันหรือไม่เป็นจุดเดียวกันก็ได้ เช่น ถ้า θ1 = π2 และ θ2 = - 32π
จะมีจุดปลายส่วนโค้งเป็นจุดเดียวกัน คือ (0, 1) แต่ถ้า θ1 = π2 และ θ2 = 32π จะมี
จุดปลายส่วนโค้ง คือ (0, 1) และ (0, -1) ตามลำาดับ ซึ่งไม่เป็นจุดเดียวกัน
ลองทำ�ดู (หน้า 8)
ให้เขียนจุดปลายส่วนโค้งที่ยาว ∙ θ ∙ หน่วย ของ θ ในแต่ละข้อต่อไปนี้ ในรูป (cos θ, sin θ)
1) 2π 2) 32π
3) - π2 4) -π
1
แนวคิด 1) (cos 2π, sin 2π) 2) (cos 32π, sin 32π )
3) (cos (- π2 ), sin (- π2 )) 4) (cos (-π), sin (-π))

ลองทำ�ดู (หน้า 9)
Y จากรูปวงกลมหนึ่งหน่วยที่กำาหนด ให้หาค่าของ
(0, 1) ฟังก์ชนั ไซน์และฟังก์ชนั โคไซน์ในแต่ละข้อต่อไปนี้
1) cos 0 2) sin π2
(-1, 0) O X
(1, 0) 3) cos 32π 4) sin 2π
5) cos (- π2 ) 6) sin (- 32π )
(0, -1) 7) cos (-π) 8) sin (-2π)
แนวคิด จากความสัมพันธ์ x = cos θ และ y = sin θ จะได้ว่า
1) cos 0 = 1 2) sin π2 = 1
3) cos 32π = 0 4) sin 2π = 0
5) cos (- π2 ) = 0 6) sin (- 32π ) = 1
7) cos (-π) = -1 8) sin (-2π) = 0
ลองทำ�ดู (หน้า 12)
ให้ ใช้วงกลมหนึ่งหน่วยหาค่าของฟังก์ชันไซน์และฟังก์ชันโคไซน์ ในแต่ละข้อต่อไปนี้
1) cos 74π 2) sin 74π 3) cos 114π 4) sin 114π
5) cos (- 74π ) 6) sin (- 74π ) 7) cos (- 54π ) 8) sin (- 54π )
Y
แนวคิด จากรูปวงกลมหนึ่งหน่วย จะได้ว่า
2 , 2 2 , 2
(- ) ( 2 2 )
2 2 จุด (- 2 2 2 2 2 2
2 , - 2 ), ( 2 , - 2 ), ( 2 , 2 )
O X และ (- 2 2
2 , 2 ) เป็นจุดปลายส่วนโค้งบนวงกลม
หนึ่งหน่วยที่ยาว ∣ 54π ∣, ∣ 74π ∣, ∣ 94π ∣ และ ∣ 114π ∣
(- 2 2 , - 2 2 ) ( 2 2 , - 2 2 )
ตามลำาดับ เมื่อวัดจากจุด (1, 0)

2
ในทำานองเดียวกัน จุด (- 2 2 2 2 2 2 2 2
2 , 2 ), ( 2 , 2 ), ( 2 , - 2 ) และ (- 2 , - 2 )
เป็นจุดปลายส่วนโค้งบนวงกลมหนึ่งหน่วยที่ยาว ∣ - 54π ∣, ∣ - 74π ∣, ∣ - 94π ∣ และ
∣ - 114π ∣ ตามลำาดับ เมื่อวัดจากจุด (1, 0) เช่นกัน
จากความสัมพันธ์ x = cos θ และ y = sin θ เมื่อ (x, y) เป็นจุดปลายส่วนโค้ง
บนวงกลมหนึ่งหน่วย ที่วัดจากจุด (1, 0) เป็นระยะ ∙ θ ∙ หน่วย จะได้ว่า
1) cos 74π = 2 2 2) sin 74π = - 2
2
3) cos 114π = - 2 2 4) sin 114π = 2 2
5) cos (- 74π ) = 2 2 6) sin (- 74π ) = 2
2
7) cos (- 54π ) = - 2 2 8) sin (- 54π ) = 2
2
ลองทำ�ดู (หน้า 14)
ให้ใช้วงกลมหนึ่งหน่วยหาค่าของฟังก์ชันไซน์และฟังก์ชันโคไซน์ในแต่ละข้อต่อไปนี้
1) cos 116π 2) sin 116π 3) cos 176π 4) sin 176π
5) cos (- 76π ) 6) sin (- 76π ) 7) cos (- 116π) 8) sin (- 116π)
แนวคิด Y จากรูปวงกลมหนึ่งหน่วย จะได้ว่า
3 1 3 , 1 จุด (- 3
2 , - 12 ), ( 3
2 , - 12 ), ( 3
2 , 12 ) และ
( 2 2 )
- , ( 2 2 )
O X (- 3 1
2 , 2 ) เป็นจุดปลายส่วนโค้งบนวงกลมหนึ่ง
(- 2 3 , - 12 ) 3 , - 1 หน่วยที่ยาว ∣ 76π ∣, ∣ 116π ∣, ∣ 136π ∣ และ ∣ 176π ∣
( 2 2 )
ตามลำาดับ เมื่อวัดจากจุด (1, 0)
ใ นทำานองเดียวกัน จุด (- 3 1 3 1 3 1 3 1
2 , 2 ), ( 2 , 2 ), ( 2 , - 2 ) และ (- 2 , - 2 )
ก็เป็นจุดปลายส่วนโค้งบนวงกลมหนึ่งหน่วยที่ยาว ∣ - 76π ∣, ∣ - 116π ∣, ∣ - 136π ∣
และ ∣ - 176π ∣ ตามลำาดับ เมื่อวัดจากจุด (1, 0) เช่นกัน
จากความสัมพันธ์ x = cos θ และ y = sin θ เมื่อ (x, y) เป็นจุดปลายส่วนโค้ง
บนวงกลมหนึ่งหน่วยที่วัดจากจุด (1, 0) เป็นระยะ ∙ θ ∙ หน่วย จะได้ว่า
3
1) cos 116π = 3 2 2) sin 116π = - 12
3) cos 176π = - 3
2 4) sin 176π = 12
5) cos (- 76π ) = - 3
2 6) sin (- 76π ) = 12
7) cos (- 116π ) = 3
2 8) sin (- 116π ) = 12

ลองทำ�ดู (หน้า 16)


ให้ ใช้วงกลมหนึ่งหน่วยหาค่าของฟังก์ชันไซน์และฟังก์ชันโคไซน์ ในแต่ละข้อต่อไปนี้
1) sin 23π 2) cos 23π 3) sin 73π 4) cos 73π
5) sin (- 43π ) 6) cos (- 43π ) 7) sin (- 53π) 8) cos (- 53π )
แนวคิด 3 Y จากรูปวงกลมหนึ่งหน่วย จะได้ว่า
1
(- , ) ( 12 , 2 3 )
2 2 จุด (- 12 , 3 1 3 1 3
2 ), (- 2 , - 2 ), ( 2 , - 2 ) และ
O X (12 , 3
2 ) เป็นจุดปลายส่วนโค้งบนวงกลมหนึง่ หน่วย
ที่ยาว ∣ 23π ∣, ∣ 43π ∣, ∣ 53π ∣ และ ∣ 73π ∣ ตามลำาดับ
(- 12 , - 2 3 ) ( 12 , - 2 3 ) เมื่อวัดจากจุด (1, 0)

ใ นทำานองเดียวกัน จุด (- 12 , - 3 1 3 1 3 1 3
2 ), (- 2 , 2 ), (2 , 2 ) และ (2 , - 2 )
ก็เป็นจุดปลายส่วนโค้งบนวงกลมหนึ่งหน่วยที่ยาว ∣ - 23π ∣, ∣ - 43π ∣, ∣ - 53π ∣ และ
∣ - 73π ∣ ตามลำาดับ เมื่อวัดจากจุด (1, 0) เช่นกัน
จากความสัมพันธ์ x = cos θ และ y = sin θ เมื่อ (x, y) เป็นจุดปลายส่วนโค้ง
บนวงกลมหนึ่งหน่วยที่วัดจากจุด (1, 0) เป็นระยะ ∙ θ ∙ หน่วย จะได้ว่า
1) sin 23π = 3 2 2) cos 23π = - 12
3) sin 73π = 3 2 4) cos 73π = 12
5) sin (- 43π) = 3 2 6) cos (- 43π ) = - 12
7) sin (- 53π) = 3 2 8) cos (- 53π) = 12

4
ลองทำ�ดู (หน้า 17)
ให้หาจำานวนจริง θ ที่สอดคล้องกับฟังก์ชันไซน์และฟังก์ชันโคไซน์ ในแต่ละข้อต่อไปนี้
1) cos θ = 12 เมื่อ 0 ≤ θ ≤ 4π
2) sin θ = - 3
2 เมื่อ -2π ≤ θ ≤ 2π
แนวคิด 1) 1 Y จ ากรูปวงกลมหนึ่งหน่วย เมื่อ 0 ≤ θ ≤ 4π
(- 2 , 2 3 ) ( 12 , 2 3 ) จะได้ว่า จุด (x, y) ที่เป็นจุดปลายส่วนโค้ง
บนวงกลมหนึ่งหน่วยที่มีค่า x = 12 เมื่อ
O X วัดจากจุด (1, 0) จะมีความยาวเป็น ∣π3 ∣, ∣ 53π ∣,
∣ 73π ∣ และ ∣ 113π ∣
(- 12 , - 2 3 ) ( 12 , - 2 3 )

ดังนั้น θ ที่สอดคล้องกับ cos θ = 12 เมื่อ 0 ≤ θ ≤ 4π คือ π3 , 53π , 73π และ


11π
3
2) 1 3 Y 1 3 จากรูปวงกลมหนึง่ หน่วย เมือ่ -2π ≤ θ ≤ 2π
(- 2 , 2 ) ( 2 , 2 ) จะได้ว่า จุด (x, y) ที่เป็นจุดปลายส่วนโค้ง
บนวงกลมหนึ่งหน่วยที่มีค่า y = - 3
2 เมื่อ
O
(1, 0) วัดจากจุด (1, 0) จะมีความยาวเป็น ∣ - 23π ∣,
X

∣ - π3 ∣, ∣ 43π ∣ และ ∣ 53π ∣


1 3 1 3
(- 2 , - 2 ) ( 2 , - 2 )
ดังนั้น θ ที่สอดคล้องกับ sin θ = - 3 2π π
2 เมื่อ -2π ≤ θ ≤ 2π คือ - 3 , - 3 ,
4π และ 5π
3 3
ลองทำ�ดู (หน้า 18)
ให้หาค่าของ sin (- π6 ) และ cos (- π6 )
แนวคิด จาก sin (-θ) = -sin θ และ cos (-θ) = cos θ จะได้ว่า
sin (- π6 ) = -sin π6 = - 12 และ cos (- π6 ) = cos π6 = 3
2

5
ลองทำ�ดู (หน้า 19)
กำาหนด sin 10π = 0.31 และ cos π = 0.95 ให้หา
10
1) sin 910π 2) cos 910π
แนวคิด 1) sin 910π = sin (π - 10
π
)
= sin 10π

= 0.31
2) cos 910π = cos (π - 10π
)
= -cos 10 π

= -0.95
ลองทำ�ดู (หน้า 21)
กำาหนด sin 10 π = 0.31 และ cos π = 0.95 ให้หา
10
1) sin 1110π 2) cos 1110π
แนวคิด 1) sin 1110π = sin (π + 10
π
)
π
= -sin 10
= -0.31
2) cos 1110π = cos (π + 10 π
)
= -cos 10π

= -0.95
ลองทำ�ดู (หน้า 22)
กำาหนด sin 10 π = 0.31 และ cos π = 0.95 ให้หา
10
1) sin 1910π 2) cos 1910π
แนวคิด 1) sin 1910π = sin (2π - 10
π
)
π
= -sin 10
= -0.31

6
2) cos 1910π = cos (2π - 10
π
)
π
= cos 10
= 0.95
ลองทำ�ดู (หน้า 23)
ให้หาค่าของฟังก์ชันไซน์และโคไซน์ ในแต่ละข้อต่อไปนี้
1) cos 314π 2) sin (- 503π )
แนวคิด 1) cos 314π = cos (6π + 74π)
= cos 74π
= 2 2
2) sin (- 503π ) = -sin 503π
= -sin (16π + 23π)
= - 3
2

แบบฝึ
กทั
กษะ 1.2 (หน้า 24)

ระดับพื้นฐาน

1. ให้เขียนจุดปลายส่วนโค้งที่ยาว ∣ θ ∣ หน่วย ของ θ ในแต่ละข้อต่อไปนี้ในรูป (cos θ, sin θ)


1) 0 2) 10π 3) - 32π 4) -10π
แนวคิด 1) (cos 0, sin 0) 2) (cos 10π, sin 10π)
3) (cos (- 32π), sin (- 32π )) 4) (cos (-10π), sin (-10π))
2. ให้หาค่าของ cos θ และ sin θ เมื่อ θ เปนจํานวนจริง ในแต่ละข้อต่อไปนี้
1) θ = 4π + π3 2) θ = 193π
3) θ = 314π 4) θ = - 296π
แนวคิด 1) cos (4π + π3 ) = cos π3 = 12
sin (4π + π3 ) = sin π3 = 32
7
2) cos 193π = cos (6π + π3 ) = cos π3 = 12
sin 193π = sin (6π + π3 ) = sin π3 = 32
3) cos 314π = cos (6π + 74π) = cos 74π = 22
sin 314π = sin (6π + 74π) = sin 74π = - 22
4) cos (- 296π) = cos 296π = cos (4π + 56π) = cos 56π = - 32
sin (- 296π) = -sin 296π = -sin (4π + 56π) = -sin 56π = - 12

3. กําหนด sin θ = 3 1
2 และ cos θ = 2 ให้หาค่าของ
1) sin (-θ) 2) cos (-θ)
3) sin (π - θ) 4) cos (π - θ)
5) sin (π + θ) 6) cos (π + θ)
7) sin (2π - θ) 8) cos (2π - θ)
9) sin (2π + θ) 10) cos (2π + θ)
แนวคิด 1) sin (-θ) = -sin θ = - 32 2) cos (-θ) = cos θ = 12
3) sin (π - θ) = sin θ = 32 4) cos (π - θ) = -cos θ = - 12
5) sin (π + θ) = -sin θ = - 32 6) cos (π + θ) = -cos θ = - 12
7) sin (2π - θ) = -sin θ = - 32 8) cos (2π - θ) = cos θ = 12
9) sin (2π + θ) = sin θ = 32 10) cos (2π + θ) = cos θ = 12
4. ให้หาจํานวนจริง θ ที่สอดคล้องกับฟงกชันไซนและฟงกชันโคไซน ในแต่ละข้อต่อไปนี้
เมื่อ -4π ≤ θ ≤ 4π
1) sin θ = - 12 2) sin θ = 3
2 3) cos θ = - 12 4) cos θ = - 2
2
แนวคิด เมื่อ -4π ≤ θ ≤ 4π จะได้ว่า
1) จ ุด (x, y) ที่เป็นจุดปลายส่วนโค้งบนวงกลมหนึ่งหน่วยที่มีค่า y = - 12
เมือ่ วัดจากจุด (1, 0) จะมีความยาวเป็น
∣ - 176π ∣, ∣ - 136π ∣, ∣ - 56π ∣, ∣ - π6 ∣, ∣ 76π ∣, ∣ 116π ∣, ∣ 196π ∣ และ ∣ 233π ∣

8
ดังนั้น θ ที่สอดคล้องกับ sin θ = - 12 เมื่อ -4π ≤ θ ≤ 4π คือ - 176π ,
- 136π ,- 56π , - π6 , 76π , 116π , 196π และ 236π
2) จุด (x, y) ที่เป็นจุดปลายส่วนโค้งบนวงกลมหนึ่งหน่วยที่มีค่า y = 3 2
เมื่อวัดจากจุด (1, 0) จะมีความยาวเป็น
∣ - 113π ∣, ∣ - 103π ∣, ∣ - 53π ∣, ∣ - 43π ∣, ∣ π3 ∣, ∣ 23π ∣, ∣ 73π ∣ และ ∣ 83π ∣
ดังนั้น θ ที่สอดคล้องกับ sin θ = 3 2 เมื่อ -4π ≤ θ ≤ 4π คือ - 3 ,
11π
- 103π , - 53π , - 43π , π3 , 23π , 73π และ 83π
3) จุด (x, y) ที่เป็นจุดปลายส่วนโค้งบนวงกลมหนึ่งหน่วยที่มีค่า x = - 12
เมื่อวัดจากจุด (1, 0) จะมีความยาวเป็น
∣- 103π ∣, ∣- 83π ∣, ∣- 43π ∣, ∣- 23π ∣, ∣ 23π ∣, ∣ 43π ∣, ∣ 83π ∣ และ ∣ 103π ∣
ดังนั้น θ ที่สอดคล้องกับ cos θ = 3 2 เมื่อ -4π ≤ θ ≤ 4π คือ - 3 ,
10π
- 83π , - 43π , - 23π , 23π , 43π , 83π และ 103π
4) จุด (x, y) ที่เป็นจุดปลายส่วนโค้งบนวงกลมหนึ่งหน่วยที่มีค่า x = - 2 2
เมื่อวัดจากจุด (1, 0) จะมีความยาวเป็น
∣- 134π ∣, ∣- 114π ∣, ∣- 54π ∣, ∣- 34π ∣, ∣ 34π ∣, ∣ 54π ∣, ∣ 114π ∣ และ ∣ 134π ∣
ดังนั้น θ ที่สอดคล้องกับ cos θ = - 2 13π
2 เมื่อ -4π ≤ θ ≤ 4π คือ - 4 ,
- 114π , - 54π , - 34π , 34π , 54π , 114π และ 134π
ระดับกลาง

5. ให้หาค่าของ cos θ และ sin θ เมื่อ θ เปนจํานวนจริง ในแต่ละข้อต่อไปนี้


1) θ = 3π + π6 2) θ = 5π - π4 3) θ = -π - π4 4) θ = -2π + π6
แนวคิด 1) cos (3π + π6 ) = - 32 , sin (3π + π6 ) = - 12
2) cos (5π - π4 ) = - 22 , sin (5π - π4 ) = 22
3) cos (-π - π4 ) = cos (π + π4 ) = - 22 , sin (-π - π4 ) = -sin (π + π4 ) = 22
4) cos (-2π + π6 ) = cos (2π - π6 ) = 32 , sin (-2π + π6 ) = -sin (2π - π6 ) = 12
9
6. กําหนด sin θ = 12 และ cos θ = 3
2 ให้หาค่าของ
1) sin (-π + θ) 2) cos (-π + θ)
3) sin (-π - θ) 4) cos (-π - θ)
5) sin (-2π + θ) 6) cos (-2π + θ)
7) sin (-2π - θ) 8) cos (-2π - θ)
9) sin (θ - 4π) 10) cos (θ - 7π)
แนวคิด 1) sin(-π + θ) = -sin(π - θ) = -sin θ = - 12
2) cos(-π + θ) = cos(π - θ) = -cos θ = - 32
3) sin(-π - θ) = -sin(π + θ) = sin θ = 12
4) cos(-π - θ) = cos(π + θ) = -cos θ = - 32
5) sin(-2π + θ) = -sin(2π - θ) = sin θ = 12
6) cos(-2π + θ) = cos(2π - θ) = cos θ = 32
7) sin(-2π - θ) = -sin(2π + θ) = -sin θ = - 12
8) cos(-2π - θ) = cos(2π + θ) = cos θ = 32
9) sin(θ - 4π) = -sin(4π - θ) = sin θ = 12
10) cos(θ - 7π) = cos(7π - θ) = -cos θ = - 32

ระดับท้าทาย

7. กําหนด sin (- 9118π ) = 0.17 ให้หาจํานวนจริง θ ที่ทําให้ sin θ = sin (- 9118π ) มา 4 จํานวน
เมื่อ -10π ≤ θ ≤ 10π พร้อมอธิบายเหตุผลประกอบ
แนวคิด พิจารณา sin (- 9118π ) = -sin 9118π
= -sin (5π + 18π
)
π
= sin 18

10
จ าก sin (2nπ + θ) = sin θ จะได้จาำ นวนจริง θ ทีส่ อดคล้องกับ sin θ = sin (- 9118π)
คือ 2π + 18π = 37π , 4π + π = 73π , 6π + π = 109π , 8π + π = 145π
18 18 18 18 18 18 18
ลองทำ�ดู (หน้า 26)
ให้หาค่าของฟังก์ชันตรีโกณมิติในแต่ละข้อต่อไปนี้
1) tan π4 2) cot π4 3) sec π4 4) cosec π4
sin π4 2
แนวคิด π
1) tan 4 = π
= 2 = 1

cos 4 2
2
cos π4 2
2) cot 4 = π = 2 = 1
π
sin 4 2
2
3) sec π4 = 1 π = 1 = 2
cos 4 2
2
π
4) cosec 4 = π = 1 1 = 2
sin 4 2
2
ลองทำ�ดู (หน้า 27)
ให้หาค่าของฟังก์ชันตรีโกณมิติในแต่ละข้อต่อไปนี้
1) tan 56π 2) cot 56π 3) sec 56π 4) cosec 56π

sin 56π 1
แนวคิด 1) tan 56π = = 2 = - 33
cos 56π - 32
cos 56π - 32
2) cot 56π = = 1 = - 3
sin 56π 2
3) sec 56π = 1 = 1 = - 2 3
3
cos 56π - 32
4) cosec 56π = 1 = 1 = 2
sin 56π 1
2

11
ลองทำ�ดู (หน้า 28)
ให้หาค่าของฟังก์ชันตรีโกณมิติในแต่ละข้อต่อไปนี้
1) tan 54π 2) cot 54π 3) sec 54π 4) cosec 54π
5 π
sin 54π - 22
แนวคิด 1) tan 4 = = =1
cos 54π - 2
2

cos 54π - 22
2) cot 4 = 5π = =1
sin 4 - 22
3) sec 54π = 15π = 1 = - 2
cos 4 - 22
4) cosec 54π = 15π = 1 = - 2
sin 4 - 22
ลองทำ�ดู (หน้า 29)
ให้หาค่าของฟังก์ชันตรีโกณมิติในแต่ละข้อต่อไปนี้
1) tan 116π 2) cot 116π 3) sec 116π 4) cosec 116π
11 sin 116π - 12
แนวคิด 1) tan 6 π = 11 = = - 33
cos 6 π 3
2
cos 11π 3
2) cot 116π = 116π = 21 = - 3
sin 6 - 2
3) sec 116π = 1 = 1 = 2 3
cos 116π 3 3
2
4) cosec 116π = 111π = 11 = -2
sin 6 - 2

12
Thinking Time (หน้า 30)
ถ้า θ เป็นจำานวนจริงใด ๆ แล้ว tan (-θ), cot (-θ), sec (-θ) และ cosec (-θ)
มีค่าเป็นเท่าใด
แนวคิด sin (-θ) = - sin θ = -tan θ
tan (-θ) = cos (- θ) cos θ
1 = - 1
cot (-θ) = tan (- θ) tan θ
1 = 1
sec (-θ) = cos (- θ) cos θ
1 = - 1
cosec (-θ) = sin (- θ) sin θ
ลองทำ�ดู (หน้า 31)
ให้หาค่าของฟังก์ชันตรีโกณมิติในแต่ละข้อต่อไปนี้
1) tan (- π6 ) 2) sec (- π6 ) 3) cot (- π6 ) 4) cosec (- π6 )
แนวคิด 1) tan (- π6 ) = -tan π6 = - 33
2) sec (- π6 ) = sec π6 = 2 3 3
3) cot (- π6 ) = -cot π6 = - 3
4) cosec (- π6 ) = -cosec π6 = -2

ให้หาค่าของ sin (- 194π) cot 134π - cos 316π sin (- 203π)


แนวคิด เนื่องจาก sin (- 194π) = -sin 194π
= -sin (4π + 34π )
= -sin 34π
= - 22
cot 134π = cot (2π + 54π )
= cot 54π
= 1
13
cos 316π = cos (4π + 76π )
= cos 76π
= - 23
sin (- 203π) = -sin 203π
= -sin (6π + 23π )
= -sin 23π
= - 23
ดังนั้น sin (- 194π) cot 134π - cos 316π sin (- 203π)
= (- 22 )(1) - (- 23 )(- 23 )
= -2 2 - 3
4

แบบฝึ
กทั
กษะ 1.3 (หน้า 33)

ระดับพื้นฐาน

1. กําหนด sin θ = 35 และ cos θ = 45 ให้หาค่าของ


1) tan θ 2) sec θ
3) cot θ 4) cosec θ
แนวคิด sin θ = 35 และ cos θ = 45
1) tan θ = cos sin θ = 3
θ 4
2) sec θ = cos1 θ = 54
3) cot θ = cos θ 4
sin θ = 3
4) cosec θ = sin 1 = 5
θ 3

14
2. กําหนด sin θ = - 35 และ cos θ = 45 ให้หาค่าของ
1) tan θ 2) sec θ
3) cot θ 4) cosec θ
แนวคิด sin θ = - 35 และ cos θ = 45
1) tan θ = cos sin θ = - 3
θ 4
2) sec θ = cos1 θ = 54
3) cot θ = cos θ 4
sin θ = - 3
4) cosec θ = sin 1 = - 5
θ 3
3. กําหนด sin θ = 35 และ cos θ = 45 ให้หาค่าของ
1) tan (-θ) 2) sec (-θ)
3) cot (-θ) 4) cosec (-θ)
แนวคิด sin θ = 35 และ cos θ = 45
1) tan(-θ) = -tan θ = - 34
2) sec(-θ) = sec θ = 54
3) cot(-θ) = -cot θ = - 43
4) cosec(-θ) = -cosec θ = - 53
4. ให้หาค่าของ
1) sin π3 + sin 23π + sin 43π + sin 53π
2) sin π4 + cos 54π + tan 34π + sin π4
3) sin 54π cos 43π - cos 23π tan 34π
แนวคิด 1) sin π3 + sin 23π + sin 43π + sin 53π
= sin π3 + sin (π - π3 ) + sin (π + π3 ) + sin (2π - π3 )
= 32 + 32 + (- 32 ) + (- 32 ) = 0

15
2) sin π4 + cos 54π + tan 34π + sin π2
= sin π4 + cos (π + π4 ) + tan (π - π4 ) + sin π2
= 22 + (- 22 ) + (-1) + 1 = 0
3) sin 54π cos 43π - cos 23π tan 34π
= sin (π + π4 ) cos (π + π3 ) - cos (π - π3 ) tan (π - π4 )
= ( 22 )(- 12 ) - (- 12 )(-1)
= - 24 - 12 = - 2 - 24
ระดับกลาง

5. กําหนด 0 < θ < π2 และ sin θ = 13 ให้หาค่าของ


1) sin θ + cos θ 2) cot θ + cosec θ
3) cos θ - tan θ 4) sec θ - cos θ
แนวคิด จากโจทย์ sin θ = 13 และ 0 < θ < π2
3
8
จะได้ cos θ = 3 และ tan θ = 1 1
8 θ
1
1) เนื่องจาก sin θ = 3 และ cos θ = 3 8 8
ดังนั้น sin θ + cos θ = 13 + 83
2) เนื่องจาก cot θ = tan 1 = 8 และ cosec θ = 1 = 3
θ sin θ
ดังนั้น cot θ + cosec θ = 8 + 3
3) เนื่องจาก cos θ = 83 และ tan θ = 1
8
ดังนั้น cos θ - tan θ = 83 - 1 = 8 - 3 = 5 = 5 24 8
8 3 8 3 8
1 3
4) เนื่องจาก sec θ = cos θ = และ cos θ = 83
8
ดังนั้น secθ - cos θ = 3 - 83 = 9 - 8 = 1 = 24 8
8 3 8 3 8

16
6. กําหนด -π < θ < - π2 และ tan θ = 23 ให้หาค่าของ
1) sin θ + cos θ 2) sin θ - sec θ
3) cos θ + cot θ 4) cos θ - sec θ
แนวคิด จากโจทย์ tan θ = 23 และ -π < θ < - π2 13 2
จะได้ sin θ = - 2 และ cos θ = - 3 θ
13 13 3
2
1) เนื่องจาก sin θ = - และ cos θ = - 3
13 13
ดังนั้น sin θ + cos θ = - 2 + (- 3 ) = - 5 = - 5 13 13
13 13 13
2) เนื่องจาก sin θ = - 2 และ sec θ = cos1 θ = - 133
13
ดังนั้น sin θ - sec θ = - 2 - (- 13 3 ) = -6 + 13 = 7 = 7 13
13 3 13 3 13 39
3) เนื่องจาก cos θ = - 3 และ cot θ = tan 1 =3
13 θ 2
ดังนั้น cos θ + cot θ = - 3 + 32 = -6 + 3 13
2 13
13
4) เนื่องจาก cos θ = - 3 และ sec θ = - 13 3
13
ดังนั้น cos θ - sec θ = - 3 - (- 13
3 ) = -9 + 13 = 4 = 4 13
13 3 13 3 13 39
7. ให้หาค่าของ
1) cos π6 sin π3 + cos π3 sin π6 + tan π3 cot π3
2) sin (- π2 ) cos (- 34π) + tan (- 74π) cos (-2π)
แนวคิด 1) cos π6 sin π3 + cos π3 sin π6 + tan π3 cot π3
= ( 32 )( 32 ) + ( 12 )( 12 ) + ( 3)( 1 ) = 2
3
2) sin (- π2 ) cos (- 34π ) + tan (- 74π ) cos (-2π)
= -sin π2 cos(π - π4 ) - tan(2π - π4 ) cos 2π
= (-1)(- 2 ) - (-1)(1) = 2 + 1
2 2
17
ลองทำ�ดู (หน้า 35)
1) เปลี่ยน 60 องศา ให้มีหน่วยเป็นเรเดียน
2) เปลี่ยน 34π เรเดียน ให้มีหน่วยเป็นองศา
แนวคิด 1) เนื่องจาก 180π
องศา เท่ากับ 1 เรเดียน
ดังนั้น 60 องศา เท่ากับ 60 × 180 π เรเดียน

= π3 เรเดียน
2) เนื่องจาก 1 เรเดียน เท่ากับ 180π
องศา
ดังนั้น 34π เรเดียน เท่ากับ 34π × 180
π
องศา
= 135 องศา
ลองทำ�ดู (หน้า 37)
ให้หาค่าของ sin θ และ cos θ เมื่อ
1) θ = 135 ำ 2) θ = -150 ำ
แนวคิด เนื่องจาก 135 ำ = 34π เรเดียน และ 150 ำ = 56π เรเดียน จะได้ว่า
1) sin θ = sin 135 ำ = sin 34π = 22
cos θ = cos 135 ำ = cos 34π = - 22
2) sin θ = sin (-150 ำ) = sin (- 56π ) = -sin 56π = - 12
cos θ = cos (-150 ำ) = cos (- 56π ) = cos 56π = - 32

ลองทำ�ดู (หน้า 39)


ให้หาอัตราส่วนตรีโกณมิติของมุม A ทุกอัตราส่วน
C
13
5
A 12 B

18
แนวคิด C BC
sin A = AC = 5
13
13 AB
cos A = AC =12
5 13
A tan A = BC
AB = 5
12
12 B 1
cot A = tan A = 15 = 125
12
1 = 1 = 13
sec A = cos A 12 12
13
1 = 1 = 13
cosec A = sin A 5 5
13
ลองทำ�ดู (หน้า 40)
รูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ABC มีมุม B เป็นมุมฉาก และ cos A = 103 ให้หา sin A, tan A,
cos A, sec A และ cosec A
แนวคิด จาก cos A = 103 จะได้รูปสามเหลี่ยม ABC ดังนี้
A
10 3
C B
รูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ABC และทฤษฎีบทพีทาโกรัส
จะได้ AC2 = AB2 + BC2
102 = 32 + BC2
BC2 = 91
BC = 91
BC = 91
ดังนั้น sin A = AC 10
tan A = BC
AB = 3
91
1 = 3 91
cot A = tan A 91
1 = 10
sec A = cos A 3
cosec A = sin A 1 = 10 91
91
19
แบบฝึ
กทั
กษะ 1.4 (หน้า 40)

ระดับพื้นฐาน

1. เปลี่ยนมุม θ ในหน่วยองศาแต่ละข้อต่อไปนี้ให้มีหน่วยเปนเรเดียน
1) θ = 75 ำ 2) θ = 120 ำ
3) θ = 270 ำ 4) θ = -60 ำ
5) θ = -135 ำ 6) θ = -315 ำ
แนวคิด 1) θ = 75 ำ × 180 π = 512π เรเดียน
π
2) θ = 120 ำ × 180 = 23π เรเดียน
π
3) θ = 270 ำ × 180 = 32π เรเดียน
π = - π เรเดียน
4) θ = -60 ำ × 180 3
5) θ = -135 ำ × 180π = - 3π เรเดียน
4
6) θ = -315 ำ × 180π = - 7π เรเดียน
4
2. เปลี่ยนมุม θ ในหน่วยเรเดียนแต่ละข้อต่อไปนี้ให้มีหน่วยเปนองศา
1) θ = π4 2) θ = 23π
3) θ = 53π 4) θ = - 116π
5) θ = - 73π 6) θ = - 92π
แนวคิด 1) θ = π4 × 180 π
= 45 ำ
2) θ = 23π × 180
π
= 120 ำ
3) θ = 53π × 180
π
= 300 ำ
4) θ = - 116π × 180
π
= -330 ำ
5) θ = - 73π × 180
π
= -420 ำ
6) θ = - 92π × 180
π
= -810 ำ

20
3. ให้หาค่า sin θ และ cos θ ในแต่ละข้อต่อไปนี้
1) θ = 45 ำ 2) θ = 120 ำ
3) θ = 150 ำ 4) θ = 210 ำ
5) θ = -30 ำ 6) θ = -135 ำ
7) θ = -240 ำ 8) θ = -300 ำ
แนวคิด 1) θ = 45 ำ = 45 ำ × 180π = π เรเดียน
4
sin θ = sin 45 ำ = sin π4 = 22
cos θ = cos 45 ำ = cos π4 = 22
2) θ = 120 ำ = 120 ำ × 180 π = 2π เรเดียน
3
2
sin θ = sin 120 ำ = sin 3 = sin π3 = 32
π

cos θ = cos 120 ำ = cos 23π = -cos π3 = - 12


3) θ = 150 ำ = 150 ำ × 180 π = 5π เรเดียน
6
sin θ = sin 150 ำ = sin 56π = sin π6 = 12
cos θ = cos 150 ำ = cos 56π = -cos π6 = - 32
4) θ = 210 ำ = 210 ำ × 180 π = 7π เรเดียน
6
sin θ = sin 210 ำ = sin 76π = -sin π6 = - 12
cos θ = cos 210 ำ = cos 76π = -cos π6 = - 32
5) θ = -30 ำ = -30 ำ × 180π = - π เรเดียน
6
sin θ = sin (-30 ำ) = sin (- 6 ) = -sin π6 = - 12
π

cos θ = cos (-30 ำ) = cos (- π6 ) = cos π6 = 32


6) θ = -135 ำ × 180 π = - 3π
4
sin θ = sin (-135 ำ) = sin (- 34π) = -sin 34π = - 22
cos θ = cos (-135 ำ) = cos (- 34π) = cos 34π = - 22

21
π = - 4π
7) θ = -240 ำ × 180 3
sin θ = sin (-240 ำ) = sin (- 43π) = -sin 43π = sin π3 = 32
cos θ = cos (-240 ำ) = cos (- 43π) = cos 43π = -cos π3 = - 12
π = - 5π
8) θ = -300 ำ × 180 3
sin θ = sin (-300 ำ) = sin (- 53π) = -sin 53π = sin π3 = 32
cos θ = cos (-300 ำ) = cos (- 53π) = cos 53π = cos π3 = 12
4. ให้หาอัตราส่วนตรีโกณมิติทุกอัตราส่วนของมุม θ ในแต่ละข้อต่อไปนี้
1) 2)
8 13
θ θ
6 12
แนวคิด 1) ให้ด้านที่เหลือยาว x
8 จะได้ x2 = 82 - 62
θ
6 = 64 - 36
= 28
x = 2 7
ดังนั้น sin θ = 2 7 8 = 4
7
cos θ = 68 = 34
tan θ = 2 6 7 = 37
cosec θ = sin1 θ = 4 = 4 7 7
7
sec θ = cos1 θ = 43
cot θ = tan1 θ = 3 = 3 7 7
7

22
2) ให้ด้านที่เหลือยาว x
13 จะได้ x2 = 132 - 122
θ = 169 - 144
12
= 25
x = 5
ดังนั้น sin θ = 5
13
cos θ =12
13
tan θ = 5
12
cosec θ = 1 = 13
sin θ 5
sec θ = 1 13
cos θ = 12
cot θ = 1 12
tan θ = 5
5. ถ้า tan θ = 1 แล้ว sin θ, cos θ, cot θ, sec θ และ cosec θ มีค่าเท่าใด
2
แนวคิด จาก tan θ = 1 สร้างรูปสามเหลี่ยมมุมฉากได้ ดังนี้
2
ให้ด้านที่เหลือยาว x
x
1 x2 = 12 + ( 2)2
θ = 1 + 2
2 = 3
x = 3
ดังนั้น sin θ = 1 = 33
3
cos θ = 2 = 36
3
tan θ = 1 = 22
2
cosec θ = sin1 θ = 3
sec θ = cos1 θ = 3 = 26
2
cot θ = tan1 θ = 2

23
ระดับกลาง
6. ให้หาค่า tan θ, cot θ, sec θ และ cosec θ ในแต่ละข้อต่อไปนี้
1) θ = 120 ำ 2) θ = -150 ำ
3) θ = 210 ำ 4) θ = -300 ำ
แนวคิด 1) θ = 120 ำ = 120 ำ × 180 π = 2π
3
tan θ = tan 23π = -tan π3 = - 3
cot θ = cot 23π = 12π = - 1 = - 33
tan 3 3
sec θ = sec 23π = 12π = - 1 π = -2
cos 3 cos 3
cosec θ = cosec 23π = 12π = 1 π = 2 3
sin 3 sin 3 3
2) θ = -150 ำ = -150 ำ × 180 π = - 5π
6
tan θ = tan (- 56π) = -tan 56π = tan π6 = 33
cot θ = cot (- 56π) = 1 5π = 3
tan (- 6 )
sec θ = sec (- 56π) = 1 5π = - 1 π = - 2 = - 2 3 3
cos (- 6 ) cos 6 3
cosec θ = cosec (- 56π) = 1 5π = - 1 π = -2
sin (- 6 ) sin 6
3) θ = 210 ำ = 210 ำ × 180π = 7π
6
tan θ = tan 76π = tan π6 = 33
cot θ = cot 76π = 17π = 3
tan 6
sec θ = sec 76π = 17π = - 1 π = - 2 = - 2 3 3
cos 6 cos 6 3
cosec θ = cosec 76π = 17π = - 1 π = -2
sin 6 sin 6

24
4) θ = -300 ำ = -300 ำ × 180 π = - 5π
3
tan θ = tan (- 53π) = -tan 53π = tan π3 = 3
cot θ = cot (- 53π) = 1 5π = 1 = 33
tan (- 3 ) 3
sec θ = sec (- 53π) = 1 5π = 1 π = 2
cos (- 3 ) cos 3
cosec θ = cosec (- 53π) = 1 5π = 1 π = 2 = 2 3
sin (- 3 ) sin 3 3 3
7. ให้หาค่าของ
1) 4 cos (-30 ำ) + sin (-60 ำ)
2) 5 tan 315 ำ cos (-390 ำ)
3) 2 sin2(-45 ำ) cos2(-120 ำ) tan2(135 ำ)
cos 420 ำ + sin (-810 ำ)
4) cos (-450 ำ ) + sin (-270 ำ)
แนวคิด 1) 4 cos (-30 ำ) + sin (-60 ำ) = 4 cos 30 ำ - sin 60 ำ
= 4( 3 ) - 3
2 2
= 3 3
2
2) 5 tan 315 ำ cos (-390 ำ) = 5 tan 315 ำ cos 390 ำ
= 5 tan (360 ำ - 45 ำ) cos (360 ำ + 30 ำ)
= 5(-tan 45 ำ) cos 30 ำ
= 5(-1)( 32)
= - 5 3
2
3) 2 sin2(-45 ำ) cos2(-120 ำ) tan2(135 ำ)
= 2(-sin 45 ำ)2 cos2120 ำ tan2135 ำ
= 2 sin245 ำ cos2120 ำ tan2135 ำ
= 2 sin245 ำ cos2(180 ำ - 60 ำ) tan2(180 ำ - 45 ำ)
= 2 sin245 ำ(-cos 60 ำ)2 (-tan 45 ำ)2

25
2 2
= 2( 1 ) (- 12 ) (-1)2
2
= 14
cos 420 ำ + sin (-810 ำ) = cos (360 ำ + 60 ำ) - sin (720 ำ + 90 ำ)
4) cos (-450 ำ ) + sin (-270 ำ) cos (360 ำ + 90 ำ) - sin (360 ำ - 90 ำ)
= cos 60 ำ - sin 90 ำ
cos 90 ำ + sin 90 ำ
1 - 1
2
= 0 + 1 = - 12

8. ถ้า tan θ • cot2 θ = 3


3 แล้ว θ มีค่าเปนเท่าใด เมื่อ -360 ํ ≤ θ ≤ 360 ํ
แนวคิด จาก tan θ • 12 = 33
tan θ
1 3
tan θ = 3
tan θ = 3
ดังนั้น θ = -300 ำ, -120 ำ, 60 ำ และ 240 ำ

ระดับท้าทาย

9. กําหนด 2 sin θ = 1 เมื่อ 0 ํ < θ < 90 ํ ให้หาค่าของ


1) sin (90 ำ - θ) 2) cos (90 ำ - θ)
3) tan (90 ำ - θ) 4) cot (90 ำ - θ)
5) sec (90 ำ - θ) 6) cosec (90 ำ - θ)
แนวคิด จาก 2 sin θ = 1
sin θ = 12
θ = 30 ำ

1) sin (90 ำ - θ) = sin 60 ำ = 32 2) cos (90 ำ - θ) = cos 60 ำ = 12


3) tan (90 ำ - θ) = tan 60 ำ = 3 4) cot (90 ำ - θ) = cot 60 ำ = 33
5) sec (90 ำ - θ) = sec 60 ำ = 2 6) cosec (90 ำ - θ) = cosec 60 ำ = 2 3
3

26
ลองทำ�ดู (หน้า 43)
ให้หาค่าฟังก์ชันตรีโกณมิติในแต่ละข้อต่อไปนี้ โดยใช้ตารางแสดงค่าฟังก์ชันตรีโกณมิติ
1) sin 28 ำ 40′ 2) cos 64 ำ 10′ 3) tan 13 ำ 30′
4) cot 0.7127 5) sec 0.5963 6) cosec 1.3294
แนวคิด 1) sin 28 ำ 40′ = 0.4797
2) cos 64 ำ 10′ = 0.4358
3) tan 13 ำ 30′ = 2.401
4) cot 0.7127 = 1.1571
5) เนื่องจาก sec 0.5963 = 1
cos 0.5963
จากตารางจะได้ cos 0.5963 = 0.8274
ดังนั้น sec 0.5963 = 1 ≈ 1.2086
0.8274
1
6) เนื่องจาก cosec 1.3294 = sin 1.3294
จากตารางจะได้ sin 1.3294 = 0.9710
ดังนั้น cosec 1.3294 = 0.9710 1 ≈ 1.0297

ลองทำ�ดู (หน้า 44)


ให้หาค่าฟังก์ชันตรีโกณมิติในแต่ละข้อต่อไปนี้ โดยใช้ตารางแสดงค่าฟังก์ชันตรีโกณมิติ
1) sin 14 ำ 28′ 2) cos 78 ำ 12′ 3) tan 0.6759
แนวคิด 1) จากตารางจะได้ sin 14 ำ 20′ = 0.2476
sin 14 ำ 30′ = 0.2504
จากค่าของฟังก์ชันตรีโกณมิติข้างต้น จะได้ว่า
ค่าของมุมเพิ่มขึ้น 10′ ค่าของฟังก์ชันไซน์เพิ่มขึ้น 0.0028
ค่าของมุมเพิ่มขึ้น 8′ ค่าของฟังก์ชันไซน์เพิ่มขึ้น 0.0028
10 × 8 ≈ 0.0022
ดังนั้น sin 14 ำ 28′ ≈ 0.2476 + 0.0022 = 0.2498
2) จากตารางจะได้ c os 78 ำ 10′ = 0.2051
cos 78 ำ 20′ = 0.2022

27
จากค่าของฟังก์ชันตรีโกณมิติข้างต้น จะได้ว่า
ค่าของมุมเพิ่มขึ้น 10′ ค่าของฟังก์ชันโคไซน์ลดลง 0.0029
ค่าของมุมเพิ่มขึ้น 2′ ค่าของฟังก์ชันโคไซน์ลดลง 0.0029
10 × 2 ≈ 0.0006
ดังนั้น cos 78 ำ 12′ ≈ 0.2051 - 0.0006 = 0.2045
3) จากตารางจะได้ tan 0.6749 = 0.8002
tan 0.6778 = 0.8050
จากค่าของฟังก์ชันตรีโกณมิติข้างต้น จะได้ว่า
ค่าของจำานวนจริงเพิ่มขึ้น 0.0029 ค่าของฟังก์ชันแทนเจนต์เพิ่มขึ้น 0.0048
ค่าของจำานวนจริงเพิ่มขึ้น 0.0010 ค่าของฟังก์ชันแทนเจนต์เพิ่มขึ้น d
d 0.0010
จะได้ว่า 0.0048 = 0.0029
d = 0.0010
0.0029 × 0.0048 ≈ 0.0017
ดังนั้น tan 0.6759 ≈ 0.8002 + 0.0017 = 0.8019
ลองทำ�ดู (หน้า 45)
กำาหนด 0 ≤ θ ≤ π ให้หาค่าของ θ ที่ทำาให้
1) cos θ = 0.9013 2) sin θ = 0.6424
แนวคิด 1) จากตารางจะได้ cos 0.4480 = 0.9013
ดังนั้น θ มีค่าเท่ากับ 0.4480
2) เนื่องจาก sin θ = 0.6424 มีค่าอยู่ระหว่าง sin 0.6952 และ sin 0.6981
จากตารางจะได้ sin 0.6952 = 0.6406 และ sin 0.6981 = 0.6428
ค่าของฟังก์ชันไซน์เพิ่มขึ้น 0.0022 ค่าของจำานวนจริงเพิ่มขึ้น 0.0029
ค่าของฟังก์ชันไซน์เพิ่มขึ้น 0.0018 ค่าของจำานวนจริงเพิ่มขึ้น d
จะได้ว่า d 0.0018
0.0029 = 0.0022
d = 0.0018
0.0022 × 0.0029
≈ 0.0024
ดังนั้น sin (0.6952 + 0.0024) = 0.6424
sin 0.6976 = 0.6424
นั่นคือ θ มีค่าได้ 2 ค่า คือ 0.6976 หรือ π - 0.6976
28
แบบฝึ
กทั
กษะ 1.5 (หน้า 47)

ระดับพื้นฐาน

1. ให้หาค่าของฟงกชันตรีโกณมิติในแต่ละข้อต่อไปนี้โดยใช้ตารางค่าฟงกชันตรีโกณมิติ
1) sin 38 ำ 40′ 2) cos 62 ำ 28′
3) tan 0.1542 4) cot 1.1560
5) sec 41 ำ 6) cosec 77 ำ 10′
7) sin 42 ำ 18′ 8) tan 12 ำ 36′
แนวคิด 1) sin 38 ำ 40′ = 0.6248
2) cos 62 ำ 28′
จากตารางจะได้ cos 62 ำ 20′ = 0.4643
cos 62 ำ 30′ = 0.4617
ค่าของมุมเพิ่มขึ้น 10′ ค่าของฟังก์ชันโคไซน์ลดลง 0.0026
ค่าของมุมเพิ่มขึ้น 8′ ค่าของฟังก์ชันโคไซน์ลดลง 0.0026
10 × 8 ≈ 0.0021
ดังนั้น cos 62 ำ 28′ ≈ 0.4643 - 0.0021 = 0.4622
3) tan 0.1542 = 0.1554
4) cot 1.1560
จากตารางจะได้ cot 1.1548 = 0.4417
cot 1.1577 = 0.4383
ค่าจำานวนจริงเพิ่มขึ้น 0.0029 ค่าของฟังก์ชันโคแทนเจนต์ลดลง 0.0034
ค่าจำานวนจริงเพิ่มขึ้น 0.0012 ค่าของฟังก์ชันโคแทนเจนต์ลดลง d
d 0.0012
0.0034 = 0.0029
= 0.0012
0.0029 × 0.0034 ≈ 0.0014
ดังนั้น cot 1.1560 ≈ 0.4417 - 0.0014 = 0.4403
1
5) sec 41 ำ = cos 41 ำ
จากตารางจะได้ cos 41 ำ = 0.7547
1 ≈ 1.3250
ดังนั้น sec 41 ำ = 0.7547

29
1
6) เนื่องจาก cosec 77 ำ 10′ = sin 77 ำ 10′
จากตารางจะได้ sin 77 ำ 10′ = 0.9750
ดังนั้น cosec 77 ำ 10′ = 0.97501 ≈ 1.0256
7) sin 42 ำ 18′
จากตารางจะได้ sin 42 ำ 10′ = 0.6713
sin 42 ำ 20′ = 0.6734
ค่าของมุมเพิ่มขึ้น 10′ ค่าของฟังก์ชันไซน์เพิ่มขึ้น 0.0021
ค่าของมุมเพิ่มขึ้น 8′ ค่าของฟังก์ชันไซน์เพิ่มขึ้น 0.002110 × 8 ≈ 0.0017
ดังนั้น sin 42 ำ 18′ ≈ 0.6713 + 0.0017 = 0.6730
8) tan 12 ำ 36′
จากตารางจะได้ tan 12 ำ 30′ = 0.2217
tan 12 ำ 40′ = 0.2247
ค่าของมุมเพิ่มขึ้น 10′ ค่าของฟังก์ชันแทนเจนต์เพิ่มขึ้น 0.0030
ค่าของมุมเพิ่มขึ้น 6′ ค่าของฟังก์ชนั แทนเจนต์เพิม่ ขึน้ 0.0030
10 × 6 = 0.0018
ดังนั้น tan 12 ำ 36′ = 0.2217 + 0.0018 = 0.2235
2. ให้หาค่าของฟงกชันตรีโกณมิติในแต่ละข้อต่อไปนี้โดยใช้เครื่องคิดเลข
1) sin 63 ำ 2) tan 11 ำ
3) cos 0.7436 4) tan 0.4558
แนวคิด 1) MODE MODE 1 sin 6 3 =
≈ 0.8910
2) MODE MODE 1 tan 1 1 =
≈ 0.1944
3) MODE MODE 2 cos 0 . 7 4 3 6 =
≈ 0.7360
4) MODE MODE 2 tan 0 . 4 5 5 8 =
≈ 0.4902

30
ระดับกลาง
3. กําหนด 0 ≤ θ ≤ π ให้หาค่าของ θ ที่ทําให้
1) sin θ = 0.3700 2) cos θ = 0.9159
3) tan θ = 0.4765 4) cot θ = 1.5204
5) sec θ = 1.2232 6) cosec θ = 2.7902
7) tan θ = 0.4684 8) sin θ = 1.0785
แนวคิด 1) เนื่องจาก sin θ = 0.3700 มีค่าอยู่ระหว่าง sin 0.3782 กับ sin 0.3811
จากตารางจะได้ sin 0.3782 = 0.3692 และ sin 0.3811 = 0.3719
ค่าของฟังก์ชันไซน์เพิ่มขึ้น 0.0027 ค่าของจำานวนจริงต่างกัน 0.0029
ค่าของฟังก์ชันไซน์เพิ่มขึ้น 0.0008 ค่าของจำานวนจริงต่างกัน d
จะได้ว่า d 0.0008
0.0029 = 0.0027
d = 0.0008
0.0027 × 0.0029
≈ 0.0009

ดังนั้น sin (0.3782 + 0.0009) = 0.3700


sin 0.3791 = 0.3700
นั่นคือ θ มีได้ 2 ค่า คือ 0.3791 หรือ π - 0.3791
2) จากตารางจะได้ cos 0.4131 = 0.9159
ดังนั้น θ มีค่าเท่ากับ 0.4131
3) เนื่องจาก tan θ = 0.4765 มีค่าอยู่ระหว่าง tan 0.4422 กับ tan 0.4451
จากตารางจะได้ tan 0.4422 = 0.4734 และ tan 0.4451 = 0.4770
ค่าของฟังก์ชันแทนเจนต์เพิ่มขึ้น 0.0036 ค่าของจำานวนจริงต่างกัน 0.0029
ค่าของฟังก์ชันแทนเจนต์เพิ่มขึ้น 0.0031 ค่าของจำานวนจริงต่างกัน d
จะได้ว่า d 0.0031
0.0029 = 0.0036
d = 0.0031
0.0036 × 0.0029
≈ 0.0025
ดังนั้น tan (0.4422 + 0.0025) = 0.4765
tan 0.4447 = 0.4765
นั่นคือ θ มีค่าเท่ากับ 0.4447
31
4) จากตารางจะได้ cot 0.5818 = 1.5204
ดังนั้น θ มีค่าเท่ากับ 0.5818
5) เนื่องจาก sec θ = 1.2232
จะได้ cos θ = sec  1 = 1 ≈ 0.8175
θ 1.2232
จากตารางจะได้ cos 0.6138 = 0.8175
ดังนั้น θ มีค่าเท่ากับ 0.6138
6) เนื่องจาก cosec θ = 2.7902
จะได้ sin θ = cosec  1 = 1 ≈ 0.3584
θ 2.7902
จากตารางจะได้ sin 0.3665 = 0.3584
ดังนั้น θ มีค่าเท่ากับ 0.3665
7) เนื่องจาก tan θ = 0.4684 มีค่าอยู่ระหว่าง tan 0.4363 กับ tan 0.4392
จากตารางจะได้ tan 0.4363 = 0.4663 และ tan 0.4392 = 0.4699
ค่าของฟังก์ชันแทนเจนต์เพิ่มขึ้น 0.0036 ค่าของจำ�นวนจริงต่างกัน 0.0029
ค่าของฟังก์ชันแทนเจนต์เพิ่มขึ้น 0.0021 ค่าของจำ�นวนจริงต่างกัน d
d 0.0021
จะได้ว่า 0.0029 = 0.0036
d = 0.0021
0.0036 × 0.0029
≈ 0.0017
ดังนั้น tan (0.4363 + 0.0017) = 0.4684
tan 0.4380 = 0.4684
ดังนั้น θ มีค่าเท่ากับ 0.4381
8) เนื่องจาก sec θ = 1.0785
จะได้ cos θ = sec  1 = 1 ≈ 0.9272
θ 1.0785
จากตารางจะได้ cos 0.3840 = 0.9272
ดังนั้น θ มีค่าเท่ากับ 0.3840

32
∧ ∧
4. ถ้า ∆ ABC เปนรูปสามเหลี่ยมมุมฉากที่มี CAB เปนมุมฉาก ABC เท่ากับ 32 องศา และ
มีด้านตรงข้ามมุมฉากยาว 14 เซนติเมตร อยากทราบว่า ความยาวของด้าน AB และ AC
เปนเท่าใด
แนวคิด C จากรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ABC
AB
จะได้ cos 32 ำ = BC
14 0.8480 = AB
14
จะได้ AB = (0.8480)(14)
B 32 ำ A
= 11.872
ดังนั้น ความยาวของด้าน AB เท่ากับ 11.872 เซนติเมตร
และ sin 32 ำ = AC
BC
0.5299 = AC14
จะได้ AC = (0.5299)(14)
= 7.4186
ดังนั้น ความยาวของด้าน AC เท่ากับ 7.4186 เซนติเมตร

5. ถ้า ∆ PQR เปนรูปสามเหลี่ยมมุมฉากที่มี RPQ เปนมุมฉาก ด้านตรงข้ามมุมฉากยาว

13 เซนติเมตร และด้านประกอบมุมฉากด้านหนึ่งยาว 5 เซนติเมตร อยากทราบว่า PQR

และ QRP มีขนาดเปนเท่าใด
แนวคิด R จากรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก PQR
QP
จะได้ cos Q = QR
13
cos Q = 135
Q 5 P cos Q ≈ 0.3846
เนื่องจาก cos Q ≈ 0.3846 มีค่าอยู่ระหว่าง cos 67 ำ 30′ กับ cos 67 ำ 40′
จากตารางจะได้ cos 67 ำ 30′ = 0.3827 และ cos 67 ำ 20′ = 0.3854
ค่าของฟังก์ชันโคไซน์ลดลง 0.0027 ค่าของมุมต่างกัน 10′
ค่าของฟังก์ชันโคไซน์ลดลง 0.0019 ค่าของมุมต่างกัน
10′ × 0.0019 ≈ 7′
0.0027

33
จะได้ว่า cos (67 ำ 30′ - 7′) = 0.3846
นั่นคือ cos 67 ำ 23′ = 0.3846
ดังนั้น มุม Q มีขนาด 67 ำ 23′
มุม R มีขนาด 90 ำ - 67 ำ 23′ = 22 ำ 37′

ระดับท้าทาย

6. เส้นตรงเส้นหนึ่งตัดเส้นตรงคู่หนึ่งซึ่งมีมุม A และมุม B เปนมุมที่อยู่ภายในข้างเดียวกันของ


เส้นตัด ถ้า cot A = 1.3270 และ tan B = 0.3249 อยากทราบว่า เส้นตรงคู่นี้ขนานกัน
หรือไม่ เพราะเหตุใด
แนวคิด จากสมบัติของเส้นขนานที่กล่าวว่า “เส้นตรงหนึ่งเส้นตัดเส้นตรงคู่หนึ่ง เส้นตรง
คูน่ จี้ ะขนานกันก็ตอ่ เมือ่ มุมภายในทีอ่ ยูบ่ นข้างเดียวกันของเส้นตัดมีขนาดรวมกัน
เท่ากับ 180 ำ”
จากตารางจะได้ cot 37 ำ = 1.3270 และ tan 18 ำ = 0.3249
นั่นคือ A = 37 ำ, B = 18 ำ และ A + B = 55 ำ
ดังนั้น เส้นตรงคู่นี้ไม่ขนานกัน
ลองทำ�ดู (หน้า 51)
เขียนกราฟของ y = sin x, y = 12 sin x และ y = 14 sin x บนระบบพิกัดฉากเดียวกัน
เมื่อ -2π ≤ x ≤ 2π พร้อมทั้งหาเรนจ์ คาบ และแอมพลิจูดของฟังก์ชันทั้งสาม
แนวคิด π 3π 2π
x 0 2 π 2
y = sin x 0 1 0 -1 0
y = 12 sin x 0 1 0 - 12 0
2
y = 14 sin x 0 1 0 - 14 0
4

34
จากตารางเขียนกราฟได้ ดังนี้
Y
2 y = sin x
y = 12 sin x
1
y = 14 sin x
0 X
-2π - 32π -π - π2 π
2 π 32π 2π
-1
-2

จากกราฟจะได้เรนจ์ คาบ และแอมพลิจูดของฟังก์ชันทั้งสาม ดังนี้


ฟงกชัน เรนจ คาบ แอมพลิจูด
y = sin x [-1, 1] 2π 1 - (-1) = 1
2
1 - (- 1)
y = 12 sin x [- 12, 12] 2π 2 2 =1
2 2
1 - (- 1)
y = 14 sin x [- 14, 14] 2π 4 4 =1
2 4

ลองทำ�ดู (หน้า 52)


เขียนกราฟของ y = 12 sin 2x เมื่อ -2π ≤ x ≤ 2π พร้อมทั้งหาเรนจ์ คาบ และแอมพลิจูด
แนวคิด จาก y = 12 sin 2x จะได้ a = 12 และ n = 2
ดังนั้น เรนจ์ของฟังก์ชัน เท่ากับ [-a, a] = [- 12, 12]
คาบของฟังก์ชัน เท่ากับ 2nπ = 22π = π
แอมพลิจูดของฟังก์ชัน เท่ากับ ∙a∙ = 12 = 12
เขียนกราฟของ y = 12 sin 2x ได้ ดังนี้
Y
1

0 X
-2π - 32π -π - π2 π
2 π 32π 2π
-1

35
ลองทำ�ดู (หน้า 53)
ให้หาเรนจ์ คาบ และแอมพลิจูดของ y = 2 sin x2
แนวคิด จาก y = 2 sin x2 จะได้ a = 2 และ n = 12
ดังนั้น เรนจ์ของฟังก์ชัน เท่ากับ [-a, a] = [-2, 2]
คาบของฟังก์ชัน เท่ากับ 2nπ = 21π = 4π
2
แอมพลิจูดของฟังก์ชัน เท่ากับ ∙ a ∙ = ∙ 2 ∙ = 2
ลองทำ�ดู (หน้า 54)
เขียนกราฟของ y = 3 cos 3x เมื่อ -2π ≤ x ≤ 2π พร้อมทั้งหาเรนจ์ คาบ และแอมพลิจูด
แนวคิด จาก y = 3 cos 3x จะได้ a = 3 และ n = 3
ดังนั้น เรนจ์ของฟังก์ชัน เท่ากับ [-a, a] = [-3, 3]
คาบของฟังก์ชัน เท่ากับ 2nπ = 23π
แอมพลิจูดของฟังก์ชัน เท่ากับ ∙ a ∙ = ∙ 3 ∙ = 3
เขียนกราฟของ y = 3 cos 3x ได้ ดังนี้
Y
3
2
1

0 X
-2π - 32π -π - π2 π
2 π 32π 2π
-1
-2
-3

ให้หาเรนจ์ คาบ และแอมพลิจูดของ y = 3 cos x3


แนวคิด จาก y = 3 cos x3 จะได้ a = 3 และ n = 13
ดังนั้น เรนจ์ของฟังก์ชัน เท่ากับ [-a, a] = [-3, 3]
คาบของฟังก์ชัน เท่ากับ 2nπ = 21π = 6π
3
แอมพลิจูดของฟังก์ชัน เท่ากับ ∙ a ∙ = ∙ 3 ∙ = 3
36
ลองทำ�ดู (หน้า 55)
เขียนกราฟของ y = 3 sin 2(x - π4 )
แนวคิด เ นื่องจาก กราฟของ y = 3 sin 2(x - π4 ) เป็นกราฟที่เกิดจากการเลื่อนขนาน
กราฟของ y = 3 sin 2x ไปทางขวา π4 หน่วย
ดังนั้น การเขียนกราฟของ y = 3 sin 2(x - π4 ) จึงมีขั้นตอน ดังนี้
ขั้นตอนที่ 1 เขียนกราฟของ y = 3 sin 2x
ขั้นตอนที่ 2 เลื่อนกราฟของ y = 3 sin 2x ทางขวา π4 หน่วย จะได้กราฟของ
y = 3 sin 2(x - π4 ) ดังรูป
Y
y = 3 sin 2x
3
2 y = 3 sin 2(x - π4 )
1

0 3π 5π X
- π4 π π π
4 2 4 4
-1
-2
-3

ลองทำ�ดู (หน้า 56)


เขียนกราฟของ y = -2 cos (2x - π3 ) + 3
แนวคิด น ำา y = -2 cos (2x - π3 ) + 3 มาจัดรูปใหม่ จะได้ y = -2 cos 2 (x - π6 ) + 3
จะเป็นฟังก์ชันที่มี 1 คาบ เท่ากับ 22π = π และแอมพลิจูด เท่ากับ ∙-3∙ = 3
เนื่องจาก กราฟของ y = -2 cos 2 (x - π6 ) เป็นกราฟที่เกิดจากการเลื่อนขนาน
กราฟของ y = -2 cos 2x ไปทางขวา π6 หน่วย แล้วเลื่อนกราฟขึ้น 3 หน่วย
ดังนั้น การเขียนกราฟของ y = -2 cos 2 (x - π6 ) + 3 จึงมีขั้นตอน ดังนี้

37
ขั้นตอนที่ 1 เขียนกราฟของ y = -2 cos 2x
ขั้นตอนที่ 2 เลื่อนกราฟของ y = -2 cos 2x ให้ขนานกับแกน X ไปทางขวา
π หน่วย จะได้กราฟของ -2 cos 2 x - π แล้วเลื่อนกราฟของ
6 ( 6)
π
-2 cos 2 (x - 6 ) ขึ้น 3 หน่วย จะได้กราฟของ
y = -2 cos 2 (x - π6 ) + 3 ดังรูป
Y
5
4
y = -2 cos (2x - π3 ) + 3
3
2
1
X
- π4 0 π
4
π 3π
2 4 π 5π 3π
4 2
-1
y = -2 cos (2x - π3 )
-2 y = -2 cos 2x

แบบฝึ
กทั
กษะ 1.6 (หน้า 59)

ระดับพื้นฐาน

1. ให้หาคาบและแอมพลิจูดของฟงกชันในแต่ละข้อต่อไปนี้
1) y = 5 sin x 2) y = 12 sin x
3) y = sin 8x 4) y = sin x3
5) y = 6 cos x2 6) y = 12 cos x2
7) y = 3 cos x 8) y = 12 cos 4x
แนวคิด 1) จาก y = 5 sin x จะได้ a = 5 และ n = 1
ดังนั้น คาบของฟังก์ชัน เท่ากับ 2nπ = 21π = 2π
แอมพลิจูดของฟังก์ชัน เท่ากับ ∙ a ∙ = ∙ 5 ∙ = 5
38
2) จาก y = 12  sin x จะได้ a = 12 และ n = 1
ดังนั้น คาบของฟังก์ชัน เท่ากับ 2nπ = 21π = 2π
แอมพลิจูดของฟังก์ชัน เท่ากับ ∙ a ∙ =  12   = 12
3) จาก y = sin 8x จะได้ a = 1 และ n = 8
ดังนั้น คาบของฟังก์ชัน เท่ากับ 2nπ = 28π = π4
แอมพลิจูดของฟังก์ชัน เท่ากับ ∙ a ∙ = ∙ 1 ∙ = 1
4) จาก y = sin x3 จะได้ a = 1 และ n = 13
ดังนั้น คาบของฟังก์ชัน เท่ากับ 2nπ = 21π = 6π
3
แอมพลิจูดของฟังก์ชัน เท่ากับ ∙ a ∙ = ∙ 1 ∙ = 1
5) จาก y = 6 cos x2 จะได้ a = 6 และ n = 12
ดังนั้น คาบของฟังก์ชัน เท่ากับ 2nπ = 21π = 4π
2
แอมพลิจูดของฟังก์ชัน เท่ากับ ∙ a ∙ = ∙ 6 ∙ = 6
6) จาก y = 12  cos  x2 จะได้ a = 12 และ n = 12
ดังนั้น คาบของฟังก์ชัน เท่ากับ 2nπ = 21π = 4π
2
แอมพลิจูดของฟังก์ชัน เท่ากับ ∙ a ∙ =  12  = 12
7) จาก y = 3 cos x จะได้ a = 3 และ n = 1
ดังนั้น คาบของฟังก์ชัน เท่ากับ 2nπ = 21π = 2π
แอมพลิจูดของฟังก์ชัน เท่ากับ ∙ a ∙ = ∙ 3 ∙ = 3
8) จาก y = 12  cos 4x จะได้ a = 12 และ n = 4
ดังนั้น คาบของฟังก์ชัน เท่ากับ 2nπ = 24π = π2
แอมพลิจูดของฟังก์ชัน เท่ากับ ∙ a ∙ =  12  = 12

39
นกราฟของ y = a sin (n อ y = a cos (nx) ในแต่ละข้อต่อไปนี ้ เมือ่ -2π ≤ x ≤ 2π
2. เขียนกราฟของ y = a sin (nx) หรื
1) y = 4 sin x 2) y = sin 4x
3) y = 13 sin x2 4) y = 25 sin 2x
5) y = 6 cos x 6) y = 3 cos x4
7) y = cos x3 8) y = 3 cos 4x
แนวคิด 1) จาก y = 4 sin x จะได้ a = 4 และ n = 1
แสดงว่า 1 คาบ เท่ากับ 2nπ = 21π = 2π
ด ังนั้น ค่า x ตั้งแต่ -2π ถึง 2π จะเขียนกราฟ y = 4 sin x ได้ 2 คาบ
และแอมพลิจูดเท่ากับ ∙ a∙ = ∙ 4 ∙ = 4
เขียนกราฟของ y = 4 sin x ได้ ดังนี้
Y
4
3
2
1
X
-2π - 32π -π - π2 -10 π
2 π 3π 2π
2
-2
-3
-4
2) จาก y = sin 4x จะได้ a = 1 และ n = 4
แสดงว่า 1 คาบ เท่ากับ 2nπ = 24π = π2
ด ังนั้น ค่า x ตั้งแต่ -2π ถึง 2π จะเขียนกราฟ y = sin 4x ได้ 8 คาบ
และแอมพลิจูดเท่ากับ ∙ a∙ = ∙ 1 ∙ = 1
เขียนกราฟของ y = sin 4x ได้ ดังนี้
Y
2
1

0 X
-2π - 32π -π - π2 π
2 π 32π 2π
-1
-2

40
3) จาก y = 13 sin x2 จะได้ a = 13 และ n = 12
แสดงว่า 1 คาบ เท่ากับ 2nπ = 21π = 4π
2
ดังนั้น ค่า x ตั้งแต่ -2π ถึง 2π จะเขียนกราฟ y = 13 sin x2 ได้ 1 คาบ
และแอมพลิจูดเท่ากับ ∙ a∙ = 13 = 13
เขียนกราฟของ y = 13 sin x2 ได้ ดังนี้
Y
0.8
0.6
0.4
0.2
X
-2π - 32π -π - π2 -0.20 π
2 π 3π 2π
2
-0.4
-0.6
-0.8

4) จาก y = 25 sin 2x จะได้ a = 25 และ n = 2


แสดงว่า 1 คาบ เท่ากับ 2nπ = 22π = π
ดังนั้น ค่า x ตั้งแต่ -2π ถึง 2π จะเขียนกราฟ y = 25 sin 2x ได้ 4 คาบ
และแอมพลิจูดเท่ากับ ∙ a∙ = 25 = 25
เขียนกราฟของ y = 25 sin 2x ได้ ดังนี้
Y
0.8
0.6
0.4
0.2
X
-2π - 32π -π - π2 -0.20 π
2 π 3π 2π
2
-0.4
-0.6
-0.8

5) จาก y = 6 cos x จะได้ a = 6 และ n = 1


แสดงว่า 1 คาบ เท่ากับ 2nπ = 21π = 2π
ดังนั้น ค่า x ตั้งแต่ -2π ถึง 2π จะเขียนกราฟ y = 6 cos x ได้ 2 คาบ
และแอมพลิจูดเท่ากับ ∙ a∙ = ∙6∙ = 6

41
เขียนกราฟของ y = 6 cos x ได้ ดังนี้
Y
6
5
4
3
2
1
X
-2π - 32π - π - π2 -10 π π
2
3π 2π
2
-2
-3
-4
-5
-6

6) จาก y = 3 cos x4 จะได้ a = 3 และ n = 14


แสดงว่า 1 คาบ เท่ากับ 2nπ = 21π = 8π
4
ดังนั้น ค่า x ตั้งแต่ -2π ถึง 2π จะเขียนกราฟ y = 3 cos x ได้ 1 คาบ
4 2
และแอมพลิจูดเท่ากับ ∙ a∙ = ∙ 3 ∙ = 3
เขียนกราฟของ y = 3 cos x4 ได้ ดังนี้
Y
3
2
1

0 X
-2π - 32π -π - π2 π
2 π 32π 2π
-1

7) จาก y = cos x3 จะได้ a = 1 และ n = 13


แสดงว่า 1 คาบ เท่ากับ 2nπ = 21π = 6π
3
ดังนั้น ค่า x ตั้งแต่ -2π ถึง 2π จะเขียนกราฟ y = cos x ได้ 3 คาบ
3 4
และแอมพลิจูดเท่ากับ ∙ a∙ = ∙ 1 ∙ = 1

42
เขียนกราฟของ y = cos x3 ได้ ดังนี้
Y
3
2
1

0 X
-2π - 32π -π - π2 π
2 π 32π 2π
-1

8) จาก y = 3 cos 4x จะได้ a = 3 และ n = 4


แสดงว่า 1 คาบ เท่ากับ 2nπ = 24π = π2
ดังนั้น ค่า x ตั้งแต่ -2π ถึง 2π จะเขียนกราฟ y = 3 cos 4x ได้ 8 คาบ
และแอมพลิจูดเท่ากับ ∙ a∙ = ∙ 3 ∙ = 3
เขียนกราฟของ y = 3 cos 4x ได้ ดังนี้
Y
3
2
1

0 X
-2π - 32π -π - π2 π
2 π 32π 2π
-1
-2
-3

3. ให้หาเรนจ คาบ และแอมพลิจูดของฟงกชันตรีโกณมิติในแต่ละข้อต่อไปนี้


1) y = 14 sin x3 2) y = 16 sin 45 x
3) y = 17 cos x8 4) y = 38 cos 34 x
แนวคิด 1) จาก y = 14 sin x3 จะได้ a = 14 และ n = 13
ดังนั้น เรนจ์ของฟังก์ชัน เท่ากับ [-a, a] = [- 14, 14]
คาบของฟังก์ชัน เท่ากับ 2nπ = 21π = 6π
3
แอมพลิจูดของฟังก์ชัน เท่ากับ ∙ a ∙ = 14 = 14

43
2) จาก y = 16 sin 45 x จะได้ a = 16 และ n = 45
ดังนั้น เรนจ์ของฟังก์ชัน เท่ากับ [-a, a] = [- 16, 16]
คาบของฟังก์ชัน เท่ากับ 2nπ = 24π = 52π
5
แอมพลิจูดของฟังก์ชัน เท่ากับ ∙ a ∙ = 16 = 16
3) จาก y = 17 cos x8 จะได้ a = 17 และ n = 18
ดังนั้น เรนจ์ของฟังก์ชัน เท่ากับ [-a, a] = [- 17, 17]
คาบของฟังก์ชัน เท่ากับ 2nπ = 21π = 16π
8
แอมพลิจูดของฟังก์ชัน เท่ากับ ∙ a ∙ = 17 = 17
4) จาก y = 38 cos 34 x จะได้ a = 38 และ n = 34
ดังนั้น เรนจ์ของฟังก์ชัน เท่ากับ [-a, a] = [- 38, 38]
คาบของฟังก์ชัน เท่ากับ 2nπ = 23π = 83π
4
แอมพลิจูดของฟังก์ชัน เท่ากับ ∙ a ∙ = 38 = 38

ระดับกลาง
4. ให้หาคาบและแอมพลิจูดของฟงกชันในแต่ละข้อต่อไปนี้
1) y = 45 sin 7x - 1 2) y = 47 sin (2x - 34π)
3) y = 27 cos 8x + 35 4) y = 2 cos (5x + 78π) + 1
แนวคิด 1) จาก y = 45 sin 7x - 1 จะได้ a = 45 และ n = 7
ดังนั้น คาบของฟังก์ชัน เท่ากับ 2nπ = 27π
แอมพลิจูดของฟังก์ชัน เท่ากับ ∙ a ∙ = 45 = 45
2) จาก y = 47 sin (2x - 34π) นำามาจัดรูปรูปใหม่
จะได้ y = 47 sin 2 (x - 38π)
แสดงว่า a = 47 และ n = 2
44
ดังนั้น คาบของฟังก์ชัน เท่ากับ 2nπ = 22π = π
แอมพลิจูดของฟังก์ชัน เท่ากับ ∙ a ∙ = 47 = 47
3) จาก y = 27 cos 8x + 35 จะได้ a = 27 และ n = 8
ดังนั้น คาบของฟังก์ชัน เท่ากับ 2nπ = 28π = π4
แอมพลิจูดของฟังก์ชัน เท่ากับ ∙ a ∙ = 27 = 27
4) จาก y = 2 cos (5x + 78π) + 1 นำามาจัดรูปใหม่
จะได้ y = 2 cos 5 (x + 740π) + 1
แสดงว่า a = 2 และ n = 5
ดังนั้น คาบของฟังก์ชัน เท่ากับ 2nπ = 25π
แอมพลิจูดของฟังก์ชัน เท่ากับ ∙ a ∙ = ∙ 2 ∙ = 2
นกราฟของ y = a sin (nx) หรือ y = a cos (nx) ในแต่ละข้อต่อไปนี ้ เมือ่ -2π ≤ x ≤ 2π
5. เขียนกราฟของ y = a sin (n
1) y = 3 sin 2x + 3 2) y = 3 sin 4 (x + π8 )
3) y = 2 sin 3 (x - π6 ) + 3 4) y = 74 cos 3x - 2
5) y = 23 cos x2 + 1 6) y = 35 cos (2x - π8 ) + 10
แนวคิด 1) จาก y = 3 sin 2x + 3 จะได้ a = 3 และ n = 2
แสดงว่า 1 คาบ เท่ากับ 2nπ = 22π = π
ดังนั้น ค่า x ตั้งแต่ -2π ถึง 2π จะเขียนกราฟ y = 3 sin 2x + 3 ได้ 4 คาบ
และแอมพลิจูดเท่ากับ ∙ a ∙ = ∙ 3 ∙ = 3
เนื่องจาก กราฟของ y = 3 sin 2x + 3 เป็นกราฟที่เกิดจากการเลื่อนกราฟ
ของ y = 3 sin 2x ขึ้นไปด้านบน 3 หน่วย
เขียนกราฟของ y = 3 sin 2x + 3 ได้ ดังนี้
Y
6
5
4
3
2 y = 3 sin 2x + 3
1
X
-2π - 32π -π - π2 -10 π
2 π 3π 2π
2
-2 y = 3 sin 2x
-3

45
2) จาก y = 3 sin 4(x + π8) จะได้ a = 3 และ n = 4
แสดงว่า 1 คาบ เท่ากับ 2nπ = 24π = π2
ดังนัน้ ค่า x ตัง้ แต่ -2π ถึง 2π จะเขียนกราฟ y = 3 sin 4(x + π8) ได้ 8 คาบ
และแอมพลิจูดเท่ากับ ∙ a ∙ = ∙ 3 ∙ = 3
เนื่องจาก กราฟของ y = 3 sin 4(x + π8) เป็นกราฟที่เกิดจากการเลื่อนกราฟ
ของ y = 3 sin 4x ไปทางซ้าย π8 หน่วย
เขียนกราฟของ y = 3 sin 4(x + π8) ได้ ดังนี้
Y
3
2
1 y = 3 sin 4 (x + π8 )
0 X
-2π - 32π -π - π2 π
2 π 32π 2π
-1
y = 3 sin 4x
-2
-3

3) จาก y = 2 sin 3(x - π6) + 3 จะได้ a = 2 และ n = 3


แสดงว่า 1 คาบ เท่ากับ 2nπ = 23π
ดังนั้น ค่า x ตั้งแต่ -2π ถึง 2π จะเขียนกราฟ y = 2 sin 3(x - π) + 3 ได้ 6 คาบ
6
และแอมพลิจูดเท่ากับ ∙ a ∙ = ∙ 2 ∙ = 2
เนื่องจาก กราฟของ y = 2 sin 3(x - π6) เป็นกราฟที่เกิดจากการเลื่อนกราฟ
ของ y = 2 sin 3x ไปทางขวา π6 หน่วย และเลื่อนขึ้นไปด้านบน 3 หน่วย
เขียนกราฟของ y = 2 sin 3(x - π6) + 3 ได้ ดังนี้

46
Y
5
4
3 y = 2 sin 3(x - π6 ) + 3
2
1

0 X
-2π - 32π -π - π2 π
2 π 32π 2π
-1 y = 2 sin 3x
-2

4) จาก y = 74 cos 3x - 2 จะได้ a = 74 และ n = 3


แสดงว่า 1 คาบ เท่ากับ 2nπ = 23π
ดังนั้น ค่า x ตั้งแต่ -2π ถึง 2π จะเขียนกราฟ y = 7 cos 3x - 2 ได้ 6 คาบ
4
และแอมพลิจูดเท่ากับ ∙ a ∙ = 74 = 74
เนื่องจากกราฟของ y = 74 cos 3x - 2 เป็นกราฟที่เกิดจากการเลื่อนกราฟ
ของ y = 74 cos 3x ลงมาด้านล่าง 2 หน่วย
เขียนกราฟของ y = 74 cos 3x - 2 ได้ ดังนี้
Y
2 y = 74 cos 3x
1

0 X
-2π - 32π -π - π2 π
2 π 32π 2π
-1
-2
y = 74 cos 3x - 2
-3
-4

47
5) จาก y = 23 cos x2 + 1 จะได้ a = 23 และ n = 12
แสดงว่า 1 คาบ เท่ากับ 2nπ = 21π = 4π
2
ดังนั้น ค่า x ตั้งแต่ -2π ถึง 2π จะเขียนกราฟ y = 2 cos x + 1 ได้ 1 คาบ
3 2
2
และแอมพลิจูดเท่ากับ ∙ a ∙ = 3 = 3 2
เนื่องจากกราฟของ y = 23 cos x2 + 1 เป็นกราฟที่เกิดจากการเลื่อนกราฟ
ของ y = 23 cos x2 ขึ้นไปด้านบน 1 หน่วย
เขียนกราฟของ y = 23 cos x2 + 1 ได้ ดังนี้
Y
2
1

0 X
-2π - 32π -π - π2 π
2 π 32π 2π
-1

6) จาก y = 35 cos (2x - π8 ) + 10 นำามาจัดรูปใหม่ จะได้


y = 35 cos 2 (x - 16 π + 10 จะได้ a = 3 และ n = 2
) 5
แสดงว่า 1 คาบ เท่ากับ 2nπ = 22π = π
ดังนั้น ค่า x ตั้งแต่ -2π ถึง 2π จะเขียนกราฟ y = 3 cos 2 (x - π ) + 10
5 16
ได้ 4 คาบ และแอมพลิจูดเท่ากับ ∙ a ∙ = 35 = 35
เนื่องจาก กราฟของ y = 35 cos 2 (x - 16π + 10 เป็นกราฟที่เกิดจากการ
)
3 π
เลื่อนกราฟของ y = 5 cos 2x ไปทางขวา 16 หน่วย และเลื่อนขึ้นไปด้านบน
10 หน่วย

48
เขียนกราฟของ y = 35 cos 2 (x - 16
π + 10 หรือ y = 3 cos 2x - π + 10
) 5 ( 8)
ได้ ดังนี้
Y
11 y = 35 cos (2x - π8 ) + 10
10
9
8
7
6
5
4
3
2
1 y = 35 cos 2x
X
-2π - 32π -π - π2 0 π
2 π 3π 2π
2

ระดับท้าทาย

6. ให้เขียนฟงกชันตรีโกณมิติจากกราฟที่กําหนดให้ต่อไปนี้
Y
2
1

0 X
-2π - 32π -π - π2 π
2 π 32π 2π
-1
-2

แนวคิด จากกราฟ ในช่วง -2π ≤ x ≤ 2π มี 6 คาบ


จะได้ 1 คาบ เท่ากับ 46π = 23π
แอมพลิจูดเท่ากับ ∙ a ∙ = ∙ -2 ∙ = 2
เมื่อเทียบกับรูปทั่วไป y = a cos(nx), n > 0
จะได้ y = -2 cos 3x

49
Thinking Time (หน้า 64)
ให้แสดงว่า cot (α + β) = cot α cot β - 1 cot α cot β + 1
cot β + cot α และ cot (α - β) = cot β - cot α
แนวคิด cot (α + β) = tan(α1 + β)
1
= tan α + tan β
1 - tan α tan β
= 1 - tan α tan β
tan α + tan β
1 - cot α1 cot β
= 1 1
cot α + cot β
cot α cot β - 1
= cot cot α cot β
β + cot α
cot α cot β
= cot α cot β - 1
cot β + cot α
cot (α - β) = tan(α1 - β)
1
= tan α - tan β
1 + tan α tan β
= 1 + tan α tan β
tan α - tan β
1 + cot α1 cot β
= 1 1
cot α - cot β
cot α cot β + 1
= cot cot α cot β
β - cot β
cot α cot β
= cot α cot β + 1
cot β - cot α
ลองทำ�ดู (หน้า 65)
ให้หาค่าของ
1) sin (π6 - π4 ) 2) cos (60 ำ + 45 ำ)

50
แนวคิด 1) จาก sin (α - β) = sin α cos β - cos α sin β
จะได้ sin (π6 - π4 ) = sin π6 cos π4 - cos π6 sin π4
= ( 12 )( 22 ) - ( 32 )( 22 )
= 2 - 6
4
ดังนั้น π π
sin ( 6 - 4 ) = 4 2 - 6
2) จาก cos (α + β) = cos α cos β - sin α sin β
จะได้ cos (60 ำ + 45 ำ) = cos 60 ำ cos 45 ำ - sin 60 ำ sin 45 ำ
= ( 12 )( 22 ) - ( 32 )( 22 )
= 2 - 6
4
ดังนั้น cos (60 ำ + 45 ำ) = 2 - 6
4
ลองทำ�ดู (หน้า 66)
ให้หาค่าของ
π
1) tan 12 2) cos 300 ำ
π = tan π - π
แนวคิด 1) จาก tan 12 ( 3 4)
tan α - tan β
และ tan (α - β) = 1 + tan α tan β
π = tan π - π
จะได้ tan 12 (3 4)
tan π3 - tan π4
=
1 + tan π3 tan π4
= 3 - 1
1 + 3 (1)
= 3 - 1 × 1 - 3
1 + 3 1 - 3
= 3 - 3 - 1 +
1 - 3
3
= 2 3 - 4
-2

51
= 2 - 3
ดังนั้น π = 2 - 3
tan 12
2) จาก cos 300 ำ = cos (360 ำ - 60 ำ)
และ cos (α - β) = cos α cos β + sin α sin β
จะได้ cos 300 ำ = cos (360 ำ - 60 ำ)
= cos 360 ำำ cos 60 ำำ + sin 360 ำำ sin 60 ำำ
= 1 ( 12 ) + 0 ( 32 )
= 12
ดังนั้น cos 300 ำ = 12

ให้หาค่าของ
1) tan (360 ำ + α) เมื่อ 0 < α < 90 ำ 2) sin 135 ำ
แนวคิด 1) จาก tan α + tan β
tan (α + β) = 1 - tan α tan β

tan 360 ำ + tan α


จะได้ tan (360 ำ + α) = 1 - tan 360 ำ tan α
= 0 + tan
1 - 0
α

= tan α
ดังนั้น tan (360 ำ + α) = tan α
2) จาก sin 135 ำ = sin (180 ำ - 45 ำ)
= sin 180 ำ cos 45 ำำ - cos 180 ำำ sin 45 ำำ
= 0 ( 22 ) - (-1) ( 22 )
= 22
ดังนั้น sin 135 ำ = 22
ลองทำ�ดู (หน้า 68)
กำาหนด sin A = - 45 และ cos B = 12 เมื่อ 32π < A < 2π และ 0 < B < π2 ให้หา tan (A - B)

52
แนวคิด จาก sin A = - 45 เมื่อ 32π < A < 2π
Y
จากทฤษฎีบทพีทาโกรัส จะได้ว่า 1
x2 + (- 45 )2 = 12 เมื่อ x > 0
x = ± 35 A
-1 O (1, 0)X
แต่ x > 0 จะได้ x = 35
ดังนั้น cos A = 35 -1 (x, - 45 )
จาก cos B = 12 เมื่อ 0 < B < π2
จากทฤษฎีบทพีทาโกรัส จะได้ว่า Y
( 12 )2 + y2 = 12 เมื่อ y > 0 1 ( 12  , y)
y = ±  23
B X
แต่ y > 0 จะได้ y = 23 -1 O (1, 0)

ดังนั้น sin B = 23
-1
sin A - 45 4
จากข้อก�ำหนด จะได้ว่า tan A = cos A = 3 = - 3
5
3
sin B
tan B = cos B = 1 = 32
2
ดังนั้น tan (A - B) = 1tan A - tan B
+ tan A tan B
- 43 - 3
=
1 + (- 43 )( 3)
-4 - 3  3
= 3
3 - 4  3
3
= -4 - 3  3
3 - 4  3
นั่นคือ tan (A - B) = -4 - 3  3
3 - 4  3

53
ลองทำ�ดู (หน้า 69)
กำาหนด 5 sin A + 4 = 0 และ tan B + 1 = 0 เมื่อ 270 ำ < A < 360 ำ และ 90 ำ < B < 180 ำ
ให้หาค่าของ sin (A + B)
แนวคิด จาก 5 sin A + 4 = 0 เมื่อ 270 ำ < A < 360 ำ
จะได้ sin A = - 45
Y
จากทฤษฎีบทพีทาโกรัส จะได้ว่า 1
x2 + (- 45 )2 = 12 เมื่อ x > 0
x = ± 35 A X
-1 O (1, 0)
แต่ x > 0 จะได้ x = 5 3
ดังนั้น cos A = 35 -1 (x, - 45 )
จาก tan B + 1 = 0 เมื่อ 90 ำ < A < 180 ำ Y
1
จะได้ tan B = -1
2 1
sin B = 2 เมื่อ y > 0 B
cos B - 2 -1 O (1, 0)X
2
ดังนั้น sin B = 22 -1
จากข้อกำาหนด จะได้ว่า sin A = - 45 และ cos A = 35
sin B = 22 และ cos B = - 22
ดังนั้น sin (A + B) = sin A cos B + cos A sin B
= (- 45 )(- 22 ) + ( 35 )( 22 )
= 4 10 2 + 3 10 2
นั่นคือ sin (A + B) = 7 10 2

54
ลองทำ�ดู (หน้า 70)
ให้หาค่าของ
tan 38π + tan 724π
1) 2) sin 118 ำ cos 25 ำ - cos 118 ำ sin 25 ำ
1 - tan 38π tan 724π
tan 38π + tan 724π 3π + 7π )
แนวคิด 1) จาก = tan ( 8 24
1 - tan 38π tan 724π
= tan 1624π
= tan 23π
= - 3
tan 38π + tan 724π
ดังนั้น = - 3
1 - tan 38π tan 724π
2) sin 118 ำ cos 25 ำ - cos 118 ำ sin 25 ำ = sin (118 ำ - 25 ำ)
= sin 93 ำ
≈ 0.9986

ดังนั้น sin 118 ำ cos 25 ำ - cos 118 ำ sin 25 ำ ≈ 0.9986

ให้หาค่าของ sin A cos (60 ำ ำ - A) + cos A sin (60 ำำ - A)


cos A cos (30 ำำ - A) - sin A sin (30 ำำ - A)
แนวคิด sin A cos (60 ำำ - A) + cos A sin (60 ำำ - A) = sin [A + (60 ำำ - A)]
cos A cos (30 ำำ - A) - sin A sin (30 ำำ - A) cos [A + (30 ำำ - A)]
sin 60 ำำ
= cos 30 ำ ำ
3
= 2
3
2
= 1
ดังนั้น sin A cos (60 ำ ำ - A) + cos A sin (60 ำำ - A)
cos A cos (30 ำำ - A) - sin A sin (30 ำำ - A) = 1

55
ลองทำ�ดู (หน้า 71)
ให้พิสูจน์ว่า sin 4α cos α + cos 4α sin α = sin 3α cos 2α + cos 3α sin 2α
แนวคิด sin 4α cos α + cos 4α sin α = sin (4α + α)
= sin (3α + 2α)
= sin 3α cos 2α + cos 2α sin 3α
ดังนั้น sin 4α cos α + cos 4α sin α = sin 3α cos 2α + cos 2α sin 3α
ให้พิสูจน์ว่า tan 105 ำ - tan 15 ำ = -4
แนวคิด tan 105 ำ - tan 15 ำ = tan (60 ำ + 45 ำ) - tan (60 ำ - 45 ำ)
tan 60 ำ + tan 45 ำ - tan 60 ำ - tan 45 ำ
= 1 - tan 60 ำ tan 45 ำ 1 + tan 60 ำ tan 45 ำ
= 3 + 1 - 3 - 1
1 - 3 (1) 1 + 3 (1)
= ( 3 + 1)(1 + 3) - ( 3 - 1)(1 - 3)
(1 - 3)(1 + 3)
2 2) + (12 - 2 3 + 3 2)
= (1 + 2 3 + 3
12 - 3 2
= (4 + 2 3) + (4 - 2 3)
-2
= -4

แบบฝึ
กทั
กษะ 1.7 (หน้า 72)

ระดับพื้นฐาน
1. ใ ห้หาค่าของฟงกชันตรีโกณมิติในแต่ละข้อต่อไปนี้ โดยใช้ฟงกชันตรีโกณมิติของผลบวก
และผลต่างของจํานวนจริงหรือมุม
1) sin (60 ำ + 45 ำ) 2) cos ( 32π - π6 ) 3) sin 75 ำ
4) cos 15 ำ 5) tan 105 ำ 6) sin 712π
7) cos 1712π 8) tan 1112π 9) tan (- 512π )

56
แนวคิด 1) sin(60 ํ + 45 ํ) = sin 60 ํ cos 45 ํ + cos 60 ํ sin 45 ํ
= ( 23)( 22) + (12)( 22)
= 46 + 42
2) cos(32π - π6 ) = cos 32π cos π6 + sin 32π sin π6
= (0)( 23) + (-1)(12)
= - 12
3) sin 75 ํ = sin(45 ํ + 30 ํ)
= sin 45 ํ cos 30 ํ + cos 45 ํ sin 30 ํ
= ( 22)( 23) + ( 22)(12)
= 46 + 42
4) cos 15 ํ = cos(45 ํ - 30 ํ)
= cos 45 ํ cos 30 ํ + sin 45 ํ sin 30 ํ
= ( 22)( 23) + ( 22)(12)
= 46 + 42
5) tan 105 ํ = tan(60 ํ + 45 ํ)
= 1tan 60 ํ + tan 45 ํ
- tan 60 ํ tan 45 ํ 
= 3 + 1
1 - ( 3)(1)
= 11 + 3 × 1 + 3
- 3 1 - 3
= 1 + 2  3 + 3
1-3
= -2 - 3
6) sin 712π = sin (43π - 34π)
= sin 43π cos 34π - cos 43π sin 34π
= (- 23)(-  22) - (- 12)( 22)
= 6 +   2
4
57
7) cos 1712π
= cos(23π + 34π)
= cos 23π cos 34π - sin 23π sin 34π
= (- 12)(-  22) - ( 23)( 22)
= 42 - 46
8) tan 1112π = tan (23π + π4 )
tan 23π + tan π4
=
1 - tan 23π  tan π4

= -  3 + 1
1 - (-  3 )(1)
= 1 - 3 × 1 - 3
1 +   3  1 - 3
= 1 - 2  3 + 3
1-3
=   3  - 2
9) tan (- 512π ) = -tan 512π
= -tan (23π - π4 )
tan 23π - tan π4
= - 
1 + tan 23π  tan π4

= -  -  3 - 1
1 + (-  3 )(1)
= - -(1 + 3) × 1 + 3
1 -   3  1 + 3
= - -1 -12  3
-3
-3
=  -2 - 3 

58
2. ให้หาค่าของฟงกชันตรีโกณมิติในแต่ละข้อต่อไปนี้
1) cos 10 π cos π - sin π sin π
15 10 15 2) sin 37π cos 221π - cos 37π sin 221π
3) cos 45π cos 20π + sin 4π sin π
5 20 4) sin 5 ำ cos 25 ำ + cos 5 ำ sin 25 ำ
5) cos 20 ำ cos 40 ำ - sin 20 ำ sin 40 ำ 6) cos 75 ำ cos 45 ำ - cos 15 ำ cos 315 ำ
π cos π - sin π sin π = cos π + π
แนวคิด 1) cos 10 15 10 15 (10 15)
= cos ( 3π + 230 )
π

= cos 530π
= cos π6
= 23
2) sin 37π cos 221π - cos 37π sin 221π = sin (37π - 221π)
= sin ( 9π - 2
21 )
π

= sin 721π
= sin π3
= 23
3) cos 45π cos 20 π + sin 4π sin π = cos 4π - π
5 20 ( 5 20)
= cos ( 16π20 - π )
= cos 1520π
= cos 34π
= - 22
4) sin 5 ำ cos 25 ำ + cos 5 ำ sin 25 ำ = sin (5 ำ + 25 ำ)
= sin 30 ำ
= 12

59
5) cos 20 ำ cos 40 ำ - sin 20 ำ sin 40 ำ = cos (20 ำ + 40 ำ)
= cos 60 ำ
= 12
6) cos 75 ำ cos 45 ำ - cos 15 ำ cos 315 ำ
= sin 15 ำ cos 45 ำ - cos 15 ำ sin 45 ำ
= sin (15 ำ - 45 ำ)
= sin (-30 ำ)
= -sin 30 ำ
= - 12
3. ให้แสดงว่าฟงกชันตรีโกณมิติในแต่ละข้อต่อไปนี้เปนจริง
1) sin ( π2 + θ) = cos θ 2) cos (32π - θ) = -sin θ
3) tan ( π2 + θ) = -cot θ 4) sin (90 ำ - A) = cos A
5) cos (270 ำ + B) = sin B 6) tan (90 ำ - A) = cot A
7) sin (π + θ) = -sin θ 8) cos (90 ำ + A) = -sin A
แนวคิด 1) sin (π2 + θ) = sin π2 cos θ + cos π2 sin θ
= (1)(cos θ) + (0)(sin θ)
= cos θ
2) cos (32π - θ) = cos 32π cos θ + sin 32π sin θ
= (0)(cos θ) + (-1)(sin θ)
= -sin θ
π+θ
3) tan (π2 + θ) =
sin ( 2 )
cos (π2 + θ)
sin π2 cos θ + cos π2 sin θ
=
cos π2 cos θ - sin π2 sin θ
= (1)(cos θ) + (0)(sin θ)
(0)(cos θ) - (1)(sin θ)
= - cos
sin θ
θ

= -cot θ
60
4) sin (90 ำ - A) = sin 90 ำ cos A - cos 90 ำ sin A
= (1)(cos A) - (0)(sin A)
= cos A
5) cos (270 ำ + B) = cos 270 ำ cos B - sin 270 ำ sin B
= (0)(cos B) - (-1)(sin B)
= sin B
sin(90 ำ - A)
6) tan (90 ำ - A) = cos(90 ำ - A)
sin 90 ำ cos A - cos 90 ำ sin A
= cos 90 ำ cos A + sin 90 ำ sin A
(1)(cos A) - (0)(sin A)
= (0)(cos A) + (1)(sin A)
= cos A
sin A
= cot A
7) sin (π + θ) = sin π cos θ + cos π sin θ
= (0)(cos θ) + (-1)(sin θ)
= -sin θ
8) cos (90 ำ + A) = cos 90 ำ cos A - sin 90 ำ sin A
= (0) cos A - (1) sin A
= -sin A
4. กําหนด sin A = 12 และ cos B = 12 เมื่อ 0 < A < π2 และ 0 < B < π2
ให้หาค่าของ sin (A + B) และ cos (A - B)
แนวคิด จาก sin A = 12 เมื่อ 0 < A < π2
จากทฤษฎีบทพีทาโกรัส จะได้ว่า
Y
x2 + ( 12 )2 = 12 เมื่อ x > 0 1
x = ± 23 (x, 12 )
แต่ x > 0 จะได้ x = 23 -1 O
A
(1, 0)
X
ดังนั้น cos A = 23
-1

61
จาก cos B = 12 เมื่อ 0 < B < π2
Y
จากทฤษฎีบทพีทาโกรัส จะได้ว่า
1 2 2 2
1
( 1
2 , y)
( 2 ) + y = 1 เมื่อ y > 0
y = ± 23 B X
-1 O (1, 0)
แต่ y > 0 จะได้ y = 23
ดังนั้น sin B = 23 -1
จากข้อกำาหนด จะได้ว่า sin A = 12 และ cos A = 23
sin B = 23 และ cos B = 12
ดังนั้น sin (A + B) = sin A cos B + cos A sin B
= ( 12 )( 12 ) + ( 23)( 23)
= 14 + 34
= 1
และ cos (A - B) = cos A cos B + sin A sin B
= ( 23)( 12 ) + ( 12 )( 23)
= 43 + 43
= 23
ระดับกลาง
5. ให้แสดงว่าฟงกชันตรีโกณมิติในแต่ละข้อต่อไปนี้เปนจริง
1) cot (270 ำ + A) = -tan A
2) cot (2π - θ) = -cot θ
3) cot (32π - θ) = tan θ
แนวคิด 1) cot (270 ำ + A) = cos (270 ำ + A)
sin (270 ำ + A)
cos 270 ำ cos A - sin 270 ำ sin A
= sin 270 ำ cos A + cos 270 ำ sin A
(0)(cos A) - (-1)(sin A)
= (-1)(cos A) + (0)(sin A)

62
= sin A
- cos A
= -tan A
2) cot (2π - θ) = cos (2π - θ)
sin (2π - θ)
= cos 2π cos θ + sin 2π sin θ
sin 2π cos θ - cos 2π sin θ
= (1)(cos θ) + (0)(sin θ)
(0)(cos θ) - (1)(sin θ)
= - cos
sin θ
θ

= -cot θ
3 π
cos (32π - θ)
3) cot ( 2 - θ) =
sin (32π - θ)
cos 32π cos θ + sin 32π sin θ
=
sin 32π cos θ - cos 32π sin θ
= (0)(cos θ) + (-1)(sin θ)
(-1)(cos θ) - (0)(sin θ)
sin θ
= cos θ
= tan θ
6. กําหนด tan A = - 43 และ cos B = 45 เมื่อ π2 < A < π และ 0 < B < π2
ให้หาค่าของ tan (A + B)
แนวคิด จาก cos B = 45 เมื่อ 0 < B < π2
Y
จากทฤษฎีบทพีทาโกรัส จะได้ว่า 1
4
(5)
2
+ y 2 = 12 เมื่อ y > 0
( 45 , y)
y = ± 35
B X
แต่ y > 0 จะได้ y = 5 3 -1 O (1, 0)

ดังนั้น sin B = 35 3 -1
จากข้อกำาหนด จะได้ว่า tan B = cos sin B = 5 = 3
B 4 4
5

63
tan A + tan B
ดังนั้น tan (A + B) = 1 - tan A tan B
- 43 + 34
=
1 - (- 43 )( 34 )
-16 + 9
12
= 1 - (-1)
- 127
= 2
= - 247
ดังนั้น tan (A + B) = - 247
7. ให้หาค่าของฟงกชันตรีโกณมิติในแต่ละข้อต่อไปนี้
tan 13 ำ + tan 32 ำำ
1) tan 13 ำ tan 25 ำ - tan 85 ำำ
2) 1 + tan 85 ำ
tan 32 ำ - 1 tan 25 ำ
3) -tan 15 ำ - 1
tan 15 ำ - 1 4) cot 25 ำ cot 20 ำำ - 1
cot 25 ำ + cot 20 ำ
5) tan 75 ำ - tan 30 ำำ - tan 75 ำำ tan 30 ำำ 6) cot 75 ำ + cot 60 ำำ + cot 75 ำำ cot 60 ำำ
tan 13 ำ + tan 32 ำำ = - tan 13 ำ + tan 32 ำำ
แนวคิด 1) tan 13 ำ tan 32 ำ - 1 1 - tan 13 ำ tan 32 ำ
= -tan (13 ำ + 32 ำำ)
= -tan 45 ำำ
= -1
tan 25 ำ - tan 85 ำำ = - tan 85 ำ - tan 25 ำำ
2) 1 + tan 85 ำ tan 25 ำ 1 + tan 85 ำ tan 25 ำ
= -tan (85 ำ - 25 ำำ)
= -tan 60 ำำ
= - 3
3) -tan 15 ำ - 1
tan 15 ำ - 1 = -(1 + tan 15 ำ )
-(1 - tan 15 ำ)
1 + tan 15 ำ
= 1 - (1)tan 15 ำ
tan 45 ำ + tan 15 ำ
= 1 - tan 45 ำ tan 15 ำ
64
= tan (45 ำ + 15 ำำ)
= tan 60 ำำ
= 3
4) cot 25 ำ cot 20 ำ - 1
cot 25 ำ + cot 20 ำ = cot (25 ำ + 20 ำ)
= cot 45 ำ
= 1
5) เนื่องจาก 75 ำ - 30 ำ = 45 ำ
จะได้ tan (75 ำ - 30 ำ) = tan 45 ำ
tan 75 ำ - tan 30 ำ = 1
1 + tan 75 ำ tan 30 ำ
tan 75 ำ - tan 30 ำ = 1 + tan 75 ำ tan 30 ำ
ดังนั้น tan 75 ำ - tan 30 ำ - tan 75 ำ tan 30 ำ = 1
6) เนื่องจาก 75 ำ + 60 ำ = 135 ำ
จะได้ cot (75 ำ + 60 ำ) = cot 135 ำ
cot 75 ำ cot 60 ำ - 1 = -1
cot 75 ำ + cot 60 ำ
cot 75 ำ cot 60 ำ - 1 = -cot 75 ำ - cot 60 ำ
ดงั นั้น cot 75 ำ + cot 60 ำ + cot 75 ำ cot 60 ำ = 1
8. ให้เขียนฟงกชันตรีโกณมิติในแต่ละข้อต่อไปนี้ในรูปของฟงกชันตรีโกณมิติของผลบวกและ
ผลต่างของจํานวนจริงหรือมุม
1) 12 cos θ + 32 sin θ
2) 1 sin θ - 1 cos θ
2 2
1 + tan θ
3) 3 tan θ
1 -
3
แนวคิด 1) 12 cos θ + 23 sin θ = sin 30 ำ cos θ + cos 30 ำ sin θ
= sin (30 ำ + θ)

65
2) 1 sin θ - 1 cos θ = cos 45 ำ sin θ - sin 45 ำ cos θ
2 2
= sin θ cos 45 ำ - cos θ sin 45 ำ
= sin (θ - 45 ำ)
1 + tan θ 1 + tan θ
3) 3 tan θ = 3 1
1 - 1 - ( )tan θ
3 3
tan 30 ำ + tan θ
= 1 - tan 30 ำ tan θ
= tan (30 ำ + θ)
9. ให้แสดงว่าฟงกชันตรีโกณมิติในแต่ละข้อต่อไปนี้เปนจริง
1) cos ( π6 + A) cos ( π6 - A) - sin ( π6 + A) sin ( π6 - A) = 12
2) sin 3θ cos θ + cos 3θ sin θ = 2 sin 2θ cos 2θ
tan 4A + tan 3A = tan 7A
3) 1 - tan 4A tan 3A
4) cot 4θ cos θ - 1 cot 3θ cot 2θ - 1
cot θ + cot 4θ = cot 2θ cot 3θ
แนวคิด 1) cos (π6 + A) cos (π6 - A) - sin (π6 + A) sin (π6 - A)
= cos [(π6 + A) + (π6 - A)]
= cos π3
= 12
2) sin 3θ cos θ + cos 3θ sin θ = sin (3θ + θ)
= sin 4θ
= sin (2θ + 2θ)
= sin 2θ cos 2θ + cos 2θ sin 2θ
= sin 2θ cos 2θ + sin 2θ cos 2θ
= 2 sin 2θ cos 2θ
tan 4A + tan 3A = tan (4A + 3A)
3) 1 - tan 4A tan 3A
= tan 7A

66
4) cot 4θ cot θ - 1
cot θ + cot 4θ = cot (4θ + θ)
= cot 5θ
= cot (3θ + 2θ)
= cot 3θ cot 2θ - 1
cot 2θ + cot 3θ
tan A + tan B = 3 เมื่อ 0 < A < 90 ํ และ 0 < B < 90 ํ
10. กําหนด 1 - tan A tan B 3
ให้หาค่าของ A + B
tan A + tan B
แนวคิด จาก tan (A + B) = 1 - tan A tan B
จะได้ tan (A + B) = 3
3
tan (A + B) = tan 60 ำ
A + B = 60 ำ
ดังนั้น A + B เท่ากับ 60 องศา

ระดับท้าทาย
sin (A - B) = 5 ให้หาค่าของ tan A • cot B
11. กําหนด sin (A + B) 7
sin (A - B) = 5
แนวคิด จาก sin (A + B) 7
sin A cos B - cos A sin B = 5
จะได้ sin A cos B + cos A sin B 7
sin A cos B - cos A sin B = 5 ……(1)
sin A cos B + cos A sin B = 7 ……(2)
(2) - (1) จะได้ 2 cos A sin B = 2
1
cos A = sin B
(1) + (2) จะได้ sin A cos B = 6
sin A = cos6 B
ดังนั้น sin A • cos B
tan A • cot B = cos A sin B
6
= 1 B • cos
cos B
sin B
sin B
= 6
67
ลองทำ�ดู (หน้า 76)
กำาหนด cos θ = 135 และ sin θ > 0 เมื่อ 0 < θ < π2 ให้หาค่าของ
1) sin 2θ 2) cos 2θ 3) tan 2θ
แนวคิด เนื่องจาก sin2 θ + cos2 θ = 1
จะได้ sin2 θ + ( 135 )2 = 1
25
sin2 θ = 1 - 169
sin2 θ = 144169
sin θ = ± 12 13
เนื่องจาก sin θ > 0 จะได้ sin θ = 13 12
12
tan θ = cossin θ = 135 = 12
θ
13 5
1) sin 2θ = 2 sin θ cos θ = 2 (12 5 120
13)(13) = 169
ดังนั้น sin 2θ = 120 169
2) cos 2θ = 2 cos2θ - 1 = 2 (135 )2 - 1 = - 119 169
119
ดังนั้น cos 2θ = - 169
2 tan 2 (125)
3) tan 2θ = θ
2 = 12 2 = - 120
119
1 - tan θ 1 - ( )
5
ดังนั้น tan 2θ = - 120
119
sin 2A = cot A
ให้แสดงว่า 1 - cos 2A
แนวคิด เนื่องจาก sin 2A 2 sin A cos A
1 - cos 2A = 1 - (1 - 2 sin2 A)
= 2 sin A cos A
2 sin2 A
= cot A
ดังนั้น sin 2A
1 - cos 2A = cot A

68
ลองทำ�ดู (หน้า 78)
กำาหนด sin θ = - 35 เมื่อ π < θ < 32π ให้หาค่าของ cos 3θ
แนวคิด จาก sin θ = - 35 เมื่อ π < θ < 32π
จะได้ cos θ = - 45
จาก cos 3θ = 4 cos3 θ - 3 cos θ
3
= 4 (- 45) - 3 (- 45)
64 ) + 12
= 4 (125 5
= 256 300
125 + 125
= 556
125
ดังนั้น cos 3θ = 556125
กำาหนด sin A = 35 เมื่อ π2 < A < π ให้หาค่าของ tan 3A
แนวคิด จาก sin A = 35 เมื่อ π2 < A < π
จะได้ cos A = - 45
และ tan A = - 34
3
จาก tan 3α = 3 tan α - tan2 α
1 - 3 tan α
3
จะได้ tan 3A = 3 tan A - tan2 A
1 - 3 tan A
3
3 (- 34) - (- 34)
= 2
1 - 3 (- 34)
= 117
44
ดังนั้น 117
tan 3A = 44

69
Thinking Time (หน้า 79)
1 - cos α
ให้แสดงว่า tan α2 = ± 1 + cos α

α
sin α2
แนวคิด tan 2 =
cos α2
± 1 - cos α
= 2
± 1 + cos α
2
1 - cos α
2
= ± 1 + cos α
2
1 - cos α
= ± 1 + cos α

ลองทำ�ดู (หน้า 80)


ให้หาค่าของ cos 22.5 ำ
แนวคิด จาก cos α2 = ± 1 + cos
2
α

จะได้ cos 22.5 ำ = cos ( 45 ำ


2)
และ = ± 1 + cos 45 ำ
2
1 + 22
= ±
2
ดังนั้น cos 22.5 ำ = ± 2 + 2 2

แบบฝึ
กทั
ก ษะ 1.8 (หน้า 80)

ระดับพื้นฐาน
1. กําหนด cos A = 178 และ 0 < A < 90 ํ ให้หาค่าของ
1) sin 2A 2) cos 2A 3) tan 2A

70
แนวคิด เนื่องจาก sin2A + cos2A = 1
2
จะได้ sin2A + (178 ) = 1
sin2 A = 225
289
sin A = ± 15
17
15
เนื่องจาก sin A > 0 จะได้ sin A = 17
sin A
tan A = cos A
15
= 178
17
= 158
1) sin 2A = 2 sin A cos A
= 2 (15 8
17)(17)
= 240
289
2) cos 2A = 2 cos2A - 1
2
= 2 (178 ) - 1
= - 161
289
3) tan 2A = 2 tan A2
1 - tan A
2 ( 158 )
= 2
1 - ( 158 )
= - 240
161
2. กําหนด sin A = 135 และ 0 < A < π2 ให้หาค่าของ
1) sin 3A 2) cos 3A 3) tan 3A
แนวคิด เนื่องจาก sin2A + cos2A = 1
5 2 2
จะได้ (13) + cos A = 1
71
cos2A = 144 169
cos A = ± 1213
เนื่องจาก cos A > 0 จะได้ cos A = 12 13
sin A
tan A = cos A
5
13
= 12
13
= 125
1) sin 3A = 3 sin A - 4 sin3A
= 3 (135 ) - 4 (135 )3
= 2,035
2,197
2) cos 3A = 4 cos3A - 3 cos A
= 4 (12 3
13 - 3 (13)
) 12
828
= 2,197
3
3) tan 3A = 3 tan A - tan2 A
1 - 3 tan A
3
3 ( 125 ) - ( 125 )
= 2
1 - 3 ( 125 )
= 2,035
828
3. กําหนด sin A = 35 และ 0 < A < 90 ํ ให้หาค่าของ
1) sin A2 2) cos A2 3) tan A2
แนวคิด เนื่องจาก sin2 A + cos2 A = 1
3 2 2
จะได้ ( 5 ) + cos A = 1
cos2 A = 16
25
cos A = ± 45
เนื่องจาก cos A > 0 จะได้ cos A = 45
72
1) sin A2 = ± 1 - cos A
2
1 - 45
= ±
2
= ± 10
10
2) cos A2 = ± 1 + cos A
2
1 + 45
= ±
2
= ±
3
10
= ± 3 10
10
3) tan A2 = ± 1 - cos A
1 + cos A
1 - 45
= ±
1 + 45
= ±1
3
ระดับกลาง
4. ให้หาค่าของ
1) sin2 15 ำ + sin2 45 ำ
2) cos2 15 ำ + cos2 45 ำ
3
3) cos 15 ำ + sin3 15 ำ
cos 15 ำ + sin 15 ำ
แนวคิด 1) sin215 ำ + sin245 ำ = 1 - cos 30 ำ 2
2 + sin 45 ำ
1 - 23 1 2
= 2 +( )
2
= 4 - 3
4

73
2) cos215 ำ + cos245 ำ = 1 + cos 2
30 ำ + cos245 ำ

1 + 23 1 2
= 2 +( )
2
= 4 + 34
3 3
3) cos 15 ำ + sin 15 ำ
cos 15 ำ + sin 15 ำ
2 2
= (cos 15 ำ + sin 15 ำ)(cos 15 ำ - cos 15 ำ sin 15 ำ + sin 15 ำ)
cos 15 ำ + sin 15 ำ
= (sin215 ำ + cos215 ำ) - 2 sin 15 ำ2cos 15 ำ
= 1 - sin 2(15 ำ
2
ำ)
= 1 - sin230 ำำ
1
= 1 - 22
= 34
5. กําหนด cot A = 12 เมื่อ 0 ≤ A ≤ 90 ํ ให้หาค่าของ 1 + cos sin 2A
2A
แนวคิด จาก cot A = 12 เมื่อ 0 ≤ A ≤ 90 ำ
สร้างรูปสามเหลี่ยมมุมฉากได้ ดังนี้
จะได้ sin A = 2
2 5 5
cos A = 1
1 A 5
sin 2A
ดังนั้น 1 + cos 2A = 2 sin A cos A
1 + 2 cos2A - 1
2( 2 )( 1 )
= 51 25
2( )
5
= 2

74
6. แสดงให้เห็นว่า ฟงกชันตรีโกณมิติในแต่ละข้อต่อไปนี้เปนจริง
1) 1 + cos 2 α
sin 2α = cot α
sin α = tan α
2) 1 + cos α 2
2
3) cot α - tan α = 2 cot 2α 4) 1 + cot α
2 cot α = cosec 2α
5) cos 3 α - sin 3α
= 1 - 2 sin 2 α 6) 4 sin3 α + sin 3α + 4 cos3 α - cos 3α = 6
cos α + sin α sin α cos α
2
แนวคิด 1) 1 + cos 2 α 1 + 2 cos α - 1
sin 2α = 2 sin α cos α
= cos
sin α
α

= cot α
sin α
sin 2 (α2 )
2) 1 + cos α =
1 + cos 2 (α2 )
2 sin α2 cos α2
=
1 + 2 cos2 α2 - 1
sin α2
=
cos α2
= tan α2
3) cot α - tan α = tan 1 - tan α
α

= 1 - tan
tan α 2
= 2(1 - tan
2 tan α
α)

= 2 tan 2
α
1 - tan2α
= tan 2 2
α
= 2 cot 2α

75
2
1 + cot 2α 1 + cos2 α
4) 2 cot α = cos sin α
2 sinαα
sin2α +2 cos2α
= sin α
2 cos
sinα
α

1
sin
= 2 cos αα
= 2 sin α1 cos α
= sin 21
α
= cosec 2α
3 3
5) cos 3 α - sin 3α = (4 cos α - 3 cos α) - (3 sin α - 4 sin α)
cos α + sin α cos α + sin α
3 3α) - 3(cos α + sin α)
= 4(cos α + sin cos α + sin α
2α - cos α sin α + sin2α) - 3]
= (cos α + sin α)[4(cos cos α + sin α
= 4(1 - cos α sin α) - 3
= 1 - 2(2 sin α cos α)
= 1 - 2 sin 2α
3 + sin 3α 4 cos3α - cos 3α
6) 4 sin αsin α
+ cos α
3 3 3 3
= 4 sin α + 3 sin sin α
α - 4 sin α + 4 cos α - (4 cos α - 3 cos α)
cos α
= 3 sin α 3 cos α
sin α + cos α
= 3 + 3
= 6
7. กําหนด A + B = 55 ํ และ 4 sin (A - B) cos (A - B) = 1 ให้หาค่าของ B
แนวคิด จาก 4 sin (A - B) cos (A - B) = 1
2[2 sin (A - B) cos (A - B)] = 1
sin 2(A - B) = 12
sin 2(A - B) = sin 30 ำ
76
2(A - B) = 30 ำ
จะได้ A - B = 15 ำ
จาก A + B = 55 ำ
ดังนั้น A = 35 ำ และ B = 20 ำ

ระดับท้าทาย

8. ให้หาค่าของ cos 20 ํ cos 40 ํ cos 80 ํ


แนวคิด จาก sin 2α = 2 sin α cos α จะได้ cos α = 2sinsin2αα
ดังนั้น cos 20 ำ cos 40 ำ cos 80 ำ = 2sin 40 ำ sin 80 ำ sin 160 ำ
sin 20 ำ (2 sin 40 ำ)(2 sin 80 ำ)
= sin 160 ำ
8 sin 20 ำ
= sin (180 ำ - 160 ำ)
8 sin 20 ำำ
= 8sin 20 ำ
sin 20 ำำ
= 18
9. กําหนด sin2(π + θ) - cos2(π - θ) = 1
2
ให้หาค่าของ sec 2θ + 2 tan θ
1 + tan2 θ
แนวคิด เนื่องจาก sin2(π + θ) = sin2θ และ cos2(π - θ) = cos2θ
จากโจทย์ sin2(π + θ) - cos2(π - θ) = 1
2
จะได้ 2 2
sin θ - cos θ = 1
2
cos2θ - sin2θ = - 1
2
cos 2θ = cos 34π
θ = 3π
8

77

2 tan 38π 3 2 tan 38π
ดังนั้น sec 2 ( 8 ) + π
= sec 4 + 2 3π
1 + tan2 38π sec 8
1 - cos (34π)
2
1 + cos (34π)
= - 2 +
1
1 + cos (34π)
2
1 + 1 1 - 1
= - 2 + 2 2 × 2
1 - 1 2
2
= - 2 + (1 + 1 )(1 - 1 )
2 2
= - 2 + 1 - 1
2
= - 2 + 1
2
= - 22
10. กําหนด sin (A + B) = 2 - 3
10 และ sin (A - B) = 10
2 + 3
ให้หาค่าของ sin 2A sin 2B
แนวคิด เนื่องจาก sin (A + B) = sin A cos B + cos A sin B …..(1)
และ sin (A - B) = sin A cos B - cos A sin B …..(2)
(1) + (2) จะได้ sin (A + B) + sin (A - B) = 2 sin A cos B
(1) - (2) จะได้ sin (A + B) - sin (A - B) = 2 sin B cos A
จาก sin 2A sin 2B = (2 sin A cos A)(2 sin B cos B)
= (2 sin A cos B)(2 cos A sin B)
= [sin (A + B) + sin (A - B)][sin (A + B) - sin (A - B)]
= (2 - 3 2 + 3 2 - 3 2 + 3
10 + 10 )( 10 - 10 )
= (104 )(-2 3
10 )
= - 2 25 3
78
กิจกรรม คณิตศาสตร (หน้า 81)
1. ให้นักเรียนเติมคําตอบลงในช่องว่างให้สมบูรณ
sin α cos β + cos α sin β
กำาหนด sin (α + β) = ………………………………………………………………. .....(1)
sin α cos β - cos α sin β
sin (α - β) = ………………………………………………………………. .....(2)
(1) + (2)
…….. 2 sin α cos β
…….. จะได้ sin (α + β) + sin (α - β) = …………………………………

สรุปได้ว่า
sin (α + β) + sin (α - β)
2 sin α cos β = ………………………………………………….
(1) - (2) จะได้ sin (α + β) - sin (α - β) = …………………………………
…….. …….. 2 cos α sin β
สรุปได้ว่า
sin (α + β) - sin (α - β)
2 cos α sin β = ………………………………………………….
2. นกั เรียนคิดว่า การหาค่าของ 2 cos α cos β และ 2 sin α sin β ต้องใช้คา่ ของฟงกชนั ตรีโกณมิติ
ของผลบวกหรือผลต่างใดบ้าง และมีวิธีการหาค่าอย่างไร
แนวคิด หาค่าของ 2 cos α cos β และ 2 sin α sin β จากผลบวกและผลต่างของ
cos (α + β) ถึง cos (α - β) ดังนี้
cos (α + β) = cos α cos β - sin α sin β .....(1)
cos (α - β) = cos α cos β + sin α sin β .....(2)
(1) + (2) จะได้ cos (α + β) + cos (α - β) = 2 cos α cos β
(2) - (1) จะได้ cos (α - β) - cos (α + β) = 2 sin α sin β
ลองทำ�ดู (หน้า 83)
ให้หาค่าของ 2 cos 50 ำ cos 70 ำ - cos 20 ำ
แนวคิด เนื่องจาก 2 cos α cos β = cos (α + β) + cos (α - β)
จะได้ 2 cos 50 ำ cos 70 ำ - cos 20 ำ = [cos (50 ำ + 70 ำ) + cos (50 ำ - 70 ำ)] - cos 20 ำ
= [cos 120 ำ + cos (-20 ำ)] - cos 20 ำ
= (cos 120 ำ + cos 20 ำ) - cos 20 ำ
= cos 120 ำ
= - 12
ดังนั้น 2 cos 50 ำ cos 70 ำ - cos 20 ำ = - 12
79
ลองทำ�ดู (หน้า 84)
ให้หาค่าของ [sin (34π + 116π ) - sin (34π - 116π )] tan (π6 )
แนวคิด เนื่องจาก sin α - sin β = 2 cos α 2+ β sin α - 2
β

จะได้ [sin (34π + 116π) - sin (34π - 116π)] tan π6


( 3π + 11π) + (3π - 11π) ( 3π + 11π) - (3π - 11π)
= 2 cos 4 6 4 6 sin 4 6 2 4 6 tan π6
2
= (2 cos 34π sin 116π) tan π6
= 2 (- 22)(- 12 )( 33)
= 66
ดังนั้น [sin (34π + 116π) - sin (34π - 116π)] tan π6 = 66

ลองทำ�ดู (หน้า 85)


sin 110 ำ + sin 20 ำ
ให้หาค่าของ cos 110 ำ + cos 20 ำ
sin 110 ำ + sin 20 ำ 2 sin (110 ำ 2+ 20 ำ) cos (110 ำ 2- 20 ำ)
แนวคิด cos 110 ำ + cos 20 ำ = 2 cos (110 ำ + 20 ำ) cos (110 ำ - 20 ำ)
2 2
2 sin 65 ำ cos 45 ำ
= 2 cos 65 ำ cos 45 ำ
= tan 65 ำ
≈ 2.1445
sin 110 ำ + sin 20 ำ
ดังนั้น cos 110 ำ ≈ 2.1445
+ cos 20 ำ

80
แบบฝึ
กทั
ก ษะ 1.9 (หน้า 85)
ระดับพื้นฐาน

1. ให้หาค่าของ
1) 2 sin 35 ำ cos 10 ำ - sin 25 ำ 2) 2 cos 35 ำ cos 25 ำ - cos 10 ำ
3) 2 cos 50 ำ sin 10 ำ + sin 40 ำ 4) 2 sin 715π cos 215π - sin 35π
แนวคิด 1) 2 sin 35 ำ cos 10 ำ - sin 25 ำ = sin (35 ำ + 10 ำ) + sin (35 ำ - 10 ำ) - sin 25 ำ
= sin 45 ำ + sin 25 ำ - sin 25 ำ
= sin 45 ำ
= 22
2) 2 cos 35 ำ cos 25 ำ - cos 10 ำ = cos (35 ำ + 25 ำ) + cos (35 ำ - 25 ำ) - cos 10 ำ
= cos 60 ำ + cos 10 ำ - cos 10 ำ
= cos 60 ำ
= 12
3) 2 cos 50 ำ sin 10 ำ + sin 40 ำ = sin (50 ำ + 10 ำ) - sin (50 ำ - 10 ำ) + sin 40 ำ
= sin 60 ำ - sin 40 ำ + sin 40 ำ
= sin 60 ำ
= 32
4) 2 sin 715π cos 215π - sin 35π = sin (715π + 215π) + sin (715π - 215π) - sin 35π
= sin 915π + sin 515π - sin 35π
= sin 35π + sin π3 - sin 35π
= sin π3
= 3
2

81
2. ให้หาค่าของ
1) sin 50 ำ + sin 10 ำ - cos 20 ำ 2) cos 70 ำ + cos 50 ำ + cos 170 ำ
3) sin 75 ำ - sin 15 ำ 4) cos 70 ำ - cos 20 ำ
cos 15 ำ + cos 75 ำ sin 20 ำ - sin 70 ำ
แนวคิด 1) sin 50 ำ + sin 10 ำ - cos 20 ำ = 2 sin (50 ำ + 10 ำ 50 ำ - 10 ำ
2 ) cos ( 2 ) - cos 20 ำ
= 2 sin 30 ำ cos 20 ำ - cos 20 ำ
= 2(12)cos 20 ำ - cos 20 ำ
= cos 20 ำ - cos 20 ำ
= 0
2) cos 70 ำ + cos 50 ำ + cos 170 ำ
= (cos 170 ำ + cos 70 ำ) + cos 50 ำ
= 2 cos (170 ำ 2+ 70 ำ) cos ( 170 ำ 2- 70 ำ ) + cos 50 ำ
= 2 cos 120 ำ cos 50 ำ + cos 50 ำ
= 2 (- 12) cos 50 ำ + cos 50 ำ
= -cos 50 ำ + cos 50 ำ
= 0
sin 75 ำ - sin 15 ำ 2 cos (75 ำ + 15 ำ
2 ) sin ( 75 ำ 2- 15 ำ )
3) cos 15 ำ + cos 75 ำ =
2 cos (15 ำ + 75 ำ
2 ) cos ( 2 )
15 ำ - 75 ำ
2 cos 45 ำ sin 30 ำ
= 2 cos 45 ำ cos(-30 ำ)
sin 30 ำ
= cos 30 ำ
= tan 30 ำ
= 33
cos 70 ำ - cos 20 ำ -2 sin (70 ำ + 20 ำ
2 ) sin ( 70 ำ 2- 20 ำ )
4) sin 20 ำ - sin 70 ำ =
2 cos (20 ำ + 70 ำ
2 ) sin ( 2 )
20 ำ - 70 ำ
-sin 45 ำ sin 25 ำ
= cos 45 ำ sin(-25 ำ)
-sin 45 ำ sin 25 ำ
= -cos 45 ำ sin 25 ำ
= tan 45 ำ
= 1
82
ระดับกลาง
3. กําหนด sin θ = 22 ให้หาค่าของ cos (θ + π4 ) - cos (θ - π4 )
แนวคิด cos (θ + π4) - cos (θ - π4)
(θ + π) + (θ - π) (θ + π) - (θ - π)
= -2 sin 4 4 sin 4 4
2 2
= -2 sin θ sin π4
= -2 ( 22)( 22)
= -1
4. กําหนด sin θ = 13 ให้หาค่าของ cos (π3 + θ) - cos (π3 - θ)
แนวคิด cos (π3 + θ) - cos (π3 - θ)
π + θ + π - θ π + θ - π - θ
= -2 sin ( 3 ) ( 3 ) sin ( 3 ) (3 )
2 2
= -2 sin π3 sin θ
= -2 ( 32)( 13)
= -1
sin 10θ - sin 6θ
5. กําหนด tan θ = 13 ให้หาค่าของ cos 10 θ + cos 6θ

sin 10θ - sin 6 θ


2 cos (10θ + 6 2
θ sin 10θ - 6θ
) ( 2 )
แนวคิด cos 10θ + cos 6θ =
2 cos (10θ + 6 θ
2 ) cos ( 2 )
10θ - 6θ
cos 8θ sin 2θ
= cos 8 θ cos 2θ
= tan 2θ
= 2 tan θ2
1 - tan θ
2 (13)
= 2
1 - (13)
= 34

83
π ให้หาค่าของ sin 26θ - sin 10θ
6. กําหนด θ = 24 sin 4θ + sin 12θ
sin 26θ - sin 10θ
2 cos (26θ + 10
2
θ sin 26θ - 10θ
) ( 2 )
แนวคิด sin 4θ + sin 12θ =
2 sin (4θ + 12θ
2 ) cos ( 2 )
4θ - 12θ
cos 18θ sin 8θ
= sin 8 θ cos(-4θ)
= cos 18
cos 4θ
θ

cos 1824π
=
cos 424π
cos 34π
=
cos π6
- 22
=
3
2
= - 63

ระดับท้าทาย

7. กําหนด cos 35 ํ + cos 15 ํ = a และ sin 35 ํ + sin 15 ํ = b ให้หาค่าของ sin 50 ํ


แนวคิด (cos 35 ำ + cos 15 ำ)(sin 35 ำ + sin 15 ำ) = ab
(cos 15 ำ sin 35 ำ + cos 35 ำ sin 15 ำ) + cos 35 ำ sin 35 ำ + cos 15 ำ sin 15 ำ = ab
sin (35 ำำ + 15 ำ) + sin (2 2× 35 ำ) + sin (2 2× 15 ำ) = ab
sin 50 ำำ + sin270 ำ + sin230 ำ = ab
sin 50 ำำ + 12 [sin (50 ำ + 20 ำ) + sin (50 ำ - 20 ำ)] = ab
sin 50 ำำ + 12 (2 sin 50 ำ cos 20 ำ) = ab
sin 50 ำำ (1 + cos 20 ำ) = ab
ab
sin 50 ำำ = 1 + cos 20 ำ

84
8. กําหนด sin A = k ให้หาค่าของ 4 sin A sin (60 ํ + A) sin (60 ํ - A)
แนวคิด 4 sin A sin (60 ำ + A) sin (60 ำ - A)
= 4 sin A (sin 60 ำ cos A + sin A cos 60 ำ)(sin 60 ำ cos A - sin A cos 60 ำ)
= 4 sin A (sin260 ำ cos2A - sin2A cos260 ำ)
2 2
= 4 sin A [( 32) (1 - sin2A) - sin2A ( 12 ) ]
= 4k [ 34 (1 - k2) - k2( 14 )]
= 3k - 4k3
ดังนั้น 4 sin A sin (60 ำ + A) sin (60 ำ - A) = 3k - 4k3
ลองทำ�ดู (หน้า 88)
ให้หาค่าของ
1) arcsin 12 2) arcsin (- 22 )
แนวคิด 1) ให้ arcsin 12 = y
โดยบทนิยาม จะได้ sin y = 12 เมื่อ y∊[- π2 , π2 ]
เนื่องจาก sin π6 = 12 สำาหรับทุก y∊[- π2 , π2 ]
จะได้ว่า y = π6
ดังนั้น arcsin 12 = π6
2) ให้ arcsin (- 22 ) = y
โดยบทนิยาม จะได้ sin y = - 22 เมื่อ y∊[- π2 , π2 ]
เนื่องจาก sin (- π4 ) = - 22 สำาหรับทุก y∊[- π2 , π2 ]
จะได้ว่า y = - π4
ดังนั้น arcsin (- 22 ) = - π4

85
ลองทำ�ดู (หน้า 90)
ให้หาค่าของ
1) arccos 32 2) arccos (- 22 )
แนวคิด 1) ให้ arccos 32 = y
โดยบทนิยาม จะได้ cos y = 32 เมื่อ y∊[0, π]
เนื่องจาก cos π6 = 32 สำาหรับทุก y∊[0, π]
จะได้ว่า y = π6
ดังนั้น arccos 32 = π6
2) ให้ arccos (- 22 ) = y
โดยบทนิยาม จะได้ cos y = - 22 เมื่อ y∊[0, π]
เนื่องจาก cos 34π = - 22 สำาหรับทุก y∊[0, π]
จะได้ว่า y = 34π
ดังนั้น arccos (- 22 ) = 34π
ลองทำ�ดู (หน้า 92)
ให้หาค่าของ
1) arctan 3 2) arctan (- 33 )
แนวคิด 1) ให้ arctan 3 = y
โดยบทนิยาม จะได้ tan y = 3 เมื่อ y∊(- π2 , π2 )
เนื่องจาก tan π3 = 3 สำาหรับทุก y∊(- π2 , π2 )
จะได้ว่า y = π3
ดังนั้น arctan 3 = π3
2) ให้ arctan (- 33 ) = y
โดยบทนิยาม จะได้ tan y = - 33 เมื่อ y∊(- π2 , π2 )
เนื่องจาก tan (- π6 ) = - 33 สำาหรับทุก y∊(- π2 , π2 )
จะได้ว่า y = - π6
ดังนั้น arctan (- 33 ) = - π6
86
ลองทำ�ดู (หน้า 93)
ให้หาค่าของ tan (arcsin 32 )
แนวคิด ให้ arcsin 32 = θ
โดยบทนิยาม จะได้ sin θ = 32 เมื่อ θ∊[- π2 , π2 ]
เนื่องจาก sin π3 = 32 สำาหรับทุก θ∊[- π2 , π2 ]
จะได้ว่า arcsin 32 = π3
ดังนั้น tan (arcsin 32 ) = tan π3 = 3
ลองทำ�ดู (หน้า 94)
ให้หาค่าของ arctan 0.7813
แนวคิด ให้ arctan 0.7813 = θ
จะได้ tan θ = 0.7813 เมื่อ θ∊(- 90 ำ, 90 ำ)
จากการเปดตารางค่าฟังก์ชันตรีโกณมิติ
จะได้ tan 38 ำ = 0.7813 สำาหรับทุก θ∊(- 90 ำ, 90 ำ)
ดังนั้น θ = 38 ำ
นั่นคือ arctan 0.7813 = 38 ำ
ลองทำ�ดู (หน้า 95)
ให้หาค่าของ tan (arccos 135 - arcsin 12
13)
แนวคิด ให้ arccos 135 = A
จะได้ cos A = 135 เมื่อ A∊[0, π]
จาก cos A = 135 สร้างรูปสามเหลี่ยมมุมฉากได้ ดังนี้
13 12
จะได้ sin A = 12
13
ให้ arcsin 12
13 = B
A
จะได้ sin B = 12 π π
13 เมื่อ B∊[- 2 , 2 ] 5

87
เนื่องจาก sin A = sin B จะได้ cos A = cos B = 135
ดังนั้น tan (arccos 135 - arcsin 12 13) = tan (A - B)
= 1tan A - tan B
+ tan A tan B
12 12
13 - 13
5 5
= 12 1312 13
1 + 135 135
13 13
= 0
นั่นคือ tan (arccos 135 - arcsin 12 13) = 0
ให้หาค่าของ tan (2 arccos 35 )
แนวคิด ให้ arccos 35 = θ 
จะได้ cos θ = 35 เมื่อ θ∊[0, π]
จาก cos θ = 35 สร้างรูปสามเหลี่ยมมุมฉากได้ ดังนี้
จะได้ tan θ = 43 5
4
ดังนั้น tan (2 arccos 35 ) = tan 2θ
= 2 tan θ2 3
θ
1 - tan θ
2 ( 43 )
= 4 2
1 - (3)
8
= 316
1- 9
= - 247
นั่นคือ tan (2 arccos 35 ) = - 247

88
ลองทำ�ดู (หน้า 96)
ให้แสดงว่า 2 arctan 38 = arctan 48
55
แนวคิด ให้ arctan 38 = θ
จะได้ tan θ = 38 เมื่อ θ∊(- π2 , π2 )
พิจารณา tan (2 arctan 38 ) = tan 2θ
= 2 tan θ2
1 - tan θ
2 ( 38 )
= 2
1 - ( 38 )
3
= 49
1 - 64
3 (64)
4
= 64 - 9
= 48
55
จะได้ tan (2 arctan 38 ) = 48
55
ดังนั้น 2 arctan 8 = arctan 48
3
55

แบบฝึ
กทั
ก ษะ 1.10 (หน้า 96)
ระดับพื้นฐาน

1. ให้หาค่าของ
1) arcsin 1 2) arccos 22 3) arctan 1
4) arcsin (- 12 ) 5) arccos (- 32 ) 6) arctan (- 3)
แนวคิด 1) arcsin 1 = π2 2) arccos 22 = π4
3) arctan 1 = π4 4) arcsin (- 12 ) = - π6
5) arccos (- 32 ) = 56π 6) arctan (- 3) = - π3
89
2. ให้หาค่าในแต่ละข้อต่อไปนี้โดยใช้ตารางค่าฟงกชันตรีโกณมิติ
1) arcsin 0.4695 2) arcsin 0.5688 3) arccos 0.7451
4) arccos 0.8158 5) arctan 0.3839 6) arctan 1.1171
แนวคิด 1) arcsin 0.4695 = 28 ำ
2) arcsin 0.5688 = 34 ำ 40′
3) arccos 0.7451 = 41 ำ 50′
4) arccos 0.8158 = 35 ำ 20′
5) arctan 0.3839 = 21 ำ
8) arctan 1.1171 = 48 ำ 10′

ระดับกลาง
3. ให้หาค่าของ
1) sin (arccos 14 ) 2) cos (arctan (-3)) 3) tan (arcsin (- 23 ))
4) cosec (arcsin 12 ) 5) sec (arccos (- 32 )) 6) cot (arcsin 1)
7) sin (arccos 0.5640) 8) cos (arctan 0.4348) 9) tan (arccos (-0.7771))
แนวคิด 1) ให้ arccos 14 = A
จะได้ cos A = 14 เมื่อ A∊[0, π]
จาก cos A = 14 สร้างรูปสามเหลี่ยมมุมฉากได้ ดังนี้
จะได้ sin A = 15
4
15 4

ดังนั้น sin (arccos 14 ) = sin A θ


1
= 15
4
2) ให้ arctan (-3) = A 1
A
จะได้ tan A = -3 เมื่อ A∊[- π2 , π2 ]
จาก tan A = -3 สร้างรูปสามเหลี่ยมมุมฉากได้ ดังนี้ 10 3
จะได้ cos A = 1
10
ดังนั้น cos (arctan (-3)) = 1 = 10 10
10
90
3) ให้ arcsin (-  32 ) =  θ
จะได้ sin θ = -  32 เมื่อ θ∊[- π2 , π2 ]
จาก sin θ = -  32 สร้างรูปสามเหลี่ยมมุมฉากได้ ดังนี้
จะได้ tan θ = -  27 2
3
ดังนั้น tan (arcsin (- 32)) = tan θ A
7
= -  2
7
= -  14

7
4) ให้ 1
arcsin 2 = A
จะได้ sin A = 12 เมื่อ A∊[- π2 , π2 ]
เนื่องจาก sin π6 = 12
จะได้ arcsin 12 = π6
ดังนั้น cosec (arcsin 12) = cosec π6 = 2
5) ให้ arccos (- 23) = A
จะได้ cos A = - 23 เมื่อ A∊[0, π]
เนื่องจาก cos 56π = - 23
จะได้ arccos (- 23) = 56π
ดังนั้น sec (arccos (- 23)) = sec 56π = - 2 = - 2  33
3
6) ให้ arcsin 1 = A
จะได้ sin A = 1 เมื่อ A∊[- π2 , π2 ]
เนื่องจาก sin π2 = 1
จะได้ arcsin 1 = π2
ดังนั้น cot (arcsin 1) = cot π2 = 0

91
7) ให้ arccos 0.5640 = A
จะได้ cos A = 0.5640 เมื่อ A∊[0, π]
เนื่องจาก cos 55 ำ 40′ = 0.5640
จะได้ arccos 0.5640 = 55 ำ 40′
ดังนั้น sin (arccos 0.5640) = sin 55 ำ 40′ = 0.8258
8) ให้ arctan 0.4348 = A
จะได้ tan A = 0.4348 เมื่อ A∊[- π2 , π2 ]
เนื่องจาก tan 23 ำ 30′ = 0.4348
จะได้ arctan 0.4348 = 23 ำ 30′
ดังนั้น cos (arctan 0.4348) = cos 23 ำ 30′ = 0.9171
9) ให้ arccos (-0.7771) = A
จะได้ cos A = -0.7771 เมื่อ A∊[0, π]
เนื่องจาก cos (3.1415 - 0.6807) = -0.7771
cos 2.4608 = -0.7771
จะได้ arccos (-0.7771) = 2.4608
ดังนั้น tan (arccos (-0.7771)) = tan 2.4608
= -0.8098
4. ให้หาค่าของ
1) sin ( 12 arccos 45 ) 2) cos ( 12 arccos 45 )
3) sin (2 arccos (- 45 )) 4) tan (2 arcsin (- 1213))
แนวคิด 1) ให้ arccos 45 = A
จะได้ cos A = 45 เมื่อ A∊[0, π]
เนื่องจาก sin (12 arccos 45) = sin A2
= 1 - cos 2
A

1 - (45)
= 2
92
= 101
10
= 10
sin (12 arccos 45) = 10
ดังนั้น 10
2) ให้ arccos 45 = A
จะได้ cos A = 45 เมื่อ A∊[0, π]
เนื่องจาก cos ( 12  arccos 45 ) = cos A2
= 1 + 2cos A
1 + 45
=   2
= 109
= 3  
10
10

ดังนั้น cos ( 12  arccos 45 ) = 3  


10
10
3) ให้ arccos (- 45 ) =  A
จะได้ cos A = - 45 เมื่อ A∊[0, π]
ดังนั้น sin A = 35
เนื่องจาก sin (2 arccos (- 45 )) = sin 2A
= 2 sin A cos A
= 2 ( 35 )(- 45 ) = - 24
25
ดังนั้น sin (2 arccos (- 45 )) = - 24 25
4) ให้ arcsin (- 12
13) = A
จะได้ sin A = - 1213 เมื่อ A∊[- π2 , π2 ]

93
จาก sin A = - 12
13 สร้างรูปสามเหลี่ยมมุมฉากได้ ดังนี้ 5
จะได้ tan A = - 125 A
เนื่องจาก tan (2 arcsin (- 12
13)) = tan 2A
= 2 tan A2
1 - tan A 13 12
12
= ( 512) 2
2 -
1 - (- 5 )
= 120119
ดังนั้น tan (2 arcsin (- 12 13)) = 119
120
5. ให้หาค่าของ
1) sin (arcsin 45 + arcsin 135 ) 2) tan (arcsin 12 - arccos 13 )
3) cos (arcsin 12 13 + arcsin 5 )
4 4) cos (arctan (- 43 ) + arcsin 1213)
แนวคิด 1) ให้ arcsin 45 = A
จะได้ sin A = 45 เมื่อ A∊[- π2 , π2 ]
จาก sin A = 45 สร้างรูปสามเหลี่ยมุมฉากได้ ดังนี้
5 4
จะได้ cos A = 35
A
ให้ arcsin 135 = B 3
จะได้ sin B = 135 เมื่อ B∊[- π2 , π2 ]
จาก sin B = 135 สร้างรูปสามเหลี่ยมุมฉากได้ ดังนี้ 13
5
จะได้ cos B = 13 12
B
12
ดังนั้น sin (arcsin 45 + arcsin 135 ) = sin (A + B)
= sin A cos B + cos A sin B
= (45)(12 3 5
13) + (5)(13)
= 6365
นั่นคือ sin (arcsin 5 + arcsin 13) = 63
4 5
65

94
2) ให้ arcsin 12 = A
จะได้ sin A = 12 เมื่อ A∊[- π2 , π2 ]
จาก sin A = 12 สร้างรูปสามเหลี่ยมุมฉากได้ ดังนี้
2
จะได้ tan A = 1 1
3 A
1
ให้ arccos 3 = B 3
จะได้ cos B = 13 เมื่อ B∊[0, π]
จาก cos B = 13 สร้างรูปสามเหลี่ยมุมฉากได้ ดังนี้
จะได้ tan B = 8 3 8
ดังนั้น tan (arcsin 12 - arccos 13) = tan (A - B)
tan A - tan B B
1 + tan A tan B = 1
( 13) - ( 8)
=
1 + ( 13)( 8)
= 15 (8  2 - 9 3)
นั่นคือ tan (arcsin 12 - arccos 13) = 15 (8  2 - 9 3)
3) ให้ arcsin 12
13 = A
จะได้ sin A = 12 13 เมื่อ A∊[- π2 , π2 ]
จาก sin A = 12 13 สร้างรูปสามเหลี่ยมุมฉากได้ ดังนี้
จะได้ cos A = 13 5 13 12
ให้ arcsin 45 = B
จะได้ sin B = 45 เมื่อ B∊[- π2 , π2 ] A
5
จาก sin B = 45 สร้างรูปสามเหลี่ยมุมฉากได้ ดังนี้
จะได้ cos B = 35 5 4
B
3

95
ดังนั้น cos (arcsin 12 4
13 + arcsin 5) = cos (A + B)
= cos A cos B - sin A sin B
= (135 )(35) - (12 4
13)(5)
= - 33
65
นั่นคือ cos (arcsin 13 + arcsin 5) = - 33
12 4
65
4) ให้ arctan (- 43) = A
จะได้ tan A = - 43 เมื่อ A∊[- π2 , π2 ]
จาก tan A = - 43 สร้างรูปสามเหลี่ยมุมฉากได้ ดังนี้ 3
A
จะได้ sin A = - 45 และ cos A = 35 5 4
ให้ arcsin 1213 = B
จะได้ sin B = 12 13 เมื่อ B∊[- π2 , π2 ]
จาก sin B = 12
13 สร้างรูปสามเหลี่ยมุมฉากได้ ดังนี้ 13 12
จะได้ cos B = 13 5
ดังนั้น cos (arctan (- 43) + arcsin 12 B
13 ) = cos (A + B) 5
= cos A cos B - sin A sin B
= (35)(135 ) - (- 45)(12
13)
= 63
65
นั่นคือ cos (arctan (- 3) + arcsin 13) = 63
4 12
65

ระดับท้าทาย

6. ให้แสดงว่าฟงกชันตรีโกณมิติในแต่ละข้อต่อไปนี้เปนจริง
1) arcsin 1 + arcsin 2 = π2 2) cos (2 arcsin x) = 1 - 2x2
5 5
แนวคิด 1) ให้ arcsin 15 = A
จะได้ sin A = 15 เมื่อ A∊[- π2 , π2 ]

96
จาก sin A = 1 สร้างรูปสามเหลี่ยมุมฉากได้ ดังนี้ 5
5 1
จะได้ cos A = 2 A
5 2
2
ให้ arcsin = B
5
จะได้ sin B = 2 เมื่อ B∊[- π2 , π2 ]
5
จาก sin B = 2 สร้างรูปสามเหลี่ยมุมฉากได้ ดังนี้
5 5 2
จะได้ cos B = 1
5
พิจารณา sin (arcsin + arcsin 2 ) = sin (A + B)
1 B
5 5 1
= sin A cos B + cos A sin B
= ( 1 )( 1 ) + ( 2 )( 2 )
5 5 5 5
= 1
จะได้ sin (arcsin 1 + arcsin 2 ) = 1
5 5
ดังนั้น arcsin 1 + arcsin 2 = π2
5 5
2) ให้ arcsin x = A
จะได้ sin A = x เมื่อ A∊[- π2 , π2 ]
เนื่องจาก cos 2A = 1 - 2 sin2A
= 1 - 2x2
ดังนั้น cos (2 arcsin x) = 1 - 2x2
ลองทำ�ดู (หน้า 97)
ให้พิสูจน์ว่า tan4 x + 2 tan2 x + 1 = 14
cos x
4 x + 2 tan2 x + 1 = (tan2 x + 1)2
แนวคิด tan
= (sec2 x)2
= sec4 x
= 14
cos x
4 x + 2 tan2 x + 1 = 1
ดังนั้น tan
cos4 x
97
ลองทำ�ดู (หน้า 98)
cos θ = 1 + sin θ
ให้พิสูจน์ว่า 1 - sin θ cos θ
แนวคิด 1 - sin cos θ = cos θ × 1 + sin θ
θ 1 - sin θ 1 + sin θ
= cos θ(1 + sin2
θ)
1 - sin θ
= cos θ(1 + sin
2
θ)
cos θ
= 1 + sin
cos θ
θ

cos θ = 1 + sin θ
ดังนั้น 1 - sin θ cos θ
sin 4x - sin (-2x) - sin 6x + sin (-4x) = cot x
ให้พิสูจน์ว่า cos (-2x) - cos 4x - cos (-4x) + cos 6x
แนวคิด sin 4x - sin (-2x) - sin 6x + sin (-4x)
cos (-2x) - cos 4x - cos (-4x) + cos 6x
sin 4x + sin 2x - sin 6x - sin 4x
= cos 2x - cos 4x - cos 4x + cos 6x
-(sin 6x - sin 4x) - (sin 4x - sin 2x)
= (cos 6x - cos 4x) - (cos 4x - cos 2x)
= -(2 cos 5x sin x) - (2 cos 3x sin x)
(-2 sin 5x sin x) - (-2 sin 3x sin x)
= -2 sin x (cos 5x + cos 3x)
-2 sin x (sin 5x - sin 3x)
= 2 cos 4x cos x
2 cos 4x sin x
= cot x
sin 4x - sin (-2x) - sin 6x + sin (-4x) = cot x
ดังนั้น cos (-2x) - cos 4x - cos (-4x) + cos 6x

ลองทำ�ดู (หน้า 99)


กำาหนด A + B + C = 180 ำ ให้พิสูจน์ว่า sin A + sin B - sin C = 4 sin A2 sin B2 sin C2
แนวคิด sin A + sin B - sin C = 2 sin (A + B A - B
2 ) cos ( 2 ) - sin C

98
พิจารณาที่ A + B = C จะได้
2 sin (A + B A - B
2 ) cos ( 2 ) - sin C
= 2 sin C2 cos ( A - B
2 ) - sin C
= 2 sin C2 cos ( A - B C C
2 ) - 2 sin 2 cos 2
= 2 sin C2 [cos ( A - B C
2 ) - cos 2 ]
= 2 sin C2 [cos ( A - B A + B
2 ) - cos ( 2 )]
= 2 sin C2 (2 sin A2 sin B2 )
= 4 sin A2 sin B2 sin C2
ดังนั้น sin A + sin B - sin C = 4 sin A2 sin B2 sin C2

ลองทำ�ดู (หน้า 100)


แก้สมการ tan x = - 3 เมื่อ - π2 < x < 0
แนวคิด เนื่องจาก - π2 < x < 0 จะได้ว่า ค่าของ x ในช่วงนี้ที่ทำาให้ tan x = - 3 คือ - π3
ดังนั้น เซตคำาตอบ คือ {- π3 }
แก้สมการ cos θ = 12
แนวคิด Y จากวงกลมหนึ่งหน่วย จะเห็นว่าค่า θ
P1 เมื่อ 0 < θ < 2π
ที่ทำาให้ cos θ = 12 คือ π3 และ 53π
O (1, 0) X และ cos (2nπ + π3 ) = cos π3 = 12 เมื่อ n∊I

P cos (2nπ + 53π) = cos 53π = 12 เมื่อ n∊I


2
เ นื่องจากโจทย์ไม่ได้กำาหนดให้หาคำาตอบอยู่ในช่วงใด
ช่วงหนึ่ง ดังนั้น ค่าทั่วไปของ θ ที่ทำาให้สมการเป็นจริง
คือ 2nπ + π3 และ 2nπ + 53π เมื่อ n∊I

99
ลองทำ�ดู (หน้า 101)
แก้สมการ cos 2θ - 1 = 0
แนวคิด cos 2θ - 1 = 0
cos 2θ = 1
1 - 2 sin2 θ = 1
2 sin2 θ = 0
sin θ = 0
เนื่องจาก ค่า θ เมื่อ 0 ≤ θ ≤ 2π ที่ทำาให้ sin θ = 0 คือ 0, π และ 2π
นั่นคือ คำาตอบของสมการในช่วง [0, 2π] คือ 0, π และ 2π
ดังนั้น ค่าทั่วไปของ θ ที่ทำาให้สมการเป็นจริง คือ nπ เมื่อ n∊I
แก้สมการ 4 cos2 x - 4 cos 2x + 2 = 5
แนวคิด 4 cos2 x - 4 cos 2x + 2 = 5
4 cos2 x - 4 cos 2x = 3
4 cos2 x - 4 (2 cos2 x - 1) = 3
4 cos2 x - 8 cos2 x + 4 = 3
-4 cos2 x = -1
cos2 x = 14
cos x = ± 12
จะได้ cos x = 12 หรือ cos x = - 12
เนื่องจาก ค่า x เมื่อ 0 ≤ x ≤ 2π ที่ทำาให้ cos x = 12 คือ π3 และ 53π
ค่า x เมื่อ 0 ≤ x ≤ 2π ที่ทำาให้ cos x = - 12 คือ 23π และ 43π
นั่นคือ คำาตอบของสมการในช่วง [0, 2π] คือ π3 , 23π , 43π และ 53π
ดังนั้น ค่าทั่วไปของ x ที่ทำาให้สมการเป็นจริง คือ 2nπ + π3 , 2nπ + 23π ,
2nπ + 43π และ 2nπ + 53π เมื่อ n∊I

100
แบบฝึ
กทั
ก ษะ 1.11 (หน้า 102)

ระดับพื้นฐาน

1. ให้พิสูจนเอกลักษณตรีโกณมิติในแต่ละข้อต่อไปนี้
1) cos θ (tan θ + cot θ) = cosec θ 2) sin 2θ cot θ - 1 = cos 2θ
3) sin4 θ + cos4 θ = 1 - 12 sin2 θ 4) sec2 θ + cosec2 θ = sec2 θ cosec2 θ
5) tan2 θ - sin2 θ = tan2 θ sin2 θ 6) cossin2θ2θ+ + sin θ
cos θ + 1 = tan θ
แนวคิด 1) cos θ (tan θ + cot θ) = cos θ (cossin θ + cos θ)
θ sin θ
2 θ
= sin θ + cos sin θ
2 + cos2 θ
= sin θsin
θ
1
= sin θ
= cosec θ
2) sin 2θ cot θ - 1 = 2 sin θ cos θ × cos
sin θ
θ - 1

= 2 cos2 θ - 1
= cos 2θ
3) sin4 θ + cos4 θ = (sin4 θ + 2 sin2 θ cos2 θ + cos4 θ) - 2 sin2 θ cos2 θ
= (sin2 θ + cos2 θ)2 - 12 (2 sin θ cos θ)(2 sin θ cos θ)
= 1 - 12 sin2 2θ
4) sec2 θ + cosec2 θ = 12 + 12
cos θ sin θ
2 2
= sin θ2 + cos2 θ
cos θ sin θ
= 2 1 2
cos θ sin θ
= sec2 θ cosec2 θ

101
2
5) tan2 θ - sin2 θ = sin 2 θ - sin2 θ
cos θ
= sin2 θ ( 12 - 1)
cos θ
2 θ
= sin2 θ ( 1 - cos
cos θ )
2
2
= sin2 θ ( sin 2 θ )
cos θ
= tan2 θ sin2 θ
sin 2θ + sin θ = 2 sin
6) cos 2 θ cos θ + sin θ
θ + cos θ + 1 2
(2 cos θ - 1) + cos θ + 1
sin θ (2 cos θ + 1)
= cos θ (2 cos θ + 1)
sin θ
= cos θ
= tan θ

ระดับกลาง
2. ให้พิสูจนเอกลักษณตรีโกณมิติในแต่ละข้อต่อไปนี้
1) cos 4x = 4 cos 2x + 8 sin4 x - 3
cos 2x
2) tan (π4 - x) = 1 + sin 2x
3) 1 + cos x + cos 2x + cos 3x = 4 cos x cos 3x2 cos x2
แนวคิด 1) cos 4x = 1 - 2 sin2 2x
= 1 - 2 (2 sin x cos x)2
= 1 - 2 (4 sin2 x cos2x )
= 1 - 8 sin2 x(1 - sin2 x)
= 1 - 8 sin2 x + 8 sin4 x
= 1 - 8 ( 1 - cos 2x 4
2 ) + 8 sin4 x
= 1 - 4(1 - cos 2x) + 8 sin x
= 1 - 4 + 4 cos 2x + 8 sin4 x
= 4 cos 2x + 8 sin4 x - 3

102
sin (π4 - x)
2) tan  π
( 4 - x) = cos  π - x
(4 )
sin π4  cos x - sin x cos π4
= π
cos 4  cos x + sin π4  sin x

 22 cos x - 22 sin x
=
2 2
2  cos x + 2   sin x
 22 (cos x - sin x)
=
2
2  (cos x + sin x)
=  (cos x - sin x)(cos x + sin x)
(cos x + sin x)(cos x + sin x)
2  2 
= 2  cos x - sin x 2 
cos x + 2 sin x cos x + sin x
= 2  cos 2x
(cos x + sin2 x) + 2 sin x sin x
= 1 cos 2x
+ sin 2x
3) 1 + cos x + cos 2x + cos 3x
= (1 + cos 3x) + (cos x + cos 2x)
= (cos 0 + cos 3x) + (cos x + cos 2x)
= [2 cos ( 0 +2 3x ) cos ( 0 -2 3x )] + [2 cos ( x +2 2x ) cos ( x -2 2x )]
3x 3x 3x
= [2 cos  2 cos (-  2 )] + [2 cos  2 cos (- 2 )]
x
3x 3x
= 2 cos  2 (cos  2 + cos 2 )
x
3x + x 3x - x
= 2 cos  2 [2 cos ( 2 ) cos ( 2 2 )]
3x 2 2 2

= 2 cos 3x2 (2 cos x cos x2 )


3x x
= 4 cos x cos  2 cos 2

103
3. กําหนด A + B + C = 180 ํ ให้พิสูจนว่า tan A + tan B + tan C = tan A tan B tan C
แนวคิด จาก A + B + C = 180 ำ
A + B = 180 ำ - C
tan (A + B) = tan (180 ำ - C)
tan (A + B) = -tan C
tan A + tan B
1 - tan A tan B = -tan C
tan A + tan B = -tan C (1 - tan A tan B)
tan A + tan B = -tan C + tan A tan B tan C
tan A + tan B + tan C = tan A tan B tan C
4. แก้สมการในแต่ละข้อต่อไปนี้ เมื่อ 0 ≤ x ≤ 2π
1) cot x + 2 sin x = cosec x
2) 4 tan x sin2 x + 3 = 4 sin2 x + 3 tan x
3) cot x cos 2x + tan x sin 2x = cot x
4) cot x - 2 cos x = 2 cosec x - 4
แนวคิด 1) cot x + 2 sin x = cosec x
cos x + 2 sin x = 1
sin x sin x
2 x = 1
cos x + 2 sin
cos x + 2(1 - cos2 x) = 1
cos x + 2 - 2 cos2 x - 1 = 0
2 cos2 x - cos x - 1 = 0
(2 cos x + 1)(cos x - 1) = 0
จะได้ cos x = - 12 หรือ cos x = 1
เนื่องจาก ค่า x เมื่อ 0 ≤ x ≤ 2π ที่ทำาให้ cos x = - 12 คือ 23π , 43π
ค่า x เมื่อ 0 ≤ x ≤ 2π ที่ทำาให้ cos x = 1 คือ 0, 2π
ดังนั้น เซตคำาตอบ คือ {0, 23π , 43π , 2π}

104
2) 4 tan x sin2 x + 3 = 4 sin2 x + 3 tan x
4 tan x sin2 x + 3 - 4 sin2 x - 3 tan x = 0
(tan x - 1)(4 sin2 x - 3) = 0
(tan x - 1)(2 sin x - 3)(2 sin x + 3) = 0
จะได้ tan x = 1 หรือ sin x = 23 หรือ sin x = - 23
เนื่องจาก ค่า x เมื่อ 0 ≤ x ≤ 2π ที่ทำ�ให้ tan x = 1 คือ π4 , 54π
ค่า x เมื่อ 0 ≤ x ≤ 2π ที่ทำ�ให้ sin x = 23 คือ π3 , 23π
ค่า x เมื่อ 0 ≤ x ≤ 2π ที่ทำ�ให้ sin x = - 23 คือ 43π , 53π
ดังนั้น เซตคำ�ตอบ คือ {π4  , π3 , 23π , 54π , 43π , 53π}
3) cot x cos 2x + tan x sin 2x = cot x
cot x (cos 2x + tan2 x sin 2x) = cot x
2
cos 2x + sin 2 x  (2 sin x cos x) = 1
cos  x
cos 2x + 2 sin2 x tan x = 1
1 - 2 sin2 x + 2 sin2 x tan x = 1
2 sin2 x (tan x - 1) = 0
จะได้ 2 sin2 x = 0 หรือ tan x - 1 = 0
sin x = 0 tan x = 1
เนื่องจาก ค่า x เมื่อ 0 ≤ x ≤ 2π ที่ทำ�ให้ sin x = 0 คือ 0, 2π
ค่า x เมื่อ 0 ≤ x ≤ 2π ที่ทำ�ให้ tan x = 1 คือ π4 , 54π
ดังนั้น เซตค�ำตอบ คือ {0, π4  , 54π , 2π}
4) cot x - 2 cos x = 2 cosec x - 4
cos x - 2 cos x = 2 - 4
sin x sin x
1 - 2)  = 2 ( 1 - 2)
cos x (sin x sin x
cos x (sin x 1 - 2) - 2 ( 1 - 2) = 0 
sin x
1 - 2) = 0 
(cos x - 2)(sin x

105
จะได้ cos x = 2 หรือ sin x 1 - 2 = 0
แต่ ∙cos x∙ ≤ 1 จึงไม่มีค่า x ที่สอดคล้องกับสมการนี้
พิจารณา 1
sin x - 2 = 0
1
sin x = 2
sin x = 12
เนื่องจาก ค่า x เมื่อ 0 ≤ x ≤ 2π ที่ทำาให้ sin x = 12 คือ π6 , 56π
ดังนั้น เซตคำาตอบ คือ { π6 , 56π}
5. แก้สมการในแต่ละข้อต่อไปนี้
1) 2 cos2 θ + 2 cos 2θ = 1
2) 2 sin θ (cos θ + sin θ) = 2 sin θ
3) 2 sec θ = tan θ + cot θ
4) sin θ + 8 cos θ = 2 cos3θ + 6 cos θ
แนวคิด 1) 2 cos2 θ + 2 cos 2θ = 1
2 cos2 θ + 2(2 cos2 θ - 1) = 1
2 cos2 θ + 4 cos2 θ - 2 - 1 = 0
6 cos2 θ - 3 = 0
cos2 θ = 12
จะได้ cos θ = 1 หรือ cos θ = - 1
2 2
เนื่องจาก ค่า θ เมื่อ 0 ≤ θ ≤ 2π ที่ทำาให้ cos θ = 1 คือ π4 , 74π
2
ค่า θ เมื่อ 0 ≤ θ ≤ 2π ที่ทำาให้ cos θ = - 1 คือ 34π , 54π
2
นั่นคือ คำาตอบของสมการในช่วง [0, 2π] คือ π4 , 34π , 54π , 74π
ดังนั้น ค่าทั่วไปของ θ ที่ทำาให้สมการเป็นจริง คือ 2nπ + π4 , 2nπ + 34π ,
2nπ + 54π และ 2nπ + 74π เมื่อ n∊I

106
2) 2 sin θ (cos θ + sin θ) = 2 sin θ
sin θ (cos θ + sin θ) = sin θ
sin θ cos θ + sin2θ = sin θ
sin θ cos θ + sin2θ - sin θ = 0
sin θ (cos θ + sin θ - 1) = 0
จะได้ sin θ = 0 หรือ cos θ + sin θ - 1 = 0
1  cos θ + 1  sin θ - 1   = 0
2 2 2
π π 1
sin 4 cos θ + cos 4  sin θ -   = 0
2
sin (θ + 4 ) = 1  
π
2
sin (θ + π4 ) = 22
เนื่องจาก ค่า θ เมือ่ 0 ≤ θ ≤ 2π ทีท่ �ำ ให้ sin θ = 0 คือ 0, π, 2π
ค่า θ เมื่อ 0 ≤ θ ≤ 2π ที่ท�ำ ให้ sin (θ + π4 ) = 22 คือ 0 , π2
นั่นคือ คำ�ตอบของสมการในช่วง [0, 2π] คือ 0, π2  , π และ 2π
ดังนั้น ค่าทั่วไปของ θ ที่ทำ�ให้สมการเป็นจริง คือ 2nπ + π2 และ nπ
เมื่อ n∊I
3) 2 sec θ = tan θ + cot θ
2 sin θ cos θ

cos θ = cos θ + sin θ
2 = sin2 θ + cos2 θ
cos θ sin θ cos θ
2 1
cos θ = sin θ cos θ
sin θ = 12
เนื่องจาก ค่า θ เมือ่ 0 ≤ θ ≤ 2π ทีท่ �ำ ให้ sin θ = 12 คือ π6  , 56π  
นั่นคือ คำ�ตอบของสมการในช่วง [0, 2π] คือ π6 และ 56π
ดังนั้น ค่าทั่วไปของ θ ที่ท�ำ ให้สมการเป็นจริง คือ 2nπ + π6 และ 2nπ + 56π
เมื่อ n∊I

107
4) sin θ + 8 cos θ = 2 cos3 θ + 6 cos θ
2 cos θ - 2 cos3 θ + sin θ = 0
2 cos θ (1 - cos2 θ) + sin θ = 0
2 cos θ sin2 θ + sin θ = 0
sin θ (2 cos θ sin θ + 1) = 0
sin θ (sin 2θ + 1) = 0
จะได้ sin θ = 0 หรือ sin 2θ + 1 = 0
sin 2θ = -1
เนื่องจาก ค่า θ เมือ่ 0 ≤ θ ≤ 2π ทีท่ าำ ให้ sin θ = 0 คือ 0, π, 2π
ค่า θ เมือ่ 0 ≤ θ ≤ 2π ทีท่ าำ ให้ sin 2θ = -1 คือ 34π
นั่นคือ คำาตอบของสมการในช่วง [0, 2π] คือ 0 , 34π , π และ 2π
ดังนั้น ค่าทั่วไปของ θ ที่ทำาให้สมการเป็นจริง คือ 2nπ + 34π และ nπ
เมื่อ n∊I

ระดับท้าทาย
6. กําหนด a = sin 3x cos 2x - 2 sin x cos x cos 3x เมื่อ 0 ≤ x ≤ 2π
2
ให้หาค่า x ที่ทําให้ 2a - 3 3 a - 6 = 0
แนวคิด 2a2 - 3 3 a - 6 = 0
(a - 2 3)(2a + 3) = 0
a = 2 3 , - 23
พิจารณา a = - 23
จะได้ sin 3x cos 2x - 2 sin x cos x cos 3x = - 23
sin 3x cos 2x - sin 2x cos 3x = - 23
sin (3x - 2x) = - 23
sin x = - 23

108
เนื่องจาก ค่า x เมื่อ 0 ≤ x ≤ 2π ที่ท�ำให้ sin x = - 23 คือ 43π  , 53π
พิจารณา a = 2  3
จะได้ sin x = 2  3
เนื่องจาก ∙ sin x ∙ ≤ 1 เมื่อ 0 ≤ x ≤ 2π จึงไม่มีค่า x ที่สอดคล้องกับสมการนี้
ดังนั้น ค่า x ที่สอดคล้องกับเงื่อนไขดังกล่าว คือ x = 43π   และ 53π

Thinking Time (หน้า 103)


ให้นักเรียนพิสูจน์กฎของไซน์ โดยใช้รูปสามเหลี่ยมมุมป้าน
แนวคิด พิจารณารูปสามเหลี่ยมมุมป้าน ABC
จากรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก AEC จะได้ sin C = AE b
b sin C = AE
จากพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยม เท่ากับ 12 × ฐาน × สูง
จะได้ พื้นที่ของรูปสามเหลี่ยม ABC เท่ากับ 12  (CB)(AE)
= 12 ab sin C …..(1)
ในท�ำนองเดียวกัน ถ้าให้ AB และ CA เป็นฐาน จะได้ว่า
พื้นที่ของรูปสามเหลี่ยม ABC = 12 bc sin A …..(2)
พื้นที่ของรูปสามเหลี่ยม ABC = 12 ca sin B …..(3)
จาก (1), (2) และ (3) จะได้ว่า
1 bc sin A = 1 ca sin B = 1 ab sin C
2 2 2
คูณด้วย abc2 โดยตลอด จะได้ว่า
sin A = sin B = sin C
a b c

109
ลองทำ�ดู (หน้า 105)
กำาหนดรูปสามเหลี่ยม ABC เป็นรูปสามเหลี่ยมที่มีความยาวด้านตรงข้ามมุม A มุม B และมุม C
∧ ∧
เป็น a, b และ c ตามลำาดับ โดย B = 45 ำ , C = 60 ำ และ b = 2 3 หน่วย ให้หาความยาวของ c
แนวคิด จากกฎของไซน์ จะได้ sin B = sin C
b c
sin 45 ำ = sin 60 ำ
2 3 c
c = 2 3 sin 60 ำ
sin 45 ำ
3
= 2 3 2
2
2
= 2 3 ( 3 )
2
= 6
2
= 3 2
≈ 4.24
ดังนั้น c มีความยาวประมาณ 4.24 หน่วย
ลองทำ�ดู (หน้า 106)
กำาหนดรูปสามเหลี่ยม ABC เป็นรูปสามเหลี่ยมที่มีความยาวด้านตรงข้ามมุม A มุม B และ

มุม C เป็น a, b และ c ตามลำาดับ โดย A = 30 ำ , a = 11 หน่วย และ c = 17 หน่วย ให้หา
ขนาดของมุม C
แนวคิด จากกฎของไซน์ จะได้ sinc C = sina A
sin C = sin 30 ำ
17 11
1 (17)
sin C = 2 11
= 1722
≈ 0.7727
เนื่องจาก sin C ≈ 0.7727 มีค่าอยู่ระหว่าง sin 50 ำ 30′ กับ sin 50 ำ 40′
จากตารางค่าฟังก์ชันตรีโกณมิต ิ จะได้ sin 50 ำ 30′ = 0.7716
sin 50 ำ 40′ = 0.7735
110
เนือ่ งจาก ค่าของฟังก์ชนั ไซน์เพิม่ ขึน้ 0.0019 ค่าของมุมเพิม่ ขึน้ 10′
ค่าของฟังก์ชนั ไซน์เพิม่ ขึน้ 0.0011 ค่าของมุมเพิม่ ขึน้ 0.0011 × 10
0.0019 ≈ 6′
จะได้ว่า sin (50 ำ 30′ + 6′) = sin 50 ำ 36′ ≈ 0.7727
ดังนั้น C∧ ≈ 50 ำ 36′
แต่เนื่องจาก sin C > 0 จะได้ว่า 0 < C∧ < 180 ำ
ดังนั้น C∧ ≈ 50 ำ 36′ หรือ C∧ ≈ 180 ำ - 50 ำ 36′ = 129 ำ 24′

Thinking Time (หน้า 106)


ให้นักเรียนพิสูจน์กฎของโคไซน์ โดยใช้รูปสามเหลี่ยมมุมป้าน
แนวคิด พิจารณารูปสามเหลี่ยมมุมป้าน ABC
จากรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ADC จะได้ cos (180 ำ - A) = xb
-cos A = xb
-b cos A = x
2 = h2 + x2
และโดยทฤษฎีบทพีทาโกรัส จะได้ b
พิจารณารูปสามเหลี่ยมมุมฉาก BDC โดยทฤษฎีบทพีทาโกรัส จะได้ว่า
a2 = h2 + (x + c)2
= h2 + x2 + 2xc + c2
= (h2 + x2) + 2xc + c2
= b2 + 2xc + c2
= b2 + c2 - 2bc cos A
ดังนั้น a2 = b2 + c2 - 2bc cos A
ในทำานองเดียวกัน สามารถพิสูจน์ได้ว่า
b2 = a2 + c2 - 2ac cos B
c2 = a2 + b2 - 2ac cos C
ลองทำ�ดู (หน้า 107)
กำาหนดรูปสามเหลี่ยม ABC เป็นรูปสามเหลี่ยมที่มีความยาวด้านตรงข้ามของมุม A มุม B และ

มุม C เป็น a, b และ c ตามลำาดับ โดย B = 45 ำ , a = 4 หน่วย และ c = 9 หน่วย ให้หา
ความยาวของ b
111
แนวคิด จากกฎของโคไซน์ b2 = a2 + c2 - 2ac cos B
จะได้ = 42 + 92 - 2(4)(9) cos 45 ำ
= 16 + 81 - 72 ( 22)
≈ 40.09
b ≈ 6.33
ดังนั้น b มีค่าความยาวประมาณ 6.33 หน่วย
ลองทำ�ดู (หน้า 108)
กำาหนดรูปสามเหลี่ยม ABC เป็นรูปสามเหลี่ยมที่มีความยาวด้านตรงข้ามของมุม A มุม B และ
มุม C เป็น a, b และ c ตามลำาดับ โดย a = 6 หน่วย, b = 13 หน่วย และ c = 14 หน่วย ให้หา
ขนาดของมุม B
แนวคิด จากกฎของโคไซน์ b2 = a2 + c2 - 2ac cos B
จะได้ 132 = 62 + 142 - 2(6)(14) cos B
169 = 36 + 196 - 168 cos B
168 cos B = 63
cos B = 38

ดังนั้น B = arccos ( 38 )

แบบฝึ
กทั
ก ษะ 1.12 (หน้า 108)
กําหนดรูปสามเหลี่ยม ABC เปนรูปสามเหลี่ยมที่มีความยาวด้านตรงข้ามของมุม A มุม B
และมุม C เปน a, b และ c ตามลําดับ
ระดับพื้นฐาน

1. ให้ใช้กฎของไซนเพื่อหาค่าในแต่ละข้อต่อไปนี้
∧ ∧
1) ให้หาความยาวของ a เมื่อ A = 30 ำ , C = 45 ำ และ c = 8 หน่วย
∧ ∧
2) ให้หาความยาวของ b เมื่อ A = 45 ำ, B = 60 ำ และ a = 7 หน่วย

3) ให้หาขนาดของมุม B เมื่อ A = 60 ำ , a = 3 2 หน่วย และ b = 2 3 หน่วย

4) ให้หาขนาดของมุม C เมื่อ B = 45 ำ, b = 2 2 หน่วย และ c = 2 3 หน่วย
112
a = c
แนวคิด 1) จากกฎของไซน์ จะได้ sin A sin C
a = 8
sin 30 ํ sin 45 ํ
8 × 12
a =
2
2
a = 4  2
ดังนั้น ความยาวของ a เท่ากับ 4  2 หน่วย
2) จากกฎของไซน์ จะได้ sin Aa = b
sin B
sin 45 ํ = sin 60 ํ
7 b
3 (7)
b = 2
2
2
= 726
ดังนั้น b มีค่าความยาวเท่ากับ 726 หน่วย
a = b
3) จากกฎของไซน์ จะได้ sin A sin B
3 2 = 2 3
sin 60 ํ sin B
sin B = 2 3 × 23 C
32
b=23 a=32
sin B = 22
ดังนั้น ∧B = 45 ํ หรือ 135 ํ A 60 ํ B
ถ้า ∧B = 135 ํ แล้ว ∧A + ∧B = 60 ํ + 135 ํ = 195 ํ
ซึ่งมากกว่า 180 ํ ทำ�ให้หา C∧ ไม่ได้

ดังนั้น B = 45 ํ
c = b
4) จากกฎของไซน์ จะได้ sin C sin B
23 22
sin C = sin 45 ํ

113
sin C = 2 3 × 22
2 2
sin C = 23

ดังนั้น C = 60 ำ หรือ 120 ำ
∧ ∧
ถ้า C = 60 ำ แล้ว A = 180 ำ - 45 ำ - 60 ำ = 75 ำ
∧ ∧
ถ้า C = 120 ำ แล้ว A = 180 ำ - 45 ำ - 120 ำ = 15 ำ

ดังนั้น C = 60 ำ หรือ 120 ำ
2. ให้ใช้กฎของโคไซนเพื่อหาค่าในแต่ละข้อต่อไปนี้

1) ให้หาความยาวของ b เมื่อ B = 60 ำ , a = 3 หน่วย และ c = 3 3 หน่วย

2) ให้หาความยาวของ a เมื่อ A = 60 ำ, b = 20 หน่วย และ c = 30 หน่วย
3) ให้หาขนาดของมุม A เมื่อ a = 25 หน่วย, b = 31 หน่วย และ c = 7 2 หน่วย
4) ให้หาขนาดของมุม C เมื่อ a = 15 หน่วย, b = 7 หน่วย และ c = 13 หน่วย
แนวคิด 1) จากกฎของโคไซน์ b2 = a2 + c2 - 2 ac cos B
จะได้ = 32 + (3 3)2 - 2(3)(3 3) cos 60 ำ
= 9 + 27 - 18 3 (12)
≈ 20.41
b ≈ 4.52
ดังนั้น b มีค่าความยาวประมาณ 4.52 หน่วย
2) จากกฎของโคไซน์ a2 = b2 + c2 - 2 bc cos A
จะได้ a2 = 202 + 302 - 2(20)(30) cos 60 ำ
= 400 + 900 - 2(20)(30)(12)
= 700
a = 10 7
ดังนั้น a มีค่าความยาวเท่ากับ 10 7 หน่วย
2
3) จากกฎของโคไซน์ cos A = b +2 bc c2 - a2
2 2)2 - 252
จะได้ cos A = 31 + (7
2(31)(7 2)
= 961 + 98 - 625
434 2
434
= 434 2
114
cos A = 21

ดังนั้น A = 45 ำ
2 2 2
4) จากกฎของโคไซน์ cos C = a + b 2 ab
- c
2 2
จะได้ cos C = 15 + 7 - 132
2(15)(7)
= 225 + 49 - 169
2(15)(7)
105
= 2(15)(7)
= 12

ดังนั้น C = 60 ำ

ระดับกลาง
3. ใ ห้หาความยาวด้านหรือมุมภายในทีเ่ หลือของรูปสามเหลีย่ ม ABC จากสิง่ ทีก่ าํ หนดในแต่ละข้อ
ต่อไปนี้
1) a = 2, b = 2 3, c = 2
2) ∧A = 75 ำ, B = 30 ำ

, b = 8

3) a = 4, B = 135 ำ, b = 4
∧ ∧
4) A = 45 ำ, B = 105 ำ, c = 5 2
2 c2 - a2
แนวคิด 1) จากกฎของโคไซน์ cos A = b +2 bc
2 2 2
จะได้ cos A = (2 3) + 2 - 2
2(2 3)(2)
= 12
8 3
= 23

A = 30 ำ

115
2 b2 - c2
และจากกฎของโคไซน์ cos C = a +2 ab
2 2 2
จะได้ cos C = 2 + (2  3) - 2
2(2)(2  3)
= 2 3

C = 30 ํ B

นั่นคือ B = 180 ํ - 30 ํ - 30 ํ = 120 ํ c=2 a=2
∧ ∧ ∧
ดังนั้น A = 30 ํ, B = 120 ํ และ C = 30 ํ A C
∧ b=23
2) จาก C = 180 ํ - 75 ํ - 30 ํ

จะได้ C = 75 ํ
จากกฎของโคไซน์ sin C c = b
sin B
จะได้ c = 2 8 sin (30 ํ + 45 ํ)
= 2 8 (sin 30 ํ cos 45 ํ + cos 30 ํ sin 45 ํ)
= 2 8 [(12)( 22) + ( 23)( 22)]
= 4 2 ( 2 + 6 4 )
= 2 + 2  3
= 2( 3 + 1)
จากกฎของโคไซน์ sin A a = c
sin C
จะได้ a = 2( 3 + 1)
sin 75 ํ sin  75 ํ
a = 2( 3 + 1)

ดังนั้น C = 75 ํ, a = 2( 3 + 1) หน่วย, c = 2( 3 + 1) หน่วย
3) จากกฎของโคไซน์ sin A sin B
a = b
จะได้ sin A = sin 135 ํ
4 4
sin A = sin 45 ํ
sin A = 22

จะได้ A = 45 ํ หรือ 135 ํ
 ถ้า A = 45 ํ แล้ว ∧B + ∧A = 135 ํ  + 45 ํ = 180 ํ ทำ�ให้หา C∧ ไม่ได้

 ถ้า ∧A = 135 ํ แล้ว ∧B + ∧A = 135 ํ  + 135 ํ = 270 ํ ทำ�ให้หา C∧ ไม่ได้


ดังนั้น ไม่เกิดรูปสามเหลี่ยม
116

4) จาก C = 180 ำ - 45 ำ - 105 ำ

จะได้ C = 30 ำ
จากกฎของโคไซน์ sin A a = c
sin C
จะได้ a = 5 2 × sin 45 ำ
sin 30 ำ
= 5 2 × 22 × 21
= 10
จากกฎของโคไซน์ b2 = a2 + c2 - 2ac cos B
จะได้ = 102 + (5 2)2 - 2(10)(5 2) cos 105 ำ
= 100 + 50 - 100 2 cos 105 ำ
= 150 - 100 2 cos (60 ำ + 45 ำ)
= 150 - 100 2 (cos 60 ำ cos45 ำ - sin 60 ำ sin 45 ำ)
= 150 - 100 2 [(12)( 22) + ( 23)( 22)]
= 150 - 100 2 ( 2 - 6 4 )
= 150 - 50 + 50 3
= 150 + 50 3
b = 100 + 50 3
= 25 4 + 2 3
= 5 3 + 2 3 1 + 1
= 5 ( 3 + 1)2
= 5( 3 + 1)

ดังนั้น C = 30 ำ, a = 10 หน่วย และ b = 5( 3 + 1) หน่วย
4. กําหนดรูปสามเหลี่ยม ABC มี a = 4 หน่วย b = 4 3 หน่วย และ c = 4 หน่วย ให้หา
ขนาดของมุมที่ใหญ่ที่สุด
แนวคิด จากสมบัตขิ องรูปสามเหลีย่ มด้านตรงข้ามมุม B ยาวทีส่ ดุ ดังนัน้ มุม B ใหญ่ทสี่ ดุ
2 c2 - b2
จากกฎของโคไซน์ cos B = a +2ac
2 2
จะได้ cos B = 4 + 42(4)(4) - (4 3 )2

117
= 16 + 16 - 48
32
1
= - 2

B = 120 ำ
∧ ∧
ดังนั้น มุมที่ใหญ่ที่สุด คือ B และ B มี ขนาด 120 ำ
5. กําหนดรูปสามเหลี่ยม ABC มีมุม A และมุม B เปนมุมแหลม โดย cos A = 45 , sin B = 12
13
และ b = 30 หน่วย ให้หาความยาวของ c
แนวคิด C
b = 30
A c B
∧ ∧
จาก A และ B เป็ นมุมแหลม
และ cos A = 45 จะได้ sin A = 35
sin B = 12
13 จะได้ cos B = 135
หา C∧
∧ ∧ ∧
A + B + C = 180 ำ
∧ ∧
A + B = 180 ำ - C
sin (A + B) = sin (180 ำ - C)
sin C = sin (A + B)
= sin A cos B + sin B cos A
= ( 35 )(135 ) + (12 4
13)(5)
= 63
65
จากกฎของไซน์ sin C c = b
sin B
จะได้ c = sin Bb × sin C
= 3012 × 65
63
13
= 31.5
ดังนั้น c มีความยาวเท่ากับ 31.5 หน่วย

118
6. กําหนดรูปสามเหลี่ยม ABC มี ∧B = 45 ํ, C = 120 ํ

และ a = 20 หน่วย ให้หาความสูงของ
รูปสามเหลี่ยม ABC ที่วัดจากจุด A
แนวคิด A

45 ำ 120 ำ
B a = 20 C M
จากรูป AM ⊥ BC ที่จุด M

พิจารณา ∆ ABC จะได้ BAC = 180 ำำ - 45 ำ - 120 ำ = 15 ำ
จากกฎของไซน์ AC∧ = BC∧
sin ABC sin BAC
20 × sin 45 ำ
AC = sin 15 ำ
= sin (45 ำ20 - 30 ำ) × 22
= sin 45 ำ cos 30 ำ10 2
- cos 45 sin 30 ำ
= 10 2
( 22)( 23) - ( 22)(1
2)
= 10 2
6 - 2
4
= 40 2
2 ( 3 - 1)
= 40 × 3 + 1
3 - 1 3 + 1
= 20( 3 + 1)
∧ ∧
พิจารณา ∆ ACM จะได้ ACM = 180 ำ ำ - 120 ำ = 60 ำ และ AMC = 90 ำ
จากกฎของไซน์ AM∧ = AC∧
sin ACM sin AMC
AM 20( 3 + 1)
sin 60 ำ = sin 90 ำ

119
AM = 20( 3 + 1) × 23
= 10 3( 3 + 1)
= 30 + 10 3
ดังนั้น AM มีความยาวเท่ากับ 30 + 10 3 หน่วย
7. กําหนด ABCDEF เปนรูปหกเหลี่ยมด้านเท่ามุมเท่า โดยที่แต่ละด้านยาว 6 นิ้ว ให้หา
ความยาวของเส้นทแยงมุม AD และ AC
แนวคิด A
6
B 120 ำ F
6
C E
60 ำ
D
รูปหกเหลี่ยมด้านเท่ามุมเท่าแต่ละมุมกาง 120 ำำ
∧ ∧
จะได้ ABC = 120 ำ ำ และ ADC = 60 ำ
พิจารณา ∆ ABC

AC2 = AB2 + BC2 - 2AB • BC cos ABC
= 62 + 62 - 2(6)(6) cos 120 ำ
= 36 + 36 - 2(6)(6)(- 12)
= 108
AC = 108
= 6 3
∧ ∧
∆ ABC มี AB = BC ดังนั้น BCA = BAC

BCA = 180 ำำ 2- 120 ำำ = 30 ำำ

จะได้ ACD = 120 ำำ - 30 ำำ = 90 ำำ
พิจารณา ∆ ABC
AD = AC
∧ ∧
sin ACD sin ADC

120
6 3 × sin 90 ำำ
AD = sin 60 ำ ำ
= 6 3 × 1
3
2
= 12
ดังนั้น AC ยาว 6 3 หน่วย และ AD ยาว 12 หน่วย
ระดับท้าทาย

8. กาํ หนดรูปสีเ่ หลีย่ มด้านขนานมีมมุ มุมหนึง่ มีขนาด 120 องศา และความยาวของด้านประกอบ


มุมนี้ยาว 4 และ 8 เซนติเมตร ให้หาความยาวของเส้นทแยงมุมทั้งสองเส้นของรูปนี้
แนวคิด D C
4
60 ำ 120 ำ
A B
8
พิจารณา ∆ ABC
AC2 = AB2 + BC2 - 2AB • BC cos B
= 82 + 42 - 2(8)(4) cos 120 ำำ
= 64 + 16 - 2(8)(4)(- 12)
= 80 + 32
= 112
BD = 112
= 4 7
พิจารณา ∆ ABD
BD2 = AB2 + AD2 - 2AB • AD cos A
= 82 + 42 - 2(8)(4) cos 60 ำำ
= 64 + 16 - 2(8)(4)(12)
= 80 - 32
= 48
BD = 48
= 4 3
ดังนั้น เส้นทแยงมุมทั้งสองเส้นยาว 4 3 เซนติเมตร และ 4 7 เซนติเมตร
121
ลองทำ�ดู (หน้า 111)
วิทยายืนอยูบ่ นพืน้ ราบมองเห็นระเบียงของอาคารแห่งหนึง่ เป็นมุมเงย 15 องศา และเมือ่ เดินเข้าไป
หาอาคารแห่งนั้น 80 เมตร เขามองเห็นระเบียงเป็นมุมเงย 60 องศา ถ้าวิทยาสูง 170 เซนติเมตร
แล้วระเบียงของอาคารสูงเท่าใด
แนวคิด กำาหนด CD เป็นความสูงจากระดับสายตาถึงระเบียงของอาคาร
จุด A เป็นจุดที่วิทยายืนมองระเบียงของอาคารในครั้งแรก
จุด B เป็นจุดที่วิทยายืนมองระเบียงของอาคารในครั้งหลัง
D

A 15 ำ 60 ำ C
80 เมตร B
∧ ∧
จาก CBD = 60 ำ ำ จะได้ ABD = 120 ำ ำ

ดังนั้น ADB = 180 ำำ - (15 ำำ + 120 ำำ) = 45 ำำ
พิจารณา ∆ ABC โดยใช้กฎของไซน์
จะได้ sin 15 ำ = sin 45 ำ
BD AB
BD = AB sin 15 ำ
sin 45 ำ
= 80 sin 15 ำ
sin 45 ำ
พิจารณา ∆ BCD
จะได้ sin 60 ำ = CD BD
CD = BD sin 60 ำ
= ( 80 sin 15 ำ
sin 45 ำ ) sin 60 ำ
= 80 sin 15 ำ 23
( 2
2 )
= 40 6 sin 15 ำ
= 40 6 ( 6 - 2 4 )

122
= 60 - 20 3
≈ 25.36
เนื่องจาก วิทยาสูง 170 เซนติเมตร เท่ากับ 1.7 เมตร
ดังนั้น ระเบียงของอาคารสูงประมาณ 25.36 + 1.7 = 27.06 เมตร
ลองทำ�ดู (หน้า 112)
เจาหนาทีบ่ นหอบังคับการบินมองเห็นเครือ่ งบินสองลําจอดอยูบ นรันเวยเปนมุมกม 30 องศา และ
70 องศา ตามลําดับ ถาหอบังคับการบินสูง 130 เมตร แลวเครื่องบินทั้งสองลําอยูหางกันเทาใด
แนวคิด กำาหนด BC เป็นความสูงของหอบังคับการบิน
CE เป็นเส้นระดับสายตา
จุด A เป็นตำาแหน่งของเครื่องบินลำาแรก
จุด D เป็นตำาแหน่งของเครื่องบินลำาที่สอง
E 30 ำ
C
70 ำ

A B
∧ ∧
D ∧
จ าก ACE = 30 ำ และ DCE = 70 ำ จะได้ DCA = 40 ำ
∧ ∧
และจาก AB // CE จะได้ BAC = 30 ำ และ BDC = 70 ำ
พิจารณา ∆ DBC จะได้ sin 70 ำ = CD BC
130
CD = sin 70 ำ
≈ 130
0.9397
≈ 138.34
พิจารณา ∆ ADC โดยกฎของไซน์
∧ ∧
จะได้ sin DCA = sin DAC
AD CD
AD = (138.34) sin 40 ำ
sin 30 ำ

(138.34)(0.6428)
1
2
≈ 177.85
ดังนั้น เครื่องบินทั้งสองลำาอยู่ห่างกันประมาณ 177.85 เมตร
123
ลองทำ�ดู (หน้า 113)
เอกขับรถจากจุด A ไปในแนวเฉียงไปทางทิศตะวันตก โดยทำามุม 70 องศา กับทิศตะวันตก เป็น
ระยะทาง 40 กิโลเมตร ไปยังจุด B จากนัน้ เขาขับรถต่อไปในแนวเฉียงไปทางทิศตะวันออกโดยทำามุม
30 องศา กับทิศตะวันออกเป็นระยะทาง 20 กิโลเมตร ไปยังจุด C ให้หาว่า เอกอยูห่ า่ งจากจุดเริม่ ต้น
เป็นระยะทางเท่าใด และอยู่ในทิศใดของจุดเริ่มต้น
a = 20 C
W2 B 30 ำ E2

c = 40
70 ำ
W1 A E1

แนวคิด จากรูป AW1 // BW2 จะได้ W1∧AB = ABE ∧


2 = 70 ำ

ดังนั้น ABC = 70 ำ + 30 ำ = 100 ำ
จากกฎของโคไซน์ b2 = a2 + c2 - 2ac cos B
= 202 + 402 - 2(20)(40) cos 100 ำ
≈ 400 + 1,600 - 1,600(-0.1736)
= 2,277.76
b ≈ 47.73
∧ ∧
จากกฎของไซน์ sin BAC = sin ABC
a b

sin BAC = sin 100 ำ
20 47.73

sin BAC = 20 sin 100 ำ
47.73

≈ 0.4127

เนื่องจาก sin BAC = 0.4127 มีค่าอยู่ระหว่าง sin 24 ำ 20′ กับ sin 24 ำ 30′
จากตารางค่าฟังก์ชันตรีโกณมิติ จะได้ sin 24 ำ 20′ = 41.20
sin 24 ำ 30′ = 0.4147

124
เนื่องจาก ค่าฟังก์ชันตรีโกณมิติเพิ่มขึ้น 0.0027 ค่ามุมเพิ่มขึ้น 10′
ค่าฟังก์ชันตรีโกณมิติเพิ่มขึ้น 0.0007 ค่ามุมเพิ่มขึ้น
0.0007 × 10 = 3′
0.0027
จะได้ว่า sin (20 ำ 20′ + 3′) = sin 24 ำ 23′ ≈ 0.4127
∧ ∧
ดังนั้น BAC ≈ 24 ำ 23′ และ W1AC = 70 ำ + 24 ำ 23′ = 94 ำ 23′
นั่นคือ เอกอยู่ห่างจากจุดเริ่มต้นเป็นระยะทาง 47.73 กิโลเมตร ไปในแนวตรงไป
ทางทิศเหนือ โดยทำามุม 94 ำ 23′ กับทิศตะวันตก

แบบฝึ
กทั
ก ษะ 1.13 (หน้า 113)

ระดับพื้นฐาน

1. ล ูกเสือสองคนยืนอยู่ในแนวทิศใต้ของเสาอากาศซึ่งสูง 95 เมตร ลูกเสือทั้งสองคนวัดมุมเงย


ของยอดเสาได้ 30 และ 45 องศา ตามลําดับ ลูกเสือทั้งสองคนนี้ยืนห่างกันประมาณกี่เมตร
แนวคิด D ให้ CD เป็นความสูงของเสาอากาศ
จุด A เป็นตำาแหน่งของลูกเสือคนแรก
95 จุด B เป็นตำาแหน่งของลูกเสือคนที่สอง
A 30 ำ B 45 ำ C พิจารณา ∆ ACD
tan 30 ำำ = DC
AC
1 = 95
3 AC
AC = 95 3
พิจารณา ∆ BCD
tan 45 ำำ = DC
BC
1 = BC 95
BC = 95
AB = AC - BC
= 95 3 - 95
≈ 69.54
ดังนั้น ลูกเสือสองคนยืนห่างกันประมาณ 69.54 เมตร
125
2. นักเรียนคนหนึ่งยืนอยู่บนสนามแห่งหนึ่ง มองเห็นยอดเสาธงเปนมุมเงย 15 องศา แต่เมื่อ
เดินเข้าไปหาเสาธงอีก 60 เมตร เขามองเห็นยอดเสาธงเปนมุมเงย 60 องศา ถ้าเขาสูง
160 เซนติเมตร เสาธงมีความสูงเท่าใด
แนวคิด D
x
A 15 ำ 60 ำ
B C
60
E

กำาหนด DE เป็นความสูงของเสาธง
จุด A เป็นจุดที่นักเรียนยืนมองเสาธงในครั้งแรก
จุด B เป็นจุดที่นักเรียนยืนมองเสาธงในครั้งหลัง
∧ ∧
จาก DBC = 60 ำ จะได้ ABD = 120 ำ

ดังนั้น ADB = 180 ำ ำ - 120 ำ - 15 ำ = 45 ำ
พิจารณา ∆ ABD โดยกฎของไซน์
จะได้ AD = AB
∧ ∧
sin ABD sin ADB
AD 60
sin 120 ำ = sin 45 ำ
AD = 60 × 23
2
2
= 30 6
พิจารณา ∆ ACD
จะได้ x AD
sin 15 ำ = sin 90 ำ
x = 30 6 6 - 2
1 × 4
= 45 - 15 3
≈ 19.02
เนื่องจาก นักเรียนสูง 160 เซนติเมตร เท่ากับ 1.6 เมตร
ดังนั้น เสาธงมีความสูงประมาณ 19.02 + 1.6 = 20.62 เมตร

126
ระดับกลาง
3. นักสํารวจคนหนึ่งยืนอยู่ทิศตะวันออกเฉียงใต้ของภูเขาลูกหนึ่ง มองเห็นยอดเขาเปนมุมเงย
60 องศา เมื่อเขาเดินตรงไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้เปนระยะทาง 400 เมตร จะมองเห็น
ยอดเขาเปนมุมเงย 45 องศา ภูเขาลูกนี้สูงเท่าใด
แนวคิด D กำาหนด CD เป็นความสูงของภูเขา (x เมตร)
พิจารณา ∆ ACD
x
tan 60 ำำ = CA
C
60 ำ
A CA = x3
45 ำ
B 400 พิจารณา ∆ BCD
x
tan 45 ำำ = CB
CB = x
พิจารณา ∆ ABC
CB2 = 4002 + CA2
x2 = 4002 + ( x3)2
3x2 = 3(160,000) + x2
2x2 = 3(160,000)
x2 = 3(80,000)
x = 240,000
x = 200 6
x ≈ 489.90
ดังนั้น ภูเขาลูกนี้สูงประมาณ 489.90 เมตร
4. รถยนต 3 คัน จอดทีจ่ ดุ A, B และ C บนพืน้ ระดับ และอยูใ่ นแนวเส้นตรงเดียวกันกับอนุสาวรีย
แห่งหนึ่ง มุมยกขึ้นของยอดอนุสาวรีย เมื่อสังเกตจากจุด A, B และ C เปน 30, 45 และ
60 องศา ตามลําดับ ถ้า BC = 20 เมตร ให้หาความสูงของอนุสาวรีย และระยะทางระหว่าง
จุด A กับอนุสาวรีย

127
แนวคิด E

x
A 30 ํ 45 ํ 60 ํ
B 20 C y D
ก�ำหนด DE เป็นความสูงของอนุสาวรีย์ (x เมตร)
CD เป็นระยะทางระหว่างจุด C กับอนุสาวรีย์ (y เมตร)
พิจารณา ∆ BDE
tan 45 ํํ = BC DE
+ CD
1 = 20 x+ y
x = 20 + y
y = x - 20 .....(1)
พิจารณา ∆ CDE
DE
tan 60 ํํ = CD
3 = xy
y = x3 .....(2)
(1) = (2) จะได้ x - 20 = x3
3 x - 20 3  = x
( 3  - 1)x = 20 3 
x = 20 3 × 3 + 1
3-1 3+1
= 10 3 ( 3 + 1)
≈ 47.32
พิจารณา ∆ ADE
DE
tan 30 ํํ = AD
1 = 47.32
3 AD
AD = 47.32 3
≈ 81.96
ดังนั้น ความสูงของอนุสาวรีย์ประมาณ 47.32 เมตร
ระยะทางระหว่างจุด A กับอนุสาวรีย์ประมาณ 81.96 เมตร
128
5. จากจุด A ที่อยู่ทางทิศใต้ของเสาไฟฟาและทํามุมเงย 60 องศา กับยอดเสา จุด B อยู่ทาง
ทิศตะวันออกของจุด A มองยอดเสาไฟฟาเปนมุมเงย 30 องศา ถ้าระยะห่างจากจุด A และ
จุด B เท่ากับ 60 เมตร เสาไฟฟาสูงกี่เมตร
แนวคิด ทิศเหนือ
C

30 ำ
D B
60 ำ 60 ม.
A
กำาหนด CD เป็นความสูงของเสาไฟฟ้า (x เมตร)
จุด A, B เป็นตำาแหน่งของผู้สังเกต
AB = 60 เมตร
พิจารณา ∆ ACD
tan 60 ำ = CD
AD
3 = AD x
AD = x3
พิจารณา ∆ BCD
tan 30 ำ = CD
BD
1 = x
3 AD
BD = 3x
พิจารณา ∆ ABD
BD2 = 602 - AD2
( 3 x)2 = 3,600 - ( x3)2
2
3x2 = 3,600 - x3
9x2 = 10,800 - x2
10x2 = 10,800
x2 = 1,080
x = 6 30
ดังนั้น เสาไฟฟ้าสูง 6 30 เมตร
129
ระดับท้าทาย
6. ธีระชัยอยูบ่ นดาดฟาของตึกสูง 30 เมตร มองเห็นบุตรชายของเขาอยูบ่ นพืน้ ดินทางทิศใต้ของ
ตึกเปนมุมก้ม 30 องศา และเห็นบุตรสาวของเขาอยู่บนพื้นดินทางทิศตะวันออกของตึกเปน
มุมก้ม 60 องศา บุตรชายและบุตรสาวอยู่ห่างกันกี่เมตร
แนวคิด ทิศเหนือ กำาหนด จุด A เป็นตำาแหน่งของธีระชัย
A จุด B เป็นตำาแหน่งของบุตรชาย
30 ำ 30 ำ
60 ำ จุด C เป็นตำาแหน่งของบุตรสาว
60 ำ จุด BC เป็นระยะห่างของบุตรทั้งสอง
30
C พิจารณา ∆ ACD
D tan 30 ำ = CD
BD
B
1 = DC
3 30
DC = 10 3
พิจารณา ∆ ABD
BD
tan 60 ำ = AD
3 = BD 30
BD = 30 3
พิจารณา ∆ BCD
BC2 = BD2 + DC2
= (30 3)2 + (10 3)2
= 2,700 + 300
= 3,000
BC = 3,000
= 10 3
ดังนั้น บุตรทั้งสองคนอยู่ห่างกัน 10 3 เมตร

130
คณิตศาสตรในชีวิตจริง (หน้า 115)
สถานการณ
ส ุธีเดินทางไปชมพระปรางค์ที่วัดอรุณ ฯ เมื่อไปถึงเขายืนอยู่ริมฝังแม่นำ้าเจ้าพระยาซึ่งอยู่ตรงข้าม
กับพระปรางค์วัดอรุณฯ ซึ่งมีความสูง 81.85 เมตร อยากทราบว่า
1. สุธีอยู่ห่างจากพระปรางค์เป็นระยะทางเท่าใด เมื่อเขามองไปยังยอดพระปรางค์เป็นมุมเงย
เท่ากับ 75 ำ
2. ถ้าสุธีเดินเข้าใกล้พระปรางค์ไปอีก 5 เมตร แล้วมองไปยังยอดพระปรางค์อีกครั้ง นักเรียนคิด
ว่าเขาจะมองเห็นยอดพระปรางค์ด้วยมุมเงยมากกว่าหรือน้อยกว่าเดิม ให้อธิบายโดยใช้หลัก
การของตรีโกณมิติ
แนวคิด กำาหนด CD เป็นความสูงจากระดับสายตาถึงยอดพระปรางค์ D
จุด A เป็นจุดที่สุธียืนมองยอดพระปรางค์ในครั้งแรก
จุด B เป็นจุดที่สุธียืนมองยอดพระปรางค์ในครั้งหลัง

1. จาก CAD = 75 ำ และ CD = 81.85 81.85 เมตร

ดังนั้น ADC = 180 ำ - (90 ำ + 75 ำ) = 15 ำ
พิจารณา ∆ ACD โดยกฎของไซน์
จะได้ sin 15 ำ = sin 75 ำ
AC CD AB C
ดังนั้น sin 15 ำ
AC = CD sin 75 ำ
sin (45 ำ - 30 ำ)
= 81.85 × sin (45 ำ + 30 ำ)
= 81.85 ( sin 45 ำ cos 30 ำ - sin 30 ำ cos 45
sin 45 ำ cos 30 ำ - sin 30 ำ cos 45 )
( 22)( 23) - (1 )( 22)
= 81.85
[ 2
( 22)( 23) + (1 ]
2
2)( 2 )
= 81.85 ( 6 - 2 )
6 + 2
≈ 21.93
นั่นคือ สุธีอยู่ห่างจากพระปรางค์เป็นระยะทางประมาณ 21.93 เมตร

131

2. ถ้าสุธเี ดินเข้าใกล้พระปรางค์อกี 5 เมตร สุธจี ะอยูห่ า่ งจากพระปรางค์ประมาณ
21.93 - 5 = 16.93 เมตร

พิจารณา ∆ ACD


tan A = CD
AC

AC tan A = CD

พิจารณา ∆ CBD

tan B = CD
BC
จะได้ tan B = ACBC tan A

≈ 21.93  tan 75 ํ
16.93
≈ 1.3 tan 75 ํ
ดังนั้น ถา้ สุธเี ดินเข้าใกล้พระปรางค์อกี 5 เมตร สุธจี ะมองด้วยมุมเงยมากกว่า
เดิม

132
แบบฝึกทักษะ ประจําหนวยการเรียนรูท
 ่ี
1 (หน้า 120)

1. ให้หาค่าของฟังก์ชันตรีโกณมิติในแต่ละข้อต่อไปนี้
1) tan2 80 ำ - cos2 35 ำ - cosec2 57 ำ - sec2 80 ำ - sin2 35 ำ + cot2 57 ำ
2
2) 3 tan θ2 + 3 + sin2 θ cot2 θ - cot2 θ + cosec2 θ + sin2 θ
sec θ
3) [cos (π2 - θ) - cos θ]2 + [sin (π2 - θ) + sin θ]2
4) sin 390 ำ - cos (-150 ำ) + tan (-315 ำ)
2 2 (-145 ำ)
5) sin (-325 ำ) + cos + cot2 (-225 ำ)
1 - sin2 240 ำ 1 - cosec2 405 ำ
sin 53π + cos 73π + tan (- 53π)
6) 11π
sin 6 + cos 23π + tan 74π
7) sin (4π cot (2
- θ) tan (3π - θ) cot (5π - θ)
π + θ) tan (θ - π)

แนวคิด 1) tan2 80 ำ - cos2 35 ำ - cosec2 57 ำ - sec2 80 ำ - sin2 35 ำ + cot2 57 ำำ


= -sin2 35 ำ - cos2 35 ำ + cot2 57 ำ - cosec2 57 ำ + tan2 80 ำ - sec2 80 ำ
= -(sin2 35 ำ + cos2 35 ำ) - (cosec2 57 ำ - cot2 57 ำ) - (sec2 80 ำ - tan2 80 ำ)
= -1 - 1 - 1
= -3
2
2) 3 tan θ2 + 3 + sin2 θ cot2 θ - cot2 θ + cosec2 θ + sin2 θ
sec θ
2 2
= 3(tan θ2 + 1) + sin θ cos2 θ + sin θ + cosec θ - cot θ

2 2 2 2
sec θ sin θ
2
= 3 sec2 θ + (cos2 θ + sin2 θ) + (cosec2 θ - cot2 θ)
sec θ
= 3 + 1 + 1
=5

133
3) [cos (π2 - θ) - cos θ]2 + [sin (π2 - θ) + sin θ]2
=  (sin θ - cos θ)2 + (cos θ + sin θ)2

=  sin2 θ - 2 sin θ cos θ + cos2 θ + cos2 θ + 2 sin θ cos θ + sin2 θ


=  2 sin2 θ + 2 cos2 θ
=  2(sin2 θ + cos2 θ)
=  2
4) sin 390 ํ - cos (-150 ํํ) + tan (-315 ํ)
=  sin (360 ํ + 30 ํ) - cos (180 ํ - 30 ํ) - tan (360 ํ - 45 ํ)
=  sin 30 ํ + cos 30 ํ + tan 45 ํ
=  12 + 23 + 1
=  3 + 3
2
2  2 
cot2 (-225 ํ)
5) sin (-325 ํ) + 2cos (-145 ํ) +
1 - sin  240 ํ 1 - cosec2 405 ํ
2  2 35 ํ
=  sin 35 ํ + cos + cot2 45 ํ
1 - sin2 60 ํ 1 - cosec2 45 ํ
=   12  + cot2 45 ํ
cos 60 ํ -(cosec2 45 ํ - 1)
2 
=   12  - cot2 45 ํ
cos 60 ํ cot 45 ํ
=   11 2 - 1  
(2)
=  4 - 1
=  3
sin 53π + cos 73π + tan (- 53π )
6)
sin 116π + cos 23π + tan 74π
sin (2π - π3 ) + cos (2π + π3 ) - tan (2π - π3 )
=  
sin (2π - π6 ) + cos (π - π3 ) + tan (2π - π4 )

134
-sin π3 + cos π3 + tan π3
=
-sin π6 - cos π3 - tan π4
- 32 + 12 + 3
=
- 12 - 12 - 1
= - 14 - 34
7) sin (4πcot (2
- θ) tan (3π - θ) cot (5π - θ)
π + θ) tan (θ - π)

= (-sin θ)(-tan θ)(-cot θ)


cot θ (-tan (π - θ))
= (-sin θcot )(-tan θ)(-cot θ)
θ • tan θ
= -sin θ

2. กำาหนด f(θ) = sin ( θ +4 π ) ให้หาค่าของ (f(-5πf() + f(0)


π) )
แนวคิด จาก f(θ) = sin ( θ +4 π )
จะได้ f(-5π) = sin (-5π4+ π)
= sin (-π)
= -sin π
= 0
f(0) = sin ( 0 + π
4 )
= sin π4
= 22
f(π) = sin ( π +4 π )
= sin π2
= 1
f(-5 π) + f(0) 0 + 22 2
ดังนั้น f(π) = 1 =2

135
3. กำาหนด 3 sin2 θ + 7 cos θ - 5 = 0 เมื่อ 0 ≤ θ ≤ π2 ให้หาค่าของ sin (-θ) + tan (-θ)
แนวคิด เนื่องจาก sin2 θ = 1 - cos2 θ
แทน sin2 θ ด้วย 1 - cos2 θ ในสมการ 3 sin2 θ + 7 cos θ - 5 = 0
จะได้ 3(1 - cos2 θ) + 7 cos θ - 5 = 0
3 - 3 cos2 θ + 7 cos θ - 5 = 0
3 cos2 θ - 7 cos θ + 2 = 0
(3 cos θ - 1)(cos θ - 2) = 0
3
ดังนั้น cos θ = 13 , 2 2 2
θ
เพราะว่า cos θ 2 1
ดังนั้น cos θ = 13
จะได้ sin (-θ) = -sin θ = - 2 2
3
tan (-θ) = -tan θ = - 2 2
ดังนั้น sin (-θ) + tan (-θ) = - 2 2 8 2
3 - 2 2 = - 3
4. แก้สมการ sin2 2x + 6 cos 2x - 6 = 0
แนวคิด เนื่องจาก sin2 2x = 1 - cos2 2x
แทน sin2 2x ด้วย 1 - cos2 2x ในสมการ sin2 2x + 6 cos 2x - 6 = 0
จะได้ (1 - cos2 2x) + 6 cos 2x - 6 = 0
cos2 2x - 6 cos 2x + 5 = 0
(cos 2x - 5)(cos 2x - 1) = 0
ดังนั้น cos 2x = 5, 1
เพราะว่า cos 2x 5
ดังนั้น cos 2x = 1
เนื่องจาก ค่า x เมือ่ 0 ≤ x ≤ 2π ทีท่ าำ ให้ cox 2x = 1 คือ 0 และ 2π
นั่นคือ คำาตอบของสมการในช่วง [0, 2π] คือ 0 และ 2π
ดังนั้น ค่าทั่วไปของ θ ที่ทำาให้สมการเป็นจริง คือ nπ เมื่อ n∊I

136
5. กำาหนด sin (A - B) = 25 , cos (A + B) = 15 และ cos A = 35 เมื่อ A, B∊[0, π2 ]
ให้หาค่าของ sin B
แนวคิด จาก cos A = 35 จะได้ sin A = 45
5
sin (A - B) = 25 4
sin A cos B - cos A sin B = 25 A 3
4 cos B - 3 sin B = 2 .....(1)
5 5 5
cos (A + B) = 15
cos A cos B - sin A sin B = 15
3 cos B - 4 sin B = 1 .....(2)
5 5 5
(1) × 3 ; 125 cos B - 95 sin B = 65 .....(3)
(2) × 4 ; 125 cos B - 165 sin B = 45 .....(4)
(3) - (4) ; 7 sin B = 2
5 5
sin B = 27
ดังนั้น sin B = 27
6. ให้หาค่าของ
1) sin2 θ + sin2 (60 ำ + θ) + sin2 (60 ำ - θ)
2) cos2 θ + cos2 (60 ำ + θ) + cos2 (60 ำ - θ)
แนวคิด 1) sin2 θ + sin2(60 ำ + θ) + sin2(60 ำ - θ)
= 1 - cos 2 θ + 1 - cos [2(60 ำ + θ)] + 1 - cos [2(60 ำ - θ)]
2 2 2
= 12 [1 - cos 2θ + 1 - cos (120 ำ + 2θ) + 1 - cos (120 ำ - 2θ)]
= 12 [3 - cos 2θ - (cos 120 ำ cos 2θ - sin 120 ำ sin 2θ) -
(cos 120 ำ cos 2θ + sin 120 ำ sin 2θ)]
= 12 [3 - cos 2θ - 2 cos 120 ำ cos 2θ]
137
= 12 [3 - cos 2θ - 2(- 12) cos 2θ]
= 12 [3 - cos 2θ + cos 2θ]
= 32
2) cos2 θ + cos2(60 ำ + θ) + cos2(60 ำ - θ)
= 1 + cos 2 θ + 1 + cos [2(60 ำ + θ)] + 1 + cos [2(60 ำ - θ)]
2 2 2
1
= 2 [1 + cos 2θ + 1 + cos (120 ำ + 2θ) + 1 + cos (120 ำ - 2θ)]
= 12 [3 + cos 2θ + (cos 120 ำ cos 2θ - sin 120 ำ sin 2θ)
+ (cos 120 ำ cos 2θ + sin 120 ำ sin 2θ)]
= 12 [3 + cos 2θ + 2 cos 120 ำ cos 2θ]
= 12 [3 + cos 2θ + 2(- 12) cos 2θ]
= 32
7. ให้หาค่าของ
1) sin 80sinำ + cos
70 ำ
50 ำ
tan 182 ำ - tan 47 ำ
2) 1 + tan 182 ำ tan 47 ำ
3) sin 3θ cos 3θ
sin θ - cos θ
แนวคิด 1) sin 80 ำsin 70 ำ
+ cos 50 ำ

= sin 80 ำsin 70 ำ
+ sin 40 ำ

2 sin ( 80 ำ + 40 ำ
2 ) cos ( 80 ำ 2- 40 ำ)
= sin 70 ำ
= 2 sin 60 ำ cos 20 ำ
sin 70 ำ
2( 32) cos 20 ำ
=
cos 20 ำ
= 3
138
tan 182 ำ - tan 47 ำ
2) 1 + tan 182 ำ tan 47 ำ
= tan (182 ำ - 47 ำ)
= tan 135 ำ
= tan (180 ำ - 45 ำ)
= -tan 45 ำ
= -1
3) sin 3 θ - cos 3θ
sin θ cos θ
= sin 3θ cossin θθ - cos 3
cos θ
θ sin θ

= sin (3 θ - θ)
sin θ cos θ
= sin sin 2 θ
θ cos θ
= 2 sin θ cos θ
sin θ cos θ
= 2
8. ให้หาค่าของ tan 81 ำ - tan 63 ำ - tan 27 ำ + tan 9 ำ
แนวคิด tan 81 ำ - tan 63 ำ - tan 27 ำ + tan 9 ำ
= (tan 9 ำ + tan 81 ำ) - (tan 27 ำ + tan 63 ำ)
= (tan 9 ำ + cot 9 ำ) - (tan 27 ำ + cot 27 ำ)
= ( sin 9 ำ + cos 9 ำ) - ( sin 27 ำ + cos 27 ำ)
cos 9 ำ sin 9 ำ cos 27 ำ sin 27 ำ
2 2 2 2
= sin 9 ำ + cos 9 ำ - sin 27 ำ + cos 27 ำ
sin 9 ำ cos 9 ำ sin 27 ำ cos 27 ำ
= 1 - 1
sin 9 ำ cos 9 ำ sin 27 ำ cos 27 ำ
= 2 - 2
sin 18 ำ sin 54 ำ
= 2 (sin 54 ำ - sin 18 ำ)
sin 18 ำ sin 54 ำ

139
2 cos ( 54 ำ + 18 ำ
2 ) sin ( 54 ำ 2- 18 ำ)
= 2 [ sin 18 ำ sin 54 ำ ]
= 4 cos 36 ำ sin 18 ำ
sin 18 ำ sin 54 ำ
= 4 cos 36 ำำ
cos 36 ำ
= 4
9. กำาหนด sin A - 2 sin B = 0 และ 3 cos 2A - 2 cos 2B = -3 เมื่อ A, B∊[0, π2 ]
ให้หาค่าของ 5 sin (A - B)
แนวคิด จาก sin A - 2 sin B = 0
จะได้ sin A = 2 sin B
และ 3 cos 2A - 2 cos 2B = -3
3(1 - 2 sin2 A) - 2(1 - 2 sin2 B) = -3 … ..(1)
แทน sin A ด้วย 2 sin B ลงในสมการ (1) 5
1
จะได้ 3 - 24 sin2 B - 2 + 4 sin2 B = -3 B 2
2
20 sin B = 4
sin2 B = 15
นั่นคือ sin B = 1 และ cos B = 2
5 5
จะได้ sin A = 2 และ cos A = 1
5 5
sin (A - B) = sin A cos B - cos A sin B
= ( 2 )( 2 ) - ( 1 )( 1 )
5 5 5 5
= 45 - 15
= 35
ดังนั้น 5 sin (A - B) = 5( 35 ) = 3

140
10. กำาหนด cos A = 1 - 5
4
ให้หาค่าของ sin (A + B) + sin (2A - B) - sin (A - B) - sin (2A + B)
แนวคิด sin (A + B) + sin (2A - B) - sin (A - B) - sin (2A + B)
= [sin (A + B) - sin (A - B)] - [sin (2A + B) - sin (2A - B)]
= 2 cos [ (A + B) + (A - B)
2 ] sin [ (A + B) - (A - B) ]
2
- 2 cos [(2A + B) + (2A - B)
2 ] sin [(2A + B) - (2A - B)
2 ]
= 2 cos A sin B - 2 cos 2A sin B
= 2 (sin B)(cos A - cos 2A)
= 2 (sin B)(cos A - 2 cos2 A + 1)
= 2 (sin B)(1 - 5
4 - 2- ( 1 - 5)2 + 1)
4
1 - 5 3 - 5
= 2 (sin B)( 4 - 4 + 1)
= 2 (sin B)(12)
= sin B
11. กำาหนด arctan 3x - arctan x = π6 ให้หาค่าของ sin (arctan 3x + arctan x)
แนวคิด จาก arctan 3x - arctan x = π6
ให้ arctan 3x = A และ arctan x = B
จะได้ A - B = π6
tan (A - B) = tan π6
tan A - tan B = 1
1 + tan A tan B 3
tan (arctan 3x) - tan B (arctan x) = 1
1 + tan (arctan 3x) tan (arctan 3x) 3
3x - x 1
1 + (3x)(x) = 3
2x 2 = 1
1 + 3x 3
2
3x - 2 3 x + 1 = 0
( 3 x - 1)2 = 0
x = 1
3
141
จะได้ arctan 3x + arctan x = arctan 3( 1 ) + arctan( 1 )
3 3
= arctan 3 + arctan 1
3
= π3 + π6
= π2
ดังนั้น sin (arctan 3 + arctan 1 ) = sin π2 = 1
3
12. 2 θ + 1 = -cos θ + 2 2 cos2 θ + cos θ เมื่อ 0 ≤ θ ≤ 2π
แก้สมการ 2 cos
แนวคิด ให้ 2 cos2 θ + cos θ = A
จะได้ A + 1 = 2 A
2
A + 2A + 1 = 4A
A2 - 2A + 1 = 0
(A - 1)2 = 0
A = 1
จะได้ 2
2 cos θ + cos θ = 1
2 cos2 θ + cos θ - 1 = 0
(2 cos θ - 1)(cos θ + 1) = 0
cos θ = 12 , -1
ดังนั้น เซตคำาตอบ คือ { π3 , 53π , π}
13. แก้สมการ cos4 θ - sin4 θ = 1 เมื่อ 0 ≤ θ ≤ 2π
แนวคิด จาก cos4 θ - sin4 θ = 1
จะได้ (cos2 θ - sin2 θ)(cos2 θ + sin2 θ) = 1
(cos 2θ)(1) = 1
cos 2θ = 1
เนื่องจาก ค่า θ เมือ่ 0 ≤ θ ≤ 2π ทีท่ าำ ให้ cox 2θ = 1 คือ 0, π และ 2π
ดังนั้น เซตคำาตอบ คือ {0, π, 2π}

142
14. กำาหนดรูปสามเหลี่ยม ABC เป็นรูปสามเหลี่ยมที่มีความยาวด้านตรงข้ามมุม A มุม B
และมุม C เป็น a, b และ c ตามลำาดับ โดยมี (a + b + c)(a - b - c) = -3bc และ
2a2 = 3b2 ให้หาค่าของ sin2(3A + 2B) + 1
แนวคิด จาก (a + b + c)(a - b - c) = -3bc
จะได้ a2 - ab - ac + ab - b2 - bc + ac - bc - c2 = -3bc
a2 - b2 - c2 - 2bc = -3bc
a2 = b2 + c2 - bc
a2 = b2 + c2 - 2bc(12)
จากกฎของโคไซน์ a2 = b2 + c2 - 2bc cos A
จะได้ cos A = 12
ดังนั้น A = 60 ำ
จาก 2a2 = 3b2 จะได้ a = 32 b
จากกฎของไซน์ sin A a = b
sin B
3b
2 b
sin 60 ำ = sin B
3 b
2 = b
3 sin B
2
sin B = 12
B = 45 ำ
ดังนั้น sin2(3A + 2B) + 1 = sin2(180 ำ + 90 ำ) + 1
= sin2 270 ำ + 1
= (-1)2 + 1
= 2
15. จากจุด A ซึ่งอยู่ทางทิศใต้ของตึก หากมองขึ้นไปจะเห็นยอดตึกเป็นมุมเงย 60 องศา
แต่ถ้ามองจากจุด B ซึ่งอยู่ทางทิศตะวันตกของจุด A อีก 10 เมตร จะเห็นยอดตึกเป็น
มุมเงย 45 องศา ให้หาความสูงของตึก

143
แนวคิด จากรูป จะได้ว่า h
AC = tan 60 ำ
AC = h
3
h = tan 45 ำ N
และ BC h
BC = h
พิจารณา ∆ ABC
AC22 + AB2 = BC2 60 ำ A
h + 102 = h2 C
32
h + 300 = 3h2 10 ม.
h2 = 150 45

h = 150 B
= 5 6
ดังนั้น ตึกมีความสูง 5 6 เมตร
16. ก ล้ายืนอยู่บนพื้นราบมองเห็นยอดเสาแห่งหนึ่งเป็นมุมเงย 45 องศา และเมื่อเดินเข้าไปหา
ยอดเสาตามเนินเอียงที่ทำามุม 15 องศา กับแนวราบเป็นระยะทาง 400 เมตร เขาได้มอง
ไปที่ ยอดเสาอีกครั้งปรากฏว่า เขามองเห็นยอดเสาเป็นมุมเงย 75 องศา อยากทราบว่า
ยอดเสาสูงเท่าใด F
แนวคิด กำาหนด DF เป็นความสูงจากระดับสายตาถึงยอดเสา
จุด A เป็นจุดที่กล้ายืนมองยอดเสาในครั้งแรก
จุด C เป็นจุดที่กล้ายืนมองยอดเสาในครั้งหลัง X
∧ ∧ C E
จาก CAB = 15 ำ และ FAD = 45 ำ A 15 ำ
B D
∧ ∧ ∧
ดังนั้น FAC = 45 ำ - 15 ำ = 30 ำ และ FXE = FXC = 45 ำ
พิจารณา ∆ ABC โดยใช้กฎของไซน์
∧ ∧
จะได้ sin CAB = sin ABC
BC AC
ดังนั้น BC = AC sin 15 ำ
sin 90 ำ
≈ 400(0.2588)
= 103.52
นั่นคือ ความสูงของเสาจากพื้นราบถึงจุดที่กล้าเดินขึ้นมาตามเนินเอียงที่ทำามุม
15 องศา ประมาณ 103.52 เมตร
144
∧ ∧
จาก FCE = 75 ำ จะได้ XCF = 180 ำ - 75 ำ = 105 ำ

ดังนั้น XFC = 180 ำ - (105 ำ + 45 ำ) = 30 ำ

และ ACF = 105 ำ + 15 ำ = 120 ำ
พิจารณา ∆ FAC โดยใช้กฎของไซน์
∧ ∧
จะได้ sin FAC = sin AFC
CF AC
CF = AC sin 30 ำ
sin 30 ำ
= 400
พิจารณา ∆ FCE โดยใช้กฎของไซน์
∧ ∧
จะได้ sin FCE = sin CEF
EF CF
EF = CF sin 75 ำ
sin 90 ำ
≈ 400(0.9659)
= 388.36
ดังนั้น ยอดเสาสูงประมาณ 388.36 + 103.52 = 491.88 เมตร
17. ชายคนหนึ่งอยู่บนหน้าผาที่ติดกับทะเล เขามองเห็นเรือสองลำาเป็นมุมก้ม 35 องศา และ
80 องศา ตามลำาดับ ถ้าเรือสองลำาอยู่ห่างกัน 120 เมตร และชายคนนี้สูง 185 เซนติเมตร
อยากทราบว่าหน้าผาสูงจากระดับนำ้าทะเลเท่าใด E C
35 ำ 80 ำ
แนวคิด กำาหนด BC เป็นความสูงของหน้าผา
CE เป็นเส้นระดับสายตา
จุด A เป็นตำาแหน่งของเรือลำาแรก
จุด D เป็นตำาแหน่งของเรือลำาที่สอง A D B
∧ ∧ ∧
จาก ACE = 35 ำ และ DCE = 80 ำ จะได้ DCA = 45 ำ
∧ ∧
และจาก AB // CE จะได้ BAC = 35 ำ และ BDC = 80 ำ

145
พิจารณา ∆ ADC โดยใช้กฎของไซน์
∧ ∧
จะได้ sin DCA AD = sin DAC 
CD
ดังนั้น CD = 120 sin 35 ํ
sin 45 ํ
≈ 120(0.5736) 2
2
≈ 97.34
พิจารณา ∆ CDB โดยใช้กฎของไซน์
∧ ∧
จะได้ sin CDB  BC = sin DBC 
CD
ดังนั้น BC = (97.34) sin 80 ํ
sin 90 ํ
≈ (97.34)(0.9848) 1
≈ 95.86
เนื่องจาก ชายคนนี้สูง 185 เซนติเมตร เท่ากับ 1.85 เมตร
ดังนั้น หน้าผาสูงจากระดับน�้ำทะเลประมาณ 95.86 - 1.85 = 94.01 เมตร

146
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เมทริกซ

ลองทําดู (หน้ำ 126)


แก้ระบบสมกำรต่อไปนี้
5x + 4y - z = 9
x - 5y + z = 18
6x + 3y - z =ะ 16
แนวคิด ก�ำหนด 5x + 4y - z = 9 .....(1)
x - 5y + z = 18 .....(2)
6x + 3y - z = 16 .....(3)
(1) + (2) จะได้ 6x - y = 27 .....(4)
(1) - (3) จะได้ -x + y = -7 .....(5)
(4) + (5) จะได้ 5x = 20
x = 4
แทน x = 4 ใน (4) จะได้
6(4) - y = 27
y = -3
แทน x = 4 และ y = -3 ใน (1) จะได้
5(4) + 4(-3) - z = 9
z = -1
ดังนั้น ค�ำตอบของระบบสมกำร คือ (4, -3, -1)
ลองทําดู (หน้ำ 127)
แก้ระบบสมกำรต่อไปนี้
-4x - y - 6z = 3
2x + y + 5z = -2
6x - 2y - 5z = -1

147
แนวคิด ก�ำหนด -4x - y - 6z = 3 .....(1)
2x + y + 5z = -2 .....(2)
6x - 2y - 5z = -1 .....(3)
(1) + (2) จะได้ -2x - z = 1 .....(4)
(2) + (3) จะได้ 8x - y = -3 .....(5)
จำก (4) จะได้ z = -2x - 1
จำก (5) จะได้ y = 8x + 3
เมื่อแทน y และ z ใน (1) จะได้
-4x - (8x + 3) - 6(-2x -1) = 3
3 = 3
เมื่อแทน y และ z ใน (2) จะได้
2x + (8x + 3) + 5(-2x -1) = -2
-2 = -2
เมื่อแทน y และ z ใน (3) จะได้
6x - 2(8x + 3) - 5(-2x - 1) = -1
-1 = -1
ดังนั้น (x, 8x + 3, -2x - 1) สอดคล้องกับสมกำร (1), (2) และ (3)
จะได้ว่ำ ค�ำตอบของระบบสมกำร คือ (x, 8x + 3, -2x - 1) เมื่อ x∊R
หรือเซตค�ำตอบของระบบสมกำร คือ { (x, y, z) ∙ x∊R, y = 8x + 3,
z = -2x - 1 } หรือ { (x, 8x + 3, -2x - 1) ∙ x∊R }
ลองทําดู (หน้ำ 128)
แก้ระบบสมกำรต่อไปนี้
3x + y + z = 3
4x + y + 3z = 2
7x + 2y + 4z = 9
แนวคิด ก�ำหนด 3x + y + z = 3 .....(1)
4x + y + 3z = 2 .....(2)
7x + 2y + 4z = 9 .....(3)
(1) + (2) จะได้ 7x + 2y + 4z = 5 .....(4)

148
จ ำกสมกำรข้ำงต้นจะเห็นว่ำ ถ้ำ (x, y, z) เป็นค�ำตอบของระบบสมกำรที่ก�ำหนด
แล้ว (x, y, z) ต้องสอดคล้องกับสมกำร (1), (2), (3)
ถ้ำ (x, y, z) สอดคล้องกับสมกำร (1) และ (2) แล้ว (x, y, z) ต้องสอดคล้อง
กับสมกำร (4)
แต่จำกสมกำร (3) จะเห็นว่ำ 7x + 2y + 4z = 9
และจำกสมกำร (4) จะเห็นว่ำ 7x + 2y + 4z = 5
ซึ่งจะเห็นได้ชัดว่ำ ไม่มี x, y และ z ใด ๆ ที่ท�ำให้สมกำร (3) และ (4) เป็นจริง
พร้อมกันได้
ดังนั้น ระบบสมกำรที่ก�ำหนดไม่มีค�ำตอบ

แบบฝ
กทั
กษะ 2.1 (หน้ำ 129)

ระดับพื้นฐาน

1. แกระบบสมการในแตละขอตอไปนี้
1.
1) x + 3y = 8 2) x - 3y = 4
x - 2y = 3 -2x + 6y = 2
3) x + y + z = 6 4) 3x + 2y - z = 4
x - y + z = 2 5x - 3y + z = 1
x + y - z = 0 x - 6y + 2z = 7
5) x + y = 2 6) 2x + y - z = 2
x + 3y + z = 5 2x + 2y - 4z = 5
3x + y - z = 3 4x + 3y - 5z = 9
แนวคิด 1) ก�ำหนด x + 3y = 8 .....(1)
x - 2y = 3 .....(2)
(1) - (2) จะได้ 5y = 5
y = 1

149
แทน y = 1 ใน (1) จะได้
x + 3(1) = 8
x = 5
ดังนั้น ค�ำตอบของระบบสมการ คือ (5, 1)
2) ก�ำหนด x - 3y = 4 .....(1)
-2x + 6y = 2 .....(2)
-2 × (1) จะได้ -2x + 6y = -8 .....(3)
จากสมการข้างต้นจะเห็นว่า ถ้า (x, y) เป็นค�ำตอบของระบบสมการทีก่ ำ� หนด
แล้ว (x, y) ต้องสอดคล้องกับสมการ (1) และ (2)
และถ้า (x, y) สอดคล้องกับสมการ (1) และ (2) แล้ว (x, y) ต้องสอดคล้อง
กับสมการ (3)
แต่จากสมการ (2) จะเห็นว่า -2x + 6y = 2
และจากสมการ (3) จะเห็นว่า -2x + 6y = -8
ซึ่งจะเป็นได้ชัดว่า ไม่มี x และ y ใด ๆ ที่ท�ำให้สมการ (2) และ (3) เป็นจริง
พร้อมกันได้
ดังนั้น ระบบสมการที่ก�ำหนดไม่มีค�ำตอบ
3) ก�ำหนด x + y + z = 6 .....(1)
x - y + z = 2 .....(2)
x + y - z = 0 .....(3)
(2) + (3) จะได้ 2x = 2
x = 1
แทน x = 1 ในสมการ (1) และ (2) จะได้
1 + y + z = 6
y + z = 5 .....(4)
และ 1 - y + z = 2
-y + z = 1 .....(5)
(4) + (5) จะได้ 2z = 6
z = 3
แทน z = 3 ใน (4) จะได้
y + 3 = 5
y = 2
ดังนั้น ค�ำตอบของระบบสมการ คือ (1, 2, 3)
150
4) ก�ำหนด 3x + 2y - z = 4 .....(1)
5x - 3y + z = 1 .....(2)
x - 6y + 2z = 7 .....(3)
(1) + (2) จะได้ 8x - y = 5 .....(4)
y = 8x - 5 .....(5)
2 × (2) จะได้ 10x - 6y + 2z = 2 .....(6)
(6) - (3) จะได้ 9x = -5
x = - 59  
แทน x = - 59 ในสมการ (5) จะได้
y = 8 (- 59  ) - 5
= - 859  
แทน x = - 59 และ y = - 859 ใน (1) จะได้
3 (- 59  ) + 2 (- 859  ) - z = 4
- 159 - 170
9 - z = 4
-z = 4 + 159 + 170 9
-z = 221
9
z = - 221
9
ดังนั้น ค�ำตอบของระบบสมการ คือ (- 9 , - 85
5 221
9 , -  9 )
5) ก�ำหนด x + y = 2 .....(1)
x + 3y + z = 5 .....(2)
3x + y - z = 3 .....(3)
จาก (1) จะได้ x = 2 - y
แทน x = 2 - y ใน (2) จะได้
2 - y + 3y + z = 5
2y + z = 3
z = 3 - 2y
151
แทน x = 2 - y ใน (1) จะได้
2 - y + y = 2
2 = 2
แทน x = 2 - y และ z = 3 - 2y ใน (2) จะได้
(2 - y) + 3y + (3 - 2y) = 5
5 = 5
แทน x = 2 - y และ z = 3 - 2y ใน (3) จะได้
3(2 - y) + y - (3 - 2y) = 3
3 = 3
ดังนั้น (2 - y, y, 3 - 2y) สอดคล้องกับสมการ (1), (2) และ (3)
จะได้ว่า ค�ำตอบของระบบสมการ คือ (2 - y, y, 3 - 2y) เมื่อ y∊R
หรือเซตค�ำตอบของระบบสมการ คือ { (x, y, z) ∙ x = 2 - y, y∊R,
z = 3 - 2y } หรือ {(2 - y, y, 3 - 2y) ∙ y∊R }
6) ก�ำหนด 2x + y - z = 2 .....(1)
2x + 2y - 4z = 5 .....(2)
4x + 3y - 5z = 9 .....(3)
(1) + (2) จะได้ 4x + 3y - 5z = 7 .....(4)
จากสมการข้างต้นจะเห็นว่า ถ้า (x, y, z) เป็นค�ำตอบของระบบสมการ
ที่ก�ำหนด แล้ว (x, y, z) ต้องสอดคล้องกับสมการ (1), (2) และ (3)
และถ้า (x, y, z) สอดคล้องกับสมการ (1) และ (2) แล้ว (x, y, z)
ต้องสอดคล้องกับสมการ (4)
แต่จากสมการ (3) จะเห็นว่า 4x + 3y - 5z = 9
และจากสมการ (4) จะเห็นว่า 4x + 3y - 5z = 7
ซึ่งจะเห็นได้ชัดว่า ไม่มี x, y และ z ใด ๆ ที่ท�ำให้สมการ (3) และ (4)
เป็นจริงพร้อมกันได้
ดังนั้น ระบบสมการที่ก�ำหนดไม่มีค�ำตอบ

152
ระดับกลาง
2. แกระบบสมการในแตละขอตอไปนี้
1) 2x + 2y + 2z + 2t = 11 2) 2x - y + 3z - w = -3
x + y + 2z + 2t = 5 3x + 2y - z + w = 13
2y + 5z + 2t = 5 x - 3y + z - 2w = -4
x + y + 3z + 4t = 1 -x + y + 4z + 3w = 0
แนวคิด 1) ก�ำหนด 2x + 2y + 2z + 2t = 11 .....(1)
x + y + 2z + 2t = 5 .....(2)
2y + 5z + 2t = 5 .....(3)
x + y + 3z + 4t = 1 .....(4)
(4) - (2) จะได้ z + 2t = -4 .....(5)
2 × (2) จะได้ 2x + 2y + 4z + 4t = 10 .....(6)
(6) - (1) จะได้ 2z + 2t = -1 .....(7)
(7) - (5) จะได้ z = 3
แทน z = 3 ใน (5) จะได้
3 + 2t = -4
2t = -7
t = - 72
แทน z = 3 และ t = - 72 ใน (3) จะได้
2y + 5(3) + 2 (- 72) = 5
2y + 15 - 7 = 5
2y = - 3
y = - 32
แทน z = 3, t = - 72 และ y = - 32 แทนใน (2) จะได้
x - 32 + 2(3) + 2 (- 72) = 5
x - 32 + 6 - 7 = 5
x = 152
ดังนั้น ค�ำตอบของระบบสมกำร คือ (152, - 32, 3, - 72)
153
2) กำ�หนด 2x - y + 3z - w = -3 .....(1)
3x + 2y - z + w = 13 .....(2)
x - 3y + z - 2w = -4 .....(3)
-x + y + 4z + 3w = 0 .....(4)
(1) + (2) จะได้ 5x + y + 2z = 10 .....(5)
2 × (2) จะได้ 6x + 4y - 2z + 2w = 26 .....(6)
(6) + (3) จะได้ 7x + y - z = 22 .....(7)
3 × (1) จะได้ 6x - 3y + 9z - 3w = -9 .....(8)
(8) + (4) จะได้ 5x - 2y + 13z = -9 .....(9)
(7) - (5) จะได้ 2x - 3z = 12 .....(10)
จาก (10) จะได้ x = 12 2+ 3z
2 × (7) จะได้ 14x + 2y - 2z = 44 .....(11)
(11) + (9) จะได้ 19x + 11z = 35 .....(12)
แทน x = 12 2+ 3z ในสมการ (12) จะได้
19 (12 2+ 3z) + 11z = 35
(19 × 6) + (19 × 3z2 ) + 11z = 35
114 + 57z +2 22z = 35
79z = -79
2
z = -2
แทน z = -2 ใน (10) จะได้
2x - 3(-2) = 12
2x = 6
x = 3
แทน x = 3 และ z = -2 ใน (5) จะได้
5(3) + y + 2(-2) = 10
15 + y - 4 = 10
y = -1

154
แทน x = 3, y = -1 และ z = -2 ใน (1) จะได้
2(3) - (-1) + 3(-2) - w = -3
6 + 1 - 6 - w = -3
-w = -4
w = 4
ดังนั้น ค�ำตอบของระบบสมกำร คือ (3, -1, -2, 4)

กิจกรรม คณิตศาสตร (หน้ำ 130)

ให้นกั เรียนพิจำรณำตำรำงแสดงจ�ำนวนยำงลบยีห่ อ้ A, B และ C ทีเ่ หลืออยูใ่ นร้ำน ก. และร้ำน ข.


ต่อไปนี้
ยางลบ A ยางลบ B ยางลบ C
ร้ำน ก. 35 52 61
ร้ำน ข. 50 35 33
ตารางที่ 1
จำกตำรำงข้ำงต้น สำมำรถน�ำจ�ำนวนยำงลบยี่ห้อ A, B และ C ที่ขำยอยู่ในร้ำน ก. และร้ำน ข.
มำเขียนใหม่ในวงเล็บ [ ] หรือ ( ) ได้ ดังนี้
หลักที่ 1 หลักที่ 2 หลักที่ 3 หลักที่ 1 หลักที่ 2 หลักที่ 3
แถวที่ 1 35 52 61 หรือ 35 52 61 แถวที่ 1
แถวที่ 2 50 35 33 ( 50 35 33 ) แถวที่ 2
ในทำงคณิตศำสตร์จะเรียกกำรเขียนชุดของจ�ำนวนในลักษณะดังกล่ำวว่ำ เมทริกซ์ ซึ่งในหนังสือ
เล่มนี้จะใช้วงเล็บ [ ]
จากขอมูลขางตน ใหนักเรียนตอบคําถามตอไปนี้
1. เมทริกซ์ข้ำงต้นมีจ�ำนวนแถวและจ�ำนวนหลักเป็นเท่ำใด
2. ถ้ำตัวเลขแต่ละตัวที่อยู่ในเมทริกซ์เรียกว่ำ “สมำชิกของเมทริกซ์” และสมำชิกแต่ละตัวใน
แถวที่ 1 ของเมทริกซ์ คือ จ�ำนวนยำงลบแต่ละยี่ห้อในร้ำน ก. แล้วสมำชิกแต่ละตัวในแถวที่
2 คืออะไร
3. ถ้ำสมำชิกแต่ละตัวในหลักที่ 1 ของเมทริกซ์ คือ จ�ำนวนยำงลบยี่ห้อ A ที่ขำยอยู่ในร้ำน ก
น ก.
และร้ำน ข. แล้วสมำชิกแต่ละตัวในหลักที่ 2 และหลักที่ 3 คืออะไร
155
แนวคิด 1. เมทริกซ์ข้ำงต้นมี 2 แถว 3 หลัก
2. สมำชิกแต่ละตัวในแถวที่ 2 คือ จ�ำนวนยำงลบแต่ละยี่ห้อในร้ำน ข.
3. สมำชิกแต่ละตัวในหลักที่ 2 และหลักที่ 3 คือ จ�ำนวนยำงลบยี่ห้อ B และ C
ที่ขำยอยู่ในร้ำน ก. และร้ำน ข. ตำมล�ำดับ
ลองทําดู (หน้ำ 134)
ก�ำหนด B = bij × และ bij = 10 เมื่อ i > j และ bij = -3 เมื่อ i < j และ bij = 25
2 3
เมื่อ i = j ให้หำค่ำของ b11 - b12 + b23 - b22
แนวคิด จำก B = bij × B = bb11 bb12 bb13
2 3 21 22 23
25 -3 -3
=
10 25 -3
ดังนั้น b11 - b12 + b23 - b22 = 25 - (-3) + (-3) - 25 = 0

Thinking Time (หน้ำ 134)


ถ ้ำเมทริกซ์ A และ B มีมติ เิ ดียวกัน นักเรียนคิดว่ำเมทริกซ์ A และ B เท่ำกันได้หรือไม่
เพรำะเหตุใด
แนวคิด เมทริกซ์ A และ B จะเท่ำกันได้ เมื่อสมำชิกแต่ละต�ำแหน่งของเมทริกซ์ A
และ B เท่ำกันทุกค่ำ
ลองทําดู (หน้ำ 135)
- 43 + y 5
ก�ำหนด 3 = 6 ให้หำค่ำของ x และ y
4 -x - 1
- 43 + y 5
แนวคิด จำก 3 = 6 จะได้ว่ำ - 43 + y = 56 และ -x - 1 = 34
4 -x - 1
เมื่อแก้สมกำร จะได้ว่ำ x = - 74, y = 136
ดังนั้น ค่ำของ x และ y ที่ท�ำให้เมทริกซ์ที่ก�ำหนดเท่ำกัน คือ - 74 และ 136
ตำมล�ำดับ
156
4
ก�ำหนด - 7 x + y = 4 ให้หำค่ำของ x และ y
4x - 7y -28
- 4 x + y
แนวคิด จำก 7 = 4
4x - 7y -28
จะได้ว่ำ - 47 x + y = 4 ......(1)
4x - 7y = -28 ......(2)
จะเห็นว่ำ สมกำร (2) ได้จำกกำรคูณ (1) ด้วย -7
ฉะนั้น สมกำร (1) และ (2) มีค�ำตอบของสมกำรเป็นชุดเดียวกัน
นั่นคือ ถ้ำ - 47 x + y = 4 แล้ว x = 74 y - 7 หรือ y = 47 x + 4
จะได้ว่ำ เซตค�ำตอบของสมกำร (1) คือ { (x, y) ∙ - 47 x + y = 4 }
หรือ { (x, 47 x + 4) ∙ x∊R }
หรือ { ( 74 y - 7, y) ∙ y∊R }
ดังนั้น x และ y ที่ท�ำให้เมทริกซ์ที่ก�ำหนดเท่ำกัน
คือ (x, y)∊{ (a, b) ∙ - 47 a + b = 4 }
หรือ (x, y)∊{ (a, 47 a + 4) ∙ a∊R }
หรือ (x, y)∊{ ( 74 b - 7, b) ∙ b∊R }

กิจกรรม คณิตศาสตร (หน้ำ 136)

จำกกิจกรรมคณิตศำสตร์ในหน้ำ 130 นักเรียนทรำบมำแล้วว่ำจ�ำนวนยำงลบยีห่ อ้ A, B และ C


ที่เหลืออยู่ในร้ำน ก. และร้ำน ข. เป็นดังนี้
ยางลบ A ยางลบ B ยางลบ C
ร้ำน ก. 35 52 61
ร้ำน ข. 50 35 33
ตารางที่ 2
เมือ่ น�ำข้อมูลดังกล่ำวมำเขียนใส่ตำรำงอีกแบบหนึง่ โดยให้แต่ละแถวแทนจ�ำนวนยำงลบยีห่ อ้ A, B
และ C และแต่ละคอลัมน์แทนร้ำน ก. และร้ำน ข. จะได้ตำรำงบันทึกข้อมูลใหม่ ดังนี้

157
ราน ก. ราน ข.
ยำงลบ A 35 50
ยำงลบ B 52 35
ยำงลบ C 61 33
ตารางที่ 3
จากขอมูลขางตน ใหนักเรียนตอบคําถามตอไปนี้
1. เขียนเมทริกซ์ A และ B แทนข้อมูลในตำรำงที่ 2 และ 3 ตำมล�ำดับ
2. เมทริกซ์ A มีจ�ำนวนแถว จ�ำนวนหลัก และมิติเป็นเท่ำใด
3. เมทริกซ์ B มีจ�ำนวนแถว จ�ำนวนหลัก และมิติเป็นเท่ำใด
4. ถ้ำ aij เมื่อ i∊{ 1, 2 } และ j∊{ 1, 2, 3 } เป็นสมำชิกของ A และ bij เมื่อ i∊{ 1, 2, 3 } และ
j∊{ 1, 2 } เป็นสมำชิกของ B แล้ว a11, a12, a13, a21, a22, a23, b11, b12, b21, b22, b31 และ
b32 มีค่ำเป็นเท่ำใด
5. สมำชิกแต่ละตัวของเมทริกซ์ A และ B มีควำมสัมพันธ์กันอย่ำงไร
35 52 61 35 50
แนวคิด 1. A = 50 35 33 และ B = 52 35
61 33
2. เมทริกซ์ A มี 2 แถว 3 หลัก มีมิติเป็น 2 × 3
3. เมทริกซ์ B มี 3 แถว 2 หลัก มีมิติเป็น 3 × 2
4. a11 = 35, a12 = 52, a13 = 61, a21 = 50, a22 = 35, a23 = 33
b11 = 35, b12 = 50, b21 = 52, b22 = 35, b31 = 61 และ b32 = 33
5. สมำชิกในแถวที่ 1 จำกซ้ำยไปขวำของเมทริกซ์ A เหมือนสมำชิกใน
หลักที ่ 1 ของเมทริกซ์ B จำกบนลงล่ำงและสมำชิกในแถวที ่ 2 จำกซ้ำยไปขวำ
ของเมทริกซ์ A เหมือนสมำชิกในหลักที่ 2 ของเมทริกซ์ B จำกบนลงล่ำง

กิจกรรม คณิตศาสตร (หน้ำ 137)

จำกกิจกรรมคณิตศำสตร์ ในหน้ำ 130 เมทริกซ์ที่แสดงข้อมูลในตำรำงที่ 1 เป็นดังนี้


X =
35 52 61
50 35 33

158
สมมติให้ Y เป็นเมทริกซ์ที่แสดงจ�ำนวนยำงลบทั้ง 3 ยี่ห้อ ที่แต่ละร้ำนซื้อมำส�ำรองไว้
เพื่อขำยในเดือนถัดไป
Y = 30 40 35
40 30 35
ถ้ำเจ้ำของร้ำน ก. และร้ำน ข. อยำกทรำบว่ำ ในปจจุบันเขำมีจ�ำนวนยำงลบแต่ละยี่ห้อ
ในแต่ละร้ำนเป็นจ�ำนวนเท่ำใด เขำจะสำมำรถหำได้จำกน�ำเมทริกซ์ X และ Y มำบวกกัน ซึง่ จะ
เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ X + Y
จากขอมูลขางตน ใหนักเรียนเติมจํานวนลงในชองวางใหสมบูรณ แลวตอบคําถามที่กําหนด
1.1. X + Y = 35 52 61 + 30 40 35
50 35 33 40 30 35
52 + 40 61 + ....... 35
= 35 + 30
50 35 + 30 ....................
....... + 40 ................... 33 + 35
96
= 65 92 .......
90 65 .......
....... ....... 68
2. สมำชิกแต่ละตัวที่อยู่ในเมทริกซ์ที่เกิดจำกเมทริกซ์ X บวกกับ Y มีควำมหมำยว่ำอย่ำงไร
แนวคิด ผลบวกของสมำชิกในแถวและหลักเดียวกันของเมทริกซ์ X และ Y

Thinking Time (หน้ำ 137)


ก�ำหนด A = 1 3 และ B = 5 นักเรียนคิดว่ำ A + B หำค�ำตอบได้หรือไม่
2 4 6
เพรำะเหตุใด
แนวคิด หำค�ำตอบไม่ได้ เพรำะเมทริกซ์ A และ B มีมติ ไิ ม่เท่ำกัน จึงไม่สำมำรถบวกกันได้
ลองทําดู (หน้ำ 138)
ให้หำผลบวกของเมทริกซ์ ในแต่ละข้อต่อไปนี้
-9 8 7 3 34 -5 -10 8 13 14 - 8
1) 11 - 11 + 2) +
23 8 -11 - 5 7 1 67 10 11 5
12 - 21
-9 8 3 = -9 + 7 8 + 3
แนวคิด 1) 11 - 11 + 7 11
23 8 -11 23 + 8 - 11 - 11
-2 11
= 195 -11 - 11
23
159
34 -5 -10 8 13 - 8
14 34 + 8 -5 + 1314 -10 - 8
2) + =
- 5 7 1 67 10 11 - 5
12 21 - 5 + 10 7 + 11 6 5
12 1 7 - 21
354 - 5714 -10 - 8
=
10 - 5 95
12 21
34

กิจกรรม คณิตศาสตร (หน้ำ 139)

ถ้ำแต่ละร้ำนต้องกำรส�ำรองจ�ำนวนยำงลบแต่ละยีห่ อ้ ให้มจี ำ� นวนเป็น 2 เท่ำ จำกยอดขำยของ


ร้ำน ก. และร้ำน ข. ในเดือนพฤษภำคม เมื่อยอดขำยยำงลบแต่ละยี่ห้อของร้ำน ก. และร้ำน ข.
ในเดือนพฤษภำคม ที่แสดงโดยเมทริกซ์ M เป็นดังนี้
ยี่หอ A ยี่หอ B ยี่หอ C
M = 35 60 50 ราน ก.
61 44 37 ราน ข.
เจ้ำของร้ำนจะสำมำรถหำจ�ำนวนยำงลบที่ต้องกำรส�ำรวจได้จำกกำรน�ำ 2 ไปคูณกับเมทริกซ์
M ซึ่งจะเขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ 2M
จากขอมูลขางตน ใหนักเรียนเติมจํานวนลงในชองวางใหสมบูรณ แลวตอบคําถามที่กําหนด
1. 2M = 2 35 60 50
61 44 37
= 2
2 × 35 2 × 60 2 × ....... 50
2 × 44 ....................
....... × 61 ................... 2 × 37
100
= 70 120 .......
1.......
22 .......
88 .......
74

2. สมำชิกแต่ละตัวที่อยู่ในเมทริกซ์ที่เกิดจำก 2 คูณกับเมทริกซ์ M มีควำมหมำยว่ำอย่ำงไร
แนวคิด ผลคูณของ 2 กับสมำชิกแต่ละตัวในเมทริกซ์ M
ลองทําดู (หน้ำ 140)
ก�ำหนด A = 10 -8 -4 และ B = -3 15 9
20 24 6 -30 21 6
ให้หำ 2A, 23 B และ 2A + 23 B

160
แนวคิด 2B = 2 10 -8 -4
20 24 6
= 2 × 10 2 × (-8) 2 × (-4)
2 × 20 2 × 24 2 × 6
= 20 -16 -8
40 48 12
2 B = 2 -3 15 9
3 3 -30 21 6
23 × (-3) 23 × 15 23 × 9
= 2
3 × (-30) 23 × 21 23 × 6
= -20
-2 10 6
14 4
2A + 23 B = 20 -16 -8 + -2 10 6
40 48 12 -20 14 4
= 18 -6 -2
20 62 16
ลองทําดู (หน้ำ 141)
4 -8 11 5
ก�ำหนด A = 3 10 -7 และ B = -2 -8 9
7 -11 3 14
ให้หำ A - B และ 3A - 12 B
4 -8 11 5
แนวคิด A - B = 3 10 -7 - -2 -8 9
7 -11 3 14
4 - (-2) -8 - (-8) 11 - 59
= 3
7 - (-11) 10 - 3 -7 - 14
6 0 949
= 80
7 7 -21

161
4 -8 11 5
3A - 12 B = 3  3 10 -7 - 12  -2 -8 9
7 -11 3 14
3(4) - 12 (-2) 3(-8) - 12 (-8) 3(11) - 12 (59)
= 3 1
3(7) - 2 (-11) 3(10) - 12 (3) 3(-7) - 12 (14)
13 -20 589
= 95 57 18
14 2 -28

Thinking Time (หน้า 141)


ก �ำหนด A, B และ C เป็น m × n เมทริกซ์ ให้นักเรียนพิจารณาว่าประโยคต่อไปนี้
เป็นจริงหรือไม่ เพราะเหตุใด
1. A + B = B + A
2. A + (B + C) = (A + B) + C
3. A - B = B - A
4. (A - B) - C = A - (B - C)
a11 a12 ... a1n b11 b12 ... b1n
a a ... a b b ... b
แนวคิด 1. A + B = ︙ 21 ︙ 22 ︙2n + ︙ 21 ︙ 22 ︙2n
am1 am2 ... amn bm1 bm2 ... bmn
a11 + b11 a12 + b12 ... a1n + b1n
a + b a + b ... a + b
= 21 ︙ 21 22 ︙ 22 2n ︙ 2n
am1 + bm1 am2 + bm2 ... amn + bmn
b11 + a11 b12 + a12 ... b1n + a1n
b + a b + a ... b + a
= 21 ︙ 21 22 ︙ 22 2n ︙ 2n
bm1 + am1 bm2 + am2 ... bmn + amn
(สมบัติสลับที่ของการบวก)
= B + A
ดังนั้น A + B = B + A เป็นจริง
162
a11 a12 ... a1n
a a ... a
2. A + (B + C) = ︙ 21 ︙ 22 ︙2n
am1 am2 ... amn
b11 b12 ... b1n c11 c12 ... c1n
b b ... b c21 c22 ... c2n
+   ︙ 21 ︙ 22 ︙2n + ︙ ︙ ︙

bm1 bm2 ... bmn cm1 cm2 ... cmn
a11 a12 ... a1n
a a ... a
= ︙ 21 ︙ 22 ︙2n
am1 am2 ... amn
b11 + c11 b12 + c12 ... b1n + c1n
b + c b + c ... b + c
+ 21 ︙ 21 22 ︙ 22 2n ︙ 2n
bm1 + cm1 bm2 + cm2 ... bmn + cmn
a11 + (b11 + c11) a12 + (b12 + c12) ... a1n + (b1n + c1n)
a  + (b  + c ) a  + (b  + c ) ... a  + (b + c )
= 21 ︙ 21 21 22 ︙ 22 22 2n ︙2n  2n
am1 + (bm1 + cm1) am2 + (bm2 + cm2) ... amn + (bmn + cmn)
(a11 + b11) + c11 (a12 + b12) + c12 ... (a1n + b1n) + c1n
(a  + b ) + c (a  + b ) + c ... (a  + b ) + c
= 21 ︙ 21 21 22 ︙ 22 22 2n ︙2n   2n
(am1 + bm1) + cm1 (am2 + bm2) + cm2 ... (amn + bmn) + cmn
(สมบัติการเปลี่ยนหมู่ของการบวก)

163
a11 + b11 a12 + b12 ... a1n + b1n
a + b a + b ... a + b
= 21 ︙ 21 22 ︙ 22 2n ︙ 2n
am1 + bm1 am2 + bm2 ... amn + bmn
c11 c12 ... c1n
c21 c22 ... c2n
+ ︙ ︙ ︙

cm1 cm2 ... cmn
a11 a12 ... a1n b11 b12 ... b1n
a a ... a b b ... b
=   ︙ 21 ︙ 22 ︙2n +  ︙ 21 ︙ 22 ︙2n  
am1 am2 ... amn bm1 bm2 ... bmn
c11 c12 ... c1n
c21 c22 ... c2n
+ ︙ ︙ ︙

cm1 cm2 ... cmn
= (A + B) + C
ดังนั้น A + (B + C) = (A + B) + C เป็นจริง
0 1 -2 และ B = 2 -2 1
3. ก�ำหนด A = -1 1 3 -1 3 0
A - B = -1 0 1 -2 - 2 -2 1
1 3 -1 3 0
= -2 3 -3
0 -2 3
2 -2 1 - 0 1 -2
B - A = -1 3 0 -1 1 3
= 2 -3 3
0 2 -3
จะเห็นว่า A - B ≠ B - A
ดังนั้น A - B = B - A ไม่เป็นจริง

164
4. ก�ำหนด A = -1
0 1 -2 , B = 2 -2 1 และ C = 1 0 1
1 3 -1 3 0 0 1 0
(A - B) - C = -1 0 1 -2 - 2 -2 1 - 1 0
1 3 -1 3 0 0 1
1
0
= -2 3 -3 - 1 0 1
0 -2 3 0 1 0
= -3 3 -4
0 -3 3
A - (B - C) = -1
0 1 -2 - 2 -2 1 - 1 0 1
1 3 -1 3 0 0 1 0
= -1
0 1 -2 - 1 -2 0
1 3 -1 2 0
= -1 3 -2
0 -1 3
จะเห็นว่ำ (A - B) - C ≠ A - (B - C)
ดังนั้น (A - B) - C = A - (B - C) ไม่เป็นจริง

ลองทําดู (หน้ำ 143)


1
ก�ำหนด A = - 3 3 ให้หำเมทริกซ์ X ที่ท�ำให้ - 47 A + 2X = 37 (X + A)
4 -8
แนวคิด จำก - 47 A + 2X = 37 (X + A)
จะได้ว่ำ - 47 A + 2X = 37 X + 37 A
(- 47 A + 2X) - 37 X = (37 X + 37 A) - 37 X
- 47 A + (2 - 37) X = 37 A + (37 X - 37 X)
- 47 A + 117 X = 37 A + 0
- 47 A + 117 X = 37 A
(- 47 A + 117 X) + 47 A = 37 A + 47 A
(117 X - 47 A) + 47 A = (37 + 47) A

165
117 X + (- 47 A + 47 A) = A
11 X + 0 = A
7
11 X = A
7
7A
X = 11

7 7 - 1 3 - 337 7 3
นั่นคือ X = 11 A = 11 3 = 28 1156
4 -8 11 - 11
- 337 7 3
ดังนั้น เมทริกซ์ X คือ 28 1156
11 - 11

กิจกรรม คณิตศาสตร (หน้ำ 143)

จำกกิจกรรมคณิตศำสตร์ หน้ำ 139 เรำรู้แล้วว่ำ ยอดขำยยำงลบแต่ละยี่ห้อของร้ำน ก. และ


ร้ำน ข. ในเดือนพฤษภำคม เป็นดังนี้
ยี่หอ A ยี่หอ B ยี่หอ C
M = 35 60 50 ราน ก.
61 44 37 ราน ข.
สมมติวำ่ ยำงลบยีห่ อ้ A รำคำก้อนละ 10 บำท ยีห่ อ้ B ก้อนละ 15 บำท และยีห่ อ้ C ก้อนละ 20 บำท
เมื่อน�ำรำคำยำงลบแต่ละยี่ห้อมำเขียนใส่เมทริกซ์โดยให้สมำชิกในแต่ละแถวแทนยี่ห้อยำงลบ และ
สมำชิกในแต่ละหลักแทนรำคำยำงลบ จะได้เมทริกซ์ที่มีมิติ 3 × 1 ดังนี้
ราคา
10 ยี่หอ A
N = 15 ยีห่ อ B
20 ยีห่ อ C
ถ้ำเจ้ำของร้ำนต้องกำรทรำบยอดขำยยำงลบของแต่ละร้ำนในเดือนพฤษภำคม เขำสำมำรถ
ท�ำได้โดยน�ำเมทริกซ์ M คูณกับ N ซึ่งจะเขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ MN

166
จากขอมูลขางตน ใหนักเรียนเติมจํานวนลงในชองวางใหสมบูรณ แลวตอบคําถามที่กําหนด
10
1. MN = 35 60 50 15
61 44 37 20
× 10) + (60 × 15) + (50 × ....... 20 )
= (35
61 × 10) + (.......
44 × .......
15 ) + (.......
37 × .......
20)
(.......
2,250
= ..............
2,010
..............

2. สมมติว่ำ P เป็นเมทริกซ์ที่เกิดจำกเมทริกซ์ M คูณกับ N อยำกทรำบว่ำ เมทริกซ์ MM, N และ
P มีมิติเป็นเท่ำใด และมิติของแต่ละเมทริกซ์มีควำมสัมพันธ์กันอย่ำงไร
แนวคิด เมทริกซ์ P มีมิติ 2 × 1 โดยที่มีจ�ำนวนแถวของเมทริกซ์ P เท่ำกับจ�ำนวนแถว
ของเมทริกซ์ M และจ�ำนวนหลักของเมทริกซ์ P เท่ำกับจ�ำนวนหลักของเมทริกซ์
N
3. นักเรียนคิดว่ำเงื่อนไขใดบ้ำงที่จะท�ำให้เมทริกซ์ 2 เมทริกซ์ ใด ๆ คูณกันได้
แนวคิด จ�ำนวนหลักของเมทริกซ์ตัวตั้ง ต้องเท่ำกับจ�ำนวนแถวของเมทริกซ์ตัวคูณ

ลองทําดู (หน้ำ 146)


4 -8 3 4 -5 0
ก�ำหนด A = 2 3 10 และ B = 7 1 4 ให้หำ
5 8 1 3
1) AB 2) BA
แนวคิด 1) เนื่องจำก A เป็น 2 × 3 เมทริกซ์ และ B เป็น 3 × 3 เมทริกซ์
จะได้ว่ำ จ�ำนวนหลักของ A เท่ำกับจ�ำนวนแถวของ B
ดังนั้น AB หำค่ำได้ ดังนี้
4 -8 3 4 -5 0
AB = 2 3 10 7 1 4
5 8 1 3
4(4) + (-8)(7) + 3(8) 4(-5) + (-8)(1) + 3(1) 4(0) + (-8)(4) + 3(3)
= 2 (4) + 3(7) + 10(8) 2 (-5) + 3(1) + 10(1) 2 (0) + 3(4) + 10(3)
5 5 5
-16 -25 -23
= 513 11 42
5
167
2) เนื่องจำก B เป็น 3 × 3 เมทริกซ์ และ A เป็น 2 × 3 เมทริกซ์
จะได้ว่ำ จ�ำนวนหลักของ B ไม่เท่ำกับจ�ำนวนแถวของ A
ดังนั้น ไม่สำมำรถหำ BA ได้
ลองทําดู (หน้ำ 148)
8 1 9 3 -2 3
ก�ำหนด A = 4 2 , B =
5 1 -4 และ C = -12
ให้หำ AB, BC, A(BC) และ (AB)C
แนวคิด AB = 8 1 9 3 -2
4 2 5 1 -4
= 8(9) + 1(5) 8(3) + 1(1) 8(-2) + 1(-4)
4(9) + 2(5) 4(3) + 2(1) 4(-2) + 2(-4)
= 77 25 -20
46 14 -16
9 3 -2 3
BC = 5 1 -4 2
-1
= 9(3) + 3(2) + (-2)(-1)
5(3) + 1(2) + (-4)(-1)
= 35
21
A(BC) = 8 1 35
4 2 21
= 8(35) + 1(21)
4(35) + 2(21)
= 301
182
(AB)C = 77 25 -20 32
46 14 -16 -1
= 77(3) + 25(2) + (-20)(-1)
46(3) + 14(2) + (-16)(-1)
= 301
182

168
ลองทําดู (หน้ำ 149)
ก�ำหนด A = 5 1 , B = 2 1 และ C = 1 0
2 -4 3 2 7 10
ให้หำ (A + B)C, AC + BC, A(B + C) และ AB + AC
แนวคิด (A + B)C = 5 1 + 2 1 1 0
2 -4 3 2 7 10
= 7 2 1 0
5 -2 7 10
= 5(1) + (-2)(7)
7(1) + 2(7) 7(0) + 2(10)
5(0) + (-2)(10)
= 21 20
-9 -20
AC + BC = 5 1 1 0 + 2 1 1 0
2 -4 7 10 3 2 7 10
= 2(1) + (-4)(7) 2(0) + (-4)(10)
5(1) + 1(7) 5(0) + 1(10) + 2(1) + 1(7) 2(0) + 1(10)
3(1) + 2(7) 3(0) + 2(10)
= -26
12 10 + 9 10
-40 17 20
= 21 20
-9 -20
A(B + C) = 5 1 2 1 + 1 0
2 -4 3 2 7 10
= 5 1 3 1
2 -4 10 12
= 2(3) + (-4)(10)
5(3) + 1(10) 5(1) + 1(12)
2(1) + (-4)(12)
= -34
25 17
-46

169
AB + AC = 5 1 2 1 + 5 1 1 0
2 -4 3 2 2 -4 7 10
= 2(2) + (-4)(3)
5(2) + 1(3) 5(1) + 1(2) + 5(1) + 1(7) 5(0) + 1(10)
2(1) + (-4)(2) 2(1) + (-4)(7) 2(0) + (-4)(10)
= 13 7 + 12 10
-8 -6 -26 -40
= -34
25 17
-46
ลองทําดู (หน้ำ 150)
ก�ำหนด A = 4 0 และ B = 10 20 ให้หำ (AB)t และ BtAt
2 -5 4 2
แนวคิด At = 4 2 และ Bt = 10 4
0 -5 20 2
AB = 4 0 10 20
2 -5 4 2
= 2(10) + (-5)(4)
4(10) + 0(4) 4(20) + 0(2)
2(20) + (-5)(2)
= 40 80
0 30
(AB)t = 40 0
80 30
BtAt = 10 4 4 2
20 2 0 -5
= 10(4) + 4(0) 10(2) + 4(-5)
20(4) + 2(0) 20(2) + 2(-5)
= 40 0
80 30

170
ลองทําดู (หน้ำ 151)
ก�ำหนด A = -4
1 2 ให้แสดงว่ำ AI = IA = A
5
แนวคิด AI = -4
1 2 1 0
5 0 1
= (-4)(1) + 5(0)
1(1) + 2(0) 1(0) + 2(1)
(-4)(0) + 5(1)
= -4 1 2
5
IA = 1 0 1 2
0 1 -4 5
= 1(1) + 0(-4) 1(2) + 0(5)
0(1) + 1(-4) 0(2) + 1(5)
= -4 1 2
5
ดังนั้น AI = IA = A
Thinking Time (หน้ำ 151)
“ ถ้ำ A เป็น m × n เมทริกซ์ แล้ว AIn = ImA = A” นักเรียนคิดว่ำข้อควำมดังกล่ำว
เป็นจริงหรือไม่ เพรำะเหตุใด
แนวคิด ก�ำหนด A เป็น m × n เมทริกซ์ จะได้
a11 a12 ... a1n 1 0 ... 0
a a ... a
AIn = ︙ 21 ︙ 22 ︙2n 0 1 ... 0
︙ ︙ ︙
am1 am2 ... amn 0 0 ... 1
a11(1) + a12(0) + ... + a1n(0) a11(0) + a12(1) + ... + a1n(0) ... a11(0) + a12(0) + ... + a1n(1)
a (1) + a (0) + ... + a (0) a (0) + a (1) + ... + a (0) ... a21(0) + a22(0) + ... + a2n(1)
= 21 22 ︙ 2n 21 22 ︙ 2n ︙
am1(1) + am2(0) + ... + amn(0) am1(0) + am2(1) + ... + amn(0) ... am1(0) + am2(0) + ... + amn(1)

171
a11 a12 ... a1n
a a ... a
︙ 21 ︙ 22 ︙2n
=
am1 am2 ... amn
= A
1 0 ... 0 a11 a12 ... a1n
a a ... a2n
ImA = 0 1 ... 0 21 22
︙ ︙ ︙ ︙ ︙ ︙
0 0 ... 1 am1 am2 ... amn
(1)a11 + (0)a12 + ... + (0)a1n (0)a11 + (1)a12 + ... + (0)a1n ... (0)a11 + (0)a12 + ... + (1)a1n
(1)a + (0)a + ... + (0)a (0)a + (1)a + ... + (0)a ... (0)a21 + (0)a22 + ... + (1)a2n
= 21 22︙ 2n 21 22︙ 2n ︙
(1)am1 + (0)am2 + ... + (0)amn (0)am1 + (1)am2 + ... + (0)amn ... (0)am1 + (0)am2 + ... + (1)amn
a11 a12 ... a1n
a a ... a
︙ 21 ︙ 22 ︙2n
=
am1 am2 ... amn
= A
ดังนั้น AIn = ImA = A เป็นจริง
ลองทําดู (หน้ำ 153)
ก�ำหนด A = -3
4 -2 ให้หำ A2, A3 และ A4
-5
แนวคิด A2 = -3
4 -2 4 -2
-5 -3 -5
= (-3)(4) + (-5)(-3) (-3)(-2) + (-5)(-5)
4(4) + (-2)(-3) 4(-2) + (-2)(-5)

= 22 2
3 31

172
A3 = AA2
= -3
4 -2 22 2
-5 3 31
= (-3)(22) + (-5)(3)
4(22) + (-2)(3) 4(2) + (-2)(31)
(-3)(2) + (-5)(31)
= -81 -161
82 -54

A3 = AA3
= -3
4 -2 82 -54
-5 -81 -161
= (-3)(82) + (-5)(-81)
4(82) + (-2)(-81) 4(-54) + (-2)(-161)
(-3)(-54) + (-5)(-161)
= 490 106
159 967
ลองทําดู (หน้ำ 154)
ก�ำหนด A = -7
4 11 และ B = 5 -7
9 1 2
ให้หำ (A + B) , A + 2AB + B , A2 - B2 และ (A - B)(A + B)
2 2 2

แนวคิด 1) A + B = -7 4 11 + 5 -7
9 1 2
= -6
9 4
11
2
(A + B) = (A + B)(A + B)
9 4 9 4
= -6 11 -6 11
= (-6)(9) + 11(-6)
9(9) + 4(-6) 9(4) + 4(11)
(-6)(4) + 11(11)
= -120
57 80
97

173
2) A2 = -7
4 11   4 11
9 -7 9
4(4) + 11(-7) 4(11) + 11(9)
= (-7)(4) + 9(-7) (-7)(11) + 9(9)
= -61 143
-91 4
B2 = 5 -7   5 -7
1 2 1 2
= 5(5) + (-7)(1) 5(-7) + (-7)(2)
1(5) + 2(1) 1(-7) + 2(2)
= 18 -49
7 -3
AB = -7
4 11   5 -7
9 1 2
4(5) + 11(1) 4(-7) + 11(2)
= (-7)(5) + 9(1) (-7)(-7) + 9(2)
= -26
31 -6
67
ดังนั้น A2 + 2AB + B2 = -61 143 + 2  31 -6 + 18 -49
-91 4 -26 67 7 -3
= -61 + 62 + 18 143 - 12 - 49
-91 - 52 + 7 4 + 134 - 3
= -136
19 82
135
3) A2 - B2 = -61 143 - 18 -49
-91 4 7 -3
= -79 192
-98 7
4) A - B = -7
4 11 - 5 -7
9 1 2
= -1 18
-8 7

174
(A - B)(A + B) = -1 18   9 4
-8 7 -6 11
= -1(9) + 18(-6) 4(-7) + 11(2)
-8(9) + 7(-6) -8(4) + 7(11)
= -117 194
-114 45
Thinking Time (หน้า 154)
ก�ำหนด A และ B เป็น n × n เมทริกซ์ ให้แสดงว่า (A + B)2 = A2 + 2AB + B2
ก็ต่อเมื่อ AB = BA
แนวคิด จากความรู้เรื่องตรรกศาสตร์ การแสดงว่า (A + B)2 = A2 + 2AB + B2
ก็ต่อเมื่อ AB = BA
จะต้องแสดงให้ได้ว่า 1) ถ้า (A + B)2 = A2 + 2AB + B2 แล้ว AB = BA
และ 2) ถ้า AB = BA แล้ว (A + B)2 = A2 + 2AB + B2
1) จาก (A + B)2 = (A + B)(A + B)
= A2 + AB + BA + B2
จะได้ A2 + 2AB + B2 = A2 + AB + BA + B2
2AB = AB + BA
AB = BA
2 = A2 + 2AB + B2 แล้ว AB = BA
ดังนั้น ถ้า (A + B)
2) จาก AB = BA
และ (A + B)2 = (A + B)(A + B)
= A2 + AB + BA + B2
จะได้ (A + B)2 = A2 + 2AB + B2
ดังนั้น ถ้า AB = BA แล้ว (A + B)2 = A2 + 2AB + B2
นั่นคือ (A + B)2 = A2 + 2AB + B2 ก็ต่อเมื่อ AB = BA

175
แบบฝ
กทั
กษะ 2.2 (หน้ำ 155)

ระดับพื้นฐาน

1. ใหหาคาของตัวแปรที่เปนจํานวนจริงในแตละขอตอไปนี้ที่ทําให A = B
1.
5 x
1) A = 0 และ B = y
-1 -1
2) A = x 7 5 และ B = 0 7 5
3 y 2 3 1 2

x - 2 y และ B = 3 1 5
3) A = 3
2
4 1 2 4 z
5 และ B = 3 5
4) x + y
4
1 4 x - y
5 x
แนวคิด 1) จำก 0 = y จะได้ว่ำ x = 5 และ y = 0
-1 -1
ดังนั้น ค่ำของ x และ y ที่ท�ำให้เมทริกซ์ที่ก�ำหนดเท่ำกัน คือ 5 และ 0
ตำมล�ำดับ
2) จำก x 7 5 = 0 7 5 จะได้ว่ำ x = 0 และ y = 1
3 y 2 3 1 2
ดังนั้น ค่ำของ x และ y ที่ท�ำให้เมทริกซ์ที่ก�ำหนดเท่ำกัน คือ 0 และ 1
ตำมล�ำดับ
3) จำก 3 x - 2 y = 3 1 5 จะได้วำ่ x - 2 = 1, y = 5 และ z = 1
2 4 1 2 4 z
เมื่อแก้สมกำร จะได้ว่ำ x = 3
ดังนั้น ค่ำของ x, y และ z ที่ท�ำให้เมทริกซ์ที่ก�ำหนดเท่ำกัน คือ 3, 5 และ
1 ตำมล�ำดับ
4) จำก x + y 5 = 3 5 จะได้วำ่ x + y = 3 และ x - y = 1
4 1 4 x - y
เมือ่ แก้สมกำร จะได้วำ่ x = 2 และ y = 1
ดังนัน้ ค่ำของ x และ y ทีท่ ำ� ให้เมทริกซ์ทกี่ ำ� หนดเท่ำกัน คือ 2 และ 1 ตำมล�ำดับ

176
2. กําหนด A = 11 23 , B = 20 -11 และ C = -23 04 ใหหา
2.
1) A + B 2) B + A
3) (A + B) + C 4) A + (B + C)
แนวคิด 1) A + B = 1 2 + 2 -1
1 3 0 1
= 1 + 2 2 + (-1)
1 + 0 3 + 1
= 3 1
1 4
2) B + A = 2 -1 + 1 2
0 1 1 3
= 2 + 1 (-1) + 2
0 + 1 1 + 3
= 3 1
1 4
3) (A + B) + C = 3 1 + -2 4
1 4 3 0
= 3 + (-2) 1 + 4
1 + 3 4 + 0
= 1 5
4 4
4) B + C = 2 -1 + -2 4
0 1 3 0
= 2 + (-2) (-1) + 4
0 + 3 1 + 0
= 0 3
3 1
A + (B + C) = 1 2 + 0 3
1 3 3 1
= 1 + 0 2 + 3
1 + 3 3 + 1
= 1 5
4 4

177
3. กําหนด A = 20 -11 และ B = 31 -52 ใหหา
3.
1) 2A + 2B 2) 2(A + B) 3) 3A + 5A
แนวคิด 1) 2A + 2B = 2 2 -1 + 2 3 -5
0 1 1 2
= 4 -2 + 6 -10
0 2 2 4
= 10 -12
2 6
2) A + B = 2 -1 + 3 -5
0 1 1 2
= 5 -6
1 3
2(A + B) = 2 5 -6
1 3
= 2 -126
10

3) 3A + 5A = 8A
= 8 2 -1
0 1
= 16 -8
0 8
4. ใหหาผลคูณของเมทริกซในแตละขอตอไปนี้
4.
-2 12 5
1) [1 1 0] 1 2) [4 2 0] 1 3) [0 2 1 0] 00
1 -6
3
-2
แนวคิด 1) [1 1 0] 1 = [1(-2) + 1(1) + 0]
1 = [-1]

12
2) [4 2 0] 1 = [4 ( 12 ) + 2(1) + 0]
3 = [4]

178
5
3) [0 2 1 0] 00 = [0 + 0 + 0 + 0]
-6
= [0]
= 0

ระดับกลาง
2
5. กําหนด A = x - 1 -14 และ B = -y0 31 ใหหาจํานวนจริง x และ y ที่ทําให
x y
A=B
2
แนวคิด จำก A = x - 1 -14 และ B = -y 0 3
1
x y
2
จะได้ x - 1 = 0
x2 = 1
x = ±1
และ -y = x
-y = 1 หรือ -y = -1
y = -1 หรือ y = 1
6. ใหหาเมทริกซ X ที่สอดคลองกับสมการในแตละขอตอไปนี้
1) -1
2 1 + 1 2 + X = 0 -1 2) 1 2 + X = 1 2
3 0 4 1 2 -3 0 -3 0

แนวคิด 1) -1
2 1 + 1 2 + X = 0 -1
3 0 4 1 2
3 3 + X = 0 -1
-1 7 1 2
X = 0 -1 - 3 3
1 2 -1 7
= -3 -4
2 -5

179
2) 1 2 + X = 1 2
-3 0 -3 0
X = 1 2 - 1 2
-3 0 -3 0
= 0 0
0 0
= 0
7. ใหหาเมทริกซ X จากสมการในแตละขอตอไปนี้
1) 5X + 2 -5
1 2 = 7 -1
1 0 -3
2) -1 2 = 3 1 4 - 2X
-2 3 2 3
3) 2A + X = B - 2X เมื่อ A = -2
1 0 และ B = 5 -3
3 2 6
แนวคิด 1) 5X + 2 -5 1 2 = 7 -1
1 0 -3
5X + -10
2 4 = 7 -1
2 0 -3
5X = 7 -1 - 2 4
0 -3 -10 2
5X = 10 5 -5
-5
X = 15 5 -5
10 -5
= 1 -1
2 -1
2) -1 2 = 3 1 4 - 2X
-2 3 2 3
2X = 3 12 - -1 2
6 9 -2 3
2X = 4 10
8 6
X = 12 4 10
8 6
= 2 5
4 3
180
3) จำก A = -2
1 0 และ B = 5 -3
3 2 6
และ 2A + X = B - 2X
3X = B - 2A
3X = 5 -3 - 2 1 0
2 6 -2 3
3X = 5 -3 - 2 0
2 6 -4 6
3X = 3 -3
6 0
X = 13 3 -3
6 0
= 1 -1
2 0
8. กําหนด A = 23 -11 ใหหา A2 - 2A + I2

แนวคิด จำก I2 = 1 0 และ A = 2 1


0 1 3 -1
จะได้ A2 - 2A + I2
= 2 1 2 1 - 2 2 1 + 1 0
3 -1 3 -1 3 -1 0 1
= 3(2) + (-1)3
2(2) + 1(3) 2(1) + 1(-1) - 4 2 + 1 0
3(1) + (-1)(-1) 6 -2 0 1
= 7 1 - 4 2 + 1 0
3 4 6 -2 0 1
= -3
4 -1
7
4 8 7 1 -b 1
9. กําหนด A = 1 1 2 และ B = 2 2 3
-3 0 -10 a 4 -6
1) ให้หำ AB และ BA
-8 72 -14
2) ถ้ำ AB = -5 17 -8 แล้ว a และ b มีค่ำเป็นเท่ำใด
37 -61 57
181
4 8 7 1 -b 1
แนวคิด 1) AB = 1 1 2   2 2 3
-3 0 -10 a 4 -6
4 + 16 + 7a -4b + 16 + 28 4 + 24 - 42
= 1 + 2 + 2a -b + 2 + 8 1 + 3 - 12
-3 + 0 -10a 3b + 0 - 40 -3 + 0 + 60
20 + 7a -4b + 44 -14
= 3 + 2a -b + 10 -8
-3 - 10a 3b - 40 57
1 -b 1 4 8 7
BA = 2 2 3   1 1 2
a 4 -6 -3 0 -10
4 - b - 3 8 - b + 0 7 - 2b - 10
= 8 + 2 - 9 16 + 2 + 0 14 + 4 - 30
4a + 4 + 18 8a + 4 + 0 7a + 8 + 60
1 - b 8 - b -3 - 2b
= 1 18 -12
4a + 22 8a + 4 7a + 68
-8 72 -14
2) AB = -5 17 -8
37 -61 57
20 + 7a -4b + 44 -14 -8 72 -14
จะได้ 3 + 2a -b + 10 -8 = -5 17 -8
-3 - 10a 3b - 40 57 37 -61 57
พิจารณา 3 + 2a = -5 และ -b + 10 = 17
a = -4 b = -7
แทนค่า a และ b ใน AB จะได้
20 + 7(-4) = -8 -4(-7) + 44 = 72
-3 - 10(-4) = 37 3(-7) - 40 = -61
ดังนั้น a = -4 และ b = -7

182
ระดับทาทาย

10. กําหนด A = 12 -12 ใหหา B = bij 2×2 ที่ทําให A2 - B2 = (A - B)(A + B)


แนวคิด จำก 1 2 และ B = b11 b12
2 -1 b b 21 22
2 2
2 2 1 2 b b
จะได้ A - B = 2 -1 - b b
11 12
21 22

= 1 2 1 2 - b11 b12 b11 b12


2 -1 2 -1 b21 b22 b21 b22
= 1 + 4 2 - 2 - b11b11 + b12b21 b11b12 + b12b22
2 - 2 4 + 1 b21b11 + b22b21 b21b12 + b22b22
= 5 0 - b11b11 + b12b21 b11b12 + b12b22
0 5 b21b11 + b22b21 b21b12 + b22b22
5 - b112 - b12b21 -b11b12 - b12b22
=
-b21b11 - b22b21 5 - b21b12 + b222
และ (A - B)(B + A)
= 1 2 - b11 b12 b11 b12 + 1 2
2 -1 b21 b22 b21 b22 2 -1
= 1 - b 11 2 - b12 1 + b11 2 + b12
2 - b21 -1 - b22 2 + b21 -1 + b22
(1 - b112 ) + (4 - 2b12 + 2b21 - b12b21) (2 - 2b11 + b12 - b11b12) + (-2 + b12 + 2b22 - b12b22)
= (2 - b21 + 2b11 - b11b21) + (-2 - 2b22 - b21 - b21b22) (4 - 2b21 + 2b12 - b12b21) + (1 - b222 )
5 - b112 - 2b12 + 2b21 - b12b21 -2b11 + 2b12 - b11b12 + 2b22 - b12b22
= -2b - 2b - b b - 2b - b b 5 - 2b21 + 2b12 - b12b21 - b222
21 11 11 21 22 21 22
จำก A2 - B2 = (A - B)(B + A) จะได้สมกำร
5 - b112 - b12b21 = 5 - b112 - 2b12 + 2b21 - b12b21 .....(1)
-b11b12 - b12b22 = -2b11 + 2b12 - b11b12 + 2b22 - b12b22 .....(2)
-b11b21 - b21b22 = -2b21 + 2b11 - b11b21 - 2b22 - b21b22 .....(3)
5 - b21b12 - b222 = 5 - 2b21 + 2b12 - b12b21 - b222 .....(4)

183
จำก (1) จะได้ -2b12 + 2b21 = 0
b12 = b21
จำก (2) จะได้ -2b11 + 2b12 + 2b22 = 0
b12 + b22 = b11
b22 = b11 - b12
จำก (3) จะได้ -2b21 + 2b11 - 2b22 = 0
b11 - b21 = b22
จำก (4) จะได้ -2b21 + 2b12 = 0
b12 = b21
b b
ดังนั้น B = 11 12
b12 b11 - b12

กิจกรรม คณิตศาสตร (หน้ำ 157)


1. ใหนักเรียนเติมจํานวนลงในชองวางใหสมบูรณ และตอบคําถามที่กําหนด
ก�ำหนด A = 1 3 และ B = 7 -3
2 7 -2 1
1) AB = 1 3 7 -3
2 7 -2 1
[1 × (-3)] + (.......3 × .......1 )
= 2 (1 × 7) + [3 × (-2)]
7 ) + [7 × (-2)] (.......
2 × (-3) 7 × .......
1)
(....... × ....... .......) + (.......
1 .......
0
= 0
.......
1
....... .......
2) BA = 7 -3 1 3
-2 1 2 7
(7 × 1) + [(-3) × 2] (7 × 3) + ((-3) 7)
= (-2) 1 ) + (1 × 2) ((-2)
....... × .......
3 ) + (.......
1 × .......
7)

(....... × ....... ....... × .......
1 0
= 0
....... .......
1
....... .......

2. ผลคูณของ AB และ BA ในขอ 1. มีความสัมพันธกันอยางไร


แนวคิด ผลคูณของ AB และ BA มีค่ำเท่ำกัน และเท่ำกับ I2

184
ลองทําดู (หน้ำ 158)
1
ก�ำหนด A = - 2 5 ให้แสดงว่ำ A ไม่มีเมทริกซ์ผกผัน
-1 10
แนวคิด สมมติ B = b 11 b12 เป็นเมทริกซ์ผกผันของ A
b b21 22
จำกบทนิยำมเมทริกซ์ผกผัน จะได้ว่ำ
AB = 1 0
0 1
- 12 5 b11 b12 = 1 0
-1 10 b21 b22 0 1

- 12 b11 + 5b21 - 12 b12 + 5b22 = 1 0


-b11 + 10b21 -b12 + 10b22 0 1
จำกบทนิยำมกำรเท่ำกันของเมทริกซ์ จะได้ว่ำ
- 12 b11 + 5b21 = 1 .....(1)
-b11 + 10b21 = 0 .....(2)
พิจำรณำสมกำร (2) จะได้ว่ำ
2(- 12 b11 + 5b21) = 0
2(1) = 0 (จำกสมกำร (1), - 12 b11 + 5b21 = 1)
2 = 0 ซึ่งเป็นสมกำรที่เป็นเท็จ
แสดงว่ำ สมกำร (1) และ (2) ท�ำให้เกิดข้อขัดแย้ง
ดังนั้น ไม่มีเมทริกซ์ B ที่มีมิติ 2 × 2 ซึ่งท�ำให้ AB = I2
นั่นคือ A ไม่มีเมทริกซ์ผกผัน
ลองทําดู (หน้ำ 160)
-3 3 4 1 7 4
1
ก�ำหนด A = 1 -1 0 และ B = 4 1 3 4
0 1 -1 1 3 0
ให้แสดงว่ำ B เป็นเมทริกซ์ผกผันของ A

185
แนวคิด
สมมติ B เป็นเมทริกซ์ผกผันของ A
โดยบทนิยามเมทริกซ์ผกผัน จะได้วา ่ AB = BA = I3
-3 3 4 1 7 4
AB = 1 -1 0 14  1 3 4  
0 1 -1 1 3 0
-3 3 4 1 7 4
1
= 4    1 -1 0   1 3 4  
0 1 -1 1 3 0
-3 + 3 + 4 -21 + 9 + 12 -12 + 12 + 0
1
= 4   1 - 1 + 0 7 - 3 + 0 4 - 4 + 0
0 + 1 - 1 0 + 3 - 3 0 + 4 + 0
4 0 0
1
= 4   0 4 0  
0 0 4
1 0 0
=   0 1 0  
0 0 1
1 7 4 -3 3 4
1
BA = 4   1 3 4    1 -1 0
1 3 0 0 1 -1
1 7 4 -3 3 4
1
= 4    1 3 4   1 -1 0  
1 3 0 0 1 -1
-3 + 7 + 0 3 - 7 + 4 4 + 0 - 4
1
= 4   -3 + 3 + 0 3 - 3 + 4 4 + 0 - 4
-3 + 3 + 0 3 - 3 - 0 4 + 0 + 0
4 0 0
1
= 4   0 4 0  
0 0 4
1 0 0
=   0 1 0  
0 0 1
ดังนั้น B เป็นเมทริกซ์ผกผันของ A

186
Thinking Time (หน้า 161)
ก�ำหนด A = [-2], B = [ 13 ] และ C = [ 23 ] ให้หา A-1, B-1 และ C-1
แนวคิด ให้ A-1 = [x], B-1 = [y] และ C-1 = [z]
จะได้ AA-1 = I1
[-2][x] = [1]
[-2x] = [1]
x = - 12
BB-1 = I1
[ 13 ] [y] = [1]
[ 3y ] = [1]
y = 3
CC-1 = I1
[ 23 ] [z] = [1]
[ 3z 2 ] = [1]
z = 2  3
3
ดังนั้น A-1 = [- 12 ], B-1 = [3] และ C-1 = [ 2  3
3 ]
Thinking Time (หน้า 162)
1 2  , B = 0 -2  , C = -1 -5 และ D = 2 3
ก�ำหนด A = 3 4 5 -7 -3 2 4 -6
ให้หา A-1, B-1, C-1 และ D-1
แนวคิด A-1 = 1(4) 1- 2(3)  4 -2
-3 1
= - 12   4 -2
-3 1
-2 1
= 3 - 1
2 2

187
1
B-1 = 0(-7) - (-2)(5) -7 2
-5 0
= 101 -7 2
-5 0
- 107 15
= 1
- 2 0
1
C-1 = (-1)(2) - (-5)(-3) 2 5
3 -1
= - 171 2 5
3 -1
- 172 - 175
= 3 1
- 17 17
1 -6 -3
D-1 = 2(-6) - 3(4)
-4 2
= - 241 -6 -3
-4 2
1 1
= 14 15
6 - 12

แบบฝ
กทั
กษะ 2.3 (หน้ำ 163)

ระดับพื้นฐาน
1. ใหตรวจสอบวา เมทริกซในแตละขอตอไปนี้มีเมทริกซผกผันหรือไม ถามีใหหา
เมทริกซผกผัน
1) A = 5 3 2) B = 3 0
4 2 1 3
3) C = 4 -1 4) D = -3 -4
5 -2 6 8
5) E = 0 5 6) F = 2 4
1 4 1 2

188
แนวคิด 1) เนื่องจาก 5(2) - 3(4) = -2
ดังนั้น A-1 = - 12    2 -3
-4 5
-1 3
= 2
2 - 52
2) เนื่องจาก 3(3) - 0(1) = 9
ดังนั้น B-1 = 19    3 0
-1 3
1 0
= 31 1
- 9 3
3) เนื่องจาก 4(-2) - (-1)5 = -3
ดังนั้น C-1 = - 13    -2 1
-5 4
2 - 1
= 35 34
3 - 3
4) เนื่องจาก (-3)8 - (-4)6 = 0
ดังนั้น เมทริกซ์ D ไม่มีอินเวอร์ส
5) เนื่องจาก 0(4) - 5(1) = -5
ดังนั้น E-1 = - 15    4 -5
-1 0
- 4 1
= 51
5 0
6) เนื่องจาก 2(2) - 4(1) = 0
ดังนั้น เมทริกซ์ F ไม่มีอินเวอร์ส

189
2. กําหนด A = 21 53 และ B = 30 12 ใหหา
1) A-1 2) B-1 3) (A-1)-1 4) (B-1)-1
5) A-1B-1 6) B-1A-1 7) (AB)-1 8) (BA)-1
แนวคิด 1) เนื่องจำก 2(3) - 5(1) = 1
ดังนั้น A-1 = 3 -5
-1 2
2) เนื่องจำก 3(2) - 1(0) = 6
1 - 1
ดังนั้น B-1 = 1 2 -1 3 6
6 0 3 = 0 1
2
3) จำก A-1 = -1
3 -5
2
จะได้ 3(2) - (-5)(-1) = 1
ดังนั้น (A-1)-1 = 2 5
1 3
1 - 1
4) จำก B-1 = 3 6
0 12
จะได้ ( 13 )( 12 ) - (- 16 )(0) = 16
1 1
ดังนั้น (B ) = 6 2 6
-1 -1
0 13
= 3 1
0 2

190
3 -5 1 - 1
5) A B = -1 -1 3 6
-1 2 0 1
2
3 ( 13 ) + (-5)(0) 3 (- 16 ) + (-5) ( 12 )
=
(-1) ( 13 ) + 2(0) (-1) (- 16 ) + 2 ( 12 )
1 -3
= 1 7
- 3 6

1 - 1
6) B-1A-1 = 3 61 3 -5
0 2 -1 2
13  (3) + (- 16 )(-1) 13  (-5)  + (- 16 )(2)
=
0(3) + 12  (-1) 0(-5) + 12  (2)
7 -2
= 61
- 2 1

7) AB = 2 5   3 1
1 3 0 2
= 2(3) + 5(0) 2(1) + 5(2)
1(3) + 3(0) 1(1) + 3(2)
= 6 12
3 7
เนื่องจาก 6(7) - 12(3) = 6
ดังนั้น (AB)-1 = 16    7 -12
-3 6
7 -2
= 16
- 2 1

191
8) BA = 3 1 2 5
0 2 1 3
= 3(2) + 1(1) 3(5) + 1(3)
0(2) + 2(1) 0(5) + 2(3)
= 7 18
2 6
เนื่องจำก 7(6) - 18(2) = 6
ดังนั้น (BA)-1 = 16 6 -18
-2 7
1 -3
= - 1 7
3 6
1 1 0 1 -1 1
3. กําหนด A = 0 1 1 และ B = 12 1 1 -1
1 0 1 -1 1 1
ใหแสดงวา B เปนเมทริกซผกผันของ A
แนวคิด สมมติ B เป็นเมทริกซ์ผกผันของ A
โดยบทนิยำมเมทริกซ์ผกผัน จะได้ว่ำ AB = BA = I3
1 1 0 1 -1 1
AB = 0 1 1 12 1 1 -1
1 0 1 -1 1 1
1 1 0 1 -1 1
= 12 0 1 1 1 1 -1
1 0 1 -1 1 1
1 + 1 + 0 -1 + 1 + 0 1 - 1 + 0
= 1
2 0 + 1 - 1 0 + 1 + 1 0 - 1 + 1
1 + 0 - 1 -1 + 0 + 1 1 + 0 + 1
2 0 0
= 1
2 0 2 0
0 0 2
1 0 0
= 0 1 0
0 0 1
192
1 -1 1 1 1 0
BA = 12 1 1 -1 0 1 1
-1 1 1 1 0 1
1 -1 1 1 1 0
= 1
2 1 1 -1 0 1 1
-1 1 1 1 0 1
1 + 0 + 1 1 - 1 + 0 0 - 1 + 1
= 1
2 1 + 0 - 1 1 + 1 + 0 0 + 1 - 1
-1 + 0 + 1 -1 + 1 + 0 0 + 1 + 1
2 0 0
= 1
2 0 2 0
0 0 2
1 0 0
= 0 1 0
0 0 1
ดังนั้น B เป็นเมทริกซ์ผกผันของ A

ระดับกลาง
4. กําหนด A และ B เปน 22 × 2 เมทริกซ โดยมี
- 268 158
(AB) = 4 2 และ B = 02 43 ใหหา A
-1

8 -8
-1 - 268 158
แนวคิด จำก (AB) = 4 2
8 - 8
-1
-1 -1 - 268 158
จะได้ ((AB) ) = 4 - 2
8 8
1 - 28 - 158 2 15
AB = 8 4 26 = 4 26
- 64 - 8 - 8
(AB)B-1 = 2 15 1 -3 4
4 26 8 2 0
193
2 15 - 38 12
A = 4 26 1
4 0
2 (- 38 ) + 15 ( 14 ) 2 ( 12 ) + 15 (0)
=
4 (- 38 ) + 26 ( 14 ) 4 ( 12 ) + 26 (0)
= 3 1
5 2
5. กําหนด A-1 + B-1 = 13 -12 และ 2B-1 - A-1 = 20 44 ใหหา A และ B
แนวคิด จำก A-1 + B-1 + 2B-1 - A-1 = 3B-1
จะได้ 3B-1 = 1 -1 + 2 4
3 2 0 4
= 3 3
3 6
B-1 = 1 1
1 2
ให้ B = x 1 x2
x3 x4
เนื่องจำก B-1B = I
ดังนั้น 1 1 x1 x2 = 1 0
1 2 x3 x4 0 1
หรือ xx1 ++ 2xx3 xx2 ++ 2xx4 = 1 0
1 3 2 4 0 1
จำกบทนิยำมของกำรเท่ำกันของเมทริกซ์ จะได้
x1 + x3 = 1 x2 + x4 = 0
x1 + 2x3 = 0 x2 + 2x4 = 1
แก้ระบบสมกำรเพื่อหำค่ำ x1, x2, x3 และ x4 จะได้ว่ำ
x1 = 2 x2 = -1 x3 = -1 และ x4 = 1
ดังนั้น B = -1
2 -1
1

194
A-1 = 1 -1 - 1 1
3 2 1 2
= 0 -2
2 0
ให้ A = y 1 y2
y3 y4
เนื่องจำก A-1A = I
ดังนั้น 0 -2 y1 y2 = 1 0
2 0 y3 y4 0 1
หรือ -2y3 -2y4 = 1 0
2y1 2y2 0 1
จำกบทนิยำมของกำรเท่ำกันของเมทริกซ์ จะได้
-2y3 = 1 -2y4 = 0
2y1 = 0 2y2 = 1
แก้ระบบสมกำรเพื่อหำค่ำ y1, y2, y3 และ y4 จะได้ว่ำ
y1 = 0 y2 = 12 y3 = - 12 และ y4 = 0
0 12
ดังนั้น A = 1 และ B = -1
2 -1
- 2 0 1

ลองทําดู (หน้ำ 165)


ก�ำหนด A = -0.5 4 ให้หำ
17 6
1) ไมเนอร์ของสมำชิกทุกตัวของ A
2) M12(A) - M22(A) - M11(A)
3) M11(A) + M21(A) + M22(A)
แนวคิด 1) จำก A = -0.5 4 โดยบทนิยำม จะได้ว่ำ
17 6
M11(A) = ∙6∙ = 6, M12(A) = ∙17∙ = 17
M21(A) = ∙4∙ = 4, M22(A) = ∙-0.5∙ = -0.5
2) M12(A) - M22(A) - M11(A) = 17 - (-0.5) - 6 = 11.5
3) M11(A) + M21(A) + M22(A) = 6 + 4 + (-0.5) = 9.5
195
ลองทําดู (หน้ำ 166)
1
ก�ำหนด A = 4 -0.5 ให้หำตัวประกอบร่วมเกี่ยวของสมำชิกทุกตัวของ A
1 4
1
แนวคิด จำก A = 4 -0.5 จะได้ว่ำ C11(A) = (-1)1 + 1 M11(A) = M11(A) = 4
1 4 C (A) = (-1)1 + 2 M (A) = -M (A) = -1
12 12 12
2 + 1
C21(A) = (-1) M21(A) = -M21(A) = 0.5
C22(A) = (-1)2 + 2 M22(A) = M22(A) = 14
ลองทําดู (หน้ำ 168)
3 2 , B = 7 9 และ C = -2 1 ให้หำ
ก�ำหนด A = -3 0 6 1 6 -3
1) det(A) 2) det(B) 3) det(C)
แนวคิด 1) เนื่องจำก A เป็น 2 × 2 เมทริกซ์ จะได้ว่ำ
det(A) = a11a22 - a21a12
= 3(0) - (-3)2
= 0 + 6
= 6
2) เนื่องจำก B เป็น 2 × 2 เมทริกซ์ จะได้ว่ำ
det(B) = b11b22 - b21b12
= 7(1) - 6(9)
= 7 - 54
= -47
3) เนื่องจำก C เป็น 2 × 2 เมทริกซ์ จะได้ว่ำ
det(C) = c11c22 - c21c12
= (-2)(-3) - 6(1)
= 6 - 6
= 0

196
ลองทําดู (หน้ำ 169)
1
ก�ำหนด A = 2 5 และ B = -2 4 ให้แสดงว่ำ det(AB) = det(A) • det(B)
-8 -5
1 -4
1
แนวคิด จำก A = 2 5 และ B = -2 -8 -5
4
1 -4
จะได้ det(A) = -2 - 5 = -7
det(B) = 10 - (-32) = 42
ดังนั้น det(A) • det(B) = (-7)(42) = -294
1
และจำก AB = 2 5 -2 4
1 -4 -8 -5
1 1
= 2 (-2) + 5(-8) 2 (4) + 5(-5)
1(-2) + (-4)(-8) 1(4) + (-4)(-5)
= -41 -23
30 24
จะได้ det(AB) = (-41)(24) - 30(-23) = -294
นั่นคือ det(AB) = det(A) • det(B)
ลองทําดู (หน้ำ 172)
0 -5 0
ก�ำหนด A = -7 11 1 ให้หำ det(A)
2 1 9
แนวคิด กำรหำ det(A) ท�ำได้ 2 วิธี ดังนี้
วิธีที่ 1 หำ det(A) โดยใช้บทนิยำม
จำกบทนิยำมหำ det(A) โดยกระจำยตำมแถวที่ 1 จะได้ว่ำ
det(A) = a11C11(A) + a12C12(A) + a13C13(A)
= 0(-1)1+1M11(A) + (-5)(-1)1+2M12(A) + 0(-1)1+3M13(A)
= 0 + 5 2
-7 1 + 0
9
= 5(-63 - 2)
= -325
197
วิธีที่ 2 หำ det(A) โดยกำรน�ำหลักที่ 1 และ 2 ของ A มำเขียนต่อจำกหลักที่ 3
ของ A จำกนั้นน�ำผลบวกของผลคูณในแนวทแยงจำกซ้ำยบนลงมำ
ขวำล่ำงลบด้วยผลบวกของผลคูณในแนวทแยงจำกซ้ำยล่ำงขึน้ ไปขวำบน
0 0 315
0 -5 0 0 -5
-7 11 1 -7 11
2 1 9 2 1
0 -10 0
det(A) = (0 - 10 + 0) - (0 + 0 + 315) = -10 - 315 = -325
ลองทําดู (หน้ำ 173)
2 4 -3 2 4 -3 2 -12 -3
ก�ำหนด A = 1 4 5 , B = 1 4 5 และ C = 1 -12 5 ให้หำ
10 2 1 30 6 3 10 -6 1
1) det(A) และ det(At) 2) det(B) และ det(C)
2 4 -3
แนวคิด 1) จำก A = 1 4 5
10 2 1
t
2 1 10
จะได้ A = 4 4 2
-3 5 1
ดังนั้น det(A) = (8 + 200 - 6) - (-120 + 20 + 4) = 298
det(At) = (8 - 6 + 200) - (-120 + 20 + 4) = 298
2) จำกโจทย์ จะได้ det(B) = (24 + 600 - 18) - (-360 + 60 + 12) = 894
det(C) = (-24 - 600 + 18) - (360 - 60 - 12) = -894
ลองทําดู (หน้ำ 174)
12 4 1 1 10 0 4 1 1
2
ก�ำหนด A = 3 1 -1 , B = 3 1 -1 และ C = 1 3 -1
1 4 1
1 10 0 2 10 1 0
ให้หำ det(A), det(B) และ det(C)

198
แนวคิด det(A) = (0 - 4 + 30) - (1 - 5 + 0) = 30
det(B) = (1 - 5 + 0) - (0 - 4 + 30) = -30
det(C) = (0 - 5 + 1) - (30 - 4 + 0) = -30
ลองทําดู (หน้ำ 175)
6 1 0 6 1 0 6 1 2
ก�ำหนด A = 3 0.5 2 , B = 0 0 2 และ C = 7 0.5 3
-7 -1 3 -7 -1 3 -1 -1 1
ให้หำ det(A), det(B) และ det(C)
แนวคิด det(A) = (9 - 14 + 0) - (0 - 12 + 9) = -2
det(B) = (0 - 14 + 0) - (0 - 12 + 0) = -2
det(C) = (3 - 3 - 14) - (-1 - 18 + 7) = -2
ลองทําดู (หน้ำ 176)
ก�ำหนด A = aij , B = bij , det(A) = 15 และ det(B) = -3 ให้หำ
3×3 3×3
t)
1) det((BA) 2) det(2A-1) 3) det(5B-1A) 4) det(BtA2)
แนวคิด 1) จำกสมบัติข้อ 4 และทฤษฎีบท 1 จะได้ว่ำ
det(BAt) = det(BA)
= det(B) • det(A)
= (-3)(15)
= - 35
2) จำกสมบัติข้อ 6 จะได้ว่ำ
1
det(2A-1) = det(2A)
= 3 1
2 det(A)
= 311
2 (5)
= 58
199
3) จำกสมบัติข้อ 6 และทฤษฎีบท 1 จะได้ว่ำ
det(A)
det(5B-1A) = det(5B)
= det(A)
53det(B)
1
= 3 5
5 (-3)
1
= - 1,875
4) จำกสมบัติข้อ 4 และทฤษฎีบท 1 จะได้ว่ำ
det(BtA2) = det(BtAA)
= det(Bt) • det(A) • det(A)
= det(B) • det(A) • det(A)
= -3(15)(15)
= - 253
ลองทําดู (หน้ำ 179)
1 -4 3
ก�ำหนด A = 0 2 5 ให้หำ det(A), adj(A), Aadj(A) และ adj(A)A
3 1 -2
1 -4 3
แนวคิด จำก A = 0 2 5
3 1 -2
จะได้ det(A) = (-4 - 60 + 0) - (18 + 5 + 0)
= -87
หำ Cij(A) เมื่อ i = 1, 2, 3 และ j = 1, 2, 3
จำก adj(A) = [Cij(A)]t

200
t

C11(A) C12(A) C13(A)
จะได้ adj(A) = C21(A) C22(A) C23(A)
C31(A) C32(A) C33(A)
t
M11(A) -M12(A) M13(A)
= -M21(A) M22(A) -M23(A)
M31(A) -M32(A) M33(A)
เนื่องจาก M11(A) = 2   5 = -9, M (A) = 0   5 = -15,
1  -2 12 3  -2
M13(A) = 0 2 = -6, M (A) = -4   3 = 5,
3 1 21 1  -2
M22(A) = 1   3 = -11, M (A) = 1  -4 = 13,
3  -2 23 3   1
M31(A) = -4 3 = -26, M (A) = 1 3 = 5
2   5 32 0 5
และ M33(A) = 1  -4 = 2
0   2
-9 15 -6 t -9 -5 -26
จะได้ว่า adj(A) = -5 -11 -13   = 15 -11 -5
-26 -5 2 -6 -13 2
1 -4 3 -9 -5 -26
Aadj(A) = 0 2 5   15 -11 -5
3 1 -2 -6 -13 2
-87 0 0
= 0 -87 0
0 0 -87
1 0 0
= (-87)  0 1 0
0 0 1
= det(A) •  I3
= I3det(A)

201
-9 -5 -26 1 -4 3
adj(A)A = 15 -11 -5 0 2 5
-6 -13 2 3 1 -2
-87 0 0
= 0 -87 0
0 0 -87
1 0 0
= (-87) 0 1 0
0 0 1
= det(A) • I3
= I3det(A)

ลองทําดู (หน้ำ 181)


1 -1 3
ก�ำหนด A = 2 4 0 ให้หำ A-1
3 1 1
แนวคิด จำก det(A) = (4 + 0 + 6) - (36 + 0 - 2) = -24
โดยทฤษฎีบท 3 จะได้ว่ำ A มีเมทริกซ์ผกผัน
1 adj(A)
ดังนั้น A-1 = det(A)
t
C11(A) C12(A) C13(A)

= - 241 C21(A) C22(A) C23(A)
C31(A) C32(A) C33(A)
t
4 0 - 2 0 2 4
1 1 3 1 3 1
= - 241 - - 1 3 1 3 - 1 -1
1 1 3 1 3 1
-1 3 - 1 3 1 -1
4 0 2 0 2 4
4 -2 -10 t
= - 241 4 -8 -4
-12 6 6

202
4 4 -12
1
= - 24 -2 -8 6
-10 -4 6
- 16 - 16 1
2
= 121 13 - 14
125 16 - 14

แบบฝ
กทั
กษะ 2.4 (หน้ำ 181)

ระดับพื้นฐาน
1. ใหหาดีเทอรมิแนนตของเมทริกซในแตละขอตอไปนี้
1) 3 2 2) 1 5
5 1 0 -2
3) -1 -1 4) 2 3
3 4 1 -1
4 -2 1 -3 0
5) 6 -1 6) 3 5 2
2 1 1
1 4 0 2 1 5
7) 3 1 1 8) 0 -1 1
0 2 1 1 -2 2
แนวคิด 1) จำก A = 3 2
5 1
จะได้ det(A) = 3 - 10 = -7
2) จำก A = 1 5
0 -2
จะได้ det(A) = -2 - 0 = -2
3) จำก A = -1 -1
3 4
จะได้ det(A) = -4 - (-3) = -1

203
4) จำก A = 2 3
1 -1
จะได้ det(A) = -2 - 3 = -5
5) จำก A = 4 -2
6 -1
จะได้ det(A) = -4 - (-12) = 8
1 -3 0
6) จำก A = 3 5 2
2 1 1
จะได้ det(A) = (5 - 12 + 0) - (0 + 2 - 9)
= 0
1 4 0
7) จำก A = 3 1 1
0 2 1
จะได้ det(A) = (1 + 0 + 0) - (0 + 2 + 12)
= -13
2 1 5
8) จำก A = 0 -1 1
1 -2 2
จะได้ det(A) = (-4 + 1 + 0) - (-5 - 4 + 0)
= 6
2. ใหตรวจสอบวา เมทริกซ ในขอใดเปนเมทริกซ ไมเอกฐาน และหาเมทริกซผกผัน
1) 3 -4 2) -5 3
1 2 4 -9
1 -1 1 0 3 2
3) 0 1 2 4) -1 1 0
5 3 0 2 4 -2
แนวคิด 1) จำก A = 3 -4
1 2
จะได้ det(A) = 6 + 4 = 10
ดังนั้น A เป็นเมทริกซ์ไม่เอกฐำน
204
1    d -b
จาก A-1 = det(A)
-c a
= 101    2 4
-1 3
1 2
= 15 35
- 10 10

2) จาก A = -5 3
4 -9
จะได้ det(A) = 45 - 12 = 33
ดังนั้น A เป็นเมทริกซ์ไม่เอกฐาน
1    d -b
จาก A-1 = det(A)
-c a
= 331    -9 -3
-4 -5
-  3 -  1
= 114 115
- 33 - 33
1 -1 1
3) จาก A = 0 1 2
5 3 0
จะได้ det(A) = (0 - 10 + 0) - (5 + 6 + 0)
= -21
ดังนั้น A เป็นเมทริกซ์ไม่เอกฐาน
1   adj(A)
จาก A-1 = det(A)
t
M11(A) -M12(A) M13(A)
1
= - 21   -M21(A) M22(A) -M23(A)
M31(A) -M32(A) M33(A)

205
t
  1 2 -  0 2    0 1  
3 0 5 0 5 3
= - 211   -  -1 1     1 1  -  1  -1
3   0 5 0 5   3
  -1 1  -  1 1    1  -1
1   2 0 2 0   1
t
-6 10 -5
1
= - 21  3 -5 -8  
-3 -2 1
-6 3 -3
1
= - 21  10 -5 -2
-5 -8 1
2 - 1 1
7 7 7
= - 10 5 2
21 21 21
215 218 - 211
0 3 2
4) จาก A = -1 1 0
2 4 -2
จะได้ det(A) = (0 + 0 - 8) - (4 + 0 + 6)
= -18
ดังนั้น A เป็นเมทริกซ์ไม่เอกฐาน
1   adj(A)
จาก A-1 = det(A)
t
M11(A) -M12(A) M13(A)
= - 181   -M21(A) M22(A) -M23(A)
M31(A) -M32(A) M33(A)
t
  1   0 -  -1   0    -1 1
4  -2 2  -2 2   4
= - 181    -  3   2      0   2     -  0 3
4  -2 2  -2 2 4
  3 2     -  0 2    0 3
1 0 -1   0 -1   1

206
-2 -2 -6 t
= - 181 14 -4 6
-2 -2 3
-2 14 -2
1
= - 18 -2 -4 -2
-6 6 3
1 - 7 1
9 9 9
= 19 29 19
13 - 13 - 16
3.3. กําหนด A = aij 3×3 และ B = bij 3×3 ซึ่ง det(A) = 5 และ det(B) = -2
ใหหาดีเทอรมิแนนตในแตละขอตอไปนี้โดยใชสมบัติของดีเทอรมิแนนต
1) det(At) 2) det(Bt) 3) det(A-1) 4) det(AB)
2 t
5) det(2A) 6) det(2B) 7) det((B ) ) 8) det((A2)t)
แนวคิด จำก A = [aij]3×3 และ B = [bij]3×3
det(A) = 5 และ det(B) = -2
1) det(At) = det(A)
= 5
2) det(Bt) = det(B)
= -2
1
3) det(A-1) = det(A)
= 15
4) det(AB) = det(A) • det(B)
= 5(-2)
= -10
5) det(2A) = 2ndet(A)
= (23)(5)
= 40

207
6) det(2B) = 2ndet(B)
= (23)(-2)
= -16
7) det(B2)t = det(BB)
= det(B) • det(B)
= (-2)(-2)
= 4
8) det(A2)t = det(AA)
= det(A) • det(A)
= (5)(5)
= 25

ระดับกลาง
4. ใหหาคาของ x จากดีเทอรมิแนนตในแตละขอตอไปนี้
x - 3 2 -1
1) 2x x - 3 = 3 2) -2 0 1 = 0
5 2 2x -3 x + 1
แนวคิด 1) จำก 2x x - 3 = 3
5 2
จะได้ 4x - 5(x - 3) = 3
4x - 5x + 15 = 3
-x = -12
x = 12
x - 3 2 -1
2) จำก -2 0 1 = 0
2x -3 x + 1
จะได้ (4x - 6) - [-3(x - 3) - 4(x + 1)] = 0
(4x - 6) - (-3x + 9 - 4x - 4) = 0
11x - 11 = 0
x = 1

208
-8 b -1
5. กําหนด A = a 3 0
2 6 0.5
ถา C12(A) = 5 และ C23(A) = -40 แลว a และ b มีคาเปนเทาใด
-8 b -1
แนวคิด จำก A = a 3 0
2 6 0.5
จะได้ C12(A) = -M12(A)
5 = - 2
a 0
0.5
-0.5a = 5
a = -10
และ C23(A) = -M23(A)
-40 = - -8
2 6
b
-(-48 - 2b) = -40
b = -44
x y + 2 -1
6. กําหนด A = 1 x 3 เมื่อ x, y∊R โดยที่ M11(A) = 9 และ M23(A) = 2
1 -1 2
ใหหา det(A)
x y + 2 -1
แนวคิด จำก A = 1 x 3
1 -1 2
และ M11(A) = 9 จะได้
x 3 = 9
-1 2
2x + 3 = 9
x = 3
และ M23(A) = 2
x y + 2 = 2
1 -1
209
แทน x = 3 จะได้
(-3) - (y + 2) = 2
y = -7
แทนค่ำ x และ y ใน A จะได้
3 -5 -1
A = 1 3 3
1 -1 2
det(A) = (18 - 15 + 1) - (-3 - 9 - 10)
= 26
7. กําหนด A = aij 3×3, B = bij 3×3 และ C = cij 3×3 โดยที่ det(A) = -1, det(B) = 2
และ det(C) = 1 ใหหาดีเทอรมิแนนตในแตละขอตอไปนี้โดยใชสมบัติของดีเทอรมิแนนต
1) det(ABC) 2) det(AtBtCt) 3) det(A2B2)
4) det(A3B3C3) 5) det(2ABC-1) 6) det(2A2B-1C)
แนวคิด จำก A = [aij]3×3 B = [bij]3×3 และ C = [cij]3×3
det(A) = -1 det(B) = 2 และ det(C) = 1
1) det(ABC) = det(A) • det(B) • det(C)
= (-1)(2)(1)
= -2
2) det(AtBtCt) = det(ABC)
= det(A) • det(B) • det(C)
= -2
3) det(A2B2) = [det(A)]2 • [det(B)]2

= (-1)2(2)2
= 4
4) det(A3B3C3) = [det(A)]3 • [det(B)]3 • [det(C)]3
= (-1)3(2)3(1)3

= -8
1
5) det(2ABC-1) = 23det(A) • det(B) • det(C)
= (8)(-1)(2)(1)
= -16
210
1 • det(C)
6) det(2A2B-1C) = 23[det(A)]2 • det(B)
= (8)(-1)2( 12 )(1)
= 4
ระดับทาทาย

8. กําหนด A-1 = -x4 15 และ B = -30 -1y เมื่อ x, y∊R ที่ x ≠ 0 และ y ≠ 0
13 14
-1(A-1)t = - 9 - 9 แลว det(3B2At) เปนเทาใด
ถา B
- 13 - 53
แนวคิด จำก B = -3 -1
0 y
จะได้ 1
B-1 = -3y - (-1)(0) y 1
0 -3
- 13 - 3y1
= 1
0 y
-1 -1 t - 13 - 3y1 4 -x
จะได้ B (A ) = 1 1 5
0 y

- 139 - 149 - 43 - 3y1 x3 - 3y5
1 5 =
- 3 - 3 0 + 1y 0 + 5y

- 139 - 149 - 43 - 3y1 x3 - 3y5


=
- 13 - 53 1y 5
y
จะได้ 1 = - 1
y 3
y = -3
และ - 149 = x3 - 3y5

211
แทน y = -3 จะได้
x = - 14 + 5
3 9 9
x = -1
3
x = -3
จะได้ A-1 = 4
3 5
1 และ B = -3 -1
0 -3
ดังนั้น det (A)-1 = 20 - 3 = 17
det (B) = 9 - 0 = 9
det (3B2At) = 32[det (B)2] • det (A)
= 9(9)2 • 171
= 729
17
ลองทําดู (หน้ำ 184)
แก้ระบบสมกำรต่อไปนี้โดยใช้เมทริกซ์ผกผัน
-x - 2y = 1
4x + 3y = -9
แนวคิด เขียนระบบสมกำรเชิงเส้นให้อยู่ในรูปสมกำรเมทริกซ์ ดังนี้
A X B
-1 -2 x
y = 1
4 3 -9
จะได้ det(A) = (-1)(3) - 4(-2) = 5
3 2
นั่นคือ A-1 = 15 3 2 = 54 51
-4 -1 - -
5 5

x 35 25 1 35 - 185
จะได้ y = 4 1 = 4 9 = -3
- 5 - 5 -9 - 5 + 5 1
ดังนั้น ค�ำตอบของระบบสมกำรที่ก�ำหนด คือ (-3, 1)

212
ลองทําดู (หน้ำ 185)
แก้ระบบสมกำรต่อไปนี้โดยใช้เมทริกซ์ผกผัน
x + 2y - z = 1
3x - 4y - z = 5
-x + 3y + 4z = -3
แนวคิด เขียนระบบสมกำรเชิงเส้นให้อยู่ในรูปสมกำรเมทริกซ์ ดังนี้
A X B
1 2 -1 x 1
3 -4 -1 y = 5
-1 3 4 z -3
จะได้ det(A) = (-16 + 2 - 9) - (-4 - 3 + 24) = -40
t
-4 -1 - 3 -1 3 -4
3 4 -1 4 -1 3
นั่นคือ A-1 = -401 - 2 -1 1 -1 - 1 2
3 4 -1 4 -1 3
2 -1 - 1 -1 1 2
-4 -1 3 -1 3 -4
-13 -11 5 t
= 1 -11 3 -5
-40
-6 -2 -10
-13 -11 -6
= 1 -11 3 -2
-40
5 -5 -10
x -13 -11 -6 1
1
จะได้ y = -40 -11 3 -2 5
z 5 -5 -10 -3
5
-13 - 55 + 18 4
= 1
-40 -11 + 15 + 6 = - 14
5 - 25 + 30 - 1
4
ดังนั้น ค�ำตอบของระบบสมกำรที่ก�ำหนด คือ ( 54 , - 14 , - 14 )
213
ลองทําดู (หน้ำ 187)
แก้ระบบสมกำรต่อไปนี้โดยใช้กฎของครำเมอร์
y = -2x - 2
y = -3x + 1
แนวคิด จดั รูประบบสมกำรเชิงเส้นใหม่เพือ่ ทีจ่ ะแก้ระบบสมกำรโดยใช้กฎของครำเมอร์ได้
ดังนี้
2x + y = -2
3x + y = 1
เขียนสมกำรเมทริกซ์ได้เป็น AX = B เมื่อ
A = 2 1 , X = x และ B = -2
3 1 y 1
จำก A = 2 1 จะได้ det(A) = 2(1) - 3(1) = -1 ≠ 0
3 1
-2 1
โดยกฎของครำเมอร์ จะได้ว่ำ x = det(A) 1 1 = -2 - 1 = 3
-1
- 2 -2
-3 1 = -2 - 6 = 8
y = det(A) -1
ดังนั้น ค�ำตอบของระบบสมกำรที่ก�ำหนด คือ (3, 8)
ลองทําดู (หน้ำ 188)
แก้ระบบสมกำรต่อไปนี้โดยใช้กฎของครำเมอร์
2x + y = 5
-y + z = -4
x - 2z = 8
แนวคิด เขียนสมกำรเมทริกซ์ได้เป็น AX = B เมื่อ
2 1 0 x 5
A = 0 -1 1 , X = y และ B = -4
1 0 -2 z 8
จะได้ det(A) = (4 + 1 + 0) - (0 + 0 + 0) = 5 ≠ 0

214
โดยกฎของครำเมอร์ จะได้ว่ำ
5 1 0
-4 -1 1
x = 8 det(A)
0 -2

= (10 + 8 + 0) - (0 + 0 + 8)
5
= 2
2 5 0
0 -4 1
y = 1 8 -2
5
= (16 + 5 + 0) - (0 + 16 + 0)
5
= 1
2 1 5
0 -1 -4
z = 1 0 5
8

= (-16 - 4 + 0) - (-5 + 0 + 0)
5
= -3
ดังนั้น ค�ำตอบของระบบสมกำรที่ก�ำหนด คือ (2, 1, -3)
ลองทําดู (หน้ำ 191)
แก้ระบบสมกำรต่อไปนี้โดยใช้กำรด�ำเนินกำรตำมแถว
3x - 3y - 7z = 4
-x + 2y - z = -21
x + 5y + 2z = 5
แนวคิด จำกระบบสมกำรเชิงเส้นที่ก�ำหนด เขียนเมทริกซ์แต่งเติมได้ ดังนี้
3 -3 -7 4
-1 2 -1 -21
1 5 2 5

215
จ ากเมทริกซ์แต่งเติม ใช้การด�ำเนินการตามแถวเพื่อให้ได้เมทริกซ์ที่มีรูปแบบ
ขั้นบันไดแบบแถวได้ ดังนี้
1 -1 - 7    4 1 R
3 -3 -7 4 3 3 3 1
-1 2 -1 -21 ∼ -1 2 -1 -21
1 5 2 5
1 5 2 5
1 -1 - 73    43
∼ 0 1 - 103 - 593 R2 + R1
0 6 133 113 R3 - R1
1 0 - 173   - 553 R1 + R2
∼ 0 1 - 103 - 593
0 0 733 365 3 R3 - 6R2
1 0 - 173   - 553
∼ 0 1 - 103 - 593
0 0 1 5 733  R3
1 0 - 173   - 553
จะได้ 0 1 - 103 - 593 เป็นเมทริกซ์แต่งเติมของระบบสมการ
0 0 1 5
x - 173 z = - 553
y - 103 z = - 593
z = 5
ดังนั้น z = 5, y = - 593 + 103 (5) = -3 และ x = - 553 + 173 (5) = 10
เนื่องจาก คำ� ตอบของระบบสมการนีเ้ ป็นค�ำตอบชุดเดียวกันกับค�ำตอบของระบบ
สมการที่ก�ำหนด
ดังนั้น ค�ำตอบของระบบสมการที่ก�ำหนด คือ (10, -3, 5)
216
ลองทําดู (หน้ำ 193)
แก้ระบบสมกำรต่อไปนี้โดยใช้กำรด�ำเนินกำรตำมแถว
w + x + 3y + 8z = 40
-2w - x - y + z = -4
2w + x + 2y + 2z = 17
-4w - x + 5y + 9z = 26
แนวคิด จำกระบบสมกำรเชิงเส้นข้ำงต้น เขียนเมทริกซ์แต่งเติมได้ ดังนี้
1 1 3 8 40
-2 -1 -1 1 -4
2 1 2 2 17
-4 -1 5 9 26
จ ำกเมทริกซ์แต่งเติม ใช้กำรด�ำเนินกำรตำมแถวเพื่อให้ได้เมทริกซ์ที่มีรูปแบบ
ขั้นบันไดแบบแถวได้ ดังนี้
1 1 3 8 40 1 1 3 8 40
-2 -1 -1 1 -4 ∼ 0 1 5 17 76 R2 + 2R1
2 1 2 2 17 0 -1 -4 -14 -63 R3 - 2R1
-4 -1 5 9 26 0 3 17 41 186 R4 + 4R1
1 0 -2 -9 -36 R1 - R2
0 1 5 17 76

0 0 1 3 13 R3 + R2
0 0 2 10 -42 R4 - 3R2
1 0 0 -19 -78 R1 + R4
0 1 0 2 11 R2 - 5R3

0 0 1 3 13
0 0 2 -10 -42

217
1 0 0 -19 -78
0 1 0 2 11

0 0 1 3 13
0 0 0 -16 -68 R4 - 2R3
1 0 0 -19 -78
0 1 0 2 11

0 0 1 3 13
0 0 0 1 174 - 161 R4
1 0 0 0 114 R1 + 19R4
0 1 0 0 5 R - 2R
∼ 2 2 4
0 0 1 0 14 R3 - 3R4
0 0 0 1 174
ดังนั้น ค�ำตอบของระบบสมกำรที่ก�ำหนด คือ (114, 52 , 14 , 174)
ลองทําดู (หน้ำ 194)
แก้ระบบสมกำรต่อไปนี้โดยใช้กำรด�ำเนินกำรตำมแถว
4x - y + z = 7
-x + y + 2z = 3
แนวคิด จำกระบบสมกำรเชิงเส้นที่ก�ำหนด เขียนเมทริกซ์แต่งเติมได้ ดังนี้
4 -1 1 7
-1 1 2 3
จำกเมทริกซ์แต่งเติม ใช้กำรด�ำเนินกำรตำมแถวเพื่อให้ได้เมทริกซ์ที่มีรูปแบบ
ขั้นบันไดแบบแถวได้ ดังนี้
4 -1 1 7 1 - 14 14 74 14 R1
-1 1 2 3 ∼ 0 1 2 3
1 - 14 14 74 14 R1

0 34 94 154 R2 + 14 R1
218
1 0 1 3 R1 + 13 R2

0 34 94 154

1 0 1 3

0 1 3 5 43 R2
น�ำเมทริกซ์ที่มีรูปแบบขั้นบันไดแบบแถวที่ได้เขียนเป็นระบบสมกำรได้ ดังนี้
x + z = 3
y + 3z = 5
จะเห็นว่ำ สมกำรทัง้ สองมี x และ y สัมพันธ์กบั z จึงจัด x และ y ในรูปของ z ได้
ดังนี้
x = -z + 3
y = -3z + 5
จะได้ว่ำ ค�ำตอบของระบบสมกำรมีจ�ำนวนอนันต์
ดังนั้น ค�ำตอบของระบบสมกำรที่ก�ำหนด คือ (-z + 3, -3z + 5, z) เมื่อ z∊R
ลองทําดู (หน้ำ 195)
แก้ระบบสมกำรต่อไปนี้โดยใช้กำรด�ำเนินกำรตำมแถว
-2x + y - 3z = 3
3x + 6y - 3z = -1
x + 2y - z = 3
แนวคิด จำกระบบสมกำรเชิงเส้นที่ก�ำหนด เขียนเมทริกซ์แต่งเติมได้ ดังนี้
-2 1 -3 3
3 6 -3 -1
1 2 -1 3
จำกเมทริกซ์แต่งเติม ใช้กำรด�ำเนินกำรตำมแถวเพื่อให้ได้เมทริกซ์ที่มีรูปแบบ
ขั้นบันไดแบบแถวได้ ดังนี้
-2 1 -3 3 1 7 -6 2 R1 + R2
3 6 -3 -1 ∼ 3 6 -3 -1
1 2 -1 3 1 2 -1 3

219
1 7 -6 2
∼ 0 0 0 -10 R2 - 3R3
1 2 -1 3
1 7 -6 2
∼ 1 2 -1 3 R23
0 0 0 -10
1 7 -6 2
∼ 0 -5 5 1 R2 - R1
0 0 0 -10
1 7 -6 2
∼ 0 1 -1 - 15 - 15 R2
0 0 0 -10
น�ำเมทริกซ์ที่มีรูปแบบขั้นบันไดแบบแถวที่ได้เขียนเป็นระบบสมกำรได้ ดังนี้
x + 7y - 6z = 2
0x + y - z = - 15
0x + 0y + 0z = -10
จะเห็นว่ำไม่มีจ�ำนวนจริง x, y, z ที่สอดคล้องกับสมกำร 0x + 0y + 0z = -10
ดังนั้น ระบบสมกำรที่ก�ำหนดไม่มีค�ำตอบ
ลองทําดู (หน้ำ 197)
ก�ำหนด A = 5 7
-4 3
ให้หำเมทริกซ์ผกผันของ A โดยใช้กำรด�ำเนินกำรตำมแถว (ถ้ำมี)
แนวคิด เนื่องจำก det(A) = 15 + 28 = 43 ≠ 0 จะได้ว่ำ A-1 หำค่ำได้
A ∙ I2 = 5 7 1 0
-4 3 0 1
∼ 1 10 1 1 R1 + R2
-4 3 0 1
1
∼ 10 10 1
43 4 5 R2 + 4R1
1 10 1 1
∼ 0 1 4 5 1 R
43 43 43 2
220
1 0 433 - 437 R1 - 10R2

0 1 434 435

-1 433 - 437
ดังนั้น A = 4
43 435

แบบฝ
กทั
กษะ 2.5 (หน้ำ 198)

ระดับพื้นฐาน
1. แกระบบสมการในแตละขอตอไปนี้โดยใชเมทริกซผกผัน
1) 5x + 3y = 24 2) 7x + y = 10
3y - 5x = 5 -5x - 5y = -20
แนวคิด 1) เขียนระบบสมกำรเชิงเส้นให้อยู่ในรูปสมกำรเมทริกซ์ ดังนี้
A X B
5 3 x = 24
-5 3 y 5
จะได้ det(A) = 5(3) - (-5)(3) = 30
1 - 1
นั่นคือ A-1 = 301 3 -3 = 101 101
5 5
6 6
1 1 24 5
x 10 - 10 24 10 - 10 19
10
จะได้ = = =
y 6 6 5 6 + 6 296
1 1 24 5
ดังนั้น ค�ำตอบของระบบสมกำรที่ก�ำหนด คือ (19 29
10, 6 )
2) เขียนระบบสมกำรเชิงเส้นให้อยู่ในรูปสมกำรเมทริกซ์ ดังนี้
A X B
7 1 x = 10
-5 -5 y -20
จะได้ det(A) = 7(-5) - (-5)(1) = -30

221
1 1
นั่นคือ A-1 = -30 1 -5 -1 = 6 30
5 7 - 1 - 7
6 30

x 16 301 10 53 - 23 1
จะได้ = = =
y - 16 - 307 -20 - 53 + 143 3
ดังนั้น ค�ำตอบของระบบสมกำรที่ก�ำหนด คือ (1, 3)
2. แกระบบสมการในแตละขอตอไปนี้โดยใชกฎของคราเมอร
1) x + 2y + z = 0 2) 2x + 4y + z = 1
3x + y - 2z = 5 x + 2y = -2
2x - 3y - 3z = 9 -x - 3y + 2z = 3
3) x + 2y - 2z = 1 4) y + z = x
2x + 2y - z = 4 3x = 2y
3x + 4y = 6 2x + 3z = 2 + y
แนวคิด 1) จำก x + 2y + z = 0
3x + y - 2z = 5
2x - 3y - 3z = 9
เขียนระบบสมกำรเชิงเส้นในรูปกำรคูณของเมทริกซ์
AX = B
1 2 1 x 0
3 1 -2 y = 5
2 -3 -3 z 9

จะได้ det(A) = (-3 - 8 - 9) - (2 + 6 - 18) = -10 ≠ 0


โดยกฎของครำเมอร์ จะได้ว่ำ
0 2 1
5 1 -2
x = 9 -3 -3 = (0 - 36 - 15) - (9 + 0 - 30) = 3
-10 -10

222
1 0 1
3 5 -2
y = 2 -10
9 -3 = (-15 + 0 + 27) - (10 - 18 + 0) = -2
-10
1 2 0
3 1 5
z = 2 -10
-3 9 = (9 + 20 + 0) - (0 - 15 + 54) = 1
-10
ดังนั้น ค�ำตอบของระบบสมการที่ก�ำหนด คือ (3, -2, 1)
2) จาก 2x + 4y + z = 1
x + 2y = -2
-x - 3y + 2z = 3
เขียนระบบสมการเชิงเส้นในรูปการคูณของเมทริกซ์
AX = B
2 4 1 x 1
1 2 0 y = -2
-1 -3 2 z 3

จะได้ det(A) = (8 + 0 - 3) - (-2 + 0 + 8) = -1 ≠ 0


โดยกฎของคราเมอร์ จะได้ว่า
1 4 1
-2 2 0
x = 3 -3
-1
2 = (4 + 0 + 6) - (6 + 0 - 16) = -20
-1
2 1 1
1 -2 0
y = -1 -13 2 = (-8 + 0 + 3)-1- (2 + 0 + 2) = 9
2 4 1
1 2 -2
z = -1 -3
-1
3 = (12 + 8 - 3) - (-2 + 12 + 12) = 5
-1
ดังนั้น ค�ำตอบของระบบสมการที่ก�ำหนด คือ (-20, 9, 5)

223
3) จาก x + 2y - 2z = 1
2x + 2y - z = 4
3x + 4y = 6
เขียนระบบสมการเชิงเส้นในรูปการคูณของเมทริกซ์
AX = B
1 2 -2 x 1
2 2 -1   y = 4
3 4 0 z 6

จะได้ det(A) = (0 - 6 - 16) - (-12 - 4 + 0) = -6 ≠ 0


โดยกฎของคราเมอร์ จะได้ว่า
1 2 -2
4 2 -1
x = 6 -64 0 = (0 - 12 - 32) -6- (-24 - 4 + 0) = 166 = 83
1 1 -2
2 4 -1
y = 3 -66 0 = (0 - 3 - 24) --6(-24 - 6 + 0) = - 36 = - 12
1 2 1
2 2 4
z = 3 4 6 = (12 + 24 + 8) - (6 + 16 + 24) = 2 = 1
-6 -6 6 3
ดังนั้น ค�ำตอบของระบบสมการที่ก�ำหนด คือ (83, - 12, 13)
4) จาก y + z = x จัดรูปใหม่เป็น -x + y + z = 0
3x = 2y จัดรูปใหม่เป็น 3x - 2y = 0
2x + 3z = 2 + y จัดรูปใหม่เป็น 2x - y + 3z = 2
เขียนระบบสมการเชิงเส้นในรูปการคูณของเมทริกซ์
AX = B
-1 1 1 x 0
3 -2 0 y = 0
2 -1 3 z 2

224
จะได้ det(A) = (6 + 0 - 3) - (-4 + 0 + 9) = -2 ≠ 0
โดยกฎของครำเมอร์ จะได้ว่ำ
0 1 1
0 -2 0
x = 2 -1
-2
3 = (0 + 0 + 0) - (-4 + 0 + 0) = 4 = -2
-2 -2
-1 0 1
3 0 0
y = 2 -22 3 = (0 + 0 + 6) - (0 + 0 + 0)
-2 = -26 = -3
-1 1 0
3 -2 0
z = 2 -1
-2
2 = (4 + 0 + 0) - (0 + 0 + 6) = -2 = 1
-2 -2
ดังนั้น ค�ำตอบของระบบสมกำรที่ก�ำหนด คือ (-2, -3, 1)
3. แกระบบสมการในแตละขอตอไปนี้โดยใชการดําเนินการตามแถว
1) y = 3x + 5 2) x - 2y = 10
4y + 12x = 20 -2x + 4y = -20
3) -3x + y - z = 4 4) x + y + z = 0
6x - 2y + 2z = 1 2y - z + t - 4 = 0
x + 2y + 3z = 7 y - 2z - 2t - 3 = 0
2y - z - 2t + 2 = 0
แนวคิด 1) จำกระบบสมกำรเชิงเส้นที่ก�ำหนด เขียนเมทริกซ์แต่งเติมได้ ดังนี้
-3 1 5
12 4 20
จ ำกเมทริกซ์แต่งเติม ใช้กำรด�ำเนินกำรตำมแถวเพือ่ ให้ได้เมทริกซ์ทมี่ รี ปู แบบ
ขั้นบันไดแบบแถวได้ ดังนี้

-3 1 5 ∼ 1 - 13 74 - 13 R1
12 4 20 12 4 20

225
1 - 13     - 53

0 8 40 R2 - 12R1
1 - 13     - 53
∼ 1 R
0 1 5 8 2

1 0     0 R1 - 13 R2
0 1 5
1 0     0 เป็นเมทริกซ์แต่งเติมของระบบสมการ
จะได้ว่า 0 1 5
x = 0
y = 5
เนือ่ งจาก ค�ำตอบของระบบสมการนี้เป็นค�ำตอบชุดเดียวกันกับค�ำตอบของ
ระบบสมการที่ก�ำหนด
ดังนั้น ค�ำตอบของระบบสมการที่ก�ำหนด คือ (0, 5)
2) จากระบบสมการเชิงเส้นที่ก�ำหนด เขียนเมทริกซ์แต่งเติมได้ ดังนี้
1 -2     10
-2 4 -20
จากเมทริกซ์แต่งเติม ใช้การด�ำเนินการตามแถวเพือ่ ให้ได้เมทริกซ์ทมี่ รี ปู แบบ
ขั้นบันไดแบบแถวได้ ดังนี้
1 -2     10 ∼ 1 -2     10
-2 4 -20 0 0 0 R2 + 2R1
น�ำเมทริกซ์ที่มีรูปแบบขั้นบันไดแบบแถวที่ได้เขียนเป็นระบบสมการได้ ดังนี้
x - 2y = 10
0x + 0y = 0
จะเห็นว่า สมการนีม้ ี x สัมพันธ์กบั y จึงจัด x ในรูปของ y ได้ ดังนี้
x = 2y + 10
จะได้วา ่ ค�ำตอบของระบบสมการมีจ�ำนวนอนันต์
ดังนั้น ค�ำตอบของระบบสมการที่ก�ำหนด คือ (2y + 10, y) เมื่อ y∊R

226
3) จากระบบสมการเชิงเส้นที่ก�ำหนด เขียนเมทริกซ์แต่งเติมได้ ดังนี้
-3 1 -1   4
6 -2 2 1
1 2 3 7
จากเมทริกซ์แต่งเติม ใช้การด�ำเนินการตามแถวเพือ่ ให้ได้เมทริกซ์ทมี่ รี ปู แบบ
ขั้นบันไดแบบแถวได้ ดังนี้
-3 1 -1   4 1 - 13 13    - 43 - 13 R1
6 -2 2 1 ∼ 6 -2 2 1
1 2 3 7 1 2 3 7
1 - 13 1    - 4
3 3
∼ 0 0 0 9 R2 - 6R1
0 53 8 25 R - R
3 3 3 1
จะเห็นว่า เมทริกซ์ทไี่ ด้มแี ถวใดแถวหนึง่ อยูใ่ นรูป [0 0 0 C]
ดังนั้น ระบบสมการที่ก�ำหนดไม่มีค�ำตอบ
4) จาก x + y + z = 0
2y - z + t - 4 = 0 จัดรูปใหม่เป็น 2y - z + t = 4
y - 2z - 2t - 3 = 0 จัดรูปใหม่เป็น y - 2z - 2t = 3
2y - z - 2t + 2 = 0 จัดรูปใหม่เป็น 2y - z - 2t = -2
จากระบบสมการเชิงเส้นที่ก�ำหนด เขียนในรูปเมทริกซ์แต่งเติมได้ ดังนี้
1 1 1 0   0 1 1 1 0   0
1 1 1
0 2 -1 1 4 ∼ 0 1 - 2 2 2 2  R2
0 1 -2 -2 3 0 1 -2 -2 3
0 2 -1 -2 -2 0 2 -1 -2 -2
1 0 32 - 12   -2 R1 - R2
0 1 - 12 12 2

0 0 - 32 - 52 1 R3 - R2
0 0 0 -3 -6 R4 - 2R2

227
1 0 3 - 1 -2
2 2
0 1 - 12 12 2

0 0 1 53 - 23 - 23 R3
0 0 0 1 2 - 13 R4

1 0 0 -3 -1 R1 - 32 R3
0 1 0 4 5 R2 + 12 R3
∼ 3 3
0 0 1 5 - 2
3 3
0 0 0 1 2
1 0 0 0 5 R1 + 3R4
0 1 0 0 -1 R2 - 43 R4

0 0 1 0 -4 R3 - 53 R4
0 0 0 1 2
ดังนั้น ค�ำตอบของระบบสมกำรที่ก�ำหนด คือ (5, -1, -4, 2)
4. ใหหาเมทริกซผกผันของเมทริกซในแตละขอตอไปนี้โดยใชการดําเนินการตามแถว (ถามี)
1 3 1 -1 1
1) 2 -5 2) 0 -2 1
-2 -3 0
แนวคิด 1) เนื่องจำก det(A) = -5 - 6 = -11 ≠ 0 จะได้ว่ำ A-1 หำค่ำได้
A ∙ I2 = 1 3 1
2 -5 0 1
0

∼ 1 3 1 0
0 -11 -2 1 R2 - 2R1
1 3 1 0
∼ 0 1 2 - 1 - 1 R
11 11 11 2

228
1 0    115 113   R1 - 3R2

0 1 112 - 111
5 3

ดังนั้น A-1 = 112 111
11 - 11
่ A-1
2) เนื่องจาก det(A) = (0 + 2 + 0) - (4 - 3 + 0) = 1 ≠ 0 จะได้วา
หาค่าได้
1 -1 1    1 0 0
 A ∙ I3  = 0 -2 1 0 1 0
-2 -3 0 0 0 1
1 -1 1    1 0 0
∼ 0 -2 1 0 1 0
0 -5 2 2 0 1 R3 + 2R1
1 -1 1    1 0 0
∼ 0 1 - 12 0 - 12 0 - 12  R2
0 -5 2 2 0 1
1 -1 1    1 0 0
0 1 - 12 0 - 12 0

0 0 - 12 2 - 52 1 R3 + 5R2
1 -1 1    1 0 0
∼ 0 1 - 12 0 - 12 0
0 0 1 -4 5 -2 -2R3
1 -1 1    1 0 0
∼ 0 1 0 -2 2 -1 R2 + 12  R3
0 0 1 -4 5 -2
1 -1 0    5 -5 2 R1 - R3
∼ 0 1 0 -2 2 -1
0 0 1 -4 5 -2

229
1 0 0 3 -3 1 R1 + R2
∼ 0 1 0 -2 2 -1
0 0 1 -4 5 -2

-1 =
3 -3 1
ดังนั้น A -2 2 -1
-4 5 -2

ระดับกลาง
5. แกระบบสมการในแตละขอตอไปนี้โดยใชการดําเนินการตามแถว
1) 0.5x - y + 3z = 12.1 2) 2x + y - z - 3t = 10
-3x + 15 y + z = 5 x - 3y - z - 2t = -2
x + 0.2y + 2z = 9.6 3x - 2y + 3z + 4t = 4
2x + y + z + 3t = 6
3) 2x + y - 2z = -1 4) 2x - y - z + 2t = -4
x + 3z - t = 2 y - 2z + 3t = -13
-2x + y + 2z + t = 0 x - 2y + 3z - t = 14
x - y + 3z + t = 1 y + 2z + t = 3
แนวคิด 1) จำกระบบสมกำรเชิงเส้นที่ก�ำหนด เขียนเมทริกซ์แต่งเติมได้ ดังนี้
0.5 -1 3 12.1
-3 15 1 5
1 0.2 2 9.6
จ ำกเมทริกซ์แต่งเติม ใช้กำรด�ำเนินกำรตำมแถวเพือ่ ให้ได้เมทริกซ์ทมี่ รี ปู แบบ
ขั้นบันไดแบบแถวได้ ดังนี้
0.5 -1 3 12.1 1 -2 6 24.2 2R1
-3 15 1 5 ∼ -3 15 1 5
1 0.2 2 9.6 1 0.2 2 9.6
1 -2 6 24.2
∼ 0 - 29 19 77.6 R2 + 3R1
5
0 2.2 -4 -14.6 R3 - R1

230
1 -2 6    24.2
∼ 0 1 - 95 388 5
29 -  29 - 29 R2
0 11 -4 - 735
5
1 -2 6    121 5
∼ 0 1 - 95 - 388
29 29
0 0 93 2,151
29 145 R3 - 5  R2
11

1 -2 6    121 5
∼ 0 1 - 95 - 388
29 29
0 0 1 717 155 93 R3
29

1 -2 6    121 5
่ 0 1 - 95
จะได้วา 388
29 -  29 เป็นเมทริกซ์แต่งเติมของระบบสมการ
0 0 1 717 155
x - 2y + 6z = 121 5
y - 95 388
29  z = -  29
z = 717
155
ดังนั้น z = 717
155
y = - 388 95 717 55
29 + 29  (155) = 31
x = 121 55 717 1
5 + 2 ( 31 ) - 6 (155) = - 155
เนื่องจาก ค�ำตอบของระบบสมการนี้เป็นค�ำตอบชุดเดียวกันกับค�ำตอบของ
ระบบสมการที่ก�ำหนด
1  , 55  , 717 )
ดังนั้น ค�ำตอบของระบบสมการที่ก�ำหนด คือ (- 155 31 155

231
2) จาก 2x + y - z - 3t = 10
x - 3y - z - 2t = -2
3x - 2y + 3z + 4t = 4
2x + y + z + 3t = 6
จากระบบสมการเชิงเส้นที่ก�ำหนด เขียนในรูปเมทริกซ์แต่งเติมได้เป็น
2 1 -1 -3 10 1 12 - 12 - 32 5 12  R1
1 -3 -1 -2 -2 ∼ 1 -3 -1 -2 -2
3 -2 3 4 4 3 -2 3 4 4
2 1 1 3 6 2 1 1 3 6
1 12 - 12 - 32 5
0 - 72 - 12 - 12 -7 R2 - R1

0 - 72 92 172 -11 R3 - 3R1
0 0 2 6 -4 R4 - 2R1
1 12 - 12 - 32 5
0 1 17 17 2 - 27  R2

0 - 72 92 172 -11
0 0 2 6 -4
1 12 - 12 - 32 5
0 1 17 17 2

0 0 5 9 -4 R3 + 72  R2
0 0 2 6 -4
1 12 - 12 - 32 5
0 1 17 17 2

0 0 1 95 - 45 15  R3
0 0 2 6 -4

232
1 1 - 1 - 3 5
2 2 2
0 1 17 17 2

0 0 1 95 - 45
0 0 0 125 - 125 R4 - 2R3
1 1 - 1 - 3 5
2 2 2
0 1 17 17 2

0 0 1 95 - 45
0 0 0 1 -1 5
12 R4
1 12 - 12 - 32 5
0 1 17 17 2
จะได้ว่า เป็นเมทริกซ์แต่งเติมของระบบสมการ
0 0 1 95 - 45
0 0 0 1 -1
x + 12 y - 12 z - 32 t = 5
y + 17 z + 17 t = 2
z + 95 t = - 45
t = -1
ดังนั้น t = -1
z = - 45 - 95 (-1) = 1
y = 2 + 17 - 17 = 2
x = 5 - 32 + 12 - 1 = 3
เนื่องจาก ค�ำตอบของระบบสมการนี้เป็นค�ำตอบชุดเดียวกันกับค�ำตอบของ
ระบบสมการที่ก�ำหนด
ดังนั้น ค�ำตอบของระบบสมการที่ก�ำหนด คือ (3, 2, 1, -1)

233
3) จาก 2x + y - 2z = -1
x + 3z - t = 2
-2x + y + 2z + t = 0
x - y + 3z + t = 1
จากระบบสมการเชิงเส้นที่ก�ำหนด เขียนในรูปเมทริกซ์แต่งเติมได้เป็น
2 1 -2 0 -1 1 12 -1 0 - 12 12  R1
1 0 3 -1 2 ∼ 1 0 3 -1 2
-2 1 2 1 0 -2 1 2 1 0
1 -1 3 1 1 1 -1 3 1 1
1 12 -1 0 - 12
0 - 12 4 -1 52 R2 - R1

0 2 0 1 -1 R3 + 2R1
0 - 32 4 1 32 R4 - R1
1 12 -1 0 - 12
0 1 -8 2 -5 -2R2

0 2 0 1 -1
0 - 32 4 1 32
1 1 -1 0 - 1
2 2

0 1 -8 2 -5
0 0 16 -3 9 R3 2R1
0 0 -8 4 -6 R4 32  R2
1 1 -1 0 - 1
2 2
0 1 -8 2 -5

0 0 1 - 163 169 161  R3 
0 0 -8 4 -6

234
1 1 -1 0 - 1
2 2
0 1 -8 2 -5

0 0 1 - 163 169
0 0 0 52 - 32 R4 + 8R3
1 1 -1 0 - 1
2 2
0 1 -8 2 -5

0 0 1 - 163 169
0 0 0 1 - 35 2  R
5 4
1 12 -1 0 - 12
0 1 -8 2 -5
จะได้ว่า เป็นเมทริกซ์แต่งเติมของระบบสมการ
0 0 1 - 163 169
0 0 0 1 - 35
x + 12 y - z = - 12
y - 8z + 2t = -5
z - 163  t = 169
t = - 35
ดังนั้น t = - 35
z = 169 + 163  (- 35 ) = 209
y = -5 - 2 (- 35 ) + 8 (209 ) = - 15
x = - 12 + 209 - 12 (- 15 ) = 201
เนื่องจาก ค�ำตอบของระบบสมการนี้เป็นค�ำตอบชุดเดียวกันกับค�ำตอบของ
ระบบสมการที่ก�ำหนด
ดังนั้น ค�ำตอบของระบบสมการที่ก�ำหนด คือ (201 , - 15 , 209 , - 35 )
235
4) จาก 2x - y - z + 2t = -4
y - 2z + 3t = -13
x - 2y + 3z - t = 14
y + 2z + t = 3
จากระบบสมการเชิงเส้นที่ก�ำหนด เขียนในรูปเมทริกซ์แต่งเติมได้เป็น
2 -1 -1 2 -4 1 - 12 - 12 1 -2 12  R1
0 1 -2 3 -13 ∼ 0 1 -2 3 -13
1 -2 3 -1 14 1 -2 3 -1 14
0 1 2 1 3 0 1 2 1 3
1 - 12 - 12 1 -2
0 1 -2 3 -13

0 - 32 72 -2 16 R3 - R1
0 1 2 1 3
1 - 12 - 12 1 -2
0 1 -2 3 -13

0 0 12 52 - 72 R3 + 32  R2
0 0 4 -2 16 R4 - R2
1 - 12 - 12 1 -2

0 1 -2 3 -13
0 0 1 5 -7 2R3
0 0 4 -2 16
1 - 12 - 12 1 -2

0 1 -2 3 -13
0 0 1 5 -7
0 0 0 -22 44 R4 - 4R3

236
1 - 12 - 12 1 -2

0 1 -2 3 -13
0 0 1 5 -7
0 0 0 1 -2 - 221  R4
1 - 12 - 12 1 -2
จะได้ว่า 0 1 -2 3 -13 เป็นเมทริกซ์แต่งเติมของระบบสมการ
0 0 1 5 -7
0 0 0 1 -2
x - 12 y - 12 z + t = -2
y - 2z + 3t = -13
z + 5t = -7
t = -2
ดังนั้น t = -2
z = -7 - 5(-2) = 3
y = -13 - 3(-2) + 2(3) = -1
x = -2 - (-2) + 12 (3) + 12 (-1) = 1
เนื่องจาก ค�ำตอบของระบบสมการนี้เป็นค�ำตอบชุดเดียวกันกับค�ำตอบของ
ระบบสมการที่ก�ำหนด
ดังนั้น ค�ำตอบของระบบสมการที่ก�ำหนด คือ (1, -1, 3, -2)

237
6. ใหหาเมทริกซผกผันของเมทริกซในแตละขอตอไปนี้
1 0 2 0
1) -1 -1 1 -1
2 1 0 3
1 2 -3 2
1 0 0 -1
2) 1 1 0 1
2 2 0 0
-1 -2 2 4
1 0 2 0
แนวคิด 1) A = -1 -1 1 -1
2 1 0 3
1 2 -3 2
det(A) = C11(A) + (0)C12(A) + 2C13(A) + (0)C14(A)
= (-1)1 + 1M11(A) + 2(-1)1 + 3M13(A)
-1 1 -1 -1 -1 -1
= 1 1 0 3 + 2 2 1 3
2 -3 2 1 2 2
= 1(-2) + 2(2) = 2
ดังนั้น A มีเมทริกซ์ผกผัน
A-1 = det(A) 1 • adj(A)
M11(A) -M12(A) M13(A) -M14(A) t
= 12 -M21(A) M22(A) -M23(A) M24(A)
M31(A) -M32(A) M33(A) -M34(A)
-M41(A) M42(A) -M43(A) M44(A)
-2 4 2 0 t
= 12 8 7 4 3
0 -1 0 1
-4 5 2 1

238
t
-1 2 1 0
-4 7 2 3
= 2 2
0 - 12 0 1
2
-2 5 1 1
2 2
-1 -4 0 -2
2 7 - 12 5
= 2 2
1 2 0 1
0 3 1 1
2 2 2
1 0 0 -1
2) ให้ A = 1 1 0 1
2 2 0 0
-1 -2 2 4
det(A) = (0)C13(A) + (0)C23(A) + (0)C33(A) + 2C43(A)
= 2(-1)4 + 3M43(A)
1 0 -1
= -2  1 1 1 = -2(-2) = 4
2 2 0
ดังนั้น A มีเมทริกซ์ผกผัน
A-1 = det(A) 1  • adj(A)
M11(A) -M12(A) M13(A) -M14(A) t
= 14   -M21(A) M22(A) -M23(A) M24(A)
M31(A) -M32(A) M33(A) -M34(A)
-M41(A) M42(A) -M43(A) M44(A)
4 -4 -2 0 t
= 14    4 -4 -10 4  
-2 4 7 -2
0 0 2 0

239
t
1 -1 - 12 0
1 -1 - 52 1
=
- 12 1 7
4 - 12
0 0 1 0
2
1 1 - 12 0
-1 -1 1 0
=
- 12 - 52 7
4
1
2
0 1 - 12 0

240
แบบฝกทักษะ ประจําหนวยการเรียนรูท
 ่ี
2 (หน้ำ 205)

1. ก�ำหนด x + y 5 = 2 x - 3 ค่ำของ 2x - 3y เท่ำกับเท่ำใด


-5 x - y 2y + 7 14
แนวคิด จำก x + y 5 = 2 x - 3
-5 x - y 2y + 7 14
จะได้ 5 = x - 3
x = 8
และ -5 = 2y + 7
y = -6
ดังนั้น 2x - 3y = 2(8) - 3(-6)
= 34
2. ก�ำหนด A = -2 5 และ B = 4 3 ค่ำของ 2A - Bt เท่ำกับเท่ำใด
4 -1 -1 2
แนวคิด จำก A = -2 5 และ B = 4 3
4 -1 -1 2
จะได้ 2A = 2 -2 5
4 -1
= -4 10
8 -2
Bt = 4 -1
3 2
ดังนั้น 2A - Bt = -4 10 - 4 -1
8 -2 3 2
= -8 11
5 -4

241
2 -1 4 1 0
3. ก�ำหนด A = 3 0 5 และ B = -1 2 ให้หำ AB และ BA
4 -3
2 -1 4 1 0
แนวคิด จำก A = 3 0 5 และ B = -1 2
4 -3
2 -1 4 1 0
จะได้ AB = 3 0 5 -1 2
4 -3
= 2 (1) + (-1)(-1) + (4)(4) 2(0) + (-1)(2) + 4(-3)
3(1) + 0(-1) + 5(4) 3(0) + 0(2) + 5(-3)
= 19 -14
23 -15
1 0 2 -1 4
BA = -1 2 3 0 5
4 -3
1(2) + 0(3) 1(-1) + 0(0) 1(4) + 0(5)
= (-1)(2) + 2(3) (-1)(-1) + 2(0) (-1)(4) + 2(5)
4(2) + (-3)(3) 4(-1) + (-3)(0) 4(4) + (-3)(5)
2 -1 4
= 4 1 6
-1 -4 1

4. ก�ำหนด A = -1
2 -6 ให้หำ A-1
4
แนวคิด จำก A = -1 2 -6
4
จะได้ det(A) = 2(4) - (-1)(-6) = 2
ดังนั้น A-1 = 12 4 6
1 2
2 3
= 1 2
2

242
2
5. ก�ำหนด x 4 = 4 8 ค่ำของ x เท่ำกับเท่ำใด
x 1 2 3
x
2 4
แนวคิด จำก = 4 8
x 1 2 3
จะได้ x2 - 4x = 12 - 16
x2 - 4x + 4 = 0
(x - 2)(x - 2) = 0
ดังนั้น x มีค่ำเท่ำกับ 2
2 1 -3
6. ก�ำหนด A = -1 0 2 ค่ำของ C23(A) + M32(A) เท่ำกับเท่ำใด
3 -2 5
2 1 -3
แนวคิด จำก A = -1 0 2
3 -2 5
จะได้ C23(A) = (-1)2+3M23(A)
= -M23(A)
= (-1) 2 1
3 -2
= (-1)(-4 - 3)
= 7
M32(A) = 2 -3
-1 2
= 4 - 3
= 1
ดังนั้น C23(A) + M32(A) = 7 + 1 = 8
7. ก�ำหนด A = -3 4 และ B = 4 -1 ให้หำ
2 5 0 3
1) det(A + B) 2) det(A + B)t
3) det(AB) 4) det(A + B)-1
แนวคิด จำก A = -3 4 และ B = 4 -1
2 5 0 3
243
1) A + B = -3 4 + 4 -1
2 5 0 3
= 1 3
2 8
det(A + B) = 1 3
2 8
= 8 - 6
= 2
2) จากทฤษฎีบท det(A) = det(A)t
ดังนั้น det(A + B)t = det(A + B)
= 2
3) AB = -3 4   4 -1
2 5 0 3
= (-3)(4) + 4(0) (-3)(-1) + 4(3)
2(4) + 5(0) 2(-1) + 5(3)
= -12 15
8 13
det(AB) =   -12 15
8 13
= -156 - 120
= -276
4) จากสมบัติและทฤษฎีบทเกี่ยวกับดีเทอร์มิแนนต์
1
det(A-1) = det(A)
ดังนั้น det(A + B)-1 = det(A1 + B)
= 12

244
0 -1 2
8. ก�ำหนด A = -3 0 3 ค่ำของ det(A) เท่ำกับเท่ำใด
0 -2 4
0 -1 2
แนวคิด จำก A = -3 0 3
0 -2 4
เขียนหลักที่ 1 และ 2 ของเมทริกซ์ A ต่อจำกหลักที่ 3 จะได้
0 -1 2 0 -1
-3 0 3 -3 0
0 -2 4 0 -2
det(A) = (0 - 0 + 12) - (0 + 0 + 12)
= 0
1 -1 2
9.9. ก�ำหนด A = 3 1 -3 ค่ำของ det(adj(A)) เท่ำกับเท่ำใด
0 -2 4
1 -1 2
แนวคิด จำก A = 3 1 -3
0 -2 4
M11(A) -M12(A) M13(A) t
adj(A) = -M21(A) M22(A) -M23(A)
M31(A) -M32(A) M33(A)
t
1 -3 - 3 -3 3 1
-2 4 0 4 0 -2
= - -1 2 1 2 - 1 -1
-2 4 0 4 0 -2
-1 2 - 1 2 1 -1
1 -3 3 -3 3 1
-2 -12 -6 t
= 0 4 2
1 9 4
-2 0 1
= -12 4 9
-6 2 4
245
-2 0 1
det(adj(A)) = -12 4 9
-6 2 4
= (-32 + 0 - 24) - (-24 - 36 + 0)
= 4
10. ให้แก้ระบบสมกำรต่อไปนี้โดยใช้เมทริกซ์
x - 3z = -2
3x + y - 2z = 5
2x + 2y + z = 4
แนวคิด จำกระบบสมกำร x - 3z = -2
3x + y - 2z = 5
2x + 2y + z = 4
เขียนระบบสมกำรเชิงเส้นในรูปกำรคูณของเมทริกซ์ ดังน�้
AX = B
1 0 -3 x -2
3 1 -2 y = 5
2 2 1 z 4
หจะได้ det(A) = (1 + 0 - 18) - (-6 - 4 + 0) = -7 ≠ 0
โดยกฎของครำเมอร์ จะได้ว่ำ
-2 0 -3
5 1 -2
x = 4 -72 1 = (-2 + 0 - 30) - (-12 + 8 + 0)
-7 = 4
1 -2 -3
3 5 -2
y = 2 4 1 = (5 + 8 - 36) - (-30 - 8 - 6) = -3
-7 -7
1 0 -2
3 1 5
z = 2 -72 4 = (4 + 0 - 12) - (-4 + 10 + 0)
-7 = 2
ดังนั้น ค�ำตอบของระบบสมกำรที่ก�ำหนด คือ (4, -3, 2)

246
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เวกเตอร์ในสามมิติ

ลองทําดู (หน้า 213)


Z ให้หาพิกัดของจุด Q, R, S, M, N และ W
R Q
S P(3, 4, 7)

O W Y
M N
X
แนวคิด Q เปนจุดที่อยู่บนระนาบ YZ จึงมี x = 0
ดังนั้น จุด Q มีพิกัดเปน (0, 4, 7)
R เปนจุดที่อยู่บนแกน Z จึงมี x = 0 และ y = 0
ดังนั้น จุด R มีพิกัดเปน (0, 0, 7)
S เปนจุดที่อยู่บนระนาบ XZ จึงมี y = 0
ดังนั้น จุด S มีพิกัดเปน (3, 0, 7)
M เปนจุดที่อยู่บนแกน X จึงมี y = 0 และ z = 0
ดังนั้น จุด M มีพิกัดเปน (3, 0, 0)
N เปนจุดที่อยู่บนระนาบ XY จึงมี z = 0
ดังนั้น จุด N มีพิกัดเปน (3, 4, 0)
W เปนจุดที่อยู่บนแกน Y จึงมี x = 0 และ z = 0
ดังนั้น จุด W มีพิกัดเปน (0, 4, 0)
ให้เขียนจุด A(-1, 5, 3), B(6, 3, -2,) และ C(2, -5, 3) ลงในระบบพิกัดฉากสามมิติ
แนวคิด จุด A(-1, 5, 3) เปนจุดที่ห่างจากระนาบทั้งสามตามแนวแกน X ทางลบเปน
ระยะ 1 หน่วย แกน Y ทางบวกเปนระยะ 5 หน่วย และแกน Z ทางบวกเปน
ระยะ 3 หน่วย

247
จ ุด B(6, 3, -2) เปนจุดที่ห่างจากระนาบทั้งสามตามแนวแกน X ทางบวกเปน
ระยะ 6 หน่วย แกน Y ทางบวกเปนระยะ 3 หน่วย และแกน Z ทางลบเปนระยะ
2 หน่วย
จุด C(2, -5, 3) เปนจุดที่ห่างจากระนาบทั้งสามตามแนวแกน X ทางบวกเปน
ระยะ 2 หน่วย แกน Y ทางลบเปนระยะ 5 หน่วย และแกน Z ทางบวกเปนระยะ
3 หน่วย Z
A(-1, 5, 3)

C(2, -5, 3)
Y

X B(6, 3, -2)

ลองทําดู (หน้า 215)


Z จากรูป ให้หาภาพฉายของจุด A(1, 4, 3) บนแกน
X แกน Y แกน Z ระนาบ XY ระนาบ YZ และ
ระนาบ XZ
A(1, 4, 3)
O Y

X
แนวคิด ภาพฉายของจุด A(1, 4, 3) บนแกน X คือ จุด (1, 0, 0)
ภาพฉายของจุด A(1, 4, 3) บนแกน Y คือ จุด (0, 4, 0)
ภาพฉายของจุด A(1, 4, 3) บนแกน Z คือ จุด (0, 0, 3)
ภาพฉายของจุด A(1, 4, 3) บนระนาบ XY คือ จุด (1, 4, 0)
ภาพฉายของจุด A(1, 4, 3) บนระนาบ YZ คือ จุด (0, 4, 3)
ภาพฉายของจุด A(1, 4, 3) บนระนาบ XZ คือ จุด (1, 0, 3)

248
ลองทําดู (หน้า 216)
ให้หาระยะทางระหว่างจุด A(3, -1, 4) และ B(0, 2, -1)
แนวคิด จากสูตร AB = (x2 - x1)2 + (y2 - y1)2 + (z2 - z1)2
จะได้ AB = (0 - 3)2 + (2 - (-1))2 + (-1 - 4)2
= 9 + 9 + 25
= 43
ดังนั้น ระยะทางระหว่างจุด A(3, -1, 4) และ B(0, 2, -1) เท่ากับ 43 หน่วย

แบบฝึ
กทั
กษะ 3.1 (หน้า 217)

ระดับพื้นฐาน

1.
1. Z จากรูป กําหนดจุด A(4, 8, 5) ใหหาพิกัด
5C B ของจุด B, C, D, E, F และ G

D A(4, 8, 5)
O G Y
8
E
4 F
X
แนวคิด B เปนจุดที่อยู่บนระนาบ YZ จึงมี x = 0
ดังนั้น จุด B มีพิกัดเปน (0, 8, 5)
C เปนจุดที่อยู่บนแกน Z จึงมี x = 0 และ y = 0
ดังนั้น จุด C มีพิกัดเปน (0, 0, 5)
D เปนจุดที่อยู่บนระนาบ XZ จึงมี y = 0
ดังนั้น จุด D มีพิกัดเปน (4, 0, 5)
E เปนจุดที่อยู่บนแกน X จึงมี y = 0 และ z = 0
ดังนั้น จุด E มีพิกัดเปน (4, 0, 0)

249
F เปนจุดที่อยู่บนระนาบ XY จึงมี z = 0
ดังนั้น จุด F มีพิกัดเปน (4, 8, 0)
G เปนจุดที่อยู่บนแกน Y จึงมี x = 0 และ z = 0
ดังนั้น จุด G มีพิกัดเปน (0, 8, 0)
2. Z จากรูป ใหหาพิกัดของจุดยอดมุมที่เหลือ

E D(2, 12, 4)
G
O F Y
H C
A(5, 5, 0) B
X

แนวคิด Z

E(2, 5, 4) D(2, 12, 4)


F(5, 5, 4) G(5, 12, 4) Y
O
H(2, 5, 0) C(2, 12, 0)

A(5, 5, 0) B(5, 12, 0)


X

250
ระดับกลาง

3. ใหเขียนจุด A(-2, 3, 5), B(4, 2, -1) และ C(1, -4, 2) ลงในระบบพิกัดฉากสามมิติ


แนวคิด Z
A(-2, 3, 5)

C(1, -4, 2)
O Y

X B(4, 2, -1)
4. ใหหาภาพฉายของจุด A(2, -5, 8) และ B(-1, 4, 3) บนระนาบ XY ระนาบ YZ
และระนาบ XZ ตามลําดับ
แนวคิด Z Z
(0, -5, 8)
A(2, -5, 8) (2, 0, 8) (-1, 0, 3) B(-1, 4, 3)
(0, 4, 3)
(-1, 4, 0)
O Y O Y
(2, -5, 0)
X X
5. ใหหาภาพฉายของจุด P(-5, -1, 7) บนแกน X แกน Y และแกน Z ตามลําดับ
แนวคิด Z P(-5, -1, 7)
(0, 0, 7)

(-5, 0, 0)
(0, -1, 0)
O Y

251
จากรูป ภาพฉายของจุด P(-5, -1, 7) บนแกน X คือ จุด (-5, 0, 0)
ภาพฉายของจุด P(-5, -1, 7) บนแกน Y คือ จุด (0, -1, 0)
ภาพฉายของจุด P(-5, -1, 7) บนแกน Z คือ จุด (0, 0, 7)
6. ใหหาระยะทางระหวางจุดสองจุดที่กําหนดใหตอไปนี้
1) A(-3, 1, 0) กับ B(0, 2, -5)
2) A(0, 0, 0) กับ B(2, 2, 2)
3) A(-1, 0, 2) กับ B(0, -3, 0)
แนวคิด 1) AB = (0 - (-3))2 + (2 - 1)2 + (-5 - 0)2
= 9 + 1 + 25 = 35
ดังนั้น ระยะทางระหว่างจุด A(-3, 1, 0) กับ B(0, 2, -5) เท่ากับ 35 หน่วย
2) AB = (2 - 0)2 + (2 - 0)2 + (2 - 0)2
= 4 + 4 + 4 = 2 3
ดังนั้น ระยะทางระหว่างจุด A(0, 0, 0) กับ B(2, 2, 2) เท่ากับ 2 3 หน่วย
3) AB = (0 - (-1))2 + (-3 - 0)2 + (0 - 2)2
= 1 + 9 + 4 = 14
ดังนั้น ระยะทางระหว่างจุด A(-1, 0, 2) กับ B(0, -3, 0) เท่ากับ 14 หน่วย
ลองทําดู (หน้า 220)
ชาติชายขับรถยนต์ ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือใช้เวลา 1 ชั่วโมง ด้วยความเร็ว 100 กิโลเมตร
ต่อชั่วโมง ให้เขียนเวกเตอร์แสดงการเคลื่อนที่ของชาติชาย
แนวคิด เวลา 1 ชั่วโมง ชาติชายขับรถได้ระยะทาง 100 กิโลเมตร N
100 กม./ชม.
เขียนเวกเตอร์โดยใช้มาตราส่วน 1 ซม. : 50 กม.
ขนาดของเวกเตอร์เท่ากับ 2 เซนติเมตร W E

252
ลองทําดู (หน้า 221)
กําหนด PQRS เปนรูปสี่เหลี่ยมด้านขนาน ดังรูป
S R

O
P Q
ให้หาเวกเตอร์ที่มีทิศทางเดียวกัน เวกเตอร์ที่มีทิศทางตรงกันข้าม เวกเตอร์ที่เท่ากัน
และเวกเตอร์ที่เปนนิเสธกันอย่างละ 2 คู่
แนวคิด เนื่องจาก PQRS เปนรูปสี่เหลี่ยมด้านขนาน
ดังนัน้ PQ = RS, PQ // RS, PS = QR, PS // QR, PO = OR และ QO = SO
จะได้ว่า เวกเตอร์ที่มีทิศทางเดียวกัน คือ PS กับ QR และ PO กับ OR
เวกเตอร์ที่มีทิศทางตรงกันข้าม คือ PQ กับ RS และ QO กับ SO
นั่นคือ เวกเตอร์ที่เท่ากัน คือ PS กับ QR และ PO กับ OR
เวกเตอร์ที่เปนนิเสธกัน คือ PQ กับ RS และ QO กับ SO
กําหนด MNOPQRST เปนปริซึมสี่เหลี่ยมจัตุรัส ดังรูป T S
1) ให้หาเวกเตอร์ที่เท่ากันกับ MP Q R
2) ให้หาเวกเตอร์ที่เปนนิเสธกับ NM และ NR P O
แนวคิด 1) เวกเตอร์ที่เท่ากันกับ MP คือ QT M N
2) เวกเตอร์ที่เปนนิเสธกับ NM คือ QR
และเวกเตอร์ที่เปนนิเสธกับ NR คือ SO

แบบฝึ
กทั
กษะ 3.2 ก (หน้า 222)

ระดับพื้นฐาน
1. ใหพิจารณาขอความที่กําหนดตอไปนี้ วาเปนปริมาณสเกลารหรือปริมาณเวกเตอร
1) ตู้เสื้อผ้าใบหนึ่งสูง 210 เซนติเมตร
2) แตงโมผลหนึ่งมีนํ้าหนัก 3 กิโลกรัม
3) เสือตัวหนึ่งวิ่งไปทางทิศใต้ด้วยความเร็ว 40 กิโลเมตรต่อชั่วโมง

253
4) ปกรณ์เดินไปทางทิศเหนือเปนระยะทาง 300 เมตร
5) คมสันต์ออกแรงผลักโตะไปข้างหน้าเปนระยะทาง 25 เมตร
6) ปรานีใช้เวลาทําการบ้าน 35 นาที
แนวคิด 1) ปริมาณสเกลาร์ 2) ปริมาณสเกลาร์
3) ปริมาณเวกเตอร์ 4) ปริมาณเวกเตอร์
5) ปริมาณเวกเตอร์ 6) ปริมาณสเกลาร์
2. กันยาขับรถไปทางทิศตะวันตกเฉียงใตดวยความเร็ว 100 กิโลเมตรตอชั่วโมง เปนเวลา
45 นาที ใหเขียนเวกเตอรแสดงการเคลื่อนที่ของกันยา
แนวคิด เวลา 45 นาที กันยาขับรถได้ระยะทาง 75 กิโลเมตร N
เขียนเวกเตอร์โดยใช้มาตราส่วน 1 ซม. : 25 กม.
W E
ขนาดของเวกเตอร์เท่ากับ 3 เซนติเมตร
100 กม./ชม.
S
3. กําหนด ABCDEF เปนรูปหกเหลี่ยมดานเทา ดังรูป
A B

F C

E D
ใหหาเวกเตอรที่กําหนดตอไปนี้
1) เวกเตอร์ที่ขนานกัน 2 คู่
2) เวกเตอร์ที่เท่ากัน 2 คู่
3) เวกเตอร์ที่เปนนิเสธกัน 2 คู่
แนวคิด 1) AB กับ DE 2) DC กับ FA 3) AB กับ DE
AE กับ BD AE กับ BD BC กับ EF
BC กับ EF
DC กับ FA

254
4. กําหนดเวกเตอรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก ดังรูป
E F
D C

H G
A B
1) ให้หาเวกเตอร์ที่เท่ากันกับ AD และ AH
2) ให้หาเวกเตอร์ที่เปนนิเสธกับ BC และ BA
แนวคิด 1) เวกเตอร์ที่เท่ากันกับ AD คือ BC, HE และเวกเตอร์ที่เท่ากันกับ AH คือ DE
2) เวกเตอร์ที่เปนนิเสธกับ BC คือ FG และเวกเตอร์ที่เปนนิเสธกับ BA คือ DC,
EF
ระดับกลาง

5. ใหเขียนสวนของเสนตรงที่มีทิศทางแทนปริมาณเวกเตอรที่กําหนดตอไปนี้
1) 90 เมตร ไปทางทิศใต้ 2) 45 กิโลเมตร ไปทางทิศ 045 องศา
3) 60 เมตร ไปทางทิศ 320 องศา 4) 20 กิโลเมตร ไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ
แนวคิด 1) เขียนเวกเตอร์โดยใช้มาตราส่วน 1 ซม. : 45 ม. N
ขนาดของเวกเตอร์เท่ากับ 2 เซนติเมตร W E
90 เมตร
ทางทิศใต้

2) เขียนเวกเตอร์โดยใช้มาตราส่วน 1 ซม. : 15 กม. N


ขนาดของเวกเตอร์เท่ากับ 3 เซนติเมตร
45 ํ
ทิศ 045 ํ
3) เขียนเวกเตอร์โดยใช้มาตราส่วน 1 ซม. : 20 ม.
ขนาดของเวกเตอร์เท่ากับ 3 เซนติเมตร

320 ํ
ทิศ 320 ํ
255
4) เขียนเวกเตอร์โดยใช้มาตราส่วน 1 ซม. : 10 กม. 20 กม. N
ทางทิศ
ขนาดของเวกเตอร์เท่ากับ 2 เซนติเมตร ตะวันตกเฉียงเหนือ

6. ชัยทัศนปนจักรยานไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือเปนระยะทาง 3 กิโลเมตร แลวปนจักรยาน


ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือเปนระยะทาง 3 กิโลเมตร ใหหาวาชัยทัศนอยูห า งจากจุดเริม่ ตน
เปนระยะทางเทาใด และอยูในทิศใดของจุดเริ่มตน
แนวคิด จากโจทย์ เขียนเวกเตอร์แสดงการปนจักรยานของนายชัยทัศน์ได้ดังนี้
C ให้จุด A เปนจุดเริ่มต้น
จากทฤษฎีบทพีทาโกรัส จะได้ว่า
3 กม. AC2 = AB2 + BC2
B 45 ํ
3 2 กม. = 32 + 32

= 9 + 9
3 กม. = 18
45 ํ
นั่นคือ AC = 3 2
A
ดังนั้น ชัยทัศน์อยู่ห่างจากจุดเริ่มต้นเปนระยะทาง 3 2 กิโลเมตร และอยู่ทาง
ทิศเหนือของจุดเริ่มต้น
7. ถา w แทนการเดินทาง 40 กิโลเมตร ไปทางทิศ 060 องศา ใหอธิบายการเดินทางที่แทน
ดวย -w
แนวคิด เขียนเวกเตอร์โดยใช้มาตราส่วน 1 ซม. : 20 กม.
ขนาดของเวกเตอร์เท่ากับ 2 เซนติเมตร

240 ํ
60 ํ -w

-w แทนการเดินทาง 40 กิโลเมตร ไปทางทิศ 240 องศา

256
Thinking Time (หน้า 225)
กําหนดจุด A ดังนี้
• A
นักเรียนคิดว่า จุด A เปนเวกเตอร์ศูนย์หรือไม่
แนวคิด เมือ่ เขียนเวกเตอร์จาก A ไป A จะเห็นว่ามีจดุ เริม่ ต้นและจุดสิน้ สุดเปนจุดเดียวกัน
ดังนั้น จุด A เปนเวกเตอร์ศูนย์
ลองทําดู (หน้า 228)
กําหนด p, q, r, s และ e ดังนี้
p q r s e

ให้หาเวกเตอร์ผลลัพธ์ของ
1) p + q 2) r - s 3) p + q + s
4) q - r - e 5) e + q - r
แนวคิด 1) q 2)
p s r
p + q
r - s
3) q 4) q
p r
q - r - e
p + q + s s e

e
5) q
r
e + q - r

257
C
ลองทําดู (หน้า 229)
v
จากปริซึมสามเหลี่ยม ABCDEF กําหนด
D F B
BA = u, BC = v, AE = w และ DA = z
ให้หา EF, CF และ FB ในรูปของ u, v, w, และ z z u
E w
แนวคิด จาก ABCDEF เปนปริซึมสามเหลี่ยม A
จะได้ AB = CD = EF, AE = BF, AD = BC และ DE = CF
ดังนั้น EF = EA + AB + BF = -AE - BA + AE = -u
CF = CB + BF = DA + AE = z + w
FB = FE + EA + AB = BA - AE - BA = -w

แบบฝึ
กทั
กษะ 3.2 ข (หน้า 229)

ระดับพื้นฐาน
1. D C กําหนด ABCD เปนรูปสี่เหลี่ยมดานขนาน มีเสนทแยงมุม
E ตัดกันที่จุด E ใหหาเวกเตอรผลลัพธในแตละขอตอไปนี้
A B

1) AB + DA + BD
2) DE + BE
3) CE + AD + AB
4) (AE + DE) - (DB + BC)
แนวคิด 1) AB + BD + DA = AA = 0
2) DE + BE = 0 เพราะ DE กับ BE เปนนิเสธกัน
3) CE + AD + AB = CE + BC + AB = AB + BC + CE = AE
4) (AE + DE) - (DB + BC) = (AE + EB) - (-CD) = AB + CD
= AB - AB = 0

258
E D
2. จากรูป กําหนด BC = a, BA = b, FE = c และ DB = d
c d
ใหเขียนเวกเตอรในแตละขอตอไปนี้ ในรูปของ a, b, c
F C
และ d
a
A b B

แนวคิด 1) BF = BC + CF = BC + BA = a + b
2) AE = AF + FE = BC + FE = a + c
3) AD = AB + BD = -BA - DB = -b - d
4) BE = BA + AE = BA - DB = b - d

ระดับทาทาย

3. จากรูป ใหเขียนเวกเตอรที่กําหนดตอไปนี้เปนเวกเตอรศูนยใหอยูในรูป a, b, c, d, e และ f

a f
d
c
b e

แนวคิด
f
d
e
a + b + e + f + d + c = 0

c
b

259
4. D C จากรูป ใหหาผลบวกของ EC + BA + EA

A B
แนวคิด EC + BA + EA = EC + EA + BA = BA เพราะ EC กับ EA เปนนิเสธกัน
ลองทําดู (หน้า 231)
กําหนด a เปนเวกเตอร์ที่มี ∙ a ∙ = 3 หน่วย ซึ่งมีทิศทาง ดังรูป

ให้หาขนาดและทิศทางของเวกเตอร์ในแต่ละข้อต่อไปนี้ พร้อมทั้งเขียนแสดงเวกเตอร์
1) 3a 2) -4a
แนวคิด 1) เนื่องจาก 3 > 0
ดังนั้น มีขนาดเท่ากับ ∙ 3 ∙∙ a ∙ = ∙ 3 ∙∙ 3 ∙ = 9 หน่วย
และมีทิศทางเดียวกับ a 3a


2) เนื่องจาก -4 < 0 -4a
ดังนั้น มีขนาดเท่ากับ ∙ -4 ∙∙ a ∙ = ∙ -4 ∙∙ 3 ∙
= 12 หน่วย
และมีทิศทางตรงกันข้ามกับ a

260
ลองทําดู (หน้า 232)
กําหนด a และ b ดังนี้
a b

ให้หาเวกเตอร์ผลลัพธ์ที่กําหนดให้ต่อไปนี้
1) 2a + b 2) 5a - 2b
แนวคิด 1) 2)
2a 2b
2a + b
5a
b

5a - 2b

ลองทําดู (หน้า 234)


A B กําหนดรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ABCD
ให้เขียนเวกเตอร์แทนการบวกของ CA + DB
E
D C
แนวคิด แบบที่ 1 ใ ช้บทนิยามการบวกเวกเตอร์ สร้างเวกเตอร์ที่เท่ากับเวกเตอร์ที่เปน
ตัวบวกโดยให้จุดเริ่มต้นของตัวบวกกับจุดสิ้นสุดของตัวตั้งเปนจุด
เดียวกัน F

A B

E
D C
261
ให้จุด F เปนจุดสิ้นสุดของ CA + DB
จะเห็นว่า ∆ CAF เปนรูปสามเหลี่ยมหน้าจั่ว มี AB เปนเส้นมัธยฐาน
ซึ่งตั้งฉากกับ CF และแบ่งครึ่ง CF ที่จุด B
จะได้ว่า CB = BF และ CF = CB + BF = 2CB
ดังนั้น CA + DB = CF = 2CB
แบบที่ 2 ใช้บทนิยามการคูณเวกเตอร์ด้วยสเกลาร์ หาเวกเตอร์ผลลัพธ์ของ
CA + DB
เนื่องจาก ABCD เปนรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า AB = ∙ AB∙ และ CD = ∙ CD∙
เมื่อใช้บทนิยามการคูณเวกเตอร์โดยสเกลาร์ จะได้ AB = -CD = DC
ดังนั้น CA + DB = (CB + BA) + (DC + CB)
= CB + BA + AB + CB
= 2CB
กําหนด a, b และ c ไม่เปนเวกเตอร์ศูนย์ ให้แสดง a ขนานกับ b เมื่อ 2a - 5b = b
และ a ขนานกับ c เมื่อ 2a + 3c = c - a
แนวคิด จากทฤษฎีบท 2 จะได้ว่า
2a - 5b = b และ 2a + 3c = c - a
2a = b + 5b และ 2a + a = c - 3c
2a = 6b และ 3a = -2c
a = 3b และ a = - 23 c
ดังนั้น a ขนานกับ b และ a ขนานกับ c

แบบฝึ
กทั
กษะ 3.2 ค (หน้า 235)

ระดับพื้นฐาน
1. กําหนด a เปนเวกเตอรที่มี ∙a∙ = 2 หนวย ซึ่งมีทิศทาง ดังรูป
a

ใหหาขนาดและทิศทางของเวกเตอรในแตละขอตอไปนี้ พรอมทั้งเขียนแสดงเวกเตอร
1) -4a 2) 3a
262
แนวคิด 1) เนื่องจาก -4 < 0
ดังนั้น -4a มีขนาดเท่ากับ ∙ -4 ∙∙ a ∙ = ∙ 4 ∙∙ 2 ∙ = 8 หน่วย
และมีทิศทางตรงกันข้ามกับ a
-4a

2) เนื่องจาก 3 > 0
ดังนั้น 3a มีขนาดเท่ากับ ∙ 3 ∙∙ a ∙ = ∙ 3 ∙∙ 2 ∙ = 6 หน่วย
และมีทิศทางเดียวกับ a
3a

2. กําหนด u และ v ดังนี้


u v

ใหหาเวกเตอรผลลัพธในแตละขอตอไปนี้
1) 2u + 3v 2) v - 3u 3) u - 2v
แนวคิด 1) 2) 3) u - 2v
3v
u
2v
v - 3u
2u + 3v 3u
2u
ระดับกลาง v
3. กําหนด u และ v ไมเปนเวกเตอรศูนย และ u = av ใหหาคา a เมื่อ ∙ u ∙ = 2 และ ∙ v ∙ = 4
แนวคิด จาก ∙ u ∙ = 2, ∙ v ∙ = 4 และ u = av
จะได้ว่า ∙ u ∙ = ∙ a ∙∙ v ∙
2 = ∙ a ∙(4)
∙ a ∙ = 1
2
a = ± 12
ดังนั้น a = ± 12
263
4. กําหนด u และ v ไมเปนเวกเตอรศูนย ใหแสดงวา u ขนานกับ v
1) 2u = 7v 2) 8u + 6v = 0
3) 5u + 6v = 4u + 2v 4) 2u + 5v = 4u - v
แนวคิด 1) 2u = 7 v 2) 8u + 6v = 0
u = 72 v 8u = -6v
ดังนั้น u // v u = - 34 v
ดังนั้น u // v
3) 5u + 6v = 4u + 2v 4) 2u + 5v = 4u - v
5u - 4u = 2v - 6v 2u - 4u = -v - 5v
u = -4v -2u = -6v
ดังนั้น u // v u = 3v
ดังนั้น u // v
5. กําหนด u และ v ไมขนานกันและไมเปนเวกเตอรศูนย ใหหาคาของ a และ b ที่ทําให
(2a + 3b - 1)u + (3a - 2b - 3)v = 0
แนวคิด เนื่องจาก ถ้า au + bv = 0 โดยที่ u, v 0 แล้ว a = 0 และ b = 0
และจาก (2a + 3b - 1)u + (3a - 2b - 3)v = 0
จะได้ว่า 2a + 3b - 1 = 0 .....(1)
3a - 2b - 3 = 0 .....(2)
(1) × 3 จะได้ 6a + 9b - 3 = 0 .....(3)
(2) × 2 จะได้ 6a - 4b - 6 = 0 .....(4)
(3) - (4) จะได้ 13b + 3 = 0
b = - 133
แทน b = - 133 ลงใน (1) จะได้ว่า
2a + 3(- 133 ) - 1 = 0
2a = 1 + 139
22
a = 13(2)
= 11
13
ดังนั้น ค่าของ a = 1113 และ b = - 13
3

264
6. กําหนด ABCD เปนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ซึ่งมีจุด M และจุด N เปนจุดกึ่งกลางของ BC
และ CD ตามลําดับ ใหแสดงวา AB = 43 u - 23 v เมื่อ u = AM และ v = AN
แนวคิด สร้างรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่โจทย์กําหนดได้ดังนี้
D N C เนื่องจาก AB = AM + MB
= u + 12 CB
v M = u + 12 NE
u = u + 12(AE - AN)
A E B = u + 12 (12 AB - AN)
= u + 14 AB - 12 v
AB - 14 AB = u - 12 v
(1 - 14) AB = u - 12 v
3 AB = u - 1 v
4 2
AB = 3 u - 23 v
4
7. กําหนดรูปสี่เหลี่ยมผืนผา ABCD ที่มีจุด E จุด F จุด G และจุด H เปนจุดกึ่งกลางของ
ดานทั้งสี่ ตามลําดับ ใหหาผลบวกของ DE + DF + BG + BH
แนวคิด สร้างรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าที่โจทย์กําหนดได้ดังนี้
D G C เนื่องจาก DE = DA - 12 BA
H F DF = DC - 12 BC
BG = BC - 12 DC
A B
E BH = BA - 12 DA
จะได้ว่า DE + DF + BG + BH
= DA - 12 BA + DC - 12 BC + BC - 12 DC + BA - 12 DA
= 12 DA + 12 BA + 12 DC + 12 BC
= 12 (DA + BA + DC + BC)

265
เ นื่องจาก ABCD เปนรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ทําให้ได้ว่า DA + BC = 0 และ
BA + DC = 0
ดังนั้น DE + DF + BG + BH = 0

ระดับทาทาย

8. E D จากรูป กําหนด F เปนจุดกึ่งกลางของ AD และ


F AB = ED = 2BC ใหหาคาของ a + b ที่ทําให
AF = aBC + bDC
A B C
แนวคิด เนื่องจากจุด F เปนจุดกึ่งกลางของ AD
จะได้ว่า AF = 12 AD
= 12 (AC + CD)
= 12 (3BC - DC)
= 32 BC - 12 DC
aBC + bDC = 32 BC - 12 DC
ดังนั้น a = 32 และ b = - 12
นั่นคือ a + b = 1
9.9. D C กําหนด ABCD เปนรูปสี่เหลี่ยมดานขนาน และให
CE = 23 CB, AO = aAE และ OB = bDB ใหหา
O E คาของ a และ b
A B
แนวคิด จาก AO = aAE
AB + BO = a(AB + BE)
AB - OB = a(AB + 13 BC)
AB - bDB = aAB + 3a BC
(1 - a)AB = bDB + 3a BC
266
(1 - a)AB = b(CB + AB) + 3a BC
(1 - a)AB = (3a - b)BC + bAB
(1 - a - b)AB = (3a - b)BC
จะได้ 1 - a - b = 0 .....(1)
a
3 = b .....(2)
แทน (2) ใน (1) จะได้ 1 - a - 3a = 0
1 = 43 a
a = 34
แทน a = 34 ใน (2) จะได้ b = 14
ดังนั้น a = 34 และ b = 14
ลองทําดู (หน้า 238)
ให้เขียนเวกเตอร์ 4 และ -2 โดยมีจุดเริ่มต้นที่จุด O(0, 0) และจุด P(2, -3) ตามลําดับ
-3 1
แนวคิด Y

X
O(0, 0)

P(2, -3)

ลองทําดู (หน้า 240)


กําหนด A มีพิกัด (2, 5), B มีพิกัด (5, 0) และ C มีพิกัด (-2, 3) ให้หา AB, BC และ CA
แนวคิด 1) AB = 5 - 2 = 3
0 - 5 -5
2) BC = -2 - 5 = -7
3 - 0 3
3) CA = 2 - (-2) = 4
5 - 3 2

267
กําหนด AB = 4 มีจุดเริ่มต้นที่ A(-3, 1) ให้หาพิกัดของจุด B
-3
แนวคิด ให้จุด B มีพิกัด (x1, y1)
จาก AB = 4 มีจุดเริ่มต้นที่ A(-3, 1)
-3
จะได้ว่า AB = y x1 - (-3) แสดงว่า 4 = x1 + 3
1 - 1 -3 y1 - 1
ดังนั้น 4 = x1 + 3 และ -3 = y1 - 1
x1 = 1 y1 = -2
นั่นคือ จุด B มีพิกัด (1, -2)
ลองทําดู (หน้า 241)
ให้หาเวกเตอร์ที่มีจุดเริ่มต้นที่จุดกําเนิด O และมีจุดสิ้นสุดที่จุด A(4, 3, 5), จุด B(-3, 4, 6)
และจุด C(-2, -3, -4) พร้อมทั้งเขียนเวกเตอร์ที่ได้ลงในระบบพิกัดฉาก
แนวคิด จากบทนิยาม จะได้ว่า
4 -3 -2
OA = 3 , OB = 4 , OC = -3
5 6 -4
เขียนเวกเตอร์ลงในระบบพิกัดฉากได้ ดังนี้
Z
B

O Y

C
X

268
ลองทําดู (หน้า 243)
กําหนด A มีพิกัด (5, 0, -4), B มีพิกัด (-4, 3, -2) และ C มีพิกัด (0, -4, 6) ให้หา AB และ BC
-4 - 5 -9 0 - (-4) 4
แนวคิด AB = 3 - 0 = 3 และ BC = -4 - 3 = -7
-2 - (-4) 2 6 - (-2) 8
ลองทําดู (หน้า 244)
3
กําหนด AB = -3 โดยมี A เปนจุดเริ่มต้นที่มีพิกัด (-1, 3, 0) ให้หาพิกัดของจุดสิ้นสุด B
6
แนวคิด ให้ B มีพิกัด (x1, y1, z1) และจาก A เปนจุดเริ่มต้นที่มีพิกัด (-1, 3, 0)
x1 - (-1) x1 + 1 3
จะได้ว่า AB = y1 - 3 แสดงว่า y1 - 3 = -3
z1 - 0 z1 6
ดังนั้น x1 + 1 = 3 y1 - 3 = -3 z1 = 6
x1 = 2 y1 = 0
นั่นคือ B มีพิกัด (2, 0, 6)
ลองทําดู (หน้า 245)
3 a 0
กําหนด u = 1 , v = b และ w = -2 โดยที่ v = -2u
4 c 5
ให้หา u + v, u - v, v + w, และ u - w
a 3 -6
แนวคิด จาก v = -2u จะได้ว่า b = (-2) 1 = -2
c 4 -8
-6
ดังนั้น a = -6, b = -2 และ c = -8 นั่นคือ v = -2
-8
3 -6 -3
ทําให้ได้ว่า u + v = 1 + -2 = -1
4 -8 -4

269
3 -6 9
u - v = 1 - -2 = 3
4 -8 12
-6 0 -6
v + w = -2 + -2 = -4
-8 5 -3
3 0 3
u - w = 1 - -2 = 3
4 5 -1

แบบฝึ
กทั
กษะ 3.3 ก (หน้า 245)

ระดับพื้นฐาน
1. ใหหา AB และ BA เมื่อกําหนดพิกัดจุด A และจุด B ในแตละขอตอไปนี้
1) A(4, -5), B(-3, 1) 2) A(5, 4), B(7, 3)
3) A(-3, 8), B(9, -4) 4) A(5, 0, 2), B(6, -2, 5)
5) A(-6, 7, 0) B(1, 1, 3) 6) A(0, 2, 9), B(-6, 5, 2)
แนวคิด 1) AB = -3 - 4 = -7 , BA = 4 - (-3) = 7
1 - (-5) 6 -5 - 1 -6
2) AB = 7 - 5 = 2 , BA = 5 - 7 = -2
3 - 4 -1 4 - 3 1
3) AB = 9 - (-3) = 12 , BA = -3 - 9 = -12
-4 - 8 -12 8 - (-4) 12
6 - 5 1 5 - 6 -1
4) AB = -2 - 0 = -2 , BA = 0 - (-2) = 2
5 - 2 3 2 - 5 -3
1 - (-6) 7 -6 - 1 -7
5) AB = 1 - 7 = -6 , BA = 7 - 1 = 6
3 - 0 3 0 - 3 -3
-6 - 0 -6 0 - (-6) 6
6) AB = 5 - 2 = 3 , BA = 2 - 5 = -3
2 - 9 -7 9 - 2 7

270
5 0
2. กําหนด AB = และ PQ = -7 ใหหาพิกัดในแตละขอตอไปนี้
-7 4
1) พิกัดของ A เมื่อ B มีพิกัด (6, -4)
2) พิกัดของ B เมื่อ A มีพิกัด (2, -6)
3) พิกัดของ P เมื่อ Q มีพิกัด (7, 3, 2)
4) พิกัดของ Q เมื่อ P มีพิกัด (-4, 0, 8)
แนวคิด 1) ให้พิกัดของ A คือ (x1, y1) และจาก AB = 5
-7
6 - x1 = 5
จะได้ -4 - y1 -7
นั่นคือ 6 - x1 = 5 และ -4 - y1 = -7
x1 = 1 y1 = 3
ดังนั้น พิกัดของจุด A คือ (1, 3)
2) ให้พิกัดของจุด B คือ (x2, y2) และจาก AB = 5
-7
x - 2
จะได้ y2 - (-6) = 5
2 -7
นั่นคือ x2 - 2 = 5 และ y2 - (-6) = -7
x2 = 7 y2 = -13
ดังนั้น พิกัดของจุด B คือ (7, -13) 0
3) ให้พิกัดของจุด P คือ (x1, y1, z1) และจาก PQ = -7
7 - x1 0 4
จะได้ 3 - y1 = -7
2 - z1 4
นั่นคือ 7 - x1 = 0 จะได้ x1 = 7
3 - y1 = -7 จะได้ y1 = 10
2 - z1 = 4 จะได้ z1 = -2
ดังนั้น พิกัดของจุด P คือ (7, 10, -2) 0
4) ให้พิกัดของจุด Q คือ (x2, y2, z2) และจาก PQ = -7
x2 - (-4) 0 4
จะได้ y2 - 0 = -7
z2 - 8 4

271
นั่นคือ x2 - (-4) = 0 จะได้ x2 = -4
y2 - 0 = -7 จะได้ y2 = -7
z2 - 8 = 4 จะได้ z2 = 12
ดังนั้น พิกัดของจุด Q คือ (-4, -7, 12)

ระดับกลาง
2 7 1 7
3. กําหนด u = , v = , p = 5 และ q = -6 ใหหาเวกเตอรในแตละขอตอไปนี้
-5 -1 2 8
1) 2u + v 2) u - 3v
3) -p + 2q 4) 5p - 2q
5) นิเสธของ 3u + 4v 6) นิเสธของ 4p - 3q
แนวคิด 1) 2u + v = 2 2 + 7
-5 -1
= 4 + 7
-10 -1
= 11
-11
2) u - 3v = 2 - 3 7
-5 -1
= 2 - 21
-5 -3
= -19
-2
1 7
3) -p + 2q = - 5 + 2 -6
2 8
-1 14
= -5 + -12
-2 16
13
= -17
14

272
1 7
4) 5p - 2q = 5 5 - 2 -6
2 8
5 14
= 25 - -12
10 16
-9
= 37
-6
5) 3u + 4v = 3 2 + 4 7
-5 -1
= 6 + 28
-15 -4
= 34
-19
นิเสธของ 3u + 4v = - 34 = -34
-19 19
1 7
6) 4p - 3q = 4 5 - 3 -6
2 8
4 21
= 20 - -18
8 24
-17
= 38
-16
-17 17
นิเสธของ 4p - 3q = - 38 = -38
-16 16
4. กําหนด u = 5 , v = -2 , w = 1 , p = 4 , q = 6 และ r = 0
3 6 3 3 -4 8
ใหหาคาของ a และ b ในแตละขอตอไปนี้
1) w = au + bv 2) u + av + bw = 0
3) br = ap - q 4) r = ap - bq

273
แนวคิด 1) จาก w = au + bv
จะได้ว่า 1 = a  5 + b  -2
3 3 6
1 = 5a + -2b
3 3a 6b
1 = 5a - 2b
3 3a + 6b
เนื่องจาก 1 = 5a - 2b .....(1)
3 = 3a + 6b .....(2)
(1) × 3 จะได้ 3 = 15a - 6b .....(3)
(2) + (3) จะได้ 6 = 18a
a = 13
แทน a = 13 ลงใน (2) จะได้
3 = 3(13) + 6b
6b = 2
b = 13
ดังนั้น ค่าของ a = 13 และ b = 13
2) จาก u + av + bw = 0
จะได้ว่า 5 + a  -2 + b  1 = 0
3 6 3
-2a + b = -5
6a 3b -3
-2a + b = -5
6a + 3b -3
เนื่องจาก -2a + b = -5 .....(1)
6a + 3b = -3 .....(2)
(1) × 3 จะได้ -6a + 3b = -15 .....(3)
(2) + (3) จะได้ 6b = -18
b = -3

274
แทน b = -3 ลงใน (1) จะได้
-2a + (-3) = -5
-2a = -2
a = 1
ดังนั้น ค่าของ a = 1 และ b = -3
3) จาก br = ap - q
จะได้ว่า b  0 = a  4 - 6
8 3 -4
0 = 4a - 6
8b 3a -4
0 - 4a = -6
8b - 3a 4
เนื่องจาก -4a = -6
a = 32
8b - 3a = 4 .....(1)
แทน a = 32 ลงใน (1) จะได้
8b - 3(32) = 4
8b - 92 = 4
8b = 172
b = 17
16
ดังนั้น ค่าของ a = 32 และ b = 17 16
4) จาก r = ap - bq
จะได้ว่า 0 = a  4 - b  6
8 3 -4
0 = 4a - 6b
8 3a -4b
0 = 4a - 6b
8 3a + 4b
เนื่องจาก 0 = 4a - 6b .....(1)
8 = 3a + 4b .....(2)
(1) × 3 จะได้ 0 = 12a - 18b .....(3)
(2) × 4 จะได้ 32 = 12a + 16b .....(4)
275
(4) - (3) จะได้ 32 = 34b
b = 16
17
แทน b = 16 17 ลงใน (1) จะได้ว่า
0 = 4a - 6(1617)
4a = 96
17
a = 24
17
ดังนั้น ค่าของ a = 24
17 และ b = 17
16

5. กําหนด u = 3 และ v = 4 ใหเขียน 18 ในรูป au + bv


4 3 17
แนวคิด จากโจทย์ u = 3 , v = 4 และ 18 = au + bv
4 3 17
จะได้ว่า 18 = a 3 + b 4
17 4 3
18 = 3a + 4b
17 4a 3b
18 = 3a + 4b
17 4a + 3b
เนื่องจาก 18 = 3a + 4b .....(1)
17 = 4a + 3b .....(2)
(1) × 4 จะได้ 72 = 12a + 16b .....(3)
(2) × 3 จะได้ 51 = 12a + 9b .....(4)
(3) - (4) จะได้ 21 = 7b
b = 3
แทน b = 3 ลงใน (2) จะได้ว่า
17 = 4a + 3(3)
4a = 8
a = 2
ดังนั้น 18 = 2 3 + 3 4
17 4 3
276
1 -7 -11
6. กําหนด u = 2 และ v = 0 ใหเขียน 6 ในรูป au + bv
3 5 19
1 -7 -11
แนวคิด จากโจทย์ u = 2 , v = 0 และ 6 = au + bv
3 5 19
-11 1 -7
จะได้ว่า 6 = a 2 + b 0
19 3 5
-11 a -7b
6 = 2a + 0
19 3a 5b
-11 a - 7b
6 = 2a
19 3a + 5b
เนื่องจาก -11 = a - 7b .....(1)
6 = 2a .....(2)
19 = 3a + 5b .....(3)
จาก (2) จะได้ a = 3
แทน a = 3 ลงใน (1) จะได้ว่า
-11 = 3 - 7b
7b = 14
b = 2
-11 1 -7
ดังนั้น 6 = 3 2 + 2 0
19 3 5
ระดับทาทาย

7. พิจารณาวาเวกเตอรในแตละขอตอไปนี้คูใดบางที่ขนานกัน
1) 1 , 3 , 9 , 4 , 1 , 8 , 2 และ -3
3 1 3 0 4 0 6 -12

1 -2 1 3 2 - 13
2) 3 , 0 , 1 , 3 , 0 และ -1
1 -3 3 9 -3 - 13
277
แนวคิด 1) เวกเตอร์ที่ขนานกัน คือ 1 ขนานกับ 2 , -3
3 6 -12
3 ขนานกับ 9
1 3
และ 4 ขนานกับ 8
0 0
- 1
1 3
2) เวกเตอร์ที่ขนานกัน คือ 3 ขนานกับ -1
1 - 13
1 3
1 ขนานกับ 3
3 9
ลองทําดู (หน้า 248)
ให้หาขนาดของเวกเตอร์ในแต่ละข้อต่อไปนี้
1) u = 6
8
2) AB โดยที่ A มีพิกัดเปน (2, 1, -3) และ B มีพิกัดเปน (-1, 4, 2)
แนวคิด 1) เนื่องจากเวกเตอร์ a ใด ๆ จะมีขนาดเท่ากับ a2 + b2
b
2 2
ดังนั้น ∙ u ∙ = 6 + 8
= 100
= 10
2) จาก A มีพิกัดเปน (2, 1, -3) และ B มีพิกัดเปน (-1, 4, 2)
-1 - 2 -3
จะได้ว่า AB = 4 - 1 = 3
2 - (-3) 5
a
เนื่องจากเวกเตอร์ b ใด ๆ จะมีขนาดเท่ากับ a2 + b2 + c2
c
ดังนั้น ∙ AB ∙ = (-3)2 + 32 + 52
= 43

278
ลองทําดู (หน้า 252)
กําหนดเวกเตอร์มีจุดเริ่มต้นที่ P(-3, 6) จุดสิ้นสุดที่ Q(-1, 3) ให้หาเวกเตอร์หนึ่งหน่วยที่ขนานกับ
PQ และเขียนเวกเตอร์ให้อยู่ในรูป i และ j
แนวคิด จากเวกเตอร์ที่กําหนดมีจุดเริ่มต้นที่ P(-3, 6) จุดสิ้นสุดที่ Q(-1, 3)
จะได้ว่า PQ = -1 - (-3) = 2
3 - 6 -3
ดังนั้น 2 2
∙ PQ ∙ = 2 + (-3) = 13

เนื่องจากเวกเตอร์หนึ่งหน่วยที่ขนานกับ a คือ ± 2 1 2 a
b a + b b
ดังนั้น เวกเตอร์หนึ่งหน่วยที่ขนานกับ 2 คือ ± 1 2 = ± 13
13 -3
2
-3 13 -3
หรือ 2 13 3 13
13 i - 13 j
และ - 2 13 3 13
13 i + 13 j
ลองทําดู (หน้า 253)
กําหนดเวกเตอร์มีจุดเริ่มต้นที่ P(2, 4, 0) จุดสิ้นสุดที่ Q(-2, 0, 4) ให้หาเวกเตอร์หนึ่งหน่วย
ที่ขนานกับ PQ และเขียน PQ ให้อยู่ในรูป i , j และ k
แนวคิด จากเวกเตอร์ที่กําหนดมีจุดเริ่มต้นที่ P(2, 4, 0) จุดสิ้นสุดที่ Q(-2, 0, 4)
-2 - 2 -4
จะได้ว่า PQ = 0 - 4 = -4
4 - 0 4
2 2 2
ดังนั้น ∙ PQ ∙ = (-4) + (-4) + 4 = 4 3
a a
เนื่องจากเวกเตอร์หนึ่งหน่วยที่ขนานกับ b คือ 2 2 2 b
± 1
c a + b + c c
-4 -4 -4
1
ดังนั้น เวกเตอร์หนึ่งหน่วยที่ขนานกับ -4 คือ ± -4 = ± 12 -4 3
4 4 3 4 4
หรือ - 33 i - 33 j + 33 k
และ 33 i + 33 j - 33 k

279
ลองทําดู (หน้า 254)
2
กําหนด u = 3 ให้หาโคไซน์แสดงทิศทางของ u
-1 2
แนวคิด จาก u = 3 จะได้ ∙ u ∙ = 22 + 32 + (-1)2 = 4 + 9 + 1 = 14
-1
ดังนั้น โคไซน์แสดงทิศทางของ u คือ 2 , 3 , - 1 หรือ 14 3 14 14
14 14 14 7 , 14 , - 14
ให้หาโคไซน์แสดงทิศทางของเวกเตอร์ที่มีจุดเริ่มต้นที่ P(-1, 2, 1) และมีจุดสิ้นสุดที่ Q(-3, -2, 0)
-3 - (-1) -2
แนวคิด จาก P(-1, 2, 1) และ Q(-3, -2, 0) จะได้ PQ = -2 - 2 = -4
2 2 2
0 - 1 -1
และ ∙ PQ ∙ = (-2) + (-4) + (-1) = 21
ดังนั้น โคไซน์แสดงทิศทางของ PQ คือ - 2 , - 4 , - 1
21 21 21
หรือ - 2 21 4 21 21
21 , - 21 , - 21
ลองทําดู (หน้า 256)
ให้ตรวจสอบว่าเวกเตอร์ในแต่ละข้อต่อไปนี้ เวกเตอร์คู่ใดมีทิศทางเดียวกัน เวกเตอร์คู่ใดมีทิศทาง
ตรงกันข้าม และเวกเตอร์คู่ใดขนานกัน
1) AB มีจุดเริ่มต้นที่ A(4, -2, 5) มีจุดสิ้นสุดที่ B(3, 1, 2)
2) PQ มีจุดเริ่มต้นที่ P(-3, 4, 0) มีจุดสิ้นสุดที่ Q(-2, 1, 3)
3) u = -2 i + 6 j - 6k
แนวคิด 1) จากจุดเริ่มต้น A(4, -2, 5) และจุดสิ้นสุดที่ B(3, 1, 2)
3 - 4 -1
จะได้ AB = 1 - (-2) = 3
2 - 5 -3
ดังนั้น ∙ AB ∙ = (-1)2 + 32 + (-3)2 = 19
นั่นคือ โคไซน์แสดงทิศทางของ AB คือ - 1 , 3 , - 3
19 19 19
19 3 19
หรือ - 19 , 19 , - 19 3 19

280
2) จากจุดเริ่มต้น P(-3, 4, 0) และจุดสิ้นสุดที่ Q(-2, 1, 3)
-2 - (-3) 1
จะได้ PQ = 1 - 4 = -3
3 - 0 3
ดังนั้น ∙ PQ ∙ = 12 + (-3)2 + 32 = 19
นั่นคือ โคไซน์แสดงทิศทางของ PQ คือ 1 , - 3 , 3
19 19 19
19 3 19
หรือ 19 , - 19 , 19 3 19
3) จาก u = -2 i + 6 j - 6k
จะได้ ∙ u ∙ = (-2)2 + 62 + (-6)2 = 2 19
ดังนั้น โคไซน์แสดงทิศทางของ u คือ - 2 , 6 , - 6
2 19 2 19 2 19
19 3 19
หรือ - 19 , 19 , - 19 3 19

แบบฝึ
กทั
กษะ 3.3 ข (หน้า 256)

ระดับพื้นฐาน
1. ใหหาขนาดของเวกเตอรในแตละขอตอไปนี้
1) 2 , 4 , -7 , -8
3 -3 -24 15
1 4 -2
2) 2 , 5 , -3
-3 -6 0
3) PQ เมื่อพิกัดของ P คือ (1, 2) และพิกัดของ Q คือ (-3, 4)
4) MN เมื่อมีจุดเริ่มต้นที่ M(4, -3, 2) และมีจุดสิ้นสุดที่ N(-2, 1, -3)
แนวคิด 1) ขนาดของ 2 = 22 + 32 = 4 + 9 = 13
3
ขนาดของ 4 = 42 + (-3)2 = 16 + 9 = 25 = 5
-3
ขนาดของ -7 = (-7)2 + (-24)2 = 49 + 576 = 625 = 25
-24
ขนาดของ -8 = (-8)2 + 152 = 64 + 225 = 289 = 17
15
281
1
2) ขนาดของ 2 = 12 + 22 + (-3)2 = 1 + 4 + 9 = 14
-3
4
ขนาดของ 5 = 42 + 52 + (-6)2 = 16 + 25 + 36 = 77
-6
-2
ขนาดของ -3 = (-2)2 + (-3)2 + 02 = 4 + 9 = 13
0
3) จาก PQ = -3 - 1 = -4
4 - 2 2
จะได้ว่า ∙ PQ ∙ = (-4)2 + 22 = 16 + 4 = 20 = 2 5
-2 - 4 -6
4) จาก MN = 1 - (-3) = 4
-3 - 2 -5
จะได้ว่า ∙ MN ∙ = (-6)2 + 42 + (-5)2 = 36 + 16 + 25 = 77
2. ใหหาขนาดของเวกเตอรในแตละขอตอไปนี้
1) u + v เมื่อ u = -4 และ v = 6
7 -3
2) 2u - 3v เมื่อ u = 1 และ v = -2
-2 -3
3) u - v เมื่อ u = 4 i - 3 j + 2k และ v = -2 i + 3 j - 6k
แนวคิด 1) จาก u + v = -4 + 6 = -4 + 6 = 2
7 -3 7 - 3 4
จะได้ว่า ∙ u + v ∙ = 22 + 42 = 4 + 16 = 20 = 2 5
2) จาก 2u - 3v = 2 1 - 3 -2 = 2 - -6 = 2 + 6 = 8
-2 -3 -4 -9 -4 + 9 5
จะได้ว่า ∙ 2u - 3v ∙ = 82 + 52 = 64 + 25 = 89
4 -2 4 + 2 6
3) จาก u - v = -3 - 3 = -3 - 3 = -6
2 -6 2 + 6 8
จะได้ว่า ∙ u - v ∙ = 62 + (-6)2 + 82 = 36 + 36 + 64 = 136 = 2 34

282
3. ใหหาคา x ที่ทําให ∙ u ∙ = ∙ v ∙ เมื่อ
4 3 -1 2
1) u = และ v = 2) u = 0 และ v = x
-5 x -3 3
2
แนวคิด 1) จาก ∙ u ∙ = ∙ v ∙ จะได้ว่า ∙ u ∙ = ∙ v ∙ 2

จะได้ 2 2
∙ u ∙ = 4 + (-5) = 16 + 25 = 41
และ 2 2
∙ v ∙ = 3 + x = 9 + x
2

ทําให้ได้ว่า 41 = 9 + x2
ดังนั้น x = ± 4 2
2 2 2
2) จาก ∙ u ∙ = (-1) + 0 + (-3) = 1 + 9 = 10
และ 2 2 2 2
∙ v ∙ = 2 + x + 3 = 4 + x + 9 = 13 + x
2

ทําให้ได้ว่า 10 = 13 + x2
x2 = -3
ดังนั้น ไม่มีจํานวนจริง x ที่ทําให้ ∙ u ∙ = ∙ v ∙
4. ใหหาเวกเตอรหนึ่งหนวยที่มีทิศทางเดียวกับเวกเตอรที่กําหนดในแตละขอตอไปนี้ โดยเขียน
ในรูปของ i และ j ในระบบพิกัดฉากสองมิติ และเขียนในรูปของ i , j และ k ในระบบ
พิกัดฉากสามมิติ
3 -3
1) u = 2) v = -1
2 4
3) MN โดยที่ M(-2, 5) และ N(4, -3) 4) PQ โดยที่ P(1, -2, 4) และ Q(-3, -1, 0)
แนวคิด 1) เนื่องจาก ∙ u ∙ = 32 + 22 = 9 + 4 = 13
จะได้เวกเตอร์หนึ่งหน่วยที่มีทิศทางเดียวกันกับ u เท่ากับ 1 3
3 2 3 13 2 13 13 2
หรือ i + j หรือ 13 i + 13 j
13 13
2) เนื่องจาก ∙ v ∙ = (-3)2 + (-1)2 + 42 = 9 + 1 + 16 = 26
-3
จะได้เวกเตอร์หนึ่งหน่วยที่มีทิศทางเดียวกันกับ v เท่ากับ -1 1
26 4
หรือ - 3 i - 1 j + 4 k หรือ - 3 26 26 2 26
26 i - 26 j + 26 k
26 26 26

283
3) เนื่องจาก MN = 4 - (-2) = 6
-3 - 5 -8
2 2
และ ∙ MN ∙ = 6 + (-8) = 36 + 64 = 100 = 10
จะได้เวกเตอร์หนึ่งหน่วยที่มีทิศทางเดียวกันกับ MN เท่ากับ 101 6
-8
หรือ 35 i - 45 j
-3 - 1 -4
4) เนื่องจาก PQ = -1 - (-2) = 1
0 - 4 -4
และ ∙ PQ ∙ = (-4)2 + 12 + (-4)2 = 16 + 1 + 16 = 33
-4
จะได้เวกเตอร์หนึ่งหน่วยที่มีทิศทางเดียวกันกับ PQ เท่ากับ 1
33 -41
หรือ - 4 i + 1 j - 4 k หรือ - 4 33 33 4 33
33 i + 33 j - 33 k
33 33 33
ระดับกลาง

5. ใหหาเวกเตอรที่มีขนาด 2 หนวย และมีทิศทางเดียวกับ u = 4


5
2 2
แนวคิด เนื่องจาก ∙ u ∙ = 4 + 5 = 16 + 25 = 41
จะได้เวกเตอร์ที่มีขนาด 2 หน่วยที่มีทิศทางเดียวกันกับ u เท่ากับ 2 4
41 5
8 8 41
41
หรือ 10 หรือ 10 41 41
41 41
6. ใหหาเวกเตอรที่มีขนาด 3 หนวย และมีทิศทางตรงกันขามกับ AB ที่มี A(5, -3)
และ B(2, -6)
แนวคิด เนื่องจาก AB = 2 - 5 = -3
-6 - (-3) -3
2 2
และ ∙ AB ∙ = (-3) + (-3) = 9 + 9 = 18 = 3 2
จะได้เวกเตอร์ที่มีขนาด 3 หน่วย แต่มีทิศทางตรงกันข้ามกับ AB เท่ากับ
3 3 2
2
- 3 -3 หรือ 3 หรือ 3 2 2
3 2 -3 2
2
284
7. ใหหาเวกเตอรที่มีขนาด 4 หนวย และมีทิศทางตรงกันขามกับ v = -2
2 2
7
แนวคิด เนื่องจาก ∙ v∙ = (-2) + 7 = 4 + 49 = 53
จะได้เวกเตอร์ที่มีขนาด 4 หน่วย แต่มีทิศทางตรงกันข้ามกับ v เท่ากับ
8 8 53
- 4 -2 53 4153
หรือ 28 หรือ 28 53
53 7 - - 53
53
8. ใหหาเวกเตอรที่มีขนาด 2 หนวย และขนานกับ PQ โดยที่ P(-1, 2, 3) และ Q(-2, 4, -3)
-2 - (-1) -1
แนวคิด เนื่องจาก PQ = 4 - 2 = 2
-3 - 3 -6
และ 2 2 2
∙ PQ ∙ = (-1) + 2 + (-6) = 1 + 4 + 36 = 41
-1
จะได้เวกเตอร์ที่มีขนาด 2 หน่วย และขนานกับ PQ เท่ากับ ± 2 2
41 -6
- 2 41
41
2 41
41
-1
= ± 2 41 4 41 4 41
41 2 หรือ 41 และ - 41
-6
- 12 41
41
12 41
41
9. ใหหาเวกเตอรในแตละขอตอไปนี้ พรอมทั้งบอกขนาดและโคไซนแสดงทิศทางของเวกเตอร
ซึ่งมีจุดเริ่มตนและจุดสิ้นสุด ดังนี้
1) จุดเริ่มต้น P(2, 3, 4) และจุดสิ้นสุด Q(2, -3, 1)
2) จุดเริ่มต้น P(-1, 4, 2) และจุดสิ้นสุด Q(-2, 4, 3)
2 - 2 0
แนวคิด 1) PQ = -3 - 3 = -6
1 - 4 -3
= 02 + (-6)2 + (-3)2 = 36 + 9 = 45 = 3 5
∙ PQ ∙
ดังนั้น โคไซน์แสดงทิศทาง PQ คือ 0 , -6 , -3
3 5 3 5 3 5
หรือ 0, -2 5
5 5, - 5

285
-2 - (-1) -1
2) จาก PQ = 4 - 4 = 0
3 - 2 1
จะได้ ∙ PQ ∙ = (-1)2 + 02 + 12 = 1 + 0 + 1 = 2
ดังนั้น โคไซน์แสดงทิศทาง PQ คือ - 1 , 0 , 1 หรือ - 22, 0, 22
2 2 2
10. ใหตรวจสอบวาเวกเตอรที่กําหนดในแตละขอตอไปนี้ เวกเตอรใดบางเปนเวกเตอรที่มี
ทิศทางเดียวกัน มีทิศทางตรงกันขาม และขนานกัน
1) เวกเตอร์ PQ มีจุดเริ่มต้นที่ P(-2, 4, -3) และมีจุดสิ้นสุดที่ Q(4, 2, -1)
2) เวกเตอร์ OA มีจุดเริ่มต้นที่จุดกําเนิด และมีจุดสิ้นสุดที่ A(-6, 2, -2)
3
3) v = -1
1
แนวคิด เวกเตอร์ในระบบพิกดั ฉากสามมิต ิ ต้องใช้โคไซน์แสดงทิศทางมาตรวจสอบทิศทาง
ของเวกเตอร์ 4 - (-2) 6
1) จาก PQ = 2 - 4 = -2
-1 - (-3) 2
2 2 2
จะได้ ∙ PQ ∙ = 6 + (-2) + 2
= 36 + 4 + 4 = 44 = 2 11
ดังนั้น โคไซน์แสดงทิศทาง PQ คือ 6 , - 2 , 2
2 11 2 11 2 11
3 11 11
หรือ 11 , - 11 , 11 11
-6 - 0 -6
2) จาก OA = 2 - 0 = 2
-2 - 0 -2
จะได้ ∙ OA ∙ = (-6)2 + 22 + (-2)2
= 36 + 4 + 4 = 44 = 2 11
ดังนั้น โคไซน์แสดงทิศทาง OA คือ - 6 , 2 , - 2
2 11 2 11 2 11
3 หรือ - 3 11, 11, - 11
11 11 11
3) จาก v = -1
1
จะได้ ∙ v∙ = 32 + (-1)2 + 12 = 9 + 1 + 1 = 11

286
ดังนั้น โคไซน์แสดงทิศทางของ v คือ 3 , - 1 , 1
11 11 11
หรือ 3 11 , - 11, 11
11 11 11
จากข้อ 1), 2) และ 3) จะได้ว่า
- PQ และ v มีโคไซน์แสดงทิศทางชุดเดียวกัน ดังนั้น PQ และ v มีทิศทาง
เดียวกัน
- PQ และ OA กับ v และ OA มีโคไซน์แสดงทิศทางเปนจํานวนตรงข้ามกัน
ดังนั้น PQ และ OA กับ v และ OA มีทิศทางตรงข้ามกัน
- PQ, OA และ v เปนเวกเตอร์ที่ขนานกัน

ระดับทาทาย

11. รูปสามเหลี่ยม ABC มี A( A(x, y), B(6, 4) และ C(2, 3) เปนจุดยอดมุม ถาจุด P เปนจุด
บนดาน AB และอยูหางจากจุด A เทากับ 35 ของระยะระหวาง A กับ B ถา CP = i + 3 j
แลว xy เทากับเทาไร
แนวคิด กําหนด P(p1, p2) จะได้ CP = p p1 - 2 = 1
2 - 3 3
ดังนั้น p1 - 2 = 1 p2 - 3 = 3
p1 = 3 p2 = 6
จากจุด P อยู่ห่างจากจุด A เท่ากับ 35 ของระยะระหว่าง A และ B
จะได้ 3 AB = AP
5
3 6 - x = 3 - x
5 4 - y 6 - y
35 (6 - x) 3 - x
3 (4 - y) =
5 6 - y
ดังนั้น 35 (6 - x) = 3 - x 3 (4 - y) = 6 - y
5
18 - 3x = 15 - 5x 12 - 3y = 30 - 5y
2x = -3 2y = 18
x = -1.5 y = 9
จะได้ว่า xy = (-1.5)(9)
= -13.5
287
ลองทําดู (หน้า 259)
กําหนด u = -6 i + 4 j และ v = 5 i - 7 j ให้หาค่าของ u • v
แนวคิด จากบทนิยาม จะได้ u = (-6 i + 4 j ) • (5 i - 7 j)
= (-6)(5) + (4)(-7)
= -30 - 28
= -58
3 -2
กําหนด u = -2 และ v = 1 ให้หาค่าของ u • v
1 -3 3 -2
แนวคิด จากบทนิยาม จะได้ u • v = -2 • 1
1 -3
= 3(-2) + (-2)(1) + 1(-3)
= -6 - 2 - 3
= -11

Thinking Time (หน้า 259)


นักเรียนคิดว่า u • v และ v • u มีค่าเท่ากันหรือไม่
แนวคิด กรณีที่ 1 ให้ u, v เปนเวกเตอร์ใด ๆ ในสองมิติ เมื่อ u = x 1 และ v = x2
y1 y2
x
จะได้ u • v = y1 • y2 x
1 2
= x1x2 + y1y2
และ x2 • x1
v • u = y
2 y1
จะได้ = x2x1 + y2y1
= x1x2 + y1y2 (สมบัติการสลับที่ของการคูณ)
x1 x2
กรณีที่ 2 ให้ u, v เปนเวกเตอร์ใด ๆ ในสามมิติ เมื่อ u = y1 และ v = y2
x1 x2 z1 z2
จะได้ u • v = y1 • y2
z1 z2
= x1x2 + y1y2 + z1z2

288
x2 x1
และ v • u = y2 • y1
z2 z1
= x2x1 + y2y1 + z2z1
= x1x2 + y1y2 + z1x2 (สมบัติการสลับที่ของการคูณ)
ดังนั้น จากทั้ง 2 กรณี จะได้ว่า u • v = v • u
ลองทําดู (หน้า 261)
ให้พิจารณาว่าเวกเตอร์ในข้อใดเปนเวกเตอร์ที่ตั้งฉากกัน 1 3
1) -3 , 10 2) 2 , 1 3) -1 , 1
5 6 3 -2 1 -2
แนวคิด -3 10
1) • = (-3)(10) + 5(6) = -30 + 30 = 0
5 6
ดังนั้น -3 และ 10 เปนเวกเตอร์ที่ตั้งฉากซึ่งกันและกัน
5 6
2) 2 • 1 = 2(1) + 3(-2) = 2 - 6 = -4
3 -2
ดังนั้น 2 และ 1 เปนเวกเตอร์ที่ไม่ตั้งฉากซึ่งกันและกัน
3 -2
1 3
3) -1 • 1 = 1(3) + (-1)(1) + 1(-2) = 3 - 1 - 2 = 0
1 -2
1 3
ดังนั้น -1 และ 1 เปนเวกเตอร์ที่ตั้งฉากซึ่งกันและกัน
1 -2
ลองทําดู (หน้า 262)
กําหนด u = 4 i + 10 j และ v = 2 i + 5 j ให้หามุม θ ซึ่งเปนมุมระหว่าง u และ v
แนวคิด จาก u = 4 i + 10 j 4 = และ v = 2 i + 5 j = 2
10 5
จะได้ u • v = 4 • 2 = 4(2) + 10(5) = 8 + 50 = 58
10 5
2 2
∙ u ∙ = 4 + 10 = 16 + 100 = 116 = 2 29
2 2
∙ v ∙ = 2 + 5 = 4 + 25 = 29

289
เนื่องจาก u • v = ∙ u ∙∙ v ∙ cos θ
จะได้ว่า 58 = 2 29 • 29 cos θ
ดังนั้น cos θ = 2(29)58 = 1
เนื่องจาก cos 0 ํ = 1
ดังนั้น θ = 0 ํ
นั่นคือ u และ v ทํามุมกัน 0 องศา
ลองทําดู (หน้า 263)
ให้แสดงว่ารูปสามเหลี่ยมที่มีจุดยอด P(3, 4, 0), Q(3, 4, 12) และ R(6, 8, 0) เปนรูปสามเหลี่ยม
มุมฉาก
แนวคิด จากโจทย์ P(3, 4, 0), Q(3, 4, 12) และ R(6, 8, 0)
3 - 3 0 6 - 3 3
จะได้ PQ = 4 - 4 = 0 และ PR = 8 - 4 = 4
12 - 0 12 0 - 0 0
0 3
และ PQ • PR = 0 • 4 = 0(3) + 0(4) + 12(0) = 0
12 0
นั่นคือ PQ ตั้งฉากกับ PR
ดังนั้น PQR เปนรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก
กําหนด ∙ u ∙ = 2, ∙ v ∙ = 4 และ ∙ u - v ∙ = 5 ให้หาค่าของ ∙ u + v ∙
แนวคิด จากสมบัติ u • u = ∙ u ∙2
2
จะได้ว่า ∙ u - v ∙ = (u - v) • (u - v)
= u • u - 2u • v - v • v
= ∙ u ∙2 - 2u • v - ∙ v ∙2
2 2 2
ดังนั้น ∙ u - v ∙ = ∙ u ∙ - 2u • v - ∙ v ∙ .....(1)
แทน ∙ u ∙ = 2, ∙ v ∙ = 4 และ ∙ u - v ∙ = 5 ใน (1) จะได้
52 = 22 - 2u • v - 42
25 = 4 - 2u • v + 16
2u • v = -5
u • v = - 52
290
ในทํานองเดียวกัน ∙ u + v ∙2 = ∙ u ∙2 + 2u • v + ∙ v ∙2 .....(2)
แทน ∙ u ∙ = 2, ∙ v ∙ = 4 และ u • v = - 52 ใน (2) จะได้
∙ u + v ∙ = 2 + 2(- 5) + 4
2 2 2
2
= 4 - 5 + 16
= 15
ดังนั้น ∙ u + v ∙ = 15

แบบฝึ
กทั
กษะ 3.4 (หน้า 264)

ระดับพื้นฐาน
1. ใหหาคาของ u • v เมื่อกําหนด u และ v ในแตละขอตอไปนี้
1) u = 5 , v = -2 2) u = 4 i - 9 j , v = -2 i + 3 j
6 3
3 7
3) u = -4 , v = 6 4) u = 2 i - 3 j + 5k , v = -3 i + 4 j - 2k
5 -4
แนวคิด 1) u • v = 5 • -2
6 3
= 5(-2) + 6(3) = -10 + 18 = 8
2) u • v = 4 • -2
-9 3
= 4(-2) + (-9)(3) = -8 - 27 = -35
3 7
3) u • v = -4 • 6
5 -4
= 3(7) + (-4)(6) + 5(-4) = 21 - 24 - 20 = -23
2 -3
4) u • v = -3 • 4
5 -2
= 2(-3) + (-3)(4) + 5(-2) = -6 - 12 - 10 = -28

291
2. ใหหาขนาดของมุมระหวางเวกเตอรในแตละขอตอไปนี้
1) u = 3 i + j และ v = -2 i + 6 j 2) u = 4 และ v = 3
-3 -5
1 1
3) u = - i + j - k และ v = i - j + k 4) u = -1 และ v = 1
1 -1
แนวคิด 1) จาก 2 2
∙ u ∙ = 3 + 1 = 9 + 1 = 10
2 2
∙ v ∙ = (-2) + 6 = 4 + 36 = 40 = 2 10

u • v = 3 • -2 = 3(-2) + 1(6) = -6 + 6 = 0
1 6
เนื่องจาก u • v = ∙ u ∙∙ v ∙ cos θ
จะได้ว่า 0 = 10 (2 10)cos θ
cos θ = 0
เนื่องจาก cos 90 ํ = 0 จะได้ว่า θ = 90 ํ
ดังนั้น มุมระหว่างเวกเตอร์ u กับ v เท่ากับ 90 องศา
2) จาก 2 2
∙ u ∙ = 4 + (-3) = 16 + 9 = 25 = 5
2 2
∙ v ∙ = 3 + (-5) = 9 + 25 = 34

u • v = 4 • 3 = 4(3) + (-3)(-5) = 12 + 15 = 27
-3 -5
เนื่องจาก u • v = ∙ u ∙∙ v ∙ cos θ
จะได้ว่า 27 = 5( 34) cos θ
cos θ = 5 27 34
= 27 34
170
θ = arccos 27 34
170
ดังนั้น มุมระหว่างเวกเตอร์ u กับ v เท่ากับ arccos 27 34
170
3) จาก ∙ u ∙ = (-1)2 + 12 + (-1)2 = 1 + 1 + 1 = 3
2 2 2
∙ v ∙ = 1 + (-1) + 1 = 1 + 1 + 1 = 3
-1 1
u v = 1 • -1 = (-1)(1) + 1(-1) + (-1)(1) = -1 - 1 - 1 = -3

-1 1
292

เนื่องจาก u • v = ∙ u ∙∙ v ∙ cos θ

จะได้ว่า -3 = ( 3)( 3) cos θ

cos θ = -1
เนื่องจาก cos 180 ํ = -1 จะได้ว่า θ = 180 ํ

ดังนั้น มุมระหว่างเวกเตอร์ u กับ v เท่ากับ 180 องศา

4) จาก 2 2 2
∙ u ∙ = 1 + (-1) + 1 = 1 + 1 + 1 = 3
2 2 2
∙ v ∙ = 1 + 1 + (-1) = 1 + 1 + 1 = 3
1 1
u • v = -1 • 1 = 1(1) + (-1)(1) + 1(-1) = 1 - 1 - 1 = -1
1 -1
เนื่องจาก u • v = ∙ u ∙∙ v ∙ cos θ
จะได้ว่า -1 = ( 3)( 3) cos θ
cos θ = - 13
θ = arccos(- 1)
3
ดังนั้น มุมระหว่างเวกเตอร์ u กับ v เท่ากับ arccos(- 13)
3. กําหนด u = 5 และ v = -1 ใหหา
6 -4
1) (u + v) • (u + v) 2) (u - v) • (u - v) 3) (u + v) • (u - v)
แนวคิด 1) จาก u + v = 5 + -1 = 4
6 -4 2
จะได้ว่า (u + v) • (u + v) = 4 • 4
2 2
= 4(4) + 2(2)
= 16 + 4 = 20
2) จาก u - v = 5 - -1 = 6
6 -4 10
จะได้ว่า (u - v) • (u - v) = 6 • 6
10 10
= 6(6) + 10(10)
= 36 + 100 = 136

293
3) จาก u + v = 4 และ u - v = 6
2 10
จะได้ว่า (u + v) • (u - v) = 4 • 6
2 10
= 4(6) + 2(10)
= 24 + 20 = 44
-5 1
4. กําหนด u = 2 และ v = -7 ใหหาคาเชนเดียวกับขอ 3.
3 4
-5 1 -4
แนวคิด 1) จาก u + v = 2 + -7 = -5
3 4 7
-4 -4
จะได้ว่า (u + v) • (u + v) = -5 • -5
7 7
= (-4)(-4) + (-5)(-5) + 7(7)
= 16 + 25 + 49
= 90
-5 1 -6
2) จาก u - v = 2 - -7 = 9
3 4 -1
-6 -6
จะได้ว่า (u - v) • (u - v) = 9 • 9
-1 -1
= (-6)(-6) + 9(9) + (-1)(-1)
= 36 + 81 + 1
= 118
-4 -6
3) จาก u + v = -5 และ u - v = 9
7 -1
-4 -6
จะได้ว่า (u + v) • (u - v) = -5 • 9
7 -1
= (-4)(-6) + (-5)(9) + 7(-1)
= 24 - 45 - 7
= -28
294
5. ใหพิจารณาวาเวกเตอรในแตละขอตอไปนี้ ขอใดเปนเวกเตอรที่ตั้งฉากกัน
3 1 -1 -1
1) 9 , -8 2) 4 , -3 3) 4 , -2 4) 4 , 2
8 9 7 1 -5 -1 7 -1
9 -8
แนวคิด 1) จาก • = 9(-8) + 8(9) = -72 + 72 = 0
8 9
ดังนั้น 9 ตั้งฉากกับ -8
8 9
2) จาก 4 • -3 = 4(-3) + 7(1) = -12 + 7 = -5
7 1
ดังนั้น 4 ไม่ตั้งฉากกับ -3
7 1
3 1
3) จาก 4 • -2 = 3(1) + 4(-2) + (-5)(-1) = 3 - 8 + 5 = 0
-5 -1
3 1
ดังนั้น 4 ตั้งฉากกับ -2
-5 -1
-1 -1
4) จาก 4 • 2 = (-1)(-1) + 4(2) + 7(-1) = 1 + 8 - 7 = 2
7 -1
-1 -1
ดังนั้น 4 ไม่ตั้งฉากกับ 2
7 -1
6. กําหนด ∙ u ∙ = 8, ∙ v ∙ = 3 และ ∙ u + v ∙ = 5 ใหหาคาของ ∙ u - v ∙
แนวคิด จาก ∙ u + v ∙2 = ∙ u ∙2 + 2 u • v + ∙ v ∙2, ∙ u ∙ = 8, ∙ v ∙ = 3 และ ∙ u + v ∙ = 5
จะได้ว่า 52 = 82 + 2 u • v + 32
2 u • v = 25 - 64 - 9 = -48
ดังนั้น ∙ u - v ∙2 = 82 - (-48) + 32

= 64 + 48 + 9 = 121
นั่นคือ ∙ u - v ∙ = 11

295
ระดับกลาง
5 1
7. ใหหาคา a ที่ทําให a ตั้งฉากกับ -1
-2 1
5 1
แนวคิด เนื่องจาก a ตั้งฉากกับ -1
-2 1
5 1
จะได้ว่า a • -1 = 0
-2 1
5(1) + a(-1) + (-2)(1) = 0
5 - a - 2 = 0
a = 3
8. กําหนด u และ v เปนเวกเตอรที่ทํามุมกัน 120 ํ และ ∙ u ∙ = 4, ∙ v ∙ = 3 ใหหามุมระหวาง
u + v และ u
แนวคิด จาก u • v = ∙ u ∙∙ v ∙ cos θ, ∙ u ∙ = 4, ∙ v ∙ = 3 และ θ = 120 ํ
จะได้ว่า u • v = 4(3) cos 120 ํ
= 12(- 12)
= -6
2 2 2
และ ∙ u + v ∙ = ∙ u ∙ + 2 u • v + ∙ v ∙

= 42 + 2(-6) + 32

= 16 - 12 + 9 = 13
ดังนั้น ∙ u + v ∙ = 13

จาก (u + v) • u = ∙ u + v ∙∙ u ∙ cos θ
จะได้ว่า u • u + u • v = ( 13)(4) cos θ
∙ u ∙2 - 6 = 4 13 cos θ
16 - 6 = 4 13 cos θ
cos θ = 2 5 13
= 5 13
26
ดังนั้น θ = arccos( 5 13 )
26
296
C
ระดับทาทาย

9. จากรูป ใหแสดงวา เสนมัธยฐานที่ลากจากจุดยอดของ


รูปสามเหลี่ยมหนาจั่วตั้งฉากกับฐาน
A D B
แนวคิด เนื่องจาก ถ้า u • v = 0 แล้ว u และ v ตั้งฉากกัน เมื่อ u 0 และ v 0
ต้องแสดงว่า DC ตั้งฉากกับ DB
ให้ θ เปนมุมระหว่าง DC กับ DB
เนื่องจาก DC 0 และ DB 0 ดังนั้น ∙ DC ∙ 0 และ ∙ DB ∙ 0
จาก DC • DB = ∙ DC ∙∙ DB ∙ cos θ
จะได้ว่า DC • DB = 0 เมื่อ cos θ = 0 นั่นคือ θ = 90 ํ
ดังนั้น DC ตั้งฉากกับ DB
ลองทําดู (หน้า 266)
3 1
กําหนด u = 1 และ v = -2 ให้หา u × v
-2 1
แนวคิด จากบทนิยาม จะได้ว่า
1(1) - (-2)(-2) 1 - 4 -3
u × v = (-2)(1) - 3(1) = -2 - 3 = 5
3(-2) - 1(1) -6 - 1 -7
กําหนด u = 2 i + 2 j - 5k และ v = i - j + 3k ให้หา u × v และ v × u
แนวคิด จากบทนิยาม จะได้ว่า
u × v = 2 -5 i - 2 -5 j + 2 2 k
-1 3 1 3 1 -1
= (6 - 5) i - (6 + 5) j + (-2 - 2)k
= i - 11 j - 4k
v × u = -1 3 i - 1 3 j + 1 -1 k
2 -5 2 -5 2 2
= (5 - 6) i - (-5 - 6) j + (2 + 2)k
= - i + 11 j + 4k
297
Thinking Time (หน้า 266)
ก ําหนด u, v และ w เปนเวกเตอร์ ใด ๆ ในสามมิติ ข้อความต่อไปนี้เปนจริงหรือไม่
ถ้า u × v = u × w แล้ว v = w
u1 v1 w1
แนวคิด กําหนด u = u2 , v = v2 และ w = w2
u3 v3 w3
u2v3 - u3v2 u2w3 - u3w2
จะได้ u × v = u3v1 - u1v3 และ u × w = u3w1 - u1w3
u1v2 - u2v1 u1w2 - u2w1
จาก u × v = u × w
u2v3 - u3v2 u2w3 - u3w2
จะได้ u3v1 - u1v3 = u3w1 - u1w3
u1v2 - u2v1 u1w2 - u2w1
นั่นคือ u2v3 - u3v2 = u2w3 - u3w2
u3v1 - u1v3 = u3w1 - u1w3
u1v2 - u2v1 = u1w2 - u2w1
จะได้ว่า v1 = w1, v2 = w2 และ v3 = w3
ดังนั้น v = w
ลองทําดู (หน้า 267)
3 -1
กําหนด u = 4 , v = 5 และ k = 3 ให้หา (ku) × v และ k(u × v)
-2 2 3 9
แนวคิด จาก ku = 3 4 = 12
-2 -6
จะได้ว่า (ku) × v = 12 -6 i - 9 -6 j + 9 12 k
5 2 -1 2 -1 5
= 54 i - 12 j + 57k
และจาก u × v = 4 -2 i - 3 -2 j + 3 4 k
5 2 -1 2 -1 5
= 18 i - 4 j + 19k
จะได้ k(u × v) = 3(18 i - 4 j + 19k) = 54 i - 12 j + 57k

298
ลองทําดู (หน้า 269)
กําหนด u = 3 i + j - 2k และ v = 2 i - j ให้หาไซน์ของมุมระหว่าง u กับ v
แนวคิด เนื่องจาก u × v = 1 -2 i - 3 -2 j + 3 1 k
-1 0 2 0 2 -1
= (0 - 2) i - (0 + 4) j + (-3 - 2)k
= -2 i - 4 j - 5k
จะได้ว่า ∙ u × v ∙ = (-2)2 + (-4)2 + (-5)2
= 4 + 16 + 25 = 45
2 2 2
จาก ∙ u ∙ = 3 + 1 + (-2)
= 9 + 1 + 4 = 14
2 2
∙ v ∙ = 2 + (-1)
= 4 + 1 = 5
และ ∙ u × v ∙ = ∙ u ∙∙ v ∙ sin θ
45 = 14 5 sin θ
ดังนั้น sin θ = 45 = 9 = 9 14 14
14 5 14
ลองทําดู (หน้า 270)
กําหนด u = i + 2 j - k และ v = -2 i + 3 k ให้หา u • (u × v) และ v • (u × v)
แนวคิด จาก u = i + 2 j - k และ v = -2 i + 3 k
จะได้ว่า u × v = 2 -1 i - 1 -1 j + 1 2 k
0 3 -2 3 -2 0
= (6 - 0) i - (3 - 2) j + (0 + 4)k
= 6 i - j + 4k
1 6
ดังนั้น u (u × v) = 2 • -1

-1 4
= 1(6) + 2(-1) + (-1)(4) = 0
-2 6
และ v • (u × v) = 0 • -1
3 4
= (-2)(6) + 0(-1) + 3(4) = 0
299
แบบฝึ
กทั กษะ 3.5 (หน้า 270)

ระดับพื้นฐาน
1. ใหหาเวกเตอร u × v และ v × u เมื่อกําหนด
2 1 1 3
1) u = , v = 2) u = 2 , v = 1
-3 -5 1 -2
3) u = 2 i + j + k, v = 2 i - j 4) u = 3 i + 2 j - k, v = 3 i + 5 j - k
i j k
แนวคิด 1) u × v = 2 -3 0
1 -5 0
= -3 0 i - 2 0 j + 2 -3 k
-5 0 1 0 1 -5
= (0 - 0) i - (0 - 0) j + (-10 + 3)k
= -7k
i j k
2) u × v = 1 2 1
3 1 -2
= 2 1 i - 1 1 j + 1 2 k
1 -2 3 -2 3 1
= (-4 - 1) i - (-2 - 3) j + (1 - 6)k
= -5 i + 5 j - 5k
i j k
3) u × v = 2 1 1
2 -1 0
= 1 1 i - 2 1 j + 2 1 k
-1 0 2 0 2 -1
= (0 + 1) i - (0 - 2) j + (-2 - 2)k
= i + 2 j - 4k
i j k
4) u × v = 3 2 -1
3 5 -1
= 2 -1 i - 3 -1 j + 3 2 k
5 -1 3 -1 3 5
= (-2 + 5) i - (-3 + 3) j + (15 - 6)k
= 3 i + 9k
300
2. เวกเตอรที่กําหนดใหในแตละขอตอไปนี้ เวกเตอรคูใดขนานกัน
3 6 0 1
1) u = -1 , v = 2 2) u = 1 , v = 0
1 -2 1 1
3) u = i + 2 j , v = 2 i - j + 3k 1 1
4) u = i - 4 j - 4 k , v = 8 i + 2 j + 2k
แนวคิด เนื่องจาก ถ้าผลคูณเชิงเวกเตอร์ของเวกเตอร์ทั้งสองเปนเวกเตอร์ศูนย์
แล้วเวกเตอร์ทั้งสองขนานกัน จึงต้องแสดงให้เห็นว่า u × v = 0
i j k
1) u × v = 3 -1 1
6 2 -2
= -1 1 i - 3 1 j + 3 -1 k
2 -2 6 -2 6 2
= (2 - 2) i - (-6 - 6) j + (6 + 6)k
= 12 j + 12k
ดังนั้น u ไม่ขนานกับ v
i j k
2) u × v = 0 1 1
1 0 1
= 1 1 i - 0 1 j + 0 1 k
0 1 1 1 1 0
= (1 - 0) i - (0 - 1) j + (0 - 1)k
= i + j - k
ดังนั้น u ไม่ขนานกับ v
i j k
3) u × v = 1 2 0
2 -1 3
= 2 0 i - 1 0 j + 1 2 k
-1 3 2 3 2 -1
= (6 - 0) i - (3 - 0) j + (-1 - 4)k
= 6 i - 3 j - 5k
ดังนั้น u ไม่ขนานกับ v

301
i j k
4) u × v = 1 - 14 - 14
-8 2 2
- 1 - 1 1 - 1 1 - 1
= 4 4 i - 4 j + 4 k
2 2 -8 2 -8 2
= (- 12 + 12) i - (2 - 2) j + (2 - 2)k
= 0
ดังนั้น u ขนานกับ v
ระดับกลาง
3. กําหนด u = 3 i + a j - 2k ขนานกับ v = -4 i - 9 j + 83 k ใหหาคา a
แนวคิด เนื่องจาก u ขนานกับ v จะได้ว่า u × v = 0
i j k
u × v = 3 a -2
-4 -9 83
a -2 3 -2
0 = -9 8 i - -4 8 j + 3 a k
3 3 -4 -9
= (8a3 - 18) i + (-27 + 4a)k
แสดงว่า -27 + 4a = 0
4a = 27
ดังนั้น a = 274
4. กําหนด u = 5 i - x j + 3k ขนานกับ v = -10 i + 2 j - 6k ใหหาคา x
แนวคิด เนื่องจาก u ขนานกับ v จะได้ว่า u × v = 0
i j k
u × v = 5 -x 3
-10x 2 -6
0 = -x 3 i - 5 3 j + 5 -x k
2 -6 -10x -6 -10x 2
= (6x - 6)i - (-30 + 30x)j + (10 - 10x2)k
แสดงว่า 6x - 6 = 0
6x = 6
ดังนั้น x = 1
302
5. กําหนด a = 2 i - j และ b = 2 i + j + k ใหหาไซนของมุมระหวาง a และ b
i j k
แนวคิด a × b = 2 -1 0
2 1 1
= -1 0 i - 2 0 j + 2 -1 k
1 1 2 1 2 1
= (-1 - 0) i - (2 - 0) j + (2 + 2)k
= - i - 2 j + 4k
2 2 2
∙ a × b ∙ = (-1) + (-2) + 4 = 1 + 4 + 16 = 21
2 2 2
∙ a ∙ = 2 + (-1) + 0 = 4 + 1 = 5
2 2 2
∙ b ∙ = 2 + 1 + 1 = 4 + 1 + 1 = 6

จาก ∙ a × b ∙ = ∙ a ∙∙ b ∙ sin θ
จะได้ sin θ = ∙a × b ∙
∙ a ∙∙ b ∙

= 21 = 21 = 7 = 70
5 6 30 10 10
ระดับทาทาย

6. ถา u และ v เปนเวกเตอรหนึ่งหนวย มุมระหวาง u กับ v เทากับ 135 ํ ใหหาคา ∙ u × v ∙


แนวคิด จาก ∙ u × v ∙ = ∙ u ∙∙ v ∙ sin θ
จะได้ ∙ u × v ∙ = 1(1) sin 135 ํ
= 22
7. กําหนด ∙ u ∙ = 3, ∙ v ∙ = 4 และ ∙ u × v ∙ = 6 ใหหามุมระหวาง u กับ v
แนวคิด จาก ∙ u × v ∙ = ∙ u ∙∙ v ∙ sin θ
จะได้ 6 = 3(4) sin θ
sin θ = 12
เนื่องจาก sin 30 ํ = 12
ดังนั้น θ = 30 ํ

303
ลองทําดู (หน้า 271)
ให้หาพื้นที่รูปสี่เหลี่ยมด้านขนาน ABCD เมื่อ AB = 2 i - j และ AD = 4 i + 2 j
แนวคิด พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมด้านขนาน ABCD เท่ากับ ∙ AB × AD ∙
จาก AB × AD = -1 0 i - 2 0 j + 2 -1 k
2 0 4 0 4 2
= (0 - 0) i - (0 - 0) j + (4 + 4)k
= 8k
จะได้ว่า ∙ AB × AD ∙ = 82 = 8
ดังนั้น พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมด้านขนาน ABCD เท่ากับ 8 ตารางหน่วย
ลองทําดู (หน้า 272)
รูปสามเหลี่ยม ABC มีจุด A(2, 6, 2), B(1, 9, 6) และ C(4, 2, 8) เปนจุดยอด ให้หาพื้นที่ของ
รูปสามเหลี่ยมรูปนี้
แนวคิด พื้นที่ของรูปสามเหลี่ยม ABC เท่ากับ 12 ∙ AB × AC ∙
1 - 2 -1 4 - 2 2
จาก AB = 9 - 6 = 3 และ AC = 2 - 6 = -4
6 - 2 4 8 - 2 6
3(6) - 4(-4)
จะได้ว่า AB × AC = (-1)(6) - 4(2)
(-1)(-4) - 3(2)
= (18 + 16) i + (-6 - 8) j + (4 - 6)k
= 34 i - 14 j - 2k
ดังนั้น 12 ∙ AB × AC ∙ = 12 342 + (-14)2 + (-2)2

= 12 (17 • 2)2 + (7 • 2)2 + (1 • 2)2

= 12 22(172 + 72 + 12)
= 339
นั่นคือ พื้นที่ของรูปสามเหลี่ยม ABC เท่ากับ 339 ตารางหน่วย

304
ลองทําดู (หน้า 274)
ให้หาปริมาตรของทรงสี่เหลี่ยมด้านขนานที่มี u = 3 i + j + 2k, v = 4 i + 5 j + k
และ w = i + 2 j + 4k เปนด้าน
แนวคิด ปริมาตรของทรงสี่เหลี่ยมด้านขนานเท่ากับ ∙ w • (u × v) ∙
จะได้ว่า u × v = 1 2 i - 3 2 j + 3 1 k
5 1 4 1 4 5
= (1 - 10) i - (3 - 8) j + (15 - 4)k
= -9 i + 5 j + 11k
ดังนั้น ∙ w • (u × v) ∙ = ∙ ( i + 2 j + 4k) • (-9 i + 5 j + 11k) ∙
= ∙ 1(-9) + 2(5) + 4(11) ∙
= ∙ -9 + 10 + 44 ∙
= 45
นั่นคือ ปริมาตรของทรงสี่เหลี่ยมด้านขนานเท่ากับ 45 ลูกบาศก์หน่วย

แบบฝึ
กทั
กษะ 3.6 (หน้า 275)

ระดับพื้นฐาน
1. ใหหาพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมดานขนาน ABCD เมื่อ AB = 7 i + 3 j และ AD = 5 i + j
แนวคิด พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมด้านขนาน ABCD เท่ากับ ∙ AB × AD ∙
จาก AB × AD = 3 0 i - 7 0 j + 7 3 k
1 0 5 0 5 1
= (0 - 0) i + (0 - 0) j + (7 - 15)k
= -8k
จะได้ว่า ∙ AB × AD ∙ = (-8)2
= 8
ดังนั้น พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมด้านขนาน ABCD เท่ากับ 8 ตารางหน่วย

305
2. ใหหาพืน้ ทีข่ องรูปสีเ่ หลีย่ มดานขนาน PQRS เมือ่ PQ = 2i - j + 3k และ PS = -i - 2j + 4k
แนวคิด พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมด้านขนาน PQRS เท่ากับ ∙ PQ × PS ∙
จาก PQ × PS = -1 3 i - 2 3 j + 2 -1 k
-2 4 -1 4 -1 -2
= (-4 + 6) i - (8 + 3) j + (-4 - 1)k
= 2 i - 11 j - 5k
จะได้ว่า ∙ PQ × PS ∙ = 22 + (-11)2 + (-5)2

= 4 + 121 + 25
= 150
= 5 6

ดังนั้น พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมด้านขนาน PQRS เท่ากับ 5 6 ตารางหน่วย


3. ใหหาพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยม ABC เมื่อ AB = 2 i - 2 j - 2k และ AC = i + 2 j - k
แนวคิด พื้นที่ของรูปสามเหลี่ยม ABC เท่ากับ 12 ∙ AB × AC ∙
2 1
จาก AB = -2 และ AC = 2
-2 -1
(-2)(-1) - (-2)(2)
จะได้ว่า AB × AC = 2(-1) - (-2)(1)
2(2) - (-2)(1)
= (2 + 4) i + (-2 + 2) j + (4 + 2)k
= 6 i + 6k
ดังนั้น 12 ∙ AB × AC ∙ = 12 62 + 62

= 12 2(6)2
= 3 2
นั่นคือ พื้นที่ของรูปสามเหลี่ยม ABC เท่ากับ 3 2 ตารางหน่วย

306
4. ใหหาปริมาตรของทรงสี่เหลี่ยมดานขนานที่มี u = 2 i - 6 j + 2k, v = 4 i - 2k และ
w = 2 i + 2 j - 4k เปนดาน
แนวคิด ปริมาตรของทรงสี่เหลี่ยมด้านขนานเท่ากับ ∙ w • (u × v) ∙
จะได้ว่า u × v = -6 2 i - 2 2 j + 2 -6 k
0 -2 4 -2 4 0
= (12 - 0) i - (-4 - 8) j + (0 + 24)k
= 12i + 12 j + 24k
ดังนั้น ∙ w • (u × v) ∙ = ∙ (2 i + 2 j - 4k) • (12 i + 12 j + 24k) ∙
= ∙ 2(12) + 2(12) - 4(24) ∙
= ∙ 24 + 24 - 96 ∙ = ∙ -48 ∙ = 48
นั่นคือ ปริมาตรของทรงสี่เหลี่ยมด้านขนานเท่ากับ 48 ลูกบาศก์หน่วย

ระดับกลาง

5. รูปสามเหลี่ยม PQR มีจุด P(0, 2, 1), Q(1, -1, 2) และ R(2, 0, -1) เปนจุดยอด
ใหหาพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมนี้
แนวคิด พื้นที่ของรูปสามเหลี่ยม PQR เท่ากับ 12 ∙ PQ × PR ∙
1 - 0 1 2 - 0 2
จาก PQ = -1 - 2 = -3 และ PR = 0 - 2 = -2
2 - 1 1 -1 - 1 -2
(-3)(-2) - 1(-2)
จะได้ว่า PQ × PR = 1(-2) - 1(2)
1(-2) - (-3)(2)
= (6 + 2) i + (-2 - 2) j + (-2 + 6)k
= 8 i - 4 j + 4k
ดังนั้น 12 ∙ PQ × PR ∙ = 12 82 + (-4)2 + 42
= 1 2 2 2
2 (4 • 2) + (2 • 2) + (2 • 2)
= 1 2(42 + 22 + 22)
2 2
= 24 = 2 6
นั่นคือ พื้นที่ของรูปสามเหลี่ยม PQR เท่ากับ 2 6 ตารางหน่วย
307
6. ใหหาปริมาตรของกลองรูปทรงสี่เหลี่ยมดานขนานที่มี AB, AC และ AD เปนดานประกอบ
เมื่อ A(1, 1, 1), B(2, 0, 3), C(3, -1, -2) และ D(4, 1, 7)
2 - 1 1
แนวคิด กําหนด u = AB = 0 - 1 = -1
3 - 1 2
3 - 1 2
v = AC = -1 - 1 = -2
-2 - 1 -3
4 - 1 3
และ w = AD = 1 - 1 = 0
7 - 1 6
ปริมาตรของทรงสี่เหลี่ยมด้านขนานเท่ากับ ∙ w • (u × v) ∙
จะได้ว่า u × v = -1 2 i - 1 2 j + 1 -1 k
-2 -3 2 -3 2 -2
= (3 + 4) i - (-3 - 4) j + (-2 + 2)k
= 7i + 7 j
ดังนั้น ∙ w • (u × v) ∙ = ∙ (3 i + 6k) • (7 i + 7 j ) ∙
= ∙ 3(7) + 0(7) + 6(0) ∙
= ∙ 21 ∙ = 21
นั่นคือ ปริมาตรของทรงสี่เหลี่ยมด้านขนานเท่ากับ 21 ลูกบาศก์หน่วย

ระดับทาทาย

7. ใหหาปริมาตรของปริซึม ดังรูป A
ที่มี AB = 2 i + j + 2k

และ AC = 4 i + j - 3k เปนดาน 4 หน่ว
B C
1
แนวคิด พื้นที่ของรูปสามเหลี่ยม ABC เท่ากับ 2 ∙ AB × AC ∙
2 4
จาก AB = 1 และ AC = 1
2 -3

308
1(-3) - 2(1)
จะได้ว่า AB × AC = 2(-3) - 2(4)
2(1) - 1(4)
= (-3 - 2) i  + (-6 - 8) j  + (2 - 4)k
= -5 i  - 14 j  - 2k
ดังนั้น 12  ∙ AB × AC ∙ = 12   (-5)2 + (-14)2 + (-2)2
= 1
2   25 + 196 + 4
= 12   225 = 152 = 7.5
นั่นคือ พื้นที่ของรูปสามเหลี่ยม ABC เท่ากับ 7.5 ตารางหน่วย
ดังนั้น ปริมาตรของปริซึมสามเหลี่ยมเท่ากับ 7.5 × 4 = 30 ลูกบาศก์หน่วย

309
คณิตศาสตร์ในชีวิตจริง (หน้า 276)
สถานการณ
ในการแข่งขันกีฬาเบสบอลรายการหนึ่งปรากฏว่า ผู้ตี (batter) จากทีมหนึ่งซึ่งยืนอยู่ที่จุด (0, 0) ตีลูก
ออกไปจากสนามด้านซ้ายที่จุด (-3, 6) ดังรูป
Y
Center Field
Left Field Right Field

Short Stop 2nd Base

Pitcher
3rd Base 1st Base

(0, 0) X
Catcher

อยากทราบว่าลูกบอลจะมีขนาดและทิศทางเปนเท่าใด
แนวคิด กําหนด u เปนเวกเตอร์บอกขนาดและทิศทางของลูกเบสบอล
จะได้ u = -3 - 0 = -3
6 - 0 6
2 2
ดังนั้น ∙ u ∙ = (-3) + 6
= 9 + 36

= 45 = 3 5
หาทิศทางของ u จาก tan θ = -36
= - 12
ดังนั้น θ ≈ 26.57 ํ

310
แบบฝึกทักษะ ประจําหน่วยการเรียนรูท
้ ่ี
3 (หน้า 279)

1. จากรูป ให้หาพิกัดของจุด A, C, D, E, F และ G เมื่อกําหนดจุด B(5, 10, 5)


Z
D C

A B(5, 10, 5)
Y
E H
F G
X
Z
แนวคิด D(1, 2, 5) C(1, 10, 5)
A(5, 2, 5) B(5, 10, 5)
O Y
E(1, 2, 0) H(1, 10, 0)

X F(5, 2, 0) G(5, 10, 0)


2. ให้หาระยะทางระหว่างจุดสองจุดที่กําหนดให้ในแต่ละข้อต่อไปนี้
1) A(-2, 1, 5) กับ B(1, 3, 0) 2) A(2, 3, -2) กับ B(4, 5, 6)
3) A(-1, 1, 7) กับ B(8, 5, 2) 4) A(2, 1, -5) กับ B(0, 2, -1)
แนวคิด 1) AB = [1 - (-2)]2 + (3 - 1)2 + (0 - 5)2
= 32 + 22 + (-5)2
= 9 + 4 + 25
= 38
2) AB = (4 - 2)2 + (5 - 3)2 + [6 - (-2)]2
= 22 + 22 + 82
= 4 + 4 + 64
= 72
= 6 2
311
3) AB = [8 - (-1)]2 + (5 - 1)2 + (2 - 7)2
= 92 + 42 + (-5)2
= 81 + 16 + 25
= 122
4) AB = (0 - 2)2 + (2 - 1)2 + [-1 - (-5)]2
= (-2)2 + 12 + 42
= 4 + 1 + 16
= 21
3. ให้พิจารณาข้อความในแต่ละข้อต่อไปนี้ ว่าเปนปริมาณสเกลาร์หรือปริมาณเวกเตอร์
1) ใบเฟร์นหนัก 45 กิโลกรัม
2) โบมีที่ดิน 2 ไร่ กับอีก 1 งาน
3) สมยศขับรถไปจังหวัดชุมพรด้วยความเร็ว 120 กิโลเมตรต่อชั่วโมง
4) วารีออกแรงดึงหนังสติ๊กเปนเวลา 30 วินาที
5) สม้ ซือ้ ผลไม้ไปฝากคุณยายทีบ่ า้ นอยูห่ า่ งกันไปทางทิศตะวันออกเปนระยะทาง 500 เมตร
แนวคิด 1) ปริมาณสเกลาร์
2) ปริมาณสเกลาร์
3) ปริมาณเวกเตอร์
4) ปริมาณเวกเตอร์
5) ปริมาณเวกเตอร์
4. จากปริซึมฐานสี่เหลี่ยมจัตุรัส ให้หาเวกเตอร์ในแต่ละข้อต่อไปนี้
E
1) เวกเตอร์ที่มีทิศทางเดียวกัน
D C 2) เวกเตอร์ที่มีทิศทางตรงกันข้ามกัน
3) เวกเตอร์ที่เท่ากัน
A B
แนวคิด 1) AB กับ DC
2) AD กับ CB
3) AB กับ DC
312
-1 3 0 7
5. กําหนด p = , q = , u = 4 และ v = 6 ให้หา
1 5 -2 -3
1) 3p + q 2) นิเสธของ 5p - 2q
3) -4u + 5v 4) นิเสธของ 3u - v
แนวคิด 1) 3p + q = 3 -1 + 3
1 5
= -3 + 3 = 0
3 5 8
2) นิเสธของ 5p - 2q
จาก 5p - 2q = 5 -1 - 2 3
1 5
= -5 - 6 = -11
5 10 -5
จะได้นิเสธของ 5p - 2q = - -11 -5 = 11
5
0 7
3) -4u + 5v = -4 4 + 5 6
-2 -3
0 35 35
= -16 + 30 = 14
8 -15 -7
4) นิเสธของ 3u - v
0 7
จาก 3u - v = 3 4 - 6
-2 -3
0 7 -7
= 12 - 6 = 6
-6 -3 -3
-7 7
จะได้นิเสธของ 3u - v = - 6 = -6
-3 3

313
F
6. D C จากรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ABCD มี AE และ AF
เปนจุดกึ่งกลางของ CB และ CD ตามลําดับ
E
ให้หาผลบวกของ AE + AC + AF
A B
แนวคิด จาก AE = AB + 12 BC = AB - 12 CB
AC = AD + DC = AD - CD
และ AF = AD + 12 DC = AD - 12 CD
จะได้ว่า AE + AC + AF = AB - 12 CB + AD - CD + AD - 12 CD
= AB + 2AD - 12 CB - 32 CD
= AB - 2CB - 12 CB + 32 AB
= 52 AB - 52 CB
= 52 (AB - CB)
= 52 AC
7. ให้หา AB และ BA เมื่อกําหนด A และ B ในแต่ละข้อต่อไปนี้
1) A(3, -2), B(6, 5) 2) A(-1, 4), B(2, 7)
3) A(1, 3, 5), B(3, -2, 8) 4) A(-5, -1, 0), B(1, 1, 2)
แนวคิด 1) AB = 6 - 3 = 3 , BA = 3 - 6 = -3
5 - (-2) 7 -2 - 5 -7
2) AB = 2 - (-1) = 3 , BA = -1 - 2 = -3
7 - 4 3 4 - 7 -3
3 - 1 2 1 - 3 -2
3) AB = -2 - 3 = -5 , BA = 3 - (-2) = 5
8 - 5 3 5 - 8 -3
1 - (-5) 6 -5 - 1 -6
4) AB = 1 - (-1) = 2 , BA = -1 - 1 = -2
2 - 0 2 0 - 2 -2

314
8. ให้หาขนาดของเวกเตอร์ในแต่ละข้อต่อไปนี้
-3
1) -2 2) 10 3) 0
5 -5 3
4) 9 i - 2 j 5) i + 3 j - 4k 6) -4 i + 5k
-2 2 2
แนวคิด 1) ขนาดของเวกเตอร์ = (-2) + 5 = 4 + 25 = 29
5
2) ขนาดของเวกเตอร์ 10 = 102 + (-5)2 = 100 + 25 = 125 = 5 5
-5
-3
3) ขนาดของเวกเตอร์ 0 = (-3)2 + 02 + 32 = 9 + 0 + 9 = 18 = 3 2
3
4) ขนาดของเวกเตอร์ 9 i - 2 j = 92 + (-2)2 = 81 + 4 = 85
5) ขนาดของเวกเตอร์ i + 3 j - 4 k = 12 + 32 + (-4)2
= 1 + 9 + 16 = 26
6) ขนาดของเวกเตอร์ -4 i + 5 k = (-4)2 + 02 + 52 = 16 + 0 + 25 = 41
9. ให้หาโคไซน์แสดงทิศทางของเวกเตอร์ เมื่อกําหนดจุด M และ N ในแต่ละข้อต่อไปนี้
1) M(3, -3, -4), N(1, -2, 5) 2) M(4, 5, -1), N(-3, 0, 6)
3) M(2, -3, 1), N(-6, 0, 1) 4) M(7, 2, -1), N(-8, 6, 2)
1 - 3 -2
แนวคิด 1) จาก MN = -2 - (-3) = 1
5 - (-4) 9
และ ∙ MN ∙ = (-2)2 + 12 + 92 = 4 + 1 + 81 = 86
จะได้โคไซน์แสดงทิศทางของ MN เท่ากับ - 86 2 , 1 , 9
86 86
หรือ - 4386 , 8686 , 9 86
86
-3 - 4 -7
2) จาก MN = 0 - 5 = -5
6 - (-1) 7
และ ∙ MN ∙ = (-7) + (-5) + 72 = 49 + 25 + 49 = 123
2 2

จะได้โคไซน์แสดงทิศทางของ MN เท่ากับ - 123 7 , - 5 , 7


123 123
7 123 5 123
หรือ - 123 , - 123 , 123 7 123

315
-6 - 2 -8
3) จาก MN = 0 - (-3) = 3
1 - 1 0
และ ∙ MN ∙ = (-8)2 + 32 + 02 = 64 + 9 + 0 = 73
จะได้โคไซน์แสดงทิศทางของ MN เท่ากับ - 738 , 3 , 0
73
8 73 3 73
หรือ - 73 , 73 , 0
-8 - 7 -15
4) จาก MN = 6 - 2 = 4
2 - (-1) 3
และ ∙ MN ∙ = (-15) + 4 + 32 = 225 + 16 + 9 = 250 = 5 10
2 2

15 , 4 , 3
จะได้โคไซน์แสดงทิศทางของ MN เท่ากับ - 5 10 5 10 5 10
หรือ - 3 10 ,
10 25 50
2 10 , 3 10
10. ให้หา u • v เมื่อกําหนด u และ v ในแต่ละข้อต่อไปนี้
1) u = i + 3 j - 4k, v = -2 i + 4 j - k
2) u = -3 j + 7k, v = i - 5 j + 7k
3) u = 2 i + j - 2k, v = 3 i + k
1 -2
แนวคิด 1) u • v = 3 4 = 1(-2) + 3(4) + (-4)(-1) = -2 + 12 + 4 = 14
-4 -1
0 1
2) u v = -3 -5 = 0(1) + (-3)(-5) + 7(7) = 0 + 15 + 49 = 64

7 7
2 3
3) u • v = 1 • 0 = 2(3) + 1(0) + (-2)(1) = 6 + 0 - 2 = 4
-2 1
11. ให้หา u × v เมื่อกําหนด u และ v ในแต่ละข้อต่อไปนี้
1) u = - i - 4 j + 5k, v = 2 i + j + 4k
2) u = 3 i - j - k, v = 4 i + j - 6k
3) u = -7 i + j - 3k, v = 3 i + 2 j + k
i j k
แนวคิด 1) u × v = -1 -4 5
2 1 4

316
= -4 5 i - -1 5 j + -1 -4 k
1 4 2 4 2 1
= (-16 - 5) i - (-4 - 10) j + (-1 + 8)k
= -21 i + 14 j + 7k
i j k
2) u × v = 3 -1 -1
4 1 -6
= -1 -1 i - 3 -1 j + 3 -1 k
1 -6 4 -6 4 1
= (6 + 1) i - (-18 + 4) j + (3 + 4)k
= 7 i + 14 j + 7k
i j k
3) u × v = -7 1 -3
3 2 1
= 1 -3 i - -7 -3 j + -7 1 k
2 1 3 1 3 2
= (1 + 6) i - (-7 + 9) j + (-14 - 3)k
= 7 i - 2 j - 17k
12. ให้หาพืน้ ทีข่ องรูปสีเ่ หลีย่ มด้านขนาน MNOP เมือ่ MN = 2 i + 3 j - 4k และ MP = 5 i - j + 3k
i j k
แนวคิด MN × MP = 2 3 -4
5 -1 3
= 3 -4 i - 2 -4 j + 2 3 k
-1 3 5 3 5 -1
= (9 - 4) i - (6 + 20) j + (-2 - 15)k
= 5 i - 26 j - 17k
จะได้ ∙ MN × MP ∙ = 52 + (-26)2 + (-17)2
= 25 + 676 + 289
= 990 = 3 110
ดังนัน้ พืน้ ทีข่ องรูปสีเ่ หลีย่ มด้านขนาน MNOP เท่ากับ 3 110 ตารางหน่วย

317
13. ให้หาพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมที่มีจุดยอดเปน A(1, 3, -1), B(2, 0, -3) และ C(-4, 1, 2)
2 - 1 1 -4 - 1 -5
แนวคิด AB = 0 - 3 = -3 และ AC = 1 - 3 = -2
-3 - (-1) -2 2 - (-1) 3
i j k
จะได้ AB × AC = 1 -3 -2
-5 -2 3
= -3 -2 i - 1 -2 j + 1 -3 k
-2 3 -5 3 -5 -2
= (-9 - 4) i - (3 - 10) j + (-2 - 15)k
= -13 i + 7 j - 17k
และ ∙ AB × AC ∙ = (-13)2 + 72 + (-17)2
= 169 + 49 + 289 = 507 = 13 3
ดังนั้น พื้นที่ของรูปสามเหลี่ยม ABC = 12 ∙AB × AC∙ = 12 (13 3)
= 132 3 ตารางหน่วย
14. ให้หาปริมาตรของทรงสี่เหลี่ยมด้านขนานที่มี u = 3 i - j + 4k, v = 5 i + 2 j - k และ
w = -6 i + 6 j + 8k เปนด้าน
i j k
แนวคิด จาก u × v = 3 -1 4
5 2 -1
= -1 4 i - 3 4 j + 3 -1 k
2 -1 5 -1 5 2
= (1 - 8) i - (-3 - 20) j + (6 + 5)k
= -7 i + 23 j + 11k
-6 -7
จะได้ w • (u × v) = 6 • 23
8 11
= (-6)(-7) + 6(23) + 8(11)
= 42 + 138 + 88 = 268
และ ∙ w • (u × v) ∙ = ∙268∙
= 268
ดังนั้น ปริมาตรของทรงสี่เหลี่ยมด้านขนาน เท่ากับ 268 ลูกบาศก์หน่วย
318

You might also like