You are on page 1of 384

เฉลยละเอียด

สําหรับผูส
 อน

หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

คณิตศาสตร
ม.5
สารบัญ

หน้า
• หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เลขยกก�ำลัง 1
• หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ฟังก์ชัน 67
• หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 ล�ำดับและอนุกรม 235
• หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 ดอกเบี้ยและมูลค่าของเงิน 345
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เลขยกกําลัง
ลองทําดู (หน้า 6)
ให้เขียนจ�านวนต่อไปนี้ในรูปอย่างง่าย เมื่อ a, b และ c เป็นจ�านวนจริงที่ไม่เท่ากับศูนย์
3 5 -7 -2
1) (a3b-2c4)3 2) ( a b5 c3 )
ab
3 -5 3 2 5 -4 -2 -1
3) ( a-1c 2 ) ( b-2c-3 ) 4) a - 6a -2
+ 9
-1
ab ab a - 3a
แนวคิด 1) (a3b-2c4)3 = (a3)3(b-2)3(c4)3

= a9b-6c12
9 12

= a c6
b
3 5 -7 -2
2) ( a b5 c3 ) = (a3 - 5b5 - 3c-7)-2
ab
= (a-2b2c-7)-2
= (a-2)-2(b2)-2(c-7)-2
= a4b-4c14
4 14
= a c4
b
3c-5 3 b2c5 -4 3)3(c-5)3 (b2)-4(c5)-4
a (a
3) ( -1 2 ) ( -2 -3 ) = -1 3 2 3 • -2 -4 -3 -4
ab ab (a ) (b ) (a ) (b )
9 -15 -8 -20
= a -3c 6 • b 8 c 12
ab ab
9 -8 -15 - 20
= a -3 + 8
b c
a b6 + 12
9 -8 -35
= a b5 c18
a b
a9 - 5
= 18 + 8
b c35
4
= 26a 35
b c
1
-2
4) a - 6a
-1 + 9
= (a-2 - 6a-1 + 9)(a2)
a-2 - 3a-1 (a-2 - 3a-1)(a2)
-2 + 2 - 6a-1 + 2 + 9a2
= a -2 + 2
a - 3a-1 + 2
2
= 1 - 6a + 9a
1 - 3a
2
= 9a-(3a - 1)
- 6a + 1

(3a - 1)2
= -(3a - 1)
= -(3a - 1)2 - 1 เมื่อ a ≠ 13
= -(3a - 1) เมื่อ a ≠ 13
= 1 - 3a เมื่อ a ≠ 13
ให้หาค่าของ 1255 • 274 • 15-13
แนวคิด 1255 • 274 • 15-13 = (53)5 • (33)4 • (5 • 3)-13
= 515 • 312 • 5-13 • 3-13
= 515 - 13 • 312 - 13
= 52 • 3-1
2
= 53
= 253

แบบฝ
ก ทักษะ (หน้
1.1 า 7)

ระดับพื้นฐาน
1. ให้เขียนจ�ำนวนต่อไปนี้ในรูปอย่ำงง่ำย เมื่อ a, b และ c เปนจ�ำนวนจริงที่ไม่เท่ำกับศูนย
7 -1
1) 25 • 30 • 2-4 2) 35 • 2-3
3 • 2
7 -5
3) 324 • 128-2 4) 275 • 81-2
3 • 9
2
5) a2b4a-4b-2 6) (ab-7c5a-4b11c-3)-1
-2 3 -3 -5 -4
7) ( -2c -1 ) 8) (a -5b 6 )
ab ac
-3 -1 8 5 -1 4 -3 -2 -1
9) (a b2 2c ) ( a2 b-1 ) 10) b -2+ 4b -1+ 4
bc ac b + 2b
แนวคิด 1) 25 • 30 • 2-4 = 25 - 4 • 1
= 2 • 1

= 2
7 -1
2) 35 • 2-3 = 37 - 5 • 2-1 + 3
3   2

= 32 • 22
3) 324 • 128-2 = (25)4 • (27)-2
= 220 • 2-14
= 220 - 14
= 26
7 • 81-5 3)7 • (34)-5
27
4) 5 -2 = 5 2 -2 (3
3  • 9 3 • (3 )
21 -20
= 3 5 • 3-4
3 •3
21 - 20
= 3 5 - 4
3
= 33
= 30
= 1
5) a2b4a-4b-2 = a2 - 4 b4 - 2

= a-2 b2
2

= b2
a

3
6) (ab-7c5a-4b11c-3)-1 = (a1 - 4 b-7 + 11 c5 - 3)-1
= (a-3 b4 c2)-1

= (a-3)-1(b4)-1(c2)-1
= a3 b-4 c-2
3
= 4a 2
bc
-2 3 (c -2)3
c
7) ( -2 -1 ) = -2 3 -1 3
ab (a ) (b )
-6
= -6c -3
a b
6 3
= a 6b
c
-3 -5 -4 -3 + 5 -5 -4
8) (a -5b 6 ) = (a 6 b )
ac c
2 -5 -4
= (a  b6 )
c
2 -4 -5 -4
= (a ) 6(b-4 )
(c )
-8  20
= a -24b
c
20  24
= b 8c
a
-3 -1 8 5 -1 4 -3
9) (a b2 2c ) ( a2 b-1 ) = (a-3 b-1 - 2 c8 - 2)5 (a-1 - 2 b4 c)-3
bc ac = (a-3 b-3 c6)5 (a-3 b4 c)-3

= (a-3)5 (b-3)5(c6)5 • (a-3)-3(b4)-3c-3
= a-15 b-15 c30 • a9 b-12 c-3
= a-15 + 9 b-15 - 12 c30 - 3

= a-6 b-27 c27
27
= c6 27
ab
4

-2
10) b + 4b
-1
+ 4 = (b-2 + 4b-1 + 4)(b2)
b-2 + 2b-1 (b-2 + 2b-1)(b2)
-2 + 2
= b -2 + 2 + 4b-1 + 2 + 4b2
b + 2b-1 + 2
2
= 1 + 4b + 4b
1 + 2b
2
= (1 + 2b)
1 + 2b
= (1 + 2b)2 - 1 เมื่อ b ≠ - 12
= 1 + 2b เมื่อ b ≠ - 12
2. ให้หำค่ำของเลขยกก�ำลังต่อไปนี้
1) 53 • 24 • 10-2 2) 492 • 272 • 21-5
6 -4
3) 16 • 256 4) 1257 • 35-20
128-5 2401-5
แนวคิด 1) 53 • 24 • 10-2 = 53 • 24 • (2 • 5)-2
= 53 • 24 • 2-2 • 5-2
= 53 - 2 • 24 - 2
= 5 • 22

= 5 • 4
= 20
2) 492 • 272 • 21-5 = (72)2 • (33)2 • (3 • 7)-5
= 74 • 36 • 3-5 • 7-5
= 74 - 5 • 36 - 5
= 7-1 • 3
= 37
6 -4 4 6 • 8 -4
3) 16 • 256 = ) 7 (2-5 )
(2
128-5 (2 )
24 -32
= 2 -35
• 2
2
24 - 32 + 35
= 2

= 227
5
7 -20 37 -20
4) 125 • 35-5 = (5 ) • (5 • 7)
4 -5
2401 (7 )
21 -20 -20
= 5 • 5 -20 • 7
7
= 521 - 20 • 7-20 - (-20)

= 5 • 70

= 5 • 1
= 5
ระดับกลาง
3. ให้เขียนจ�ำนวนต่อไปนี้ในรูปอย่ำงง่ำย เมื่อ a, b และ c เปนจ�ำนวนจริงที่ไม่เท่ำกับศูนย
6 4 3 -3 -2 -1 + 1
1) a 4 - a 2 + a 2) a + 3a-3 + 3a
a - a + a a + a-2
5 4
3) (a + 1)4 (a - 1) 4) (a + b)n + 2 • ab-1c3
(a - 1)2 a-3b2 (a + b)n - 2
6 4 3 3 3
แนวคิด 1) a 4 - a 2 + a = a (a3 - a + 1)
a - a + a a(a - a + 1)
= a2


-3 -2
2) a + 3a-3 + 3a
-1 + 1
= (a-3 + 3a-2 + 3a-1 + 1)(a3)
a + a-2 (a-3 + a-2)(a3)
-3 + 3 -2 + 3 -1 + 3 + a3
= a + 3a-3 + 3 + 3a
a + a-2 + 3
2
= 1 + 3a + 3a + a3
1 + a
3
= (1 + a)
1 + a
= (1 + a)3 - 1 เมื่อ a ≠ -1
= (1 + a)2 เมื่อ a ≠ -1

6
5 4 5(a - 1)4
3) (a + 1)4 (a - 1) = (a + 1)
(a - 1)2 [(a2 - 1)(a2 + 1)]2
5 4
= (a + 1) (a - 1)
[(a - 1)(a + 1)(a2 + 1)]2
5
= (a + 1) (a - 1)4 เมื่อ a ≠ -1, 1
(a - 1)2(a + 1)2(a2 + 1)2
5 - 2 4 - 2
= (a + 1) 2 (a - 1) เมื่อ a ≠ -1, 1
(a + 1)2
3 2
= (a + 1)2 (a - 1) เมื่อ a ≠ -1, 1
(a + 1)2
n + 2 -1 3
4) (a + b)
-3 2 • ab c
n - 2 = (a + b)(n + 2) - (n - 2) a1 + 3 b-1 - 2 c3
a b (a + b)
= (a + b)4 a4 b-3 c3
4 3 4
= a c (a + b)
b3
ระดับทาทาย

4. ให้พิจำรณำว่ำข้อควำมต่อไปนี้เปนจริงหรือเท็จ เพรำะเหตุใด
1) am • an = am + n
m
2) a n = am - n
a
-n n
3) (ab) = (ba)
4) ถ้า ax > 1 และ 0 < a < 1 แล้ว x > 0
แนวคิด 1) ให้ a = 0, m = 3 และ n = -2
จะได้ am • an = 03 • 0-2
= 00 ซึ่งหาค่าไม่ได้
และ 0m + n = 03 - 2

= 01

= 0
ดังนั้น a • a = am + n เป็นเท็จ
m n

7
2) ให้ a = 0, m = 2 และ n = 1
จะได้ am = 02
an 01
= 00 ซึ่งหาค่าไม่ได้
และ am - n = 02 - 1

= 01

= 0
m
ดังนั้น a n = am - n เป็นเท็จ
a
3) ให้ a = 0, b = 1 และ n = 2
-n -2
จะได้ (ab) = (01)
= 0-2
= 12 ซึ่งหาค่าไม่ได้
0
n 2
และ (ba) = (10) ซึ่งหาค่าไม่ได้
-n n
ดังนั้น (ab) = (ba) เป็นเท็จ
4) ให้ a = 12 และ x = -1
-1
จะได้ (12) = 2 ซึ่งมากกว่า 1 และ 0 < 12 < 1
นั่นคือ มี x < 0 ที่ท�ำให้ ax > 1 และ 0 < a < 1
ดังนั้น ถ้า ax > 1 และ 0 < a < 1 แล้ว x > 0 เป็นเท็จ

Investigation (หน้า 8)
ให้นักเรียนเติมค�ำตอบลงในช่องว่างให้ถูกต้อง
36 ดังนั้น 6 เป็นรากที่ 2 ของ 36
1. 62 = ..........................................................................................................................................................
36 ดังนั้น -6 เป็นรากที่ 2 ของ 36
2. (-6)2 = ..........................................................................................................................................................
27 ดังนั้น 3 เป็นรากที่ 3 ของ 27
3. 33 = ..........................................................................................................................................................
-27 ดังนั้น -3 เป็นรากที่ 3 ของ -27
4. (-3)3 = ..........................................................................................................................................................
81 ดังนั้น 3 เป็นรากที่ 4 ของ 81
5. 34 = ..........................................................................................................................................................
8
6. (-3)4 81 ดังนั้น -3 เป็นรากที่ 4 ของ 81
= ..........................................................................................................................................................
7. 25 32 ดังนั้น 2 เป็นรากที่ 5 ของ 32
= ..........................................................................................................................................................
8. 26 64 ดังนั้น 2 เป็นรากที่ 6 ของ 64
= ..........................................................................................................................................................
9. (-2)6 64 ดังนั้น -2 เป็นรากที่ 6 ของ 64
= ..........................................................................................................................................................
10. 17 1 ดังนั้น 1 เป็นรากที่ 7 ของ 1
= ..........................................................................................................................................................
ลองทําดู (หน้า 9)
ให้หาค่าของ
1) รากที่ 5 ของ 243
2) รากที่ 6 ของ 729
แนวคิด 1) เนื่องจาก 243 = 35
ดังนั้น รากที่ 5 ของ 243 คือ 3
2) เนื่องจาก 729 = 36 และ 729 = (-3)6
ดังนั้น รากที่ 6 ของ 729 คือ 3 และ -3
ลองทําดู (หน้า 11)
ให้หาค่าของ
1) 4 625 32
2) 5 243
แนวคิด 1) เนื่องจาก 54 = 625 และ 5 × 625 > 0
ดังนั้น 4 625 = 5
5 32 และ 2 × 32 > 0
2) เนื่องจาก ( 23 ) = 243 3 243
ดังนั้น 5 243 32 = 2
3

9
ลองทําดู (หน้า 12)
ให้หาค่าประมาณของ 3 8.1
แนวคิด ขั้นที่ 1 หาจ�านวนเต็มที่ยกก�าลังสามแล้วใกล้เคียงกับ 8.1 มากที่สุด
เนื่องจาก 23 < 8.1 < 33
3 8 = 2 และ 3 27 = 3
ดังนั้น 3 8.1 มีค่าประมาณมากกว่า 2 แต่ไม่ถึง 3
ขั้นที่ 2 ประมาณค่าของ 3 8.1
พิจารณา (2.001)3 ≈ 8.012
(2.009)3 ≈ 8.108
ดังนั้น 3 8.1 มีค่าประมาณมากกว่า 2.001 แต่ไม่ถึง 2.009
พิจารณาจาก 2.002, 2.003, ... , 2.008 จะได้ว่า (2.008)3 ≈ 8.096
จะได้ว่า 3 8.1 มีค่าประมาณมากกว่า 2.008 แต่ไม่ถึง 2.009
พิจารณาจาก 2.0081, 2.0082, 2.0083, ... , 2.0089
เนื่องจาก (2.0081)3 ≈ 8.098
(2.0082)3 ≈ 8.099
(2.0083)3 ≈ 8.100
ดังนั้น 2.0083 เป็นค่าประมาณของ 3 8.1

Journal Writing (หน้า 12)

ตะวันแสดงวิธีหาค�าตอบจากตัวอย่างที่ 5 ดังนี้
เนื่องจาก 3 27 = 3 และ 3 64 = 4
ดังนั้น 3 63 มีค่าประมาณมากกว่า 3 แต่ไม่ถึง 4
3
เนื่องจาก (3 + 4 )
3
2 = (3.5) = 42.875
ดังนั้น 3 63 มีค่าประมาณมากกว่า 3.5 แต่ไม่ถึง 4
3
เนื่องจาก (3.5 + 4 )
3
2 = (3.75) ≈ 52.734
ดังนั้น 3 63 มีค่าประมาณมากกว่า 3.75 แต่ไม่ถึง 4

10
3
เนื่องจาก (3.752 + 4) = (3.875)3 ≈ 58.186
ดังนั้น 3  63 มีค่าประมาณมากกว่า 3.875 แต่ไม่ถึง 4
3
เนื่องจาก ( 3.8752 + 4 ) = (3.9375)3 ≈ 61.047
ดังนั้น 3  63 มีค่าประมาณมากกว่า 3.9375 แต่ไม่ถึง 4
3
เนื่องจาก (3.93752 + 4) = (3.96875)3 ≈ 62.512
ดังนั้น 3  63 มีค่าประมาณมากกว่า 3.96875 แต่ไม่ถึง 4
เนื่องจาก (3.96875 + 4)3 = (3.984375)3 ≈ 63.253
2
3
ดังนั้น   63 มีค่าประมาณมากกว่า 3.96875 แต่ไม่ถึง 3.984375
3
เนื่องจาก (3.96875 +2 3.984375) = (3.9765625)3 ≈ 62.882
ดังนั้น 3.9765625 ≈ 3.98 เป็นค่าประมาณของ 3  63
นักเรียนเห็นด้วยกับวิธีการหาค�ำตอบของตะวันหรือไม่ เพราะเหตุใด
แนวคิด เห็นด้วย เพราะเป็นวิธีที่แบ่งช่วงจ�ำนวนที่พิจารณาออกเป็น 2 ช่วง
ซึ่งอาจจะได้ผลลัพธ์ที่ช้ากว่าวิธีของตัวอย่างที่ 5

Investigation (หน้า 13)


ให้นักเรียนตอบค�ำถามต่อไปนี้
1. ให้พิจารณาข้อความต่อไปนี้ว่าเป็นจริงหรือเท็จ
1) 16 + 9 =   16 +   9 2) 16 - 9 =   16 -   9
3) 16 × 9 =   16 ×   9 4)  169 = 16
9
แนวคิด 1) เป็นเท็จ เพราะ 16 + 9 ≠   16 +   9
     25 ≠ 4 + 3
5 ≠ 7
2) เป็นเท็จ เพราะ 16 - 9 ≠   16 -   9
     7 ≠ 4 - 3
   7 ≠ 1
11
3) เป็นจริง เพราะ 16 × 9 =   16 ×   9
   144 = 4 × 3
12 = 12
4) เป็นจริง เพราะ  169 = 16
9
( 43 )  = 169
2
  
4 = 4
3 3
2. จากข้อ 1. ให้นักเรียนพิสูจน์ข้อความที่เป็นจริงส�ำหรับกรณีจ�ำนวนจริงใด ๆ
แนวคิด จากข้อ 3) ให้ a ≥ 0 และ b ≥ 0
จาก    ab =   a •    b
(   ab)2 = (   a •    b)2

ab = (   a •    b)(   a •    b)
ab = (   a •    a) • (   b •    b)
ab =    a 2 •    b 2

ab = ab
ดังนั้น   ab =   a •    b
จากข้อ 4) ให้ a ≥ 0 และ b > 0
จาก    ab =   a
b
2 2
a   a
( b)
        = ( b)
a =   a •    a
b b b
a =   a 2
b b 2
a =  a
b b
ดังนั้น    ab   =    a
b

12
3. ให้หาค่าของ a × a
แนวคิด เนื่องจาก a2 = a × a = ( a )2 = ∙a∙
ดังนั้น a × a = ∙a∙
ลองทําดู (หน้า 14)
ให้เขียนจ�านวนต่อไปนี้ในรูปอย่างง่าย
1) 27 • 3 2) 12
3) 5 32 • 3 32 4) 4 10000 ÷ 3 1000
แนวคิด 1) 27 • 3 = 27 × 3 = 81 = 9
2) 12 = 4 × 3 = 4 • 3 = 2 3
3) 5 32 • 3 32 = 5 8 × 4 • 3 8 × 4
= 5 23 × 22 • 3 23 × 4
= 5 25 • 3 23 × 4
= 2 × 2 3 4
= 4 3 4
4) 4 10000 ÷ 3 1000 = 4 10 × 10 × 10 × 10 ÷ 3 10 × 10 × 10
= 4 104 ÷ 3 103
= 10 ÷ 10
= 1
ลองทําดู (หน้า 15)
ให้เขียนจ�านวนต่อไปนี้ในรูปอย่างง่าย
1) 75 + 108 2) 3 1458x - 3 54x
3) 10 4 768 + 4 243 4) 5 32x - 5 243x6
แนวคิด 1) 75 + 108 = 25 × 3 + 27 × 4
= 25 • 3 + 27 • 4
= 5 3 + 3 3 × 2
= 5 3 + 6 3
= 11 3
13
= 3 1458 • 3 x - 3 54 • 3 x
2) 3 1458x - 3 54x
= 3 2 × 36 • 3 x - 3 2 × 33 • 3 x
= 9 3 2x - 3 3 2x
= 6 3 2x
3) 10 4 768 + 4 243
= 10 4 256 × 3 + 4 81 × 3
= 10 4 256 • 4 3 + 4 81 • 4 3
= 10 4 28 • 4 3 + 4 81 • 4 3
= 10 (4 4 3) + 3 4 3
= 40 4 3 + 3 4 3
= 43 4 3
4) 5 32x - 5 243x6 = 5 25x - 5 ( 3x)5x
= 2 5 x - 3x 5 x
= (2 - 3x) 5 x
ลองทําดู (หน้า 16)
ให้เขียนจ�านวนต่อไปนี้ในรูปอย่างง่าย
1) 15 • 5 • 3 2) 3 6 • 3 4 • 3 9
5

3
3) 3 270 4) 25 048
10 2
แนวคิด 1) 15 • 5 • 3 = 15 × 5 × 3
= 15 × 15
= 15
2) 3 6 • 3 4 • 3 9 = 3 2 × 3 • 3 2 × 2 • 3 3 × 3
= 3 2 × 2 × 2 • 3 3 × 3 × 3
= 2 × 3
= 6

14
3 270
3
3) 3 270 = 10
10
3 27
=
=
3
5 2048
5
4) 25 048 = 2
2
5 1024
=
5 32 × 32
=
5 32 • 5 32
=
=
2 × 2
=
4
ลองทําดู (หน้า 17)
ให้หาผลลัพธ์ของ
1) (7 + 2 3)(5 - 3) 2) (4 - 3 2)2
3) (3 + 2 5)(3 - 2 5) 4) (3 6 + 4 2)2
แนวคิด 1) (7 + 2 3)(5 - 3) = 35 - 7 3 + 10 3 - 6
= 29 + 3 3
2) (4 - 3 2)2 = 16 - 24 2 + 18
= 34 - 24 2
3) (3 + 2 5)(3 - 2 5) = 9 - 6 5 + 6 5 - 20
= -11
4) (3 6 + 4 2)2 = 54 + 24 12 + 32
= 54 + 24(2 3) + 32
= 86 + 48 3

15
Class Discussion (หน้า 17)
ให้นักเรียนจับคู่ แล้วช่วยกันตอบค�ำถำมต่อไปนี้
1. จากลองท�าดูใต้ตัวอย่างที่ 9 ข้อ 1), 2) และ 4) ผลคูณของจ�านวนอตรรกยะ 2 จ�านวน
เป็นจ�านวนอตรรกยะหรือไม่ และจากข้อ 3) ผลคูณของจ�านวนอตรรกยะ 2 จ�านวน
เป็นจ�านวนตรรกยะหรือไม่ และมีรูปแบบของผลคูณเป็นอย่างไร
แนวคิด จากข้อ 1), 2) และ 4) ผลคูณของจ�านวนอตรรกยะ 2 จ�านวน
เป็นจ�านวนอตรรกยะ
จากข้อ 3) ผลคูณของจ�านวนอตรรกยะ 2 จ�านวน เป็นจ�านวนตรรกยะ
และมีรูปแบบของผลคูณอยู่ในรูป (p + q a)(p - q a) เมื่อ p, q และ a
เป็นจ�านวนตรรกยะ โดยที่ a > 0
2. จากรูปแบบในข้อ 1. นักเรียนคิดว่าเงื่อนไขใดที่ท�าให้ผลคูณของจ�านวนอตรรกยะ
2 จ�านวน เป็นจ�านวนตรรกยะ
แนวคิด เงื่อนไขที่ท�าให้ผลคูณของจ�านวนอตรรกยะ 2 จ�านวน เป็นจ�านวนตรรกยะ
คือ จ�านวนอตรรกยะ 2 จ�านวน จะต้องอยู่ในรูปแบบของผลต่างก�าลังสอง
นั่นคือ (a + b)(a - b) = a2 - b2
ลองทําดู (หน้า 18)
ให้เขียนจ�านวนต่อไปนี้ในรูปอย่างง่ายและตัวส่วนไม่ติดกรณฑ์
1) 12 2) 22
3 4 + 5
แนวคิด 1) 12 = 12 • 3
3 3 3
= 12 • 3
3 • 3
= 12 3 3
= 4 3

16
2) 22 = 22 • 4 - 5
4 + 5 4 + 5 4 - 5
= 22(4 - 5
2 2
)
4 - ( 5 )
= 88 - 22
16 - 5
5

= 88 - 22
11
5
= 8 - 2 5
ลองทําดู (หน้า 19)
จัดรูป (2 + 5)2 + 8 ให้อยู่ในรูปของ a + b 5
3 - 5
แนวคิด (2 + 5)2 + 8 = [22 + 2(2)( 5 ) + ( 5 )2] + 8 • 3 + 5
3 - 5 3 - 5 3 + 5
= (9 + 4 5) + 8(3 + 5)
2 - ( 5)2

3
= (9 + 4 5) + 24 + 8
9 - 5
5

= (9 + 4 5) + 24 + 8
4
5
= 9 + 4 5 + 6 + 2 5
= 15 + 6 5
ก�าหนดสมการ x 8 = x 6 + 2 มีค�าตอบของสมการ คือ p + q
เมื่อ p และ q เป็นจ�านวนเต็มใด ๆ ให้หาค่าของ p และ q
แนวคิด
x 8 = x 6 + 2

x 8 - x 6 = 2

x( 8 - 6) = 2

x = 2
8 - 6
= 2 • 8 + 6
8 - 6 8 + 6

17
= 2 ( 8 + 6)
( 8)2 - ( 6)2
= 16 +
8 - 6
12

= 4 + 2
2
3
= 2 + 3
ดังนั้น จะได้ p = 2 และ q = 3

ลองทําดู (หน้า 20)


รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้ารูปหนึ่งมีพื้นที่ 7 - 3 ตารางเมตร
ถ้ารูปสีเ่ หลีย่ มรูปนีม้ ดี า้ นยาวเป็น 5 + 3 เมตร ให้หา
ด้านกว้างของรูปสี่เหลี่ยมรูปนี้ และตอบในรูปของ
a + b 3 เมตร เมือ่ a และ b เป็นจ�านวนตรรกยะใด ๆ 5 + 3 ม.
แนวคิด ให้สี่เหลี่ยมผืนผ้ามีความกว้าง k เมตร
และพื้นที่ของสี่เหลี่ยมผืนผ้า = กว้าง × ยาว
7 - 3 = k × (5 + 3 )
k = 7 - 3
5 + 3
= 7 - 3 • 5 - 3
5 + 3 5 - 3
= 35 - 7 2 3 - 5 23 + 3
5 - ( 3)
= 38 - 12
25 - 3
3
= 38 - 12
22
3
= 19 - 6
11
3
= 19 6 3
11 - 11
ดังนั้น สี่เหลี่ยมผืนผ้ารูปนี้มีความกว้าง 19 6 3
11 - 11 เมตร

18
Thinking Time (หน้า 20)
ให้นักเรียนตอบค�ำถามต่อไปนี้
1. นักเรียนจะแก้สมการ x2 - 3x + 2 = 0 โดยใช้วิธีใด และค�ำตอบที่ได้เป็นจ�ำนวนตรรกยะ
หรือจ�ำนวนอตรรกยะ
แนวคิด แก้สมการ x2 - 3x + 2 = 0 โดยใช้วิธีการแยกตัวประกอบพหุนามดีกรีสอง
จะได้
x2 - 3x + 2 = 0
(x - 2)(x - 1) = 0
x = 2, 1
ดังนั้น ค�ำตอบของสมการ คือ 2 และ 1 ซึ่งเป็นจ�ำนวนตรรกยะ
2. นักเรียนจะแก้สมการ x2 + 2x - 1 = 0 โดยใช้วิธีใด และค�ำตอบที่ได้เป็นจ�ำนวนตรรกยะ
หรือจ�ำนวนอตรรกยะ
แนวคิด แก้สมการ x2 + 2x - 1 = 0 โดยใช้สูตร x = -b ± 2a  b2 - 4ac

x = -2 ±  22(1)
2 - 4(1)(-1)
จะได้
x = -2 ±2 8
x = -2 ±2 2  2
x = -1 ± 2 
ดังนั้น ค�ำตอบของสมการ คือ -1 ± 2  ซึ่งเป็นจ�ำนวนอตรรกยะ
3. จากสูตรค�ำตอบของสมการก�ำลังสอง x = -b ± 2a  b2 - 4ac  ให้อธิบายว่าค�ำตอบ
ของสมการที่ได้จะเป็นจ�ำนวนตรรกยะหรือจ�ำนวนอตรรกยะกรณีใด
แนวคิด จากสูตรค�ำตอบของสมการก�ำลังสอง x = -b ± 2a  b2 - 4ac  
โดยที่ a, b และ c เป็นจ�ำนวนตรรกยะใด ๆ และ a ≠ 0
ถ้า  b2 - 4ac เป็นจ�ำนวนตรรกยะ แล้ว x = -b ± 2a  b2 - 4ac
เป็นจ�ำนวนตรรกยะ
ถ้า  b2 - 4ac เป็นจ�ำนวนอตรรกยะ แล้ว x = -b ± 2a  b2 - 4ac
เป็นจ�ำนวนอตรรกยะ
19
4. ค�าตอบทีเ่ ป็นจ�านวนอตรรกยะทัง้ สองค�าตอบของสมการจะเป็นสังยุคซึง่ กันและกันหรือไม่
เพราะเหตุใด
แนวคิด เป็น เพราะจากสูตรค�าตอบของสมการก�าลังสอง
2
จะได้ว่า x = -b ± 2ab - 4ac
2
-b + b2 - 4ac
นั่นคือ x = -b + 2ab - 4ac = 2a 2a
และ x = -b - 2a b2 - 4ac = -b - b2 - 4ac
2a 2a
ลองทําดู (หน้า 21)
ให้หาเซตค�าตอบของสมการ 40 - x2 = 3x
แนวคิด เนื่องจากสมการที่ก�าหนดมีอันดับกรณฑ์ คือ 2 จึงต้องน�าสมการมายกก�าลังสอง
จะได้ ( 40 - x2 )2 = (3x)2

40 - x2 = 9x2

10x2 - 40 = 0
x2 - 4 = 0
(x - 2)(x + 2) = 0
x = 2, -2
ตรวจสอบค�าตอบของ x ใน 40 - x2 = 3x โดยการแทนค่า x ด้วย 2 และ -2
ดังนี้
เมื่อ x = 2 จะได้ 40 - (2)2 = 3(2)
36 = 6
6 = 6
สมการเป็นจริง แสดงว่า 2 เป็นค�าตอบของสมการ
เมื่อ x = -2 จะได้ 40 - (-2)2 = 3(-2)
36 = -6
6 = -6
สมการไม่เป็นจริง แสดงว่า -2 ไม่เป็นค�าตอบของสมการ
ดังนั้น เซตค�าตอบของสมการ คือ { 2 }
20
แบบฝ
ก ทักษะ 1.2
(หน้า 21)

ระดับพื้นฐาน
1. ให้หำค่ำของ
1) รากที่ 4 ของ 2401 2) รากที่ 5 ของ -3125
3) 4 1 4) 5 32
5) 3 -125 6) 3 343
แนวคิด 1) เนื่องจาก 2401 = 74 และ 2401 = (-7)4
ดังนั้น รากที่ 4 ของ 2401 คือ 7 และ -7
2) เนื่องจาก -3125 = (-5)5
ดังนั้น รากที่ 5 ของ -3125 คือ -5
3) เนื่องจาก 14 = 1 และ 1 × 1 > 0
ดังนั้น 4 1 = 1

4) เนื่องจาก 25 = 32 และ 2 × 32 > 0


ดังนั้น 5 32 = 2
5) เนื่องจาก (-5)3 = -125 และ (-5) × (-125) > 0
ดังนั้น 3 -125 = -5
6) เนื่องจาก 73 = 343 และ 7 × 343 > 0
ดังนั้น 3 343 = 7
2. ให้หำค่ำประมำณของจ�ำนวนต่อไปนี้
1) 3 28 2) 4 14
3) 3 -124 4) 5 0.99
แนวคิด 1) ขั้นที่ 1 หาจ�านวนเต็มที่ยกก�าลังสามแล้วใกล้เคียงกับ 28 มากที่สุด
เนื่องจาก 33 < 28 < 43
3 27 = 3 และ 3 64 = 4
ดังนั้น 3 28 มีค่าประมาณมากกว่า 3 แต่ไม่ถึง 4

21
ขั้นที่ 2  ประมาณค่าของ 3  28

พิจารณา (3.01)3 ≈ 27.271
(3.1)3 = 29.791
ดังนั้น 3  28 มีค่าประมาณมากกว่า 3.01 แต่ไม่ถึง 3.1
พิจารณาจาก 3.01, 3.02, 3.03, ..., 3.09
จะได้ว่า (3.03)3 ≈ 27.818
(3.04)3 ≈ 28.094
ดังนั้น 3  28 มีค่าประมาณมากกว่า 3.03 แต่ไม่ถึง 3.04
พิจารณาจาก 3.031, 3.032, 3.033, ..., 3.039
เนื่องจาก (3.035)3 ≈ 27.956
(3.036)3 ≈ 27.984
(3.037)3 ≈ 28.011
ดังนั้น 3.037 เป็นค่าประมาณของ 3  28
2) ขั้นที่ 1  หาจ�ำนวนเต็มที่ยกก�ำลังสี่แล้วใกล้เคียงกับ 14 มากที่สุด
เนื่องจาก 14 < 14 < 24
4  1 = 1 และ 4  16 = 2
ดังนั้น 4  14 มีค่าประมาณมากกว่า 1 แต่ไม่ถึง 2
ขั้นที่ 2  ประมาณค่าของ 4  14
พิจารณาจาก 1.1, 1.2, 1.3, ..., 1.9 จะได้ว่า (1.9)4 = 13.0321
ดังนั้น 4  14 มีค่าประมาณมากกว่า 1.9 แต่ไม่ถึง 2
พิจารณาจาก 1.91, 1.92, 1.93, ..., 1.99
เนื่องจาก (1.91)4 ≈ 13.309
(1.92)4 ≈ 13.590
(1.93)4 ≈ 13.875
(1.94)4 ≈ 14.165
จะได้ว่า 4  14 มีค่าประมาณมากกว่า 1.93 แต่ไม่ถึง 1.94
พิจารณาจาก 1.931, 1.932, 1.933, ..., 1.939
เนื่องจาก (1.933)4 ≈ 13.961
(1.934)4 ≈ 13.990
(1.935)4 ≈ 14.019
ดังนั้น 1.934 เป็นค่าประมาณของ 4  14
22
3) ขั้นที่ 1  หาจ�ำนวนเต็มที่ยกก�ำลังสามแล้วใกล้เคียงกับ -124 มากที่สุด
เนื่องจาก (-5)3 < -124 < (-4)3
3  -125 = -5 และ 3  -64 = -4
ดังนั้น 3  -124 มีค่าประมาณมากกว่า -5 แต่ไม่ถึง -4
ขั้นที่ 2  ประมาณค่าของ 3  -124
พิจารณาจาก -4.1, -4.2, -4.3, ..., -4.9
จะได้ว่า (-4.9)3 = -117.649
ดังนั้น 3  -124 มีค่าประมาณมากกว่า -5 แต่ไม่ถึง -4.9
พิจารณาจาก -4.91, -4.92, -4.93, ..., -4.99
เนื่องจาก (-4.96)3 ≈ -122.024
(-4.97)3 ≈ -122.763
(-4.98)3 ≈ -123.506
(-4.99)3 ≈ -124.251
จะได้ว่า 3  -124 มีค่าประมาณมากกว่า -4.99 แต่ไม่ถึง -4.98
พิจารณาจาก -4.981, -4.982, -4.983, ..., -4.989
เนื่องจาก (-4.985)3 ≈ -123.878
(-4.986)3 ≈ -123.953
(-4.987)3 ≈ -124.027
ดังนั้น -4.987 เป็นค่าประมาณของ 3  -124
4) ขั้นที่ 1  หาจ�ำนวนเต็มที่ยกก�ำลังห้าแล้วใกล้เคียงกับ 0.99 มากที่สุด
เนื่องจาก 05 < 0.99 < 15
5  0 = 0 และ 5  1 = 1
ดังนั้น 5 0.99 มีค่าประมาณมากกว่า 0 แต่ไม่ถึง 1
ขั้นที่ 2  ประมาณค่าของ 5 0.99
พิจารณาจาก 0.1, 0.2, 0.3, ..., 0.9
จะได้ว่า (0.9)5 = 0.59049
ดังนั้น 5 0.99 มีค่าประมาณมากกว่า 0.9 แต่ไม่ถึง 1

23
พ ิจารณาจาก 0.91, 0.92, 0.93, ..., 0.99
เนื่องจาก (0.99)5 ≈ 0.951
จะได้ว่า 5 0.99 มีค่าประมาณมากกว่า 0.99 แต่ไม่ถึง 1
พิจารณาจาก 0.991, 0.992, 0.993, ..., 0.999
เนื่องจาก (0.996)5 ≈ 0.980
(0.997)5 ≈ 0.985
(0.998)5 ≈ 0.990
ดังนั้น 0.998 เป็นค่าประมาณของ 5 0.99
3. ให้เขียนจ�ำนวนต่อไปนี้ในรูปอย่ำงง่ำย
1) 2 • 32 2) 3 4 • 3 64
3) 5 1024 ÷ 4 16 4) 4 2 • 4 4 • 4 32
5) 5 27 • 5 27 • 5 81 6) 4 5184 ÷ 4 4
แนวคิด 1) 2 • 32 = 2 × 32
= 64
= 82
= 8
2) 3 4 • 3 64 = 3 4 • 3 43
= 3 4 × 4
= 4 3 4
3) 5 1024 ÷ 4 16 = 5 45 ÷ 4 24
= 4 ÷ 2
= 2
4) 4 2 • 4 4 • 4 32 = 4 2 • 4 22 • 4 25
= 4 2 × 22 × 25
= 4 24 × 24
= 2 × 2
= 4

24
5) 5 27 • 5 27 • 5 81 = 5 33 • 5 33 • 5 34
= 5 33 × 33 × 34
= 5 35 × 35
= 3 × 3
= 9
6) 4 5184 ÷ 4 4 = 4 5184
4
= 4
1296
= 4 64
= 6
4. ให้เขียนจ�ำนวนต่อไปนี้ในรูปอย่ำงง่ำยและตัวส่วนไม่ติดกรณฑ
1) 3 2) 4
5 3 8
3) 7 4) 4
2 + 3 8 - 2 6
แนวคิด 1) 3 = 3 • 5
5 5 5
= 3 5 5
2) 4 = 4 • 8
3 8 3 8 8
= 4 8
3 8 • 8
= 4(2 2)
3 × 8
= 8 24
2

= 3 2

25
3) 7 = 7 • 2 - 3
2 + 3 2 + 3 2 - 3
= 7(2 - 3)
22 - ( 3)2
= 14 - 7
4 - 3
3
= 14 - 7 3
4) 4 = 4 • 8 + 2 6
8 - 2 6 8 - 2 6 8 + 2 6
= 4(8 + 2 6)
2 - (2 6)2
8
= 32 + 8
64 - 24
6

= 32 + 8
40
6

= 4 + 6
5
5. ให้หำผลลัพธของ
1) 112 + 28 2) 48 + 12 - 27
3) 81x + 25x 4) 50x + 18x - 2x
5) 3 250 - 3 2 6) 5 729 + 5 486
7) 240 - 12 • 45 8) 245 - 20
500
9) (5 + 2)(6 - 3 2) 10) (3 + 2 6)2

11) (9 - 2 5)(9 + 2 5) 12) (2 7 + 3 5)(2 7 - 3 5)
แนวคิด 1) 112 + 28 = 42 × 7 + 22 × 7
= 4 7 + 2 7
= 6 7

26
2) 48 + 12 - 27 =   42 × 3 +   22 × 3 -   33
= 4   3 + 2   3 - 3   3
= 3   3
3) 81x + 25x =   92x +    52x
= 9   x + 5   x
= 14   x
4) 50x + 18x - 2x =   52 • 2x +    32 • 2x - 2x
= 5   2x + 3   2x - 2x
= 7   2x
5) 3  250 - 3  2 = 3  53 × 2 - 3  2
= 5 3  2 - 3  2
= 4 3  2
6) 5  729 + 5  486 = 5  35 × 3 + 5  35 × 2
= 3 5  3 + 3 5  2
7) 240 - 12 • 45 =   42 × 15 -   22 × 3 •   32 × 5
= 4   15 - 2   3 • 3   5
= 4   15 -  6   15
= -2  15
2 2
8)   245 - 20 = 7 × 52 - 2 × 5
  500 10 × 5
= 7  5 - 2  5
10  5
= 5  5
10  5
= 12
9) (5 + 2)(6 - 3   2) = 30 - 15   2 + 6   2 - 6
= 24 - 9   2
27
10) (3 + 2 6)2 = 9 + 12 6 + 24
= 33 + 12 6
11) (9 - 2 5)(9 + 2 5) = 92 - (2 5 )2
= 81 - 20
= 61
12) (2 7 + 3 5)(2 7 - 3 5) = (2 7 )2 - (3 5 )2
= 28 - 45
= -17
ระดับกลาง
6. ให้หำค่ำของ
1) 3 0.001 1
2) 5 3125
แนวคิด 1) 3 0.001 = 3 (0.1)3
= 0.1
1
2) 5 3125 = 5 (15)5
= 15
7. ให้เขียนจ�ำนวนต่อไปนี้ในรูปอย่ำงง่ำยและตัวส่วนไม่ติดกรณฑ
1) 5 2) 4
4 3 - 2 2 6 + 7
3) 3 4) 8 - 4
2 5 + 8 2 5 + 3 2 5 - 3
5) 3 + 5 - 32 3 6) 4 - 184 + 4
8 2 27 3
7) 2 ( 4 + 27 8) 6 ( 3 - 128
3 12 3 ) 2 8 3 )

4
9) 31 (32 - 3 2 ) 10) 4 2 (4 800 + 4 200)
2 4 32 50

28
แนวคิด 1) 5 = 5  • 4  3 + 2
4  3 - 2 4  3 - 2 4  3 + 2
= 5(4  32 + 2)2
(4  3) - 2
= 20  3 + 10
48 - 4
= 20  344+ 10
= 10  322+ 5
= 5  3 5

11 + 22
2) 4 = 4  • 2  6 - 7
2  6 + 7 2  6 + 7 2  6 - 7
= 4(2  62 - 7)2
(2  6)  - 7
= 8  6 - 28
24 - 49
= 8  6-25- 28
= 28 25- 8  6

3) 2  5 3+ 8 = 3  • 2  5 - 8
2  5 + 8 2  5 - 8
= 3 (2  52 - 8)2
(2  5)  - 8
= 2 15-44- 8  3
=   4   322- 15
8 - 4 = 8  • 2  5 - 3 - 4  •  2  5 + 3
2  5 + 3 2  5 - 3 (2  5 + 3 2  5 - 3) (2  5 - 3 2  5 + 3 )
4)

= [ 8(2  52 - 3)2] - [ 4(2  52 + 3)2]


(2  5)  - 3 (2  5)  - 3

29
= ( 16  5 - 24 8  5 + 12
20 - 9 ) - ( 20 - 9 )
= 16  5 - 2411- 8  5 - 12
= 8  511- 36
5) 3 + 5 -   32 = ( 3  •  8  ) + ( 5  •  2  ) -   32
8 2 3 8 8 2 2 3
= 3  8 5  2   32
8 + 2 - 3
= 6  
2 5  2 4  2
8 + 2 - 3
= 3  
2 10  2 4  2
4 + 4 - 3
= 13   
2 4  2
4 - 3
= 39  2 12- 16  2
= 23  
12
2

6) 4 -   18 +4 = 4 - 3   2+ 4
27 4 3 3  3 4 3
= ( 4  •  3  ) - 3  
4
2 + 4  •  3 
( 3 3)
3  3 3
= 4  3 3  2 4  3
9 - 4 + 3
= 4  3 +9 12  3 - 3  
4
2

= 16  3 3  2
9 - 4
= 64  3 36- 27  2

7) 2  ( 4 +   27 = 2  ( 4  + 3   3

3 12 3 ) 3 2  3 3 )
= 2  ( 2   + 3)
3 3
30
= ( 2  •  2 )  + ( 2  •  3)
3 3 3
= 43 + 2
= 103
8) 6  ( 3 - 128 = 6  ( 3 - 8   2  )

2 8 3 ) 2 2  2 3
= ( 6  •  3 ) - ( 6  • 8   2  )
2 2  2 2 3
= 92 - 16
= - 232
4 4
9) 31  (32 - 3   2 ) = ( 31  •  32 ) - ( 31  •  3   2 )
  2   4   32   2   4   2   32
4
= 32 - 3   2
  8   64
4
= 22 - 4  2
4
= 1 - 4  2

10) 4 2  (4  800 + 4  200 ) = ( 4 2  • 4  800) + ( 4 2  • 4  200)


  50   50   50
= 2 4  16 + 2 4  4
= 2(2) + 2  2
= 4 + 2  2  

31
2
หนด h = 3 + 2 ให้ค่ำของ hh - 2
8. ก�ำหนด h = 3 + 2 + 1 และตอบในรูป p + q 2 โดยที่ p และ q
เปนจ�ำนวนเต็มใด ๆ
แนวคิด h2 + 1 = (3 + 2 )2 + 1
h - 2 3 + 2 - 2
= (9 + 6 2 + 2) + 1
1 + 2
= 12 + 6 2 • 1 - 2
1 + 2 1 - 2
= (12 + 6 2 )(1 - 2 )
2 - ( 2)2
1
= 12 - 12 2 + 6 2 - 12
1 - 2
= -6 2
-1
= 6 2
9. ให้แก้สมกำรต่อไปนี้
1) 11x2 + 45 = 4x 2) 3x + 2 = 3x
แนวคิด 1) ( 11x2 + 45)2 = (4x)2

11x2 + 45 = 16x2

5x2 - 45 = 0
x2 - 9 = 0
(x + 3)(x - 3) = 0
x = 3, -3
ตรวจสอบค�าตอบของ x ใน 11x2 + 45 = 4x
โดยการแทนค่า x ด้วย 3 และ -3 ดังนี้
เมื่อ x = 3 จะได้ 11(3)2 + 45 = 4(3)
12 = 12
สมการเป็นจริง แสดงว่า 3 เป็นค�าตอบของสมการ

32
เมื่อ x = -3 จะได้  11(-3)2 + 45 = 4(-3)
12 = -12
สมการไม่เป็นจริง แสดงว่า -3 ไม่เป็นค�ำตอบของสมการ
ดังนั้น เซตค�ำตอบของสมการ คือ { 3 }
2) (   3x + 2)2 = (3x)2

3x + 2 = 9x2
9x2 - 3x - 2 = 0
(3x - 2)(3x + 1) = 0
x = 23, - 13
ตรวจสอบค�ำตอบของ x ใน 3x + 2 = 3x
โดยการแทนค่า x ด้วย 23 และ - 13 ดังนี้
เมื่อ x = 23 จะได้  3(23) + 2 = 3(23)
4 = 2
2 = 2
2
สมการเป็นจริง แสดงว่า 3 เป็นค�ำตอบของสมการ
เมื่อ x = - 13 จะได้  3(- 13) + 2 = 3(- 13)
1 = -1
1 = -1
1
สมการไม่เป็นจริง แสดงว่า - 3 ไม่เป็นค�ำตอบของสมการ
ดังนั้น เซตค�ำตอบของสมการ คือ { 23 }

33
10. กรอบรูปสี่เหลี่ยมอันหนึ่งมีพื้นที่ด้ำนใน 24 ตำรำงฟุต
ถ้ำด้ำนในของกรอบรูปสีเ่ หลีย่ มรูปนีม้ คี วำมกว้ำง 3 - 6 ฟุต
ให้หำควำมยำวด้ำนในของกรอบรูปสีเ่ หลีย่ มนี ้ และตอบในรูป 3 - 6
a + b 6 ฟุต เมื่อ a และ b เปนจ�ำนวนเต็มใด ๆ
แนวคิด ให้กรอบรูปสี่เหลี่ยมมีความยาว c ฟุต
และพื้นที่ของกรอบรูปสี่เหลี่ยม = กว้าง × ยาว
24 = (3 - 6 ) × c
c = 24
3 - 6
= 24 • 3 + 6
3 - 6 3 + 6
= 224(3 + 6)2
3 - ( 6)
= 3 24 + 144
9 - 6
= 6 6 + 12
3
= 4 + 2 6
ดังนั้น กรอบรูปสี่เหลี่ยมนี้มีความยาวด้านในเท่ากับ 4 + 2 6 ฟุต
ระดับทาทาย
11. ให้เขียนจ�ำนวนต่อไปนี้ในรูปอย่ำงง่ำยและตัวส่วนไม่ติดกรณฑ
1) 13 2 2) 3 2 + 5 2
( 3 + 4) ( 2 + 6) ( 2 - 6)
3) 3 2 - 6 4) 48 - 50
6 + 3 2 27 - 8
แนวคิด 1) 13 2 = 13
( 3 + 4) 3 + 8 3 + 16
= 13
19 + 8 3
= 13 • 19 - 8 3
19 + 8 3 19 - 8 3

34
= 13(19 - 8  3)
2 - (8  3)2
19
= 247 - 104  3
361 - 192
= 247 169
- 104  3

= 19 13
- 8  3

2) 3 + 5
( 2 + 6)2 ( 2 - 6)2
= 3 + 5
2 + 12  2 + 36 2 - 12  2 + 36
= 3 + 5
38 + 12  2 38 - 12  2
= 3  • 38 - 12  2 + 5  • 38 + 12  2
38 + 12  2 38 - 12  2 38 - 12  2 38 + 12  2
= 3(38 - 12  2) 5(38 + 12  2)
2 - (12  2)2 + 2 - (12  2)2
38 38

114 - 36  2 + 190 + 60  2
= 1444 - 288 1444 - 288
= 3041156
+ 24  2

= 76 289
+ 6  2

3) 3  2 - 6 = 3  2 - 6  • 6 - 3  2
6 + 3  2 6 + 3  2 6 - 3  2
= (3  2 2- 6)(6 - 23  2)
6 - (3  2)
= 18  2 - 18 - 36 + 18  2
36 - 18
= 36  218- 54
= 2  2 - 3

35
4) 48 - 50 = 4 3 - 5 2
27 - 8 3 3 - 2 2
= 4 3 - 5 2 • 3 3 + 2 2
3 3 - 2 2 3 3 + 2 2
= 36 + 8 6 - 15 6 - 20
(3 3)2 - (2 2)2
= 36 + 8 27 - 8
6 - 15 6 - 20

= 16 - 7 6
19
12. ก�ำหนด a = 1 และ b = 1 + a
1 - a ให้หำค่ำต่อไปนี้
2
1) b 2) b - 1b
1 + 1
แนวคิด 1) b = 2
1 - 1
2
2 + 1
= 2
2 - 1
2
= 2 + 1
2 - 1
= 2 + 1 • 2 + 1
2 - 1 2 + 1
= 2 + 2 2 2 + 1
( 2 ) - 12
= 3 + 2 2
2) b - 1b = (3 + 2 2 ) - 1
3 + 2 2
= (3 + 2 2 ) - 1 • 3 - 2 2
3 + 2 2 3 - 2 2
= (3 + 2 2 ) - 23 - 2 2 2
3 - (2 2 )
= (3 + 2 2 ) - 3 - 2
9 - 8
2
= 3 + 2 2 - 3 + 2 2
= 4 2
36
มกำร x 7 = x 2 + 32 และตอบในรูป a + b
13. ให้แก้สมกำร 14
5 เมื่อ a และ b เปนจ�ำนวนเต็ม
ใด ๆ
แนวคิด x 7 = x 2 + 32
x 7 - x 2 = 32
x( 7 - 2) = 32
x = 3 2
7 - 2
= 4 2 • 7 + 2
7 - 2 7 + 2
= 4 2 (2 7 + 2)2
( 7) - ( 2)
= 4 17 - 2
4 + 8
= 8 + 4
5
14
14. กระปองทรงกระบอกมีปริมำตร (6 + 2 33)π ลูกบำศกเซนติเมตร
มีรัศมีที่ฐำนยำว 1 + 3 เซนติเมตร ให้หำควำมสูงของทรงกระบอก
และตอบในรูป a + b 3 เซนติเมตร เมื่อ a และ b เปนจ�ำนวนเต็มใด ๆ h
แนวคิด ให้ทรงกระบอกมีความสูง h เซนติเมตร
และปริมาตรของทรงกระบอก = πr2h
(6 + 2 3)π = π(1 + 3)2h
h = (6 + 2 3)2 π
(1 + 3) π
= 6 + 2 3
4 + 2 3
= 6 + 2 3 • 4 - 2 3
4 + 2 3 4 - 2 3
= 24 - 12
2
3 + 8 23 - 12
4 - (2 3)
= 12 - 4 3
16 - 12
= 12 - 4
4
3
= 3 - 3 เซนติเมตร
ดังนั้น กระปองทรงกระบอกนี้มีความสูงเท่ากับ 3 - 3 เซนติเมตร
37
Class Discussion (หน้า 24)
ให้นักเรียนจับคู่ แล้วช่วยกันเติมค�ำตอบลงในช่องว่างต่อไปนี้
1
ก�ำหนด p = 53
จะได้ p3 = (513)  3
1  
= 5  3  × 3 (ใช้สมบัติ (am)n = amn)
= 51

= 5
ดังนั้น p = 3 5
ในกรณีนี้ จะมีค่า p ที่เป็นไปได้เพียงค่าเดียว
1
ดังนั้น 53 = 3 5

Thinking Time (หน้า 24)


1
ให้นักเรียนพิจารณาค่าของ an = n  a ตามเงื่อนไขที่กำ� หนดต่อไปนี้
1. เมื่อ a < 0
แนวคิด เมื่อ a < 0 และ n เป็นจ�ำนวนเต็มที่มากกว่า 1 สามารถแบ่งได้ 2 กรณี คือ
กรณี 1 n เป็นจ�ำนวนคู่บวก จะได้ว่า ไม่สามารถหารากที่ n ของ a ได้
เพราะไม่มีจ�ำนวนจริงใด ๆ ที่ยกก�ำลังคู่บวกแล้วจะได้จ�ำนวนลบ
กรณี 2 n เป็นจ�ำนวนคี่บวก จะได้ว่า รากที่ n ของ a
มีค่าเป็นจ�ำนวนจริงลบ
2. เมื่อ a = 0
แนวคิด เมื่อ a = 0 และ n เป็นจ�ำนวนเต็มที่มากกว่า 1
1
จะได้ว่า an ไม่มีความหมายทางคณิตศาสตร์
ในกรณีที่ n มีค่ามาก ๆ จนเป็นอนันต์

38
ลองทําดู (หน้า 25)
ให้หาค่าของเลขยกก�าลังต่อไปนี้
1 1 1
1) 362 2) 8- 3 3) (-125)- 3
1
แนวคิด 1) 362 = 36
= 6
1
2) 8- 3 = 31
8
= 12
1
3) (-125)- 3 = 3 1
-125
= - 15

Investigation (หน้า 25)


ให้นักเรียนจับคู่ แล้วช่วยกันเติมค�ำตอบลงในช่องว่ำง และตอบค�ำถำมที่ก�ำหนด
2 2 × 1 2 1 ×2
1. 5 = 5 3
3 2. 5 = 5 3
3
1 1
= (52) 3
= (5 3 )2
3 2 3 2
= 5 = ( 5)
2
3. นักเรียนคิดว่า การเขียน 53 ให้อยู่ในรูปกรณฑ์ ในข้อ 1. และ 2. มีความสัมพันธ์กัน
หรือไม่ อย่างไร
แนวคิด มีความสัมพันธ์กัน เนื่องจาก 3 52 = 3 25
และ (3 5)2 = 3 5 × 3 5 = 3 25
นั่นคือ 3 52 = (3 5)2
2
ดังนั้น 53 สามารถเขียนให้อยู่ในรูปกรณฑ์ได้เป็น 3 52 หรือ (3 5)2

39
ลองทําดู (หน้า 26)
ให้เขียนจ�านวนต่อไปนี้ในรูปเลขยกก�าลัง
1) 7 2) 3 32 3) 4 245
1
แนวคิด 1) 7 เขียนในรูปเลขยกก�าลังได้เป็น 7 2
2
2) 3 32 เขียนในรูปเลขยกก�าลังได้เป็น 3 3
5
3) 4 245 เขียนในรูปเลขยกก�าลังได้เป็น 24 4
ให้เขียนจ�านวนต่อไปนี้ในรูปกรณฑ์
1 3 3
1) 543 2) (-75)5 3) 392
1
แนวคิด 1) 543 = 3 54
3
2) (-75)5 = 5 (-75)3
3
3) 392 = 393

ลองทําดู (หน้า 27)


ให้หาค่าของเลขยกก�าลังต่อไปนี้
2 2
1) 643 2) 32- 5 3) 1001.5
2 1
แนวคิด 1) 643 = (643)2
= (3 64)2

= (3 43)2
= 42
= 16
2 1
2) 32- 5 = (32- 5)2

= ( 5 1 )2
32
= ( 5 1 5 )2
2
= ( 12 )2
= 14
40
3
3) 1001.5 = 1002
1
= (1002)3
= (  100)3
= 103
= 1,000
ให้เขียนจ�ำนวนต่อไปนี้ในรูปเลขยกก�ำลัง เมื่อ x เป็นจ�ำนวนจริงบวก
1) 3  x4 2) 5 1 -2
x
4
แนวคิด 1) 3  x4 = x3
2) 5 1 -2 = 1- 2
x x5
2
= x5

Thinking Time (หน้า 28)


ให้นักเรียนเติมค�ำตอบลงในช่องว่าง แล้วตอบค�ำถามที่ก�ำหนด
1. ให้ m, n เป็นจ�ำนวนตรรกยะ และ a, b เป็นจ�ำนวนจริงที่ไม่เท่ากับ 0 และ am, an, bn
เป็นจ�ำนวนจริง จะได้ว่า
am + n
สมบัติ 1 am • an = …………………………..
m
สมบัติ 2 a n = …………………………..
am - n
a
am × n
สมบัติ 3 (am)n = …………………………..
n
สมบัติ 4 an • bn = …………………………..
(ab)
n
( ab )
n
สมบัติ 5 an = …………………………..
b
2. จากสมบัติ 3 นักเรียนคิดว่า ถ้า a = 0 แล้วจะได้ผลลัพธ์เป็นอย่างไร
mn (0) × n
แนวคิด ถ้า a = 0 และให้ m = 0 จะได้ว่า (0 ) = 0 = 00 หาค่าไม่ได้
เนื่องจาก 00 ไม่มีความหมายทางคณิตศาสตร์

41
3. จากสมบัติ 5 นักเรียนคิดว่า ถ้า b = 0 แล้วจะได้ผลลัพธ์เป็นอย่างไร
n
แนวคิด ถ้า b = 0 จะได้ว่า an = ( 0a )n หาค่าไม่ได้ เนื่องจาก 0a ไม่มีความหมาย

0
ทางคณิตศาสตร์
4. ให้นักเรียนพิจารณาวิธีพิสูจน์ดังต่อไปนี้
1
1 = 1 = (-1) × (-1) = -1 • -1 = ( -1)2 = (-1)2 × 2 = -1
จากวิธีพิสูจน์ข้างต้น นักเรียนคิดว่าขั้นตอนใดไม่ถูกต้อง เพราะเหตุใด
แนวคิด ขั้นตอน (-1) × (-1) = -1 • -1 ไม่ถูกต้อง เพราะไม่สามารถหาค่า -1
ที่เป็นจ�านวนจริงได้
ลองทําดู (หน้า 28)
1
ให้หาค่าของ [(625)4 ]3
1 1
แนวคิด [(625)4 ]3 = [(54)4]3

= 53
= 125
ลองทําดู (หน้า 29)
ให้เขียนจ�านวนต่อไปนี้ในรูปอย่างง่าย
1 3 1 3
1) 643 • 164 2) (273 • 2435 )3
1 3 1 3
แนวคิด 1) 643 • 164 = (26)3 • (24)4
6 12
= 23 • 2 4
= 22 • 23
= 22 + 3
= 25
2) (2713 • 24335 )3 = [(33)13 • (35)35 ] 3

= (3 • 33)3

= 33 • 39

= 33 + 9

= 312
42
ลองทําดู (หน้า 30)
ให้เขียนจ�านวนแต่ละข้อต่อไปนี้ในรูปอย่างง่าย เมื่อ m และ n เป็นจ�านวนจริงบวก
-3 n5)- 13 - 13 - 14
1) (m 2) 2 n- 1 -2
m
(m n 3)
1 1 1
แนวคิด 1) (m-3 n5)- 3 = (m-3)- 3 (n5)- 3
5
= m n- 3
= m5
n3
- - 1 1 - - 1 1
2) m2 3 n- 1 4- 2 = m -43 n 2 4
(m n 3) m n3
- 13 + 4
= 2 + 1
m
n3 4
11
= 113 m
n12
ลองทําดู(หน้า 31)
ให้หาค่า x จากสมการต่อไปนี้
1) 5x = 625 2) 49x = 343 1
3) ( 94 )3x = 2187
128 4) ( 52 )x = 0.16
แนวคิด 1) จาก 5x = 625
5x = 54

จะได้ x = 4
1
2) จาก 49x = 343
72x = 13
7
7 = 7-3
2x
จะได้ 2x = -3

หรือ x = - 32
43
( 94 ) = 2187
3x
3) จาก 128
3 7
3 2
[( 2 ) ]
3x
=
2 7

( 32 ) = ( 32 )
6x 7


จะได้ 6x = 7
หรือ x = 76
( 52 ) = 0.16
x
4) จาก
( 52 ) = 10016
x

( 52 ) = 254
x

( 52 ) = ( 25 )
x 2

( 52 ) = ( 52 )
x -2


จะได้ x = -2

Journal Writing (หน้า 31)


1. นักเรียนได้ศึกษามาแล้วว่า ถ้า ax = an แล้ว x = n เมื่อ a, n เป็นจ�ำนวนจริง โดยที่
a > 0 และ a ≠ 1 ส�ำหรับกรณี ax = an เมื่อ a = 0 หรือ a = 1 นักเรียนคิดว่า
x = n หรือไม่ ถ้าไม่ ให้ยกตัวอย่างประกอบ
แนวคิด ถ้า a = 0 หรือ a = 1 จะได้ว่า x ไม่จ�ำเป็นต้องเท่ากับ n
เช่น ให้ x = 2, n = 11 จะได้ว่า 02 = 011 = 0 แต่ 2 ≠ 11
ให้ x = 5, n = 7 จะได้ว่า 15 = 17 = 1 แต่ 5 ≠ 7
2. ก�ำหนด a > 0 และ x เป็นจ�ำนวนจริงใด ๆ นักเรียนคิดว่า ax มีค่าเป็น 0 หรือจ�ำนวน
จริงลบหรือไม่ ให้ยกตัวอย่างประกอบ
แนวคิด ให้ a > 0 และ x เป็นจ�ำนวนจริงใด ๆ
จะได้ ax เป็นจ�ำนวนจริงบวกเสมอ
ดังนั้น ax มีค่าไม่เป็น 0 หรือ ax ไม่เป็นจ�ำนวนจริงลบ
เช่น a = 12 และ x = 2
จะได้ ax = ( 12 )2 = 14 > 0
44
ลองทําดู (หน้า 33)
ให้หาค่าของจ�านวนต่อไปนี้ โดยใช้เครื่องคิดเลข
1) 512 2) 13 -
9
8
3) 3 46 4) 5 77
แนวคิด 1) 512
กดปุม 5 x 1 2 =
จะปรากฏผลลัพธ์ 244140625
2) 13 - 9
8
กดปุม ( 1 3 - 8 ) ÷ 9 =
จะปรากฏผลลัพธ์ 1.130174764
3) 3 46
กดปุม SHIFT 4 6 =
จะปรากฏผลลัพธ์ 3.583047871
4) 5 77
กดปุม SHIFT x 5 7 7 =

จะปรากฏผลลัพธ์ 2.383955503
ลองทําดู (หน้า 34)
วัตถุชนิดหนึ่งมีน�้าหนัก (m) เป็นกรัม แปรผันตามความยาวของวัตถุ (x) เป็นเซนติเมตร
ที่สามารถค�านวณได้จากสูตร m = 45 5 11x + 1 ให้หาน�้าหนักของวัตถุชนิดนี้ เมื่อก�าหนด
ความยาวของวัตถุเท่ากับ 22 เซนติเมตร
แนวคิด เนื่องจาก m = 45 5 11x + 1
จะได้ m = 45 5 11(22) + 1
= 45 5 243
= 45 (3)
= 125
ดังนั้น วัตถุชนิดนี้มีน�้าหนัก 125 กรัม หรือ 2.4 กรัม
45
ส มชายฝากเงินไว้กบั ธนาคารแห่งหนึง่ โดยมีขอ้ ตกลงว่า ถ้าฝากเงินกับธนาคาร 2,000,000 บาท
ธนาคารจ่ายดอกเบีย้ ให้ 2.5% ต่อป ถ้าสมชายฝากเงินโดยไม่มกี ารถอนเงินจนครบ 5 ป 6 เดือน
อยากทราบว่าสมชายจะได้รับเงินทั้งหมดเท่าใด
แนวคิด เนื่องจาก A = P(1 + r)t
P = 2,000,000
2.5 = 0.025
r = 100
t = 5.5 = 112
11
จะได้ A = 2,000,000(1 + 0.025) 2
= 2,000,000( 1.025)11
≈ 2,000,000(1.14546)
= 2,290,920
ดังนั้น สมชายจะได้รับเงินทั้งหมดประมาณ 2,290,920 บาท

แบบฝ
ก ทักษะ 1.3
(หน้า 35)

ระดับพื้นฐาน
1. ให้เขียนจ�ำนวนต่อไปนี้ในรูปเลขยกก�ำลัง
1) 10 2) 3 52
3) 5 256 4) 8 1217
5) 4 x5 เมื่อ x > 0 6) 61 เมื่อ x > 0
x
1
แนวคิด 1) 10 = 102
2
2) 3 52 = 53
6 6 12
3) 5 256 = 255 = (52)5 = 5 5
7 7 7
4) 8 1217 = 1218 = (112)8 = 114
5
5) 4 x5 = x4
1
6) 61 = x- 6
x
46
2. ให้เขียนจ�ำนวนต่อไปนี้ในรูปกรณฑ
2 3
1) 243 2) (-30)5
4 5
3) 813 4) ( 23 )4
2
แนวคิด 1) 243 = 3 242
3
2) (-30)5 = 5 (-30)3
4
3) 813 = 3 814
5
4) ( 23 )4 = 4 (23)5
3. ให้หำค่ำของเลขยกก�ำลังต่อไปนี้
1 1
1) 812 1 2) 512- 3
- 3 1
3) -216 4) 10245
- 53 2
5) 8 6) (-1000)3
1 1
7) [(256)8]2 8) [(10000)4]3
1
แนวคิด 1) 812 = 81 = 9
1
2) 512- 3 = 3 1 = 3 1 9 = 18
512 2
- 13
3) -216 = 3 1 = 3 1 3 = - 16
(-216) (-6)
1
4) 10245 = 5 1024 = 5 210 = 4
5
5) 8- 3 = 3 1 5 = 3 13 5 = 3 15 3 = 321
8 (2 ) (2 )
2
6) (-1000)3 = 3 (-1000)2 = 3 (-103)2 = 3 (-102)3 = (-10)2 = 100
1 2 1
7) [(256)8]2 = 2568 = 2564 = 4 28 = 4
1 3
8) [(10000)4]3 = (10000)4 = 4 100003 = 4 (104)3 = 4 (103)4 = 1000

47
4. ให้หำค่ำ x จำกสมกำรต่อไปนี้
1) 11x = 1331 2) 4x = 128 1
3) 10x = 0.01 4) ( 23 )x + 2 = 81
16
แนวคิด 1) จาก 11x = 1331
11x = 113
จะได้ x = 3
2) จาก 4x = 128 1
(22)x = 17
2
22x = 2-7

จะได้ 2x = -7
หรือ x = - 72
3) จาก 10x = 0.01
1
10x = 100
10x = 10-2
จะได้ x = -2
4) จาก ( 23 )x + 2 = 81
16
( 23 )x + 2 = ( 94 )2
( 23 )x + 2 = (( 32 )2)2
( 23 )x + 2 = ( 32 )4
( 23 ) = ( 23 )
x + 2 -4

จะได้ x + 2 = -4
หรือ x = -4 - 2
x = -6

48
5. ให้หำค่ำของจ�ำนวนต่อไปนี้ โดยใช้เครื่องคิดเลข
1) 510 2) 31 + 13
6
3) 3 704 4) 4 22.2
5) 5 -244 6) 3 96
99
แนวคิด 1) 510 = 9765625
2) 31 + 13
6 ≈ 3.09463
3) 3 704 ≈ 8.89592
4) 4 22.2 ≈ 2.17064
5) 5 -244 ≈ -3.00247
6) 3 96
99 ≈ 2.11799
6. ถ้ำ r คือ ควำมยำวของรัศมีของทรงกลมมีหน่วยเปนเซนติเมตร
และ V คือ ปริมำตรของทรงกลมมีหน่วยเปนลูกบำศกเซนติเมตร r
1
3V
โดยที่ r = ( 4π )3 ถ้ำทรงกลมมีปริมำตร 972π ลูกบำศกเซนติเมตร
แล้วทรงกลมนี้จะมีรัศมียำวกี่เซนติเมตร
แนวคิด ให้ทรงกลมมีปริมาตร 972π ลูกบาศก์เซนติเมตร
1
3V
และ r = ( 4π )3
1
3(972
= [ 4π ] 3 π)
= 3 729
= 3 36
= 9 เซนติเมตร
ดังนั้น ทรงกลมนี้มีรัศมียาว 9 เซนติเมตร

49
ระดับกลาง

7. ให้เขียนจ�ำนวนต่อไปนี้ในรูปอย่ำงง่ำย
1 1 2 1 31 1 11
1) 543 • 322 • 813 2) (272 • 244)3 • (93 • 182)2
1 1 2 1 13 1 1
( ) (10 2 • 153) • (453 • 502)2
3) 122 • 36
1
3
4) 1 1
966 (606 • 303)6
1 1 2 1 1 2
แนวคิด 1) 543 • 322 • 813 = (2 • 33)3 • (25)2 • (34)3
1 5 8
= 23 • 3 • 22 • 33
1 5 8
= 23 + 2 • 31 + 3
17 11
= 2 6 • 3 3
1 31 1 11 1 3 1 1
2) (272 • 244)3 • (93 • 182)2 = (276 • 2412) • (96 • 184)
1 1 1 1
=(33)6 • (3 • 23)4 • (32)6 • (2 • 32)4
1 1 3 1 1 1
= 32 • 34 • 24 • 33 • 24 • 32
1 1 1 1 3 1
= 32 + 4 + 3 + 2 • 24 + 4
19
= 2 • 312
1 1 2 2
(
3) 122 • 36
96
1
6
3
) 12
= 1 • 363
963
2 • 3 • (22 • 32)23
= 2
1
(3 • 25)3
22 • 3 • 243 • 343
= 1 5
33 • 23
4 5 4 1
=22 + 3 - 3 • 31 + 3 - 3
5
=23 • 32
1 1
3 1
2 1 3 2
4) (102 • 153)1 • (451 36 • 502) = 102 • 15 • 4523 • 50
(606 • 303) 60 • 30
3 2
10
= 272 • 453

50
3 2 2
= (2 • 5)23 • (32 • 5)3
2 • 3
3 3 4 2
= 22 • 523 • 323 • 53
2 • 3
3+2
= 3 - 32 32 - 4
5
2 2 • 3 3
13
5
= 3 6 2
22 • 33
8. ให้เขียนจ�ำนวนต่อไปนี้ในรูปอย่ำงง่ำย เมื่อ x และ y เปนจ�ำนวนจริงบวก
4 1 1 3
x 5 • x2 y 10 • y- 2
1) - 2 2) - 1
x 5 y 5
1 2 43
3) (x-3 y4)- 2 4) (x3 y- 5)2
1 1 3 4 2
5) (x-2 y3)3 (x4 y-5)2 6) (x-3 y5)-2 (x5 y- 5)5
- 13 - 14 -2 y2 - 12
x
7) 2 - 1 -2 y x
8) ( 25 )
(x y ) 3
1 1 1
9) (4x4 y)2 ÷ 2x3 y- 2 10) (x3 y- 4)4 ÷ 5 32x4 y-8
4 1 4 1 2
แนวคิด 1) x5 -• x2 2 = x5 + 2 + 5
x 5 17
= x10
1 - 3 1 3 1
2) y10 -• y1 2 = y10 - 2 + 5
6
y 5 = y- 5
= 16
y5
1 3
3) (x-3 y4)- 2 = x 2 y-2
3
x
= 22
y

51
2 43 6
4) (x3 y- 5)2 = xy- 5
= x6
y5
1 1 2 5
5) (x-2 y3)3 (x4 y-5)2 = x- 3 y • x2 y- 2 
2 5
= x- 3 + 2 y1 - 2
4 3
= x3 y- 2
4
= x
 3
3
y2
3 4 2 5 6
6) (x-3 y5)-2(x5 y- 5) = x6y- 5 • x4y-2
= x6 + 4 y- 65 - 2
16

= x10y- 5  
10
= x 16
y5
1 1
- 3 - 4 - 13 - 14
x
7) 2  y- 1 -2 x
= -4 y 2
(x  y 3) x  y3
1 1 2
= x- 3  +  4   y- 4  -  3
11 11
= x 3    y- 12
11
= x
 113
y 12
-2  2 -  1   -1
8) ( x25y ) 2 x
= 2y - 1
(5 )  2
  -1
= xy-1
5
= 5xy
1 1 4  12
9) (4x4 y)2 ÷ 2x3 y- 2 = 3 y)- 1
(4x
2x y 2
(2 2x4y) 12
= 3 - 1
2x y 2
52
2 1
= 2x3 y- 21
2x y 2
1 + 1
= y 2
23 - 2
x
= xy
1
1
10) (x3 y- 4)4 ÷ 5 32x4 y-8 = (x3y- 4)4
1
(25x4y-8)5
12 -1
= x 4 y - 8
2x5 y 5
12 - 45 -1 + 85
x
= 2 y
56 3
x
= 52 y5
9. วิทยำฝำกเงินกับธนำคำรแห่งหนึ่งจ�ำนวน 5,000 บำท ถ้ำเขำไปปดบัญชีกับธนำคำรเมื่อฝำก
ครบเปนเวลำ 5 ป 6 เดือน จะได้รับเงินทั้งหมด 5,800 บำท อยำกทรำบว่ำธนำคำรจะให้
ดอกเบี้ยในอัตรำปละเท่ำใด
แนวคิด เนื่องจาก A = P(1 + r)t
11
5,800 = 5,000(1 + r) 2
5,800 = (1 + r)112
5,000
29 = (1 + r)112
25
112 11 2
29
(25) = [(1 + r) 2 ]11
11 ( 29 ) = 1 + r
2
25
1.0274 ≈ 1 + r
r = 1.0274 - 1
r = 0.0274
ดังนั้น ธนาคารจะให้ดอกเบี้ยในอัตราปละประมาณ 2.74%

53
10. วิโรจนกู้เงินจำกธนำคำรมำจ�ำนวนหนึ่ง โดยจะต้องจ่ำยดอกเบี้ยเงินกู้ 4.2% ต่อป ถ้ำวิโรจน
ต้องจ่ำยเงินทั้งหมดจ�ำนวน 62,225 บำท เมื่อครบก�ำหนด 3 ป 6 เดือน ให้หำว่ำวิโรจน
กู้เงินมำจ�ำนวนเท่ำใด
แนวคิด เนื่องจาก A = P(1 + r)t

62,225 = P(1 + 100 4.2 ) 72

62,225 ≈ P(1.1549)
P = 62,225
1.1549
P ≈ 53,879
ดังนั้น วิโรจน์กู้เงินจากธนาคารเป็นเงินประมาณ 53,879 บาท

ระดับทาทาย
11. ให้เขียนจ�ำนวนแต่ละข้อต่อไปนี้ในรูปอย่ำงง่ำย เมื่อ a, b, c และ d เปนจ�ำนวนจริงบวก
-4 b13 c12 3 5 23 - 12 -4 2 1 - 4 3 -1 c2 13
( )( ) ( 64a
)
a a b c 3 b2 c 3 8ab
1) - 2 -1 1 1 4 3 2) - 1 5 - 3 ÷ ( -2 3 6 )
a b c a b c
3 6 3 5 5 8a 3 b4 c 5 a b c
n n n n + 3
ab 2 c3 d bn + 2 (a + b) 2 (a + b) 2
3) bc × n ÷ n + 3 เมื่อ n > 0 4) 2 ÷ abc เมื่อ n > 0
cd 2 c bc
-4 b13 c12 3 5 23 - 12 -4
( )( )
a 2 1 1 1 1 2 4 1 3
แนวคิด 1) - 2 -1 1 a 1 b 4 c 3 = (a-4 + 3 b3 + 1 c2 - 6)3(a5 - 3 b3 - 5 c- 2 - 5)-4
a b c
3 6 a3 b5 c5 10 4 1 14 2 11

= (a- 3 b3 c3)3(a 3 b- 15 c- 10 )-4
56 8 22

= a-10 b4 c • a- 3 b15 c 5
56 8 22
= a-10 - 3 b4 + 15 c1 + 5
86 68 27
= a- 3 b15 c 5
68 27
= 1586 c 5
b
a3

54
2 1 4 3
-  1 2 1 4 3 1
 c = 26 a3 b2 c- 3  •  a-2 b3 c6 3
-1 2 3

(
2) 64a- 13 b52 c- 33
8a 3 b4 c 5 ) ÷ 8ab
( a-2 b3 c6 ) (
23 a- 3 b4 c- 5 (2  ab  c )
1 5 3 )
3 -1 2
3 11 1
= (23 ab- 4 c- 15 )3 • (2-3a-3b4c4)3
9 11 4 4
29 a3 b- 4 c- 5  • 2-1a-1b3 c3
=
9 4 11 4
= 29 - 1 a3 - 1 b- 4 + 3  c- 5  + 3
11 13
= 28 a2 b- 12 c- 15
8 2
= 211 a 13
b12 c15
n n n n
2 c3 d bn + 2 2 c3 d cn + 3
3) ab
bc × cd2n ÷ cn + 3 = ab
bc  • cd2n  • bn + 2
n n n
= ab2 - 1 - (n + 2)c3 + n + 3 - 2d1 - 2
n 4 n
= ab- 2 - 3 c3 n + 1 d1 -  2
4 n + 1
= n + 33  n - 1
ac
b2  d2
n n + 3 n 
4) (a + 2b)2 ÷ (a +abcb) 2 = (a + 2b)2  •  abc n + 3
bc bc (a + b) 2
= a
n + 3 n
c(a + b) 2  - 2
= a 3
c(a + b)2

55
12. ลูกบำศกหนึ่งมีปริมำตร a ลูกบำศกหน่วย ดังรูป
ให้หำควำมยำวของเส้นทแยงมุม d โดยตอบในรูปของ a

แนวคิด ให้ลูกบาศก์แต่ละด้านมีความยาว x หน่วย


และปริมาตรของลูกบาศก์ = กว้าง × ยาว × สูง
จะได้
a = x3
x = 3 a
ให้เส้นทแยงมุมที่ฐานของลูกบาศก์ยาว b

b
3 a

3 a

จะได้ b2 = (3 a )2 + (3 a )2

b2 = 2 3 a2
จะได้เส้นทแยงมุม d ดังรูป

d
3 a

b
56
จะได้ d2 = (3 a )2 + b2

d2 = 3 a2 + 2 3 a2
d2 = 3 3 a2
d = 3 • 3 a
ดังนั้น เส้นทแยงมุม d มีความยาว 3 • 3 a หน่วย

แบบฝกทักษะประจําหนวยการเรียนรูท ่ี 1 (หน้า 40)

1. ให้หาค่าของ
1) 4 10000 2) 3 -216
3
3) 161.5 4) 1024- 5
แนวคิด 1) 4 10000 = 4 104 = 10
2) 3 -216 = 3 -(23 × 33) = -2 × 3 = -6
15 3
3) 161.5 = 1610 = 162 = 163 = 64
3

4) 1024- 5 = 5 1 3 = 5 110 3 = 5 13 10 = 16 = 641
1024 (2 ) (2 ) 2
2. ให้ประมาณค่า 5 1022
แนวคิด ขั้นที่ 1 หาจ�านวนเต็มที่ยกก�าลังห้าแล้วใกล้เคียงกับ 1022 มากที่สุด
เนื่องจาก 35 < 1022 < 45
5 243 = 3 และ 5 1024 = 4
จะได้ว่า 5 1022 มีค่าประมาณมากกว่า 3 แต่ไม่ถึง 4
ขั้นที่ 2 ประมาณค่าของ 5 1022
พิจารณา (3.998)5 ≈ 1021.443
(3.999)5 ≈ 1022.721
ดังนั้น 5 1022 มีค่าประมาณมากกว่า 3.998 แต่ไม่ถึง 3.999

57
พิจารณาจาก 3.9981, 3.9982, 3.9983, ... , 3.9989
จะได้ว่า (3.9984)5 ≈ 1021.954
(3.9985)5 ≈ 1022.081
ดังนั้น 5 1022 มีค่าประมาณมากกว่า 3.9984 แต่ไม่ถึง 3.9985
พิจารณาจาก (3.99841)5 ≈ 1021.966
(3.99842)5 ≈ 1021.979
(3.99843)5 ≈ 1021.992
(3.99844)5 ≈ 1022.005
ดังนั้น 3.99844 เป็นค่าประมาณของ 5 1022
3. ให้หาค่าของจ�านวนต่อไปนี ้ โดยใช้เครือ่ งคิดเลข
3 10
1) 416 - 216 2) 10 +
10
3) 3π - 4 18 4) (1 + 5 5 )2
แนวคิด 1) 416 - 216 = 4294901760
3 10
2) 10 +
10 ≈ 0.531671235
3) 3π - 4 18 ≈ 7.365010817
4) (1 + 5 5 )2 ≈ 5.663113262
4. ก�าหนดสมการ p + q 7 = 5 2 เมื่อ p และ q เป็นจ�านวนตรรกยะใด ๆ
(3 - 7 )
ให้หาค่าของ p และ q
แนวคิด p + q 7 = 5 2
(3 - 7 )
p + q 7 = 5
9 - 6 7 + 7
p + q 7 = 5
16 - 6 7
p + q 7 = 5 • 16 + 6 7
16 - 6 7 16 + 6 7
p + q 7 = 5(16 + 6 7 )
2 - (6 7 )2
16

58
p + q 7 = 80 + 30 7
256 - 252
p + q 7 = 80 + 30 7
4
p + q 7 = 20 + 152 7
( p + q 7 )2 = (20 + 152 7)2
p + q 7 = 400 + 300 7 + 1575
4
p + q 7 = 31754 + 300 7
ดังนั้น จะได้ p = 3175
4 และ q = 300
5. ก�าหนดสมการ x 5 = 27 - x 3 มีค�าตอบของสมการ คือ a + b 15
2
เมื่อ a และ b เป็นจ�านวนเต็มใด ๆ ให้หาค่าของ a และ b
แนวคิด x 5 = 27 - x 3
x 5 + x 3 = 27
x( 5 + 3 ) = 27
x = 27
5 + 3
x = 27 • 5 - 3
5 + 3 5 - 3
x = 27( 2 5 - 3)2
( 5) - ( 3)
x = 3 3( 5 -
2
3)

x = 3 15 - 9
2
x = -9 + 3 15
2
ดังนั้น จะได้ a = -9 และ b = 3

59
6. ทรงกระบอกตรงมีปริมาตร 8 + 3 6 ลูกบาศก์เซนติเมตร
มีพนื้ ทีฐ่ านเท่ากับ 1 + 6 ตารางเซนติเมตร ให้หาความสูง
ของทรงกระบอกนี้ และตอบในรูป p + q 6 เซนติเมตร h
เมื่อ p และ q เป็นจ�านวนตรรกยะใด ๆ
แนวคิด ให้ทรงกระบอกตรงมีความสูง h เซนติเมตร
และปริมาตรทรงกระบอกตรง = πr2h
8 + 3 6 = (1 + 6)h
h = 8 + 3 6
1 + 6
h = 8 + 3 6 • 1 - 6
1 + 6 1 - 6
h = 8 - 2 5 6 - 18
1 - ( 6)2
h = -10 -
-5
5 6
h = 2 + 6
ดังนั้น ทรงกระบอกนี้มีความสูง 2 + 6 เซนติเมตร
7. ให้เขียนจ�านวนต่อไปนี้ในรูปอย่างง่าย เมื่อ x และ y เป็นจ�านวนจริงบวก
1) ( x3 )-4 2) 3 ÷ x-3
3 23 16x -4y-2 14
27x
3) ( 6 ) 4) ( 6 )
8y 81y
1 - 3 4 -4y12 25
x
5) ( - 1 1 )
6 y 4 32x
6) ( 243x )
x 3 y4
3 2 4 23
7) 5 x3 • 3 8x 8) (x-3 y5)- 3 (x5 y- 3)
2 - 2
x
9) 23 y- 15-2
1 5
10) (x- 3 y2) • 3 27x-3 y2
(x y 5)

60
แนวคิด 1) ( x3 )-4 = ( x3 )4
2) 3 ÷ x-3 = 3-3
x

= 3x3
2
3 3 3  3 3 2
3) (27x6 ) = ( 33 x6 )
8y 2y
2 2
= 32x4
2y
2
= 9x4
4y
-4 -2 4 1 4  -4  -2 4 1
4) (16x y6 ) = (2 x4  6y )
81y 3y
-1 - 12
= y3
2x
3y2
= 23 + 1
3xy2 2
= 2 2
3xy
1 3 4 2 -3
x 6 y- 4 x
5) ( - 1 1 ) = 3-  y4
x 3 y4 x 3 y
2 4
= x3 + 3
y1 + 3
2

= x4
y
1 2
-4y2 5 5 -4  5 1 2
6) ( 32x
243x ) = ( 2 x5 y2 )
3x
2 - 85  15
= x2  2y 
2
3 x5
- 85 - 25  15
= 9 y
4x

61
-2  1
= 4x 9 y5
1
4y
= 52
9x
7) 5  x3  •  3  8x 5  x3  •  3  23x
=
3 1
= 2  •  x5 •  x3
3 1
= 2  •  x5  + 3
14
= 2x15
3 2 4 23 2 12
8) (x-3 y5)- 3 (x5 y- 3) = x2 y- 5 •  x 5  y-2
12 2
= x2 +  5  y- 5 - 2
22 12
= x 5  y- 5
 22

= x125
y5
2 2
-  2 - 2
9) x23 y- 15-2 x3 y 25

=
(x   y 5) x-4  y5
2+4
x
= 23 +  2
y5   5
14
= x 43
y5
1 5
10) (x- 3 y2)5 •  3  27x-3 y2 = x- 3 y10 •  3  33 x-3 y2 
5 2
= x- 3 y10 •  3x-1 y3
5 2
= 3x- 3 - 1 y10 + 3
8 32
= 3x- 3 y 3
32
= 3y83
x3

62
8. ให้หาค่าของ
1) 5 + 20 + 45 2) 2 27 - 12 + 3 75
3) 3 ( 98 - 32 ) 4) 3 20 • 3 50 + 5 16 • 5 2
2
5) ( 7 - 3 )( 7 + 3 ) 6) (2 3 + 3 2 )(2 3 - 3 2 )
7) ( 5 - 2 )2 8) (2 7 - 10 )2
แนวคิด 1) 5 + 20 + 45 = 5 + 22 × 5 + 32 × 5
= 5 + 2 5 + 3 5
= 6 5
2) 2 27 - 12 + 3 75 = 2 33 - 22 × 3 + 3 52 × 3
= 2(3 3 ) - 2 3 + 3(5 3 )
= 6 3 - 2 3 + 15 3
= 19 3
3) 3 ( 98 - 32 ) = ( 3 • 98 ) - ( 3 • 32 )
2 2 2
= 3 49 - 3 16
= 3(7) - 3(4)
= 21 - 12
= 9
4) 3 20 • 3 50 + 5 16 • 5 2 = 3 20 × 50 + 5 16 × 2
= 3 1000 + 5 32
= 10 + 2
= 12
5) ( 7 - 3 )( 7 + 3 ) = ( 7 )2 - ( 3 )2
= 7 - 3
= 4
6) (2 3 + 3 2 )(2 3 - 3 2 ) = (2 3 )2 - (3 2 )2
= 12 - 18
= -6
63
7) ( 5 - 2 )2 = 5 - 2 10 + 2
= 7 - 2 10
8) (2 7 - 10 )2 = 28 - 4 70 + 10
= 38 - 4 70
9. ให้หาค่า x จากสมการต่อไปนี้
1) 4-6 • 4x = 1 2) 512 ÷ 5x = 25
3) 16x = 8 4) 2018x = 1
x - 2 x - 6
5) 1010 = 0.0001 6) 2 2 = 29
แนวคิด 1) จาก 4-6 • 4x = 1
4x = 1-6
4
4x = 46

จะได้ x = 6
2) จาก 512 ÷ 5x = 25
512x = 52
5
5 - x = 52
12
จะได้
12 - x = 2
หรือ x = 10
3) จาก 16x = 8
(24)x = 23
24x = 23
จะได้ 4x = 3
หรือ x = 34
4) จาก 2018x = 1
2018x = 20180

จะได้ x = 0
64
5) จาก 10x - 2 = 0.0001
10
10x - 2 = 0.001
10x - 2 = 10-3

จะได้ x - 2 = -3
หรือ x = -1
6) จาก 2x - 6 = 29
2
x
2 - 6 = 210

จะได้ x - 6 = 10
หรือ x = 16
10. ถ้า x-3 = 7 แล้ว x3 มีค่าเท่าใด
แนวคิด จาก x-3 = 7
(x-3)-1 = 7-1
จะได้ x3 = 71

11. ถ้า ( 2 - 1 )x = ( 2 + 1 )2 แล้ว x + 1 มีค่าเท่าใด


แนวคิด เนื่องจาก ( 2 - 1)-1 = 1
2 - 1
= 1 • 2 + 1
2 - 1 2 + 1
= 2 + 1
จะได้ 2 + 1 = ( 2 - 1)-1

จาก ( 2 - 1)x = ( 2 + 1)2

( 2 - 1)x = [( 2 - 1)-1] 2

( 2 - 1)x = ( 2 - 1)-2

จะได้ x = -2
ดังนั้น x + 1 = -2 + 1 = -1

65
12. พีระมิดฐานสี่เหลี่ยมจัตุรัสมีปริมาตร 27 ลูกบาศก์เซนติเมตร และมีความสูงเป็น 3 เท่า
ของความยาวของฐานแต่ละด้าน ให้หาความยาวรอบฐานของพีระมิด

แนวคิด ให้พีระมิดฐานสี่เหลี่ยมจัตุรัสมีความยาวฐานด้านละ a เซนติเมตร


จะได้ความสูงของพีระมิดเท่ากับ 3a
ปริมาตรพีระมิดฐานสี่เหลี่ยมจัตุรัส = 13 × พื้นที่ฐาน × สูง
27 = 13 × (a × a) × 3a
27 = a3
a = 3 27
จะได้ a = 3
ดังนั้น ความยาวรอบฐานของพีระมิดเท่ากับ 3 × 4 = 12 เซนติเมตร

66
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ฟังก์ชัน

Class Discussion (หน้า 44)


ใหนักเรียนจับคู แลวชวยกันตอบคําถามตอไปนี้
1. นักเรียนสามารถบอกต�าแหน่งที่นั่งโดยใช้ตัวเลขเพียงตัวเดียวได้หรือไม่ เพราะเหตุใด
แนวคิด ไม่ได้ เพราะต�าแหน่งที่นั่งของนักเรียนตามแถวในแนวนอน
และแถวในแนวตั้งต้องบอกเป็นคู่อันดับ
2. นักเรียนคิดว่า อันดับของตัวเลขในแต่ละคู่มีความส�าคัญหรือไม่ เช่น (5, 3) และ (3, 5)
อยู่ในต�าแหน่งที่นั่งเดียวกันหรือไม่
แนวคิด อันดับของตัวเลขในแต่ละคู่มีความส�าคัญ เช่น (5, 3) และ (3, 5)
ไม่ได้อยู่ในต�าแหน่งเดียวกัน เพราะ (5, 3) อยู่ในต�าแหน่ง D แต่ (3, 5)
ไม่อยู่ในต�าแหน่ง D

ลองทําดู (หน้า 46)


ก�าหนด A = { 4, 7 } และ B = { 1, 4, 5 } ให้หา A × B และ B × A
แนวคิด จาก A × B = { (a, b) ∙ a∊A และ b∊B }
ดังนั้น A × B = { (4, 1), (4, 4), (4, 5), (7, 1), (7, 4), (7, 5) }
จาก B × A = { (a, b) ∙ a∊B และ b∊A }
ดังนั้น B × A = { (1, 4), (1, 7), (4, 4), (4, 7), (5, 4), (5, 7) }

ลองทําดู (หน้า 48)


ก�าหนด A = { 1, 3, 5, ..., 19 } และ B = { 2, 4, 6, ..., 24 }
ให้เขียนความสัมพันธ์ที่ก�าหนดแบบแจกแจงสมาชิกและแบบบอกเงื่อนไข
1) ความสัมพันธ์มากกว่าจาก B ไป A
2) ความสัมพันธ์รากที่สองจาก A ไป B

67
แนวคิด จาก A = { 1, 3, 5, ..., 19 } และ B = { 2, 4, 6, ..., 24 } และความสัมพันธ์
ต้องเป็นสับเซตของ A × B และ B × A
จะได้ A × B = { (1, 2), (1, 4), (1, 6), ..., (19, 24) }
และ B × A = { (2, 1), (2, 3), (2, 5), ..., (24, 19) }
1) ก�าหนด r1 แทนความสัมพันธ์มากกว่าจาก B ไป A ซึ่งหมายถึง สมาชิก
ตัวหน้ามากกว่าสมาชิกตัวหลัง จะได้
r1 = { (2, 1), (4, 1), (4, 3), ..., (24, 19) }
หรือ r1 = { (x, y) ∊ B × A ∙ x > y }
2) ก�าหนด r2 แทนความสัมพันธ์รากที่สองจาก A ไป B ซึ่งหมายถึง สมาชิก
ตัวหน้าเป็นรากที่สองของสมาชิกตัวหลัง จะได้
r2 = ∅
ลองทําดู (หน้า 50)
ให้เขียนกราฟของความสัมพันธ์ต่อไปนี้
1) r1 = { (2, 4), (4, 6), (6, 8), (8, 10) }
2) r2 = { (1, 1), (2, 2), (3, 3), ..., (50, 50) }
แนวคิด 1) เขียนกราฟ r1 ได้ ดังนี้
Y
12
10 (8, 10)
8 (6, 8)
6 (4, 6)
4 (2, 4)
2
X
0 2 4 6 8 10

68
2) เขียนกราฟ r2 ได้ ดังนี้
Y
50 (50, 50)


3 (3, 3)
2 (2, 2)
1 (1, 1)
0 X
1 2 3 50


ลองทําดู (หน้า 52)
ให้เขียนกราฟของความสัมพันธ์ต่อไปนี้
1) r1 = { (x, y)∊R × R ∙ y = 12 x }
2) r2 = { (x, y)∊R × R ∙ y = 2x2 }
3) r3 = { (x, y)∊R × R ∙ y = ∙ x - 1 ∙ }
4) r4 = { (x, y)∊R × R ∙ -1 ≤ x < 2 }
แนวคิด 1) จากสมการ y = 12 x เมื่อแทนค่า x ด้วยจ�านวนจริงบางค่า จะได้พิกัด
ซึ่งแทนสมาชิกของ r1 บางสมาชิก ดังตาราง
x -2 -1 0 1 2
y -1 - 12 0 1
2 1
เขียนกราฟ r1 ได้ ดังนี้
Y
3
2
1
X
-3 -2 -1 0 1 2 3
-1
-2
-3

69
2) จากสมการ y = 2x2 เมื่อแทนค่า x ด้วยจ�ำนวนจริงบางค่า จะได้พิกัด
ซึ่งแทนสมาชิกของ r2 บางสมาชิก ดังตาราง

x -2 -1 0 1 2
y 8 2 0 2 8
เขียนกราฟ r2 ได้ ดังนี้
Y
10
8
6
4
2
X
-3 -2 -1 0 1 2 3
-2

3) จากสมการ y = ∙ x - 1 ∙ เมื่อแทนค่า x ด้วยจ�ำนวนจริงบางค่า จะได้พิกัด


ซึ่งแทนสมาชิกของ r3 บางสมาชิก ดังตาราง
x -2 -1 0 1 2
y 3 2 1 0 1
เขียนกราฟ r3 ได้ ดังนี้
Y
5
4
3
2
1
X
-3 -2 -1 0 1 2 3
-1
-2

70
4) จาก -1 ≤ x < 2 จะเขียนกราฟ r4 ได้ ดังนี้
Y

4
3
2
1
X
-3 -2 -1 0 1 2 3
-1
-2

ลองทําดู (หน้า 54)


ให้หาโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์
r = { (-3, 9), (-2, 4), (0, 0), (2, 4), (3, 9) }
แนวคิด จากบทนิยาม โดเมนของ r คือ เซตของสมาชิกตัวหน้าของคู่อันดับทั้งหมดใน r
และเรนจ์ของ r คือ เซตของสมาชิกตัวหลังของคู่อันดับทั้งหมดใน r
ดังนั้น Dr = { -3, -2, 0, 2, 3 } และ Rr = { 0, 4, 9 }
ก�าหนด r = { (x, y)∊I × I ∙ 4x - 5y = 20 } ให้หาโดเมนและเรนจ์ของ r
แนวคิด หาโดเมนของความสัมพันธ์
จาก 4x - 5y = 20 จัดตัวแปร y ในรูปของ x
จะได้ y = 4x - 20
5
4x
y = 5 - 4
เนื่องจาก 4x5 ต้องเป็นจ�านวนเต็ม แสดงว่า x เป็นจ�านวนเต็มที่หารด้วย 5 ลงตัว
โดยค่าของ x เป็นแบบรูปของจ�านวนที่เพิ่มขึ้นครั้งละ 5
คือ ..., -10, -5, 0, 5, 10, ...
ดังนั้น Dr = { x ∙ x∊I และ x หารด้วย 5 ลงตัว }
หรือ Dr = { ..., -10, -5, 0, 5, 10, ... }

71
หาเรนจ์ของความสัมพันธ์
จาก 4x - 5y = 20 จัดตัวแปร x ในรูปของ y
จะได้ x = 20 + 5y
4
x = 5 + 5y4
เนื่องจาก 5y4 ต้องเป็นจ�านวนเต็ม แสดงว่า y เป็นจ�านวนเต็มที่หารด้วย 4 ลงตัว
โดยค่าของ y เป็นแบบรูปของจ�านวนที่เพิ่มขึ้นครั้งละ 4
คือ ..., -8, -4, 0, 4, 8, ...
ดังนั้น Rr = { y ∙ y∊I และ y หารด้วย 4 ลงตัว }
หรือ Rr = { ..., -8, -4, 0, 4, 8, ... }
ลองทําดู (หน้า 55)
ก�าหนด r = { (x, y)∊R × R ∙ 4x - 5y = 20 } ให้หาโดเมนและเรนจ์ของ r
แนวคิด หาโดเมนของความสัมพันธ์
จาก 4x - 5y = 20 จัดตัวแปร y ในรูปของ x
จะได้ y = 4x - 20
5
y = 4x5 - 4
เนื่องจาก y = 4x5 - 4 จะพบว่า x เป็นจ�านวนจริงใด ๆ
ดังนั้น Dr = R
หาเรนจ์ของความสัมพันธ์
จาก 4x - 5y = 20 จัดตัวแปร x ในรูปของ y
จะได้ x = 20 + 5y
4
x = 5 + 5y4
เนื่องจาก x = 5 + 5y4 จะพบว่า y เป็นจ�านวนจริงใด ๆ
ดังนั้น Rr = R

72
ลองทําดู (หน้า 56)
x - 3 } ให้หาโดเมนและเรนจ์ของ r
ก�าหนด r = {(x, y) ∙ y = 4x + 1
แนวคิด หาโดเมนของความสัมพันธ์
x - 3 เป็นเศษส่วนที่มีตัวส่วนเป็นพหุนามก�าลังหนึ่ง และเศษส่วน
จาก y = 4x + 1
จะไม่นิยามเมื่อตัวส่วนเป็นศูนย์ นั่นคือ 4x + 1 ต้องไม่เท่ากับศูนย์
จะได้ 4x + 1 ≠ 0
x ≠ - 14
ดังนั้น Dr = {x ∙ x ≠ - 14 } หรือ Dr = R - {- 14 }
หาเรนจ์ของความสัมพันธ์
จาก x - 3 จัดตัวแปร x ในรูปของ y
y = 4x + 1
จะได้ y(4x + 1) = x - 3
4xy + y = x - 3
x - 4xy = y + 3
(1 - 4y)x = y + 3
y + 3
x = 1 - 4y
y + 3 เป็นเศษส่วนที่มีตัวส่วนเป็นพหุนามก�าลังหนึ่ง และ
เนื่องจาก x = 1 - 4y
เศษส่วนจะไม่นิยามเมื่อตัวส่วนเป็นศูนย์ นั่นคือ 1 - 4y ต้องไม่เท่ากับศูนย์
จะได้ 1 - 4y ≠ 0
y ≠ 14
ดังนั้น Rr = {y ∙ y ≠ 14 } หรือ Rr = R - {14 }
ก�าหนด r = { (x, y) ∙ y = ∙ 3x∙ } ให้หาโดเมนและเรนจ์ของ r
แนวคิด หาโดเมนของความสัมพันธ์
เนื่องจาก ∙ 3x∙ เป็นการก�าหนดค่าสัมบูรณ์ ซึ่งจ�านวนในค่าสัมบูรณ์เป็น
จ�านวนจริงใด ๆ ดังนั้น Dr = { x ∙ x∊R } หรือ Dr = R
หาเรนจ์ของความสัมพันธ์
เนื่องจาก y = ∙ 3x∙ และ ∙ 3x∙ มีค่ามากกว่าหรือเท่ากับศูนย์ทุกจ�านวนจริง x ใด ๆ
ดังนั้น Rr = { y ∙ y ≥ 0 } หรือ Rr = [0, ∞)

73
ลองทําดู (หน้า 58)
ก�าหนด r = { (x, y) ∙ y = 25 - x2 } ให้หาโดเมนและเรนจ์ของ r
แนวคิด หาโดเมนของความสัมพันธ์
เนื่องจาก 25 - x2 เป็นการก�าหนดค่ารากที่สอง ซึ่งจ�านวนในรากที่สอง
ต้องไม่เป็นจ�านวนลบ
ดังนั้น 25 - x2 ≥ 0
จะได้ x2 - 25 ≤ 0
(x - 5)(x + 5) ≤ 0
จากอสมการ แสดงค่า x บนเส้นจ�านวนจริงได้ ดังนี้

-5 5
เซตค�าตอบของอสมการ คือ { x ∙ -5 ≤ x ≤ 5 } หรือ [-5, 5]
ดังนั้น Dr = { x ∙ -5 ≤ x ≤ 5 } หรือ Dr = [-5, 5]
หาเรนจ์ของความสัมพันธ์
จัดตัวแปร x ในรูปของ y ซึ่งต้องยกก�าลังสองทั้งสองข้างของสมการ
จะได้ y = 25 - x2 และ y ≥ 0
y2 = 25 - x2
x2 = 25 - y2
x = ± 25 - y2
ดังนั้น 25 - y2 ≥ 0 และ y ≥ 0
จะได้ y2 - 25 ≤ 0
(y - 5)(y + 5) ≤ 0 และ y ≥ 0
จากอสมการ แสดงค่า y บนเส้นจ�านวนจริงได้ ดังนี้

-5 0 5
เซตค�าตอบของอสมการ คือ { y ∙ 0 ≤ y ≤ 5 } หรือ [0, 5]
ดังนั้น Rr = { y ∙ 0 ≤ y ≤ 5 } หรือ Rr = [0, 5]
74
ลองทําดู (หน้า 60)
ให้หาโดเมนและเรนจ์ โดยพิจารณาจากกราฟของความสัมพันธ์ที่ก�าหนดต่อไปนี้
1) Y 2) Y
r2
r1 3 5
2 4
1 3
X 2
-5 -4 -3 -2 -1 0 1 2 3 1
-1
-2 -4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4 X
-3 -1
-2

แนวคิด 1) จากกราฟ จะเห็นว่า x ซึง่ เป็นสมาชิกในโดเมนของ r1 เป็นจ�านวนจริงซึง่ มีคา่


น้อยกว่าหรือเท่ากับ 3 และ y ซึ่งเป็นสมาชิกในเรนจ์ของ r1 เป็นจ�านวนจริง
ดังนั้น Dr1 = { x ∙ x ≤ 3 } หรือ (-∞, 3]
Rr1 = R
2) จากกราฟ จะเห็นว่า x ซึ่งเป็นสมาชิกในโดเมนของ r2 เป็นจ�านวนจริง
และ y ซึ่งเป็นสมาชิกในเรนจ์ของ r2 เป็นจ�านวนจริง
ดังนั้น Dr2 = R
Rr2 = R

ลองทําดู (หน้า 62)


จากแผนภาพที่ก�าหนดต่อไปนี้ ให้พิจารณาว่าความสัมพันธ์ใดเป็นฟังก์ชัน
1) ระยะทาง ค่าโดยสาร 2) อุณหภูมิ อุณหภูมิ
(กิโลเมตร) รถแท็กซี่มิเตอร์ (บาท) (องศาเซลเซียส) (องศาฟาเรนไฮต์)
0.5 5 41
1 35 10 50
5 57 15 59
9 79 20 68
r1 r2
75
แนวคิด 1) จากแผนภาพ จะได้ว่า r1 เป็นฟังก์ชัน เพราะไม่มีสมาชิกในโดเมนของ r1 ที่
จับคู่กับสมาชิกในเรนจ์มากกว่า 1 ตัว
2) จากแผนภาพ จะได้วา่ r2 เป็นฟังก์ชนั เพราะสมาชิกแต่ละตัวในโดเมนของ r2
จับคู่กับสมาชิกในเรนจ์ของ r2 เพียงตัวเดียว
ลองทําดู (หน้า 63)
ให้พิจารณาว่า ความสัมพันธ์ที่ก�าหนดต่อไปนี้เป็นฟังก์ชันหรือไม่
1) r1 = { (3, 5), (4, 6), (5, 7), (6, 8) }
2) r2 = { (0, -1), (0, 0), (0, 1) }
แนวคิด 1) เนือ่ งจากคูอ่ นั ดับใน r1 ไม่มสี มาชิกตัวหน้าของคูอ่ นั ดับตัวใดทีจ่ บั คูก่ บั สมาชิก
ตัวหลังของคู่อันดับมากกว่า 1 ตัว
ดังนั้น r1 เป็นฟังก์ชัน
2) เนื่องจากคู่อันดับใน r2 มีสมาชิกตัวหน้าของคู่อันดับที่จับคู่กับสมาชิกตัวหลัง
ของคู่อันดับมากกว่า 1 ตัว นั่นคือ (0, -1), (0, 0) และ (0, 1)
ดังนั้น r2 ไม่เป็นฟังก์ชัน
ลองทําดู (หน้า 64)
ให้พิจารณาว่า ความสัมพันธ์ที่ก�าหนดต่อไปนี้เป็นฟังก์ชันหรือไม่
1) r1 = { (x, y) ∙ y = x + 10 }
2) r2 = { (x, y) ∙ y2 = x - 4 }
แนวคิด 1) จาก y = x + 10 จะได้ x = y - 10
ให้ (x, y) และ (x, z) เป็นคู่อันดับใน r1
จะได้ x = y - 10 และ x = z - 10
ดังนั้น y - 10 = z - 10
y = z
นั่นคือ r1 = { (x, y) ∙ y = x + 10 } เป็นฟังก์ชัน

76
2) จาก y2 = x - 4 จะได้ x = y2 + 4
ให้ (x, y) และ (x, z) เป็นคู่อันดับใน r2
จะได้ x = y2 + 4 และ x = z2 + 4
ดังนั้น y2 + 4 = z2 + 4
y2 = z2

y = z หรือ y = -z
นั่นคือ r2 = { (x, y) ∙ y2 = x - 4 } ไม่เป็นฟังก์ชัน

ลองทําดู(หน้า 65)
ให้พิจารณาว่า ความสัมพันธ์ที่ก�าหนดต่อไปนี้เป็นฟังก์ชันหรือไม่ โดยใช้กราฟ
1) Y 2) Y

0 X 0 X

แนวคิด 1) Y เ นื่องจากเส้นตรงที่ขนานกับแกน Y ทุกเส้น


ตัดกราฟของความสัมพันธ์เพียง 1 จุด เท่านั้น
0 X ดังนั้น ความสัมพันธ์นี้เป็นฟังก์ชัน

2) Y เนื่องจากมีเส้นตรงที่ขนานกับแกน Y
ตัดกราฟของความสัมพันธ์มากกว่า 1 จุด
0 X ดังนั้น ความสัมพันธ์นี้ไม่เป็นฟังก์ชัน

77
Journal Writing (หน้า 65)
ให้นักเรียนเขียนกราฟต่อไปนี้ พร้อมทั้งตรวจสอบกราฟว่าเป็นฟังก์ชันหรือไม่ เพราะเหตุใด
1) y = 5x - 1 2) y = 0.4x2
3) y = x3 4) y = x
แนวคิด 1)
Y เนื่องจากเส้นตรงที่ขนานกับแกน Y ทุกเส้น
y = 5x - 1 ตัดกราฟของความสัมพันธ์เพียง 1 จุด เท่านั้น
X
ดังนั้น ความสัมพันธ์นี้เป็นฟังก์ชัน
0

2) Y เนื่องจากเส้นตรงที่ขนานกับแกน Y ทุกเส้น
ตัดกราฟของความสัมพันธ์เพียง 1 จุด เท่านั้น
2
y = 0.4x ดังนั้น ความสัมพันธ์นี้เป็นฟังก์ชัน

0 X

3) Y เนื่องจากเส้นตรงที่ขนานกับแกน Y ทุกเส้น
3
y=x ตัดกราฟของความสัมพันธ์เพียง 1 จุด เท่านั้น
X
ดังนั้น ความสัมพันธ์นี้เป็นฟังก์ชัน
0

4) Y เนื่องจากเส้นตรงที่ขนานกับแกน Y ทุกเส้น
y = x  ตัดกราฟของความสัมพันธ์เพียง 1 จุด เท่านั้น
ดังนั้น ความสัมพันธ์นี้เป็นฟังก์ชัน

0 X

78
ลองทําดู (หน้า 68)
ก�าหนด f(x) = 6x - 1 โดยที่ x เป็นจ�านวนจริงใด ๆ
และ g(x) = -3x โดยที่ x เป็นจ�านวนจริงใด ๆ
ให้หาค่าของ
1) f(4) 2) f(-2)
3) f (16) 4) g(5)
5) 3g(7) 6) g (- 23 )
7) หาค่า x ที่ท�าให้ f(x) = 23 8) หาค่า x ที่ท�าให้ f(x) = g(x)
แนวคิด จาก f(x) = 6x - 1 และ g(x) = -3x จะได้
1) f(4) = 6(4) - 1 2) f(-2) = 6(-2) - 1
= 23 = -13
1 1
3) f (6) = 6 (6) - 1 4) g(5) = -3(5)
= 0 = -15
5) 3g(7) = 3(-3)(7) 6) g (- 3 ) = -3 (- 23 )
2
= -63 = 2
7) จาก f(x) = 23 8) จาก f(x) = g(x)
จะได้ 6x - 1 = 23 จะได้ 6x - 1 = -3x
6x = 24 9x = 1
ดังนั้น x = 4 ดังนั้น x = 19
ก�าหนด g(x) = x2 + 5 โดยที่ x เป็นจ�านวนจริงใด ๆ
ให้หาค่าของ
1) g(a) 2) g(a - 2)
3) g(a2) 4) g(3a)
แนวคิด 1) g(a) = a2 + 5 2) g(a - 2) = (a - 2)2 + 5
= (a2 - 4a + 4) + 5
= a2 - 4a + 9
3) g(a2) = (a2)2 + 5 4) g(3a) = (3a)2 + 5
= a4 + 5 = 9a2 + 5
79
ลองทําดู (หน้า 69)
ให้เขียนแผนภาพแสดงความสัมพันธ์ของฟังก์ชัน f(x) = 2x - 1
โดยที ่ x เป็นจ�านวนเต็มใด ๆ
แนวคิด
-10 -9 -8 -7 -6 -5 -4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
เรนจ์
f
โดเมน
-10 -9 -8 -7 -6 -5 -4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

ลองทําดู (หน้า 70)


ก�าหนด y = x2 เมื่อ -4 ≤ x ≤ 4 ให้หาเรนจ์ของฟังก์ชัน
แนวคิด จาก y = x2
เขียนกราฟของ y = x2 ได้ ดังนี้
Y
16
14
12
10
8
6
4
2
-8 -6 -4 -2 0 2 4 6 8 X

จากกราฟ จะได้เรนจ์ของกราฟอยู่ในช่วง 0 ≤ y ≤ 16
ดังนั้น Rf = { y ∙ 0 ≤ y ≤ 16 } หรือ [0, 16]
ลองทําดู (หน้า 71)
ก�าหนด f(x) = 3x - 4 โดยที่ -5 ≤ x ≤ 0 ให้หาเรนจ์ของฟังก์ชัน
แนวคิด จาก f(x) = 3x - 4
พิจารณาที่ x = -5 จะได้ f(-5) = 3(-5) - 4 = -19
พิจารณาที่ x = 0 จะได้ f(0) = 3(0) - 4 = -4
80
เขียนกราฟของฟังก์ชันได้ ดังนี้
Y
X
-5 -4 -3 -2 -1 0 1
-5
-10
-15
-20
จากกราฟ จะได้ค่าของฟังก์ชันอยู่ในช่วง -19 ≤ y ≤ -4
ดังนั้น Rf = { y ∙ y∊R และ -19 ≤ y ≤ -4 } หรือ [-19, -4]

Thinking Time (หน้า 71)


ปราโมทย์แสดงวิธีหาค�าตอบจากตัวอย่างที่ 20 ดังนีี้
จากเงื่อนไข -1 ≤ x ≤ 3
จะได้ -2 ≤ 2x ≤ 6
-3 ≤ 2x -1 ≤ 5
-3 ≤ f(x) ≤ 5
นักเรียนเห็นด้วยกับวิธีหาค�าตอบของปราโมทย์หรือไม่ เพราะเหตุใด
แนวคิด เห็นด้วย เพราะนักเรียนสามารถหาเรนจ์ หรือ f(x) โดยการจัดรูปอสมการ
จากโดเมนได้

แบบฝกทักษะ 2.1 (หน้า 72)

ระดับพื้นฐาน
1. กําหนด A = { p, q, r, s } และ B = { 2, 3 } ใหหา
1) A × B 2) B × A
3) A × A 4) B × B
แนวคิด 1) จาก A × B = { (a, b) ∙ a∊A และ b∊B }
ดังนั้น A × B = { (p, 2), (p, 3), (q, 2), (q, 3), (r, 2), (r, 3), (s, 2), (s, 3) }

81
2) จาก B × A = { (a, b) ∙ a∊B และ b∊A }
ดังนั้น B × A = { (2, p), (2, q), (2, r), (2, s), (3, p), (3, q), (3, r), (3, s) }
3) จาก A × A = { (a, b) ∙ a∊A และ b∊A }
ดังนั้น A × A = { (p, p), (p, q), (p, r), (p, s), (q, p), (q, q), (q, r), (q, s),
(r, p), (r, q), (r, r), (r, s), (s, p), (s, q), (s, r), (s, s) }
4) จาก B × B = { (a, b) ∙ a∊B และ b∊B }
ดังนั้น B × B = { (2, 2), (2, 3), (3, 2), (3, 3) }
2. กําหนด A = { 1, 3, 5, 7, 9 } และ B = { 2, 3, 4, 5 } ใหเขียนความสัมพันธ์ที่กําหนด
2.
แบบแจกแจงสมาชิกและแบบบอกเงื่อนไข
1) ความสัมพันธ์มากกว่าจาก A ไป B
2) ความสัมพันธ์รากที่สองจาก B ไป A
แนวคิด จ าก A = { 1, 3, 5, 7, 9 } และ B = { 2, 3, 4, 5 } และความสัมพันธ์ต้องเป็น
สับเซตของ A × B และ B × A
จะได้ A × B = { (1, 2), (1, 3), (1, 4), ..., (9, 5) }
และ B × A = { (2, 1), (2, 3), (2, 5), ..., (5, 9) }
1) ก�าหนด r1 แทนความสัมพันธ์มากกว่าจาก A ไป B ซึ่งหมายถึง สมาชิก
ตัวหน้ามากกว่าสมาชิกตัวหลัง จะได้
r1 = { (3, 2), (5, 2), (5, 3), ..., (9, 5) }
หรือ r1 = { (x, y)∊A × B ∙ x > y }
2) ก�าหนด r2 แทนความสัมพันธ์รากที่สองจาก B ไป A ซึ่งหมายถึง สมาชิก
ตัวหน้าเป็นรากที่สองของสมาชิกตัวหลัง จะได้
r2 = { (3, 9) }
หรือ r2 = { (x, y)∊B × A ∙ x2 = y }
หนด C = { 2, 4, 6, 8 } และ r = { (x, y)∊C × C ∣ y = 2x }
3. กําหนด C = { 2, 4, 6, 8 } และ r = { (
ใหเขียนความสัมพันธ์ r แบบแจกแจงสมาชิก
แนวคิด จาก C = { 2, 4, 6, 8 } และ r = { (x, y)∊C × C ∙ y = 2x }
จะได้ r = { (2, 4), (4, 8) }

82
4. ใหเขียนกราฟของความสัมพันธ์ตอไปนี้
1) r1 = { (-1, 1), (-2, 2), (-3, 3), (-4, 4), (-5, 5) }
2) r2 = { (1, 10), (2, 20), (3, 30), (4, 40), (5, 50) }
3) r3 = { (x, y)∊R × R ∙ y = -x2 + 1 }
4) r4 = { (x, y)∊R × R ∙ y = ∙ x + 3 ∙ }
5) r5 = { (x, y)∊R × R ∙ -2 ≤ x < 3 }
แนวคิด 1) เขียนกราฟ r1 ได้ ดังนี้
Y
7
6
(-5, 5) 5
(-4, 4) 4
(-3, 3) 3
(-2, 2) 2
(-1, 1) 1
X
-7 -6 -5 -4 -3 -2 -1 0 1 2

2) เขียนกราฟ r2 ได้ ดังนี้


Y
50 (5, 50)
40 (4, 40)
30 (3, 30)
20 (2, 20)
10 (1, 10)
X
-2 0 2 4 6 8

3) จากสมการ y = -x2 + 1 เมื่อแทนค่า x ด้วยจ�านวนจริงบางค่า จะได้พิกัด


ซึ่งแทนสมาชิกของ r3 บางสมาชิก ดังตาราง
x -2 -1 0 1 2
y -3 0 1 0 -3

83
เขียนกราฟ r3 ได้ ดังนี้
Y
3
2
1
X
-4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4
-1
-2
-3
-4
-5

4) จากสมการ y = ∙ x + 3 ∙ เมื่อแทนค่า x ด้วยจ�ำนวนจริงบางค่า จะได้พิกัด


ซึ่งแทนสมาชิกของ r4 บางสมาชิก ดังตาราง

x -5 -4 -3 0 1
y 2 1 0 3 4
เขียนกราฟ r4 ได้ ดังนี้
Y
6
5
4
3
2
1
X
-8 -7 -6 -5 -4 -3 -2 -1 0 1 2 3
-1
-2

84
5) จาก -2 ≤ x < 3 จะเขียนกราฟ r5 ได้ ดังนี้
Y
4
3
2
1
X
-3 -2 -1 0 1 2 3 4
-1
-2
-3
-4

หนด A = { 5, 6, 7, 8, 9 } และ r = { (x, y)∊A × A ∣ y = 2x - 5 } ใหหา


5. กําหนด A = { 5, 6, 7, 8, 9 } และ r = { (
1) ความสัมพันธ์ r แบบแจกแจงสมาชิก
2) โดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ r
แนวคิด 1) r = { (5, 5), (6, 7), (7, 9) }
2) จากบทนิยาม โดเมนของ r คือ เซตของสมาชิกตัวหน้าของคู่อันดับทั้งหมด
ใน r และเรนจ์ของ r คือ เซตของสมาชิกตัวหลังของคู่อันดับทั้งหมดใน r
ดังนั้น Dr = { 5, 6, 7 } และ Rr = { 5, 7, 9 }
6. ใหหาโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ที่กําหนดในแตละขอ
1) r1 = { (x, y)∊I × I ∙ 3x + 4y = 12 }
2) r2 = { (x, y)∊R × R ∙ x - 5y = 1 }
3x - 5 }
3) r3 = { (x, y) ∙ y = 4x + 7
4) r4 = { (x, y) ∙ y = ∙x∙ + 3 }
5) r5 = { (x, y) ∙ y = 16 - x2 }
แนวคิด 1) หาโดเมนของความสัมพันธ์
จาก 3x + 4y = 12 จัดตัวแปร y ในรูปของ x
จะได้ y = 12 - 3x
4
y = 3 - 3x4
85
เนื่องจาก 3x4 ต้องเป็นจ�ำนวนเต็ม แสดงว่า x เป็นจ�ำนวนเต็มที่หารด้วย 4
ลงตัว โดยค่าของ x เป็นแบบรูปของจ�ำนวนที่เพิ่มขึ้นครั้งละ 4
คือ ..., -8, -4, 0, 4, 8, …
ดังนั้น Dr1 = { x ∙ x∊I และ x หารด้วย 4 ลงตัว }
หรือ Dr1 = {..., -8, -4, 0, 4, 8, … }
หาเรนจ์ของความสัมพันธ์
จาก 3x + 4y = 12   จัดตัวแปร x ในรูปของ y
จะได้ x = 12 3- 4y
x = 4 - 4y3
เนื่องจาก 4y3 ต้องเป็นจ�ำนวนเต็ม แสดงว่า y เป็นจ�ำนวนเต็มที่หารด้วย 3
ลงตัว โดยค่าของ y เป็นแบบรูปของจ�ำนวนที่เพิ่มขึ้นครั้งละ 3
คือ ..., -6, -3, 0, 3, 6, …
ดังนั้น Rr1 = { y ∙ y∊I และ y หารด้วย 3 ลงตัว }
หรือ Rr1 = { ..., -6, -3, 0, 3, 6, … }
2) หาโดเมนของความสัมพันธ์
จาก x - 5y = 1   จัดตัวแปร y ในรูปของ x
จะได้ y = x 5- 1
เนื่องจาก y = x 5- 1 จะพบว่า x เป็นจ�ำนวนจริงใด ๆ
ดังนั้น Dr2 = R
หาเรนจ์ของความสัมพันธ์
จาก x - 5y = 1 จัดตัวแปร x ในรูปของ y
จะได้ x = 1 + 5y
เนื่องจาก x = 1 + 5y จะพบว่า y เป็นจ�ำนวนจริงใด ๆ
ดังนั้น Rr2 = R
3) หาโดเมนของความสัมพันธ์
จาก y = 4x3x - 5 เป็นเศษส่วนทีม่ ตี วั ส่วนเป็นพหุนามก�ำลังหนึง่ และเศษส่วน
+7
จะไม่นิยามเมื่อตัวส่วนเป็นศูนย์ นั่นคือ 4x + 7 ต้องไม่เท่ากับศูนย์

86
จะได้ 4x + 7 ≠ 0
x ≠ - 74
ดังนั้น Dr3 = { x ∙ x ≠ - 74  } หรือ Dr3 = R - {- 74  }
หาเรนจ์ของความสัมพันธ์
จาก y = 4x3x - 5   จัดตัวแปร x ในรูปของ y
+7
จะได้ y(4x + 7) = 3x - 5
4xy + 7y = 3x - 5
4xy - 3x = -7y - 5
(4y - 3)x = -7y - 5
x = 7y +5
3 - 4y
เนื่องจาก x = 7y +5
3 - 4y เป็นเศษส่วนที่มีตัวส่วนเป็นพหุนามก�ำลังหนึ่ง และ
เศษส่วนจะไม่นิยามเมื่อตัวส่วนเป็นศูนย์ นั่นคือ 3 - 4y ต้องไม่เท่ากับศูนย์
จะได้ 3 - 4y ≠ 0
y ≠ 34
ดังนั้น Rr3 = { y ∙ y ≠ 34 } หรือ Rr3 = R - {34}
4) หาโดเมนของความสัมพันธ์
เนื่องจาก ∙x∙ + 3 เป็นการก�ำหนดค่าสัมบูรณ์ ซึ่งจ�ำนวนในค่าสัมบูรณ์เป็น
จ�ำนวนจริงใด ๆ  ดังนั้น Dr4 = { x ∙ x∊R } หรือ Dr4 = R
หาเรนจ์ของความสัมพันธ์
 เนื่องจาก y = ∙x∙ + 3 และ ∙x∙ + 3 มีค่ามากกว่าหรือเท่ากับ 3
ทุกจ�ำนวนจริง x ใด ๆ ดังนั้น Rr4 = { y ∙ y ≥ 3 } หรือ Rr4 = [3, ∞)
5) หาโดเมนของความสัมพันธ์
เนื่องจาก 16 - x2 เป็นการก�ำหนดค่ารากที่สอง ซึ่งจ�ำนวนในรากที่สอง
ต้องไม่เป็นจ�ำนวนลบ
ดังนั้น 16 - x2 ≥ 0
x2 - 16 ≤ 0
จะได้ (x - 4)(x + 4) ≤ 0
87
จากอสมการ แสดงค่า x บนเส้นจ�านวนจริงได้ ดังนี้

-4 4
เซตค�าตอบของอสมการ คือ { x ∙ -4 ≤ x ≤ 4 } หรือ [-4, 4]
ดังนั้น Dr5 = { x ∙ -4 ≤ x ≤ 4 } หรือ Dr5 = [-4, 4]
หาเรนจ์ของความสัมพันธ์
จัดตัวแปร x ในรูปของ y ซึ่งต้องยกก�าลังสองทั้งสองทั้งข้างของสมการ
จะได้ y = 16 - x2 และ y ≥ 0
y2 = 16 - x2
x2 = 16 - y2
x = ± 16 - y2
ดังนั้น 16 - y2 ≥ 0 และ y ≥ 0
จะได้ y2 - 16 ≤ 0
(y - 4)(y + 4) ≤ 0 และ y ≥ 0
จากอสมการ แสดงค่า y บนเส้นจ�านวนจริงได้ ดังนี้

-4 0 4
เซตค�าตอบของอสมการ คือ { y ∙ 0 ≤ y ≤ 4 } หรือ [0, 4]
ดังนั้น Rr5 = { y ∙ 0 ≤ y ≤ 4 } หรือ Rr5 = [0, 4]
7. ใหหาโดเมนและเรนจ์ โดยพิจารณาจากกราฟของความสัมพันธ์ที่กําหนดตอไปนี้
1) Y 2) Y
r1
4
r2
0 X
X
-3 0 1

88
3) Y 4) Y
r3
r4
0 X 0 X
9
-3

แนวคิด 1) จากกราฟ จะเห็นว่า x ซึ่งเป็นสมาชิกในโดเมนของ r1 เป็นจ�ำนวนจริง


และ y ซึ่งเป็นสมาชิกในเรนจ์ของ r1 เป็นจ�ำนวนจริง
ดังนั้น Dr1 = R
Rr1 = R
2) จากกราฟ จะเห็นว่า x ซึ่งเป็นสมาชิกในโดเมนของ r2 เป็นจ�ำนวนจริง
และ y ซึง่ เป็นสมาชิกในเรนจ์ของ r2 เป็นจ�ำนวนจริงซึง่ น้อยกว่าหรือเท่ากับ 4
ดังนั้น Dr2 = R
Rr2 = { y ∙ y ≤ 4 } หรือ Rr2 = { y ∙ y ≤ 4 }
3) จากกราฟ จะเห็นว่า x ซึ่งเป็นสมาชิกในโดเมนของ r3 เป็นจ�ำนวนจริง
และ y ซึ่งเป็นสมาชิกในเรนจ์ของ r3 เป็นจ�ำนวนจริง
ดังนั้น Dr3 = R
Rr3 = R
4) จากกราฟ จะเห็นว่า x ซึ่งเป็นสมาชิกในโดเมนของ r4 เป็นจ�ำนวนจริง
ซึ่งมีค่ามากกว่าหรือเท่ากับ 0 และ y ซึ่งเป็นสมาชิกในเรนจ์ของ r4
เป็นจ�ำนวนจริงซึ่งมากกว่าหรือเท่ากับ -3
ดังนั้น Dr4 = { x ∙ x ≥ 0 } หรือ Dr4 = [0, ∞)
Rr4 = { y ∙ y ≥ -3 } หรือ Rr4 = [-3, ∞)

89
8. จากแผนภาพที่กําหนดตอไปนี้ ใหพิจารณาวาความสัมพันธ์ใดเปนฟงก์ชัน
1) A B 2) A B
1 3 a 5
2 6 b 10
3 9 c 15
4 12
15 r2
5
r1
แนวคิด 1) จากแผนภาพ จะได้ว่า r1 เป็นฟังก์ชัน เพราะไม่มีสมาชิกในโดเมนของ r1
ที่จับคู่กับสมาชิกในเรนจ์มากกว่า 1 ตัว
2) จากแผนภาพ จะได้ว่า r2 ไม่เป็นฟังก์ชัน เพราะมีสมาชิกในโดเมนของ r2
ที่จับคู่กับสมาชิกในเรนจ์มากกว่า 1 ตัว นั่นคือ (a, 5) และ (a, 10)
9. ใหพิจารณาวา ความสัมพันธ์ที่กําหนดใหตอไปนี้เปนฟงก์ชันหรือไม
1) r1 = { (10, 1), (20, 2), (30, 3), (40, 4) } 2) r2 = { (-1, 5), (0, 5), (1, 5) }
3) r3 = { (x, y) ∙ y = x - 3 } 4) r4 = { (x, y) ∙ y = x2 - 5 }
5) r5 = { (x, y) ∙ y2 = x + 2 } 6) r6 = { (x, y) ∙ y = - x }
แนวคิด 1) เนือ่ งจากคูอ่ นั ดับใน r1 ไม่มสี มาชิกตัวหน้าของคูอ่ นั ดับตัวใดทีจ่ บั คูก่ บั สมาชิก
ตัวหลังของคู่อันดับมากกว่า 1 ตัว
ดังนั้น r1 เป็นฟังก์ชัน
2) เนือ่ งจากคูอ่ นั ดับใน r2 ไม่มสี มาชิกตัวหน้าของคูอ่ นั ดับตัวใดทีจ่ บั คูก่ บั สมาชิก
ตัวหลังของคู่อันดับมากกว่า 1 ตัว
ดังนั้น r2 เป็นฟังก์ชัน
3) จาก y = x - 3 จะได้ x = y + 3
ให้ (x, y) และ (x, z) เป็นคู่อันดับใน r3
จะได้ x = y + 3 และ x = z + 3
ดังนั้น y = z
นั่นคือ r3 = { (x, y) ∙ y = x - 3 } เป็นฟังก์ชัน

90
4) จาก y = x2 - 5 จะได้ x2 = y + 5
ให้ (x, y) และ (x, z) เป็นคู่อันดับใน r4
จะได้ x2 = y + 5 และ x2 = z + 5
ดังนั้น y = z
นั่นคือ r4 = { (x, y) ∙ y = x2 - 5 } เป็นฟังก์ชัน
5) จาก y2 = x + 2 จะได้ x = y2 - 2
ให้ (x, y) และ (x, z) เป็นคู่อันดับใน r5
จะได้ x = y2 - 2 และ x = z2 - 2
ดังนั้น y2 = z2
จะได้ y = z หรือ y = -z
แสดงว่า มีค่า x ที่ท�าให้ได้ค่า y มากกว่า 1 ค่า
นั่นคือ r5 = { (x, y) ∙ y2 = x + 2 } ไม่เป็นฟังก์ชัน
6) จาก y = - x จะได้ x = -y
ให้ (x, y) และ (x, z) เป็นคู่อันดับใน r6
จะได้ x = -y และ x = -z
ดังนั้น y = z
นั่นคือ r6 = { (x, y) ∙ y = - x } เป็นฟังก์ชัน
10. ใหพิจารณาวา ความสัมพันธ์ที่กําหนดตอไปนี้เปนฟงก์ชันหรือไม โดยใชกราฟ
1) Y 2) Y

0 X 0 X

91
แนวคิด 1) Y เนื่องจากมีเส้นตรงที่ขนานกับแกน Y
ตัดกราฟของความสัมพันธ์มากกว่า 1 จุด
ดังนั้น ความสัมพันธ์นี้ไม่เป็นฟังก์ชัน
0 X

2) Y เนื่องจากมีเส้นตรงที่ขนานกับแกน Y
ตัดกราฟของความสัมพันธ์มากกว่า 1 จุด
ดังนั้น ความสัมพันธ์นี้ไม่เป็นฟังก์ชัน
0 X

หนด f(x) = 6x - 4 โดยที่ x เปนจํานวนจริงใด ๆ


11. กําหนด f(
ใหหาคาของ f(x) เมื่อ x∊{ -4, - 12 , 13 , 2 }
แนวคิด จาก f(x) = 6x - 4 จะได้
1) f(-4) = 6(-4) - 4 2) f(- 12) = 6(- 12) - 4
= -28 = -7
3) f(13) = 6(13) - 4 4) f(2) = 6(2) - 4
= -2 = 8
12. กําหนด f(x) = 5 - 2x โดยที
หนด f( ่ x เปนจํานวนจริงใด ๆ
ใหหาคาของ
1) f(1) 2) f(-2)
3) f(0) 4) f(3) + f(-3)

92
แนวคิด จาก f(x) = 5 - 2x จะได้
1) f(1) = 5 - 2(1) 2) f(-2) = 5 - 2(-2)
= 3 = 9
3) f(0) = 5 - 2(0) 4) f(3) + f(-3) = [5 - 2(3)] + [5 - 2(-3)]
= 5 = 10
หนด g(x) = 7x + 4 โดยที่ x เปนจํานวนจริงใด ๆ
13. กําหนด g(
ใหหาคาของ
1) g(2) 2) g(-3)
3) g ( 47 ) 4) g ( 17 ) - (- 17 )
แนวคิด จาก g(x) = 7x + 4 จะได้
1) g(2) = 7(2) + 4
= 18
2) g(-3) = 7(-3) + 4
= -17
3) g ( 47 ) = 7 ( 47 ) + 4
= 8
4) g ( 17 ) - (- 17 ) = [7 ( 17 ) + 4] - (- 17 )
= 367 = 5 17
หนด f(x) = 2x + 3 และ g(x) = 34 x - 2 โดยที่ x เปนจํานวนจริงใด ๆ
14. กําหนด f(
ใหหาคาของ
1) f(2) + g(2) 2) f(-1) - g(-1)
3) 2f(4) - 3g(6) 4) 5f(-2) - 7g(-4)
5) หาค่า x ที่ท�าให้ f(x) = 17 6) หาค่า x ที่ท�าให้ f(x) = g(x)
แนวคิด จาก f(x) = x2 + 3 และ g(x) = 34 x - 2 จะได้
1) f(2) + g(2) = ( 22 + 3) + [34 (2) - 2]
= 4 + 32 - 2
= 72 = 3 12
93
2) f(-1) - g(-1) = (-12 + 3) - [ 34  (-1) - 2]
= 52 - (- 34 - 2)
= 104 - (- 114 )
= 214 = 5 14

3) 2f(4) - 3g(6) = 2 ( 42   + 3) - 3 [ 34  (6) - 2]


= ( 82 + 6) - ( 272 - 6)
= - 192 + 12  
=   52 = 2 12

4) 5f(-2) - 7g(-4) = 5 ( -22   + 3) - 7 [ 34  (-4) - 2]


= (-5 + 15) - (-21 - 14)
= 10 - (-35)  
=   45
5) จาก f(x) = 17
จะได้ x2 + 3 = 17
x = 14
2
x = 28
6) จาก f(x) = g(x)
จะได้ x2 + 3 = 34  x - 2
x - 3x = -3 - 2
2 4
2x4 - 3x4 = -5
- x4 = -5
-x = -20
x = 20
94
15. กําหนดกราฟของฟงก์ชัน y = 3 x - 2 โดยที่ 0 ≤ x ≤ 9 ดังรูป
Y
7

0 X
9
-2

ใหหาเรนจ์ของฟงก์ชัน
แนวคิด จากกราฟ จะได้เรนจ์ของกราฟอยู่ในช่วง -2 ≤ y ≤ 7
ดังนั้น Rf = { y ∙ -2 ≤ y ≤ 7 } หรือ Rf = [-2, 7]
16. ใหหาเรนจ์ของฟงก์ชันตอไปนี้ เมื่อกําหนดโดเมน -2
หนดโดเมน -2 ≤ x ≤ 5
1) f(x) = 2x - 7 2) g(x) = x + 6
3) h(x) = -4x + 1 4) k(x) = 5 - x
แนวคิด 1) วิธีที่ 1 จาก f(x) = 2x - 7
พิจารณาที่ x = -2 จะได้ f(-2) = 2(-2) - 7 = -11
พิจารณาที่ x = 5 จะได้ f(5) = 2(5) - 7 = 3
เขียนกราฟของฟังก์ชันได้ ดังนี้
Y
4
2
X
-8 -6 -4 -2 0 2 4 6 8 10
-2
-4
-6
-8
-10
-12

จากกราฟ จะได้ค่าฟังก์ชันอยู่ในช่วง -11 ≤ y ≤ 3


95
วิธีที่ 2 จาก -2 ≤  x ≤ 5
น�ำ 2 คูณทั้งอสมการ จะได้
-4 ≤ 2x ≤ 10
น�ำ -7 บวกทั้งอสมการ จะได้
-4 + (-7) ≤ 2x + (-7) ≤ 10 + (-7)
-11 ≤  2x - 7 ≤ 3
-11 ≤    f(x) ≤ 3
ดังนั้น Rf = { y ∙ -11 ≤ y ≤ 3 } หรือ Rf = [-11, 3]
2) วิธีที่ 1 จาก g(x) = x + 6
พิจารณาที่ x = -2 จะได้ g(-2) = -2 + 6 = 4
พิจารณาที่ x = 5 จะได้ g(5) = 5 + 6 = 11
เขียนกราฟของฟังก์ชันได้ ดังนี้
Y
12
10
8
6
4
2
X
-6 -4 -2 0 2 4 6 8 10

จากกราฟ จะได้ค่าฟังก์ชันอยู่ในช่วง 4 ≤ y ≤ 11
วิธีที่ 2 จาก -2 ≤  x ≤ 5
น�ำ 6 บวกทั้งอสมการ จะได้
-2 + 6 ≤ x + 6 ≤ 5 + 6
4 ≤ x + 6 ≤ 11
4 ≤ g(x)  ≤ 11
ดังนั้น Rg = { y ∙ 4 ≤ y ≤ 11 } หรือ Rg = [4, 11]

96
3) วิธีที่ 1 จาก h(x) = -4x + 1
พิจารณาที่ x = -2 จะได้ h(-2) = -4(-2) + 1 = 9
พิจารณาที่ x = 5 จะได้ h(5) = -4(5) + 1 = -19
เขียนกราฟของฟังก์ชันได้ ดังนี้
Y
15
10
5

-12-10 -8 -6 -4 -2 0 2 4 6 8 10 12 X
-5
-10
-15
-20

จากกราฟ จะได้ค่าฟังก์ชันอยู่ในช่วง -19 ≤ y ≤ 9


วิธีที่ 2 จาก -2 ≤   x ≤ 5
น�ำ -4 คูณทั้งอสมการ จะได้
8 ≥ -4x ≥ -20
หรือ -20 ≤ -4x ≤ 8
น�ำ 1 บวกทั้งอสมการ จะได้
-20 + 1 ≤ -4x + 1 ≤ 8 + 1
-19 ≤ -4x + 1 ≤ 9
-19 ≤  h(x) ≤ 9
ดังนั้น Rh = { y ∙ -19 ≤ y ≤ 9 } หรือ Rh = [-19, 9]

97
4) วิธีที่ 1 จาก k(x) = 5 - x
พิจารณาที่ x = -2 จะได้ k(-2) = 5 - (-2) = 7
พิจารณาที่ x = 5 จะได้ k(5) = 5 - 5 = 0
เขียนกราฟของฟังก์ชันได้ ดังนี้
Y
12
10
8
6
4
2
X
-4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4 5 6
-1
-2

จากกราฟ จะได้ค่าฟังก์ชันอยู่ในช่วง 0 ≤ y ≤ 7
วิธีที่ 2 จาก -2 ≤ x ≤ 5
น�า -1 คูณทั้งอสมการ จะได้
2 ≥ -x ≥ -5
หรือ -5 ≤ -x ≤ 2
น�า 5 บวกทั้งอสมการ จะได้
-5 + 5 ≤ -x + 5 ≤ 2 + 5
0 ≤ 5 - x ≤ 7
0 ≤ k(x) ≤ 7
ดังนั้น Rk = { y ∙ 0 ≤ y ≤ 7 } หรือ Rk = [0, 7]
ระดับกลาง

หนด r = { (x, y) ∣ y = x2 + 4, x∊R- } ใหหาโดเมนและเรนจน์ของ r


17. กําหนด r = { (
แนวคิด หาโดเมนของความสัมพันธ์
เนื่องจาก x2 + 4 เป็นการก�าหนดค่ารากที่สอง ซึ่งจ�านวนในรากที่สอง
ต้องไม่เป็นจ�านวนลบ
ดังนั้น x2 + 4 ≥ 0 และ x∊R-
98
เซตค�าตอบของอสมการ คือ { x ∙ x < 0 } หรือ (-∞, 0)
ดังนั้น Dr = { x ∙ x < 0 } หรือ Dr = (-∞, 0)
หาเรนจ์ของความสัมพันธ์
เนื่องจาก x < 0
จะได้ x2 > 0
x2 + 4 > 4
x2 + 4 > 2
ดังนั้น y > 2
จากอสมการ แสดงค่า y บนเส้นจ�านวนจริงได้ ดังนี้

2
เซตค�าตอบของอสมการ คือ { y ∙ y > 2 } หรือ (2, ∞)
ดังนั้น Rr = { y ∙ y > 2 } หรือ Rr = (2, ∞)
18. กําหนด f(
หนด f(x) = 4x + 9 ใหพิจารณาขอความตอไปนี้วาจริงหรือเท็จ
1) f(1) + f(2) = f(1 + 2) 2) f(2) - f(1) = f(2 - 1)
3) f(1) × f(2) = f(1 × 2) 4) f(2) ÷ f(1) = f(2 ÷ 1)
แนวคิด 1) จาก f(1) + f(2) = f(1 + 2)
จะได้ [4(1) + 9] + [4(2) + 9] = [4(3) + 9]
(4 + 9) + (8 + 9) = 12 + 9
30 = 21
ดังนั้น f(1) + f(2) = f(1 + 2) เป็นเท็จ
2) จาก f(2) - f(1) = f(2 - 1)
จะได้ [4(2) + 9] - [4(1) + 9] = [4(1) + 9]
(8 + 9) - (4 + 9) = 4 + 9
4 = 13
ดังนั้น f(2) - f(1) = f(2 - 1) เป็นเท็จ

99
3) จาก f(1) × f(2) = f(1 × 2)
จะได้ [4(1) + 9] × [4(2) + 9] = [4(2) + 9]
13 × 17 = 17
221 = 17
ดังนั้น f(1) × f(2) = f(1 × 2) เป็นเท็จ
4) จาก f(2) ÷ f(1) = f(2 ÷ 1)
จะได้ [4(2) + 9] ÷ [4(1) + 9] = [4(2) + 9]
17 ÷ 13 = 17
17 = 17
13
ดังนั้น f(2) ÷ f(1) = f(2 ÷ 1) เป็นเท็จ

19. กําหนด g(
หนด g(x) = mx + c โดยที่ g(1) = 5 และ g(5) = -4 ใหหา
1) ค่าของ m และ c 2) g(3) × g(-4)
แนวคิด 1) จาก g(1) = 5 และ g(5) = -4
จะได้ m + c = 5 ......➊
และ 5m + c = -4 ......➋
➋ - ➊ 4m = -9
m = - 94
แทน m ใน ➊ ด้วย - 94 จะได้ - 94 + c = 5
c = 294
ดังนั้น จะได้ m = - 94 และ c = 294

2) จาก 1) จะได้ g(x) = - 94 x + 294


ดังนั้น g(3) × g(-4) = [- 94 (3) + 294 ] × [- 94 (-4) + 294 ]
= (- 274 + 294 ) × ( 364 + 294 )
= 12 × ( 654 ) = 658

100
หนด h(x) = ax12+ b โดยที่ x เปนจํานวนจริงใด ๆ โดยที่ x ≠ - ba
20. กําหนด h(
ถา h(1) = 24 และ h(-1) = -8 ใหหา
1) ค่าของ a และ b
2) ค่าของ x ที่ท�าให้ h(x) = 4
แนวคิด 1) จาก h(1) = 24
จะได้ 12
a(1) + b = 24
1 = 2a + 2b ......➊
จาก h(-1) = -8
จะได้ 12
a(-1) + b = -8
3 = 2a - 2b ......➋
➊ + ➋ 4 = 4a
a = 1
แทน a ใน ➊ ด้วย 1 จะได้ 1 = 2(1) + 2b
2b = -1
b = - 12
ดังนั้น จะได้ a = 1 และ b = - 12
2) จาก 1) จะได้ h(x) = 12 1
x - 2
จาก h(x) = 4
จะได้ 12 = 4
x - 12
12 = 4x - 2
x = 72
หนด f(x) = px2 + qx - 5 โดยที่ x เปนจํานวนใด ๆ ถา f(-1) = 1 และ f(1) = -8 ใหหา
21. กําหนด f(
1) ค่าของ p และ q 2) ค่าของ x ที่ท�าให้ f(x) = -5
แนวคิด 1) จาก f(-1) = 1
จะได้ p(-1)2 + q(-1) - 5 = 1
p - q - 5 = 1
p - q = 6 ......➊
101
จาก f(1) = -8
จะได้ p(1)2 + q(1) - 5 = -8
p + q = -3 ......➋
➊ + ➋ 2p = 3
p = 32
แทน p ใน ➊ ด้วย 32 จะได้ 32 - q = 6
q = - 92
ดังนั้น จะได้ p = 32 และ q = - 92
2) จาก 1) จะได้ f(x) = 3 x2 - 9 x - 5
2 2
จาก f(x) = -5
2
3x - 9x - 5 =
จะได้ 2 2 -5
3x2 - 9x = 0
3x(x - 3) = 0
x = 0, 3
หนด g(x) = x2 - 3 โดยที่ x เปนจํานวนจริงใด ๆ ใหหา
22. กําหนด g(
1) g(a) 2) g(a - 1)
3) g(a + 1) - g(a - 1) 4) g(a2)
5) g(a3) 6) g(a3 + 1)
แนวคิด จาก g(x) = x2 - 3 จะได้
1) g(a) = a2 - 3
2) g(a - 1) = (a - 1)2 - 3
= (a2 - 2a + 1) - 3
= a2 - 2a - 2
3) g(a + 1) - g(a - 1) = [(a + 1)2 - 3] - [(a - 1)2 - 3]
= [(a2 + 2a + 1) - 3] - [(a2 - 2a + 1) - 3]
= 4a
4) g(a2) = (a2)2 - 3
= a4 - 3
102
5) g(a3) = (a3)2 - 3
= a6 - 3
6) g(a3 + 1) = (a3 + 1)2 - 3
= (a6 + 2a3 + 1) - 3
= a6 + 2a3 - 2
23. ใหเขียนแผนภาพแสดงความสัมพันธ์ของฟงก์ชันตอไปนี้ โดยที่ x เปนจํานวนเต็มใด ๆ
1) f(x) = x + 2 2) f(x) = x2
3) f(x) = 2x2 - 2 4) f(x) = 3 - 2x2
แนวคิด 1) -7 -6 -5 -4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4 5 6 7
เรนจ์
f
โดเมน
-7 -6 -5 -4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4 5 6 7

2) -7 -6 -5 -4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4 5 6 7
เรนจ์
f
โดเมน
-7 -6 -5 -4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4 5 6 7

3) -7 -6 -5 -4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4 5 6 7
เรนจ์
f
โดเมน
-7 -6 -5 -4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4 5 6 7

4) -7 -6 -5 -4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4 5 6 7
เรนจ์
f
โดเมน
-7 -6 -5 -4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4 5 6 7

103
หนด f : x  ax + bx โดยที่ x เปนจํานวนจริงใด ๆ และ x 0 แสดงความสัมพันธ์
24. กําหนด f :
ของ f ดังรูป
x f ax + xb
7
3 5
1
ใหหา
1) ค่าของ a และ b 2) f(1.5)
แนวคิด 1) จาก f(1) = 5
จะได้ a + b = 5 ......➊
จาก f(3) = 7
จะได้ 3a + 3b = 7 ......➋
3 × ➊ 3a + 3b = 15 ......➌
➌ - ➋ 3b - 3b = 8
9b - b = 24
b = 3
แทนค่า b ใน ➊ ด้วย 3 จะได้ a + 3 = 5
a = 2
ดังนั้น จะได้ a = 2 และ b = 3
2) จาก 1) จะได้ f(x) = 2x + x3
ดังนั้น 3
f(1.5) = 2(1.5) + 1.5
= 3 + 2
= 5
25. ใหหาเรนจ์ของฟงก์ชันตอไปนี้
1) f(x) = x, -1 ≤ x ≤ 1 2) g(x) = 2x - 3, -1 ≤ x ≤ 3
3) h(x) = x - 2, x ≥ 1 4) k(x) = -4x + 5, x < 2
แนวคิด 1) วิธีที่ 1 จาก f(x) = x
พิจารณาที่ x = -1 จะได้ f(-1) = -1
พิจารณาที่ x = 1 จะได้ f(1) = 1

104
เขียนกราฟของฟังก์ชันได้ ดังนี้
Y

0 X
-1 1
-1

จากกราฟ จะได้ค่าของฟังก์ชันอยู่ในช่วง -1 ≤ y ≤ 1
วิธีที่ 2 จาก -1 ≤  x ≤ 1
จะได้ -1 ≤ f(x) ≤ 1
ดังนั้น Rf = { y ∙ -1 ≤ y ≤ 1 } หรือ Rf = [-1, 1]
2) วิธีที่ 1 จาก g(x) = 2x - 3
พิจารณาที่ x = -1 จะได้ g(-1) = 2(-1) - 3 = -5
พิจารณาที่ x = 3 จะได้ g(3) = 2(3) - 3 = 3
เขียนกราฟของฟังก์ชันได้ ดังนี้
Y
3
2
1
X
-4 -3 -2 -1 -10 1 2 3 4 5
-2
-3
-4
-5

จากกราฟ จะได้ค่าของฟังก์ชันอยู่ในช่วง -5 ≤ y ≤ 3

105
วิธีที่ 2 จาก -1 ≤  x ≤ 3
น�ำ 2 คูณทั้งอสมการ จะได้
-2 ≤ 2x ≤ 6
น�ำ -3 บวกทั้งอสมการ จะได้
-2 + (-3) ≤ 2x + (-3) ≤ 6 + (-3)
-5 ≤ 2x - 3 ≤ 3
-5 ≤ g(x) ≤ 3
ดังนั้น Rg = { y ∙ -5 ≤ y ≤ 3 } หรือ Rg = [-5, 3]
3) วิธีที่ 1 จาก h(x) = x - 2
พิจารณาที่ x = 1 จะได้ h(1) = 1 - 2 = -1
พิจารณาที่ x = 2 จะได้ h(2) = 2 - 2 = 0
เขียนกราฟของฟังก์ชันได้ ดังนี้
Y
6
5
4
3
2
1
X
-2 -1-10 1 2 3 4 5 6 7
-2

จากกราฟ จะได้ค่าของฟังก์ชันอยู่ในช่วง y ≥ -1
วิธีที่ 2 จาก x ≥ 1
น�ำ -2 บวกทั้งอสมการ จะได้
x + (-2) ≥ 1 + (-2)
x - 2 ≥ -1
h(x) ≥ -1
ดังนั้น Rh = { y ∙ y ≥ -1 } หรือ Rh = [-1, ∞)

106
4) วิธีที่ 1 จาก k(x) = -4x + 5
พิจารณาที่ x = 2 จะได้ k(2) = -4(2) + 5 = -3
พิจารณาที่ x = 1 จะได้ k(1) = -4(1) + 5 = 1
เขียนกราฟของฟังก์ชันได้ ดังนี้
Y
5
4
3
2
1
X
-4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4 5
-1
-2
-3
จากกราฟ จะได้ค่าของฟังก์ชันอยู่ในช่วง y > -3
วิธีที่ 2 จาก x < 2
น�า -4 คูณทั้งอสมการ จะได้
-4x > -8
น�า 5 บวกทั้งอสมการ จะได้
-4x + 5 > -8 + 5
k(x) > -3
ดังนั้น Rk = { y ∙ y > -3 } หรือ Rk = (-3, ∞)
26. ใหหาโดเมนและเรนจ์ของฟงก์ชันตอไปนี้
1) f(x) = 6x + 7
2x + 3 2) g(x) = 2x + 1
x - 1
3) h(x) = x + 1 - x 12 4) k(x) = 2 x
x - 1
แนวคิด 1) หาโดเมนของความสัมพันธ์
จาก f(x) = 6x + 7
2x + 3 เป็นเศษส่วนที่มีตัวส่วนเป็นพหุนามก�าลังหนึ่ง และ
เศษส่วนจะไม่นิยามเมื่อตัวส่วนเป็นศูนย์ นั่นคือ 2x + 3 ต้องไม่เท่ากับศูนย์
จะได้ 2x + 3 ≠ 0
x ≠ - 32
ดังนั้น Df = { x ∙ x ≠ - 32 } หรือ Df = R - { - 32 }
107
หาเรนจ์ของความสัมพันธ์
จาก  f(x) = 6x +7 6x + 7
2x + 3  หรือ y = 2x + 3 จัดตัวแปร x ในรูปของ y
จะได้ y(2x + 3) = 6x + 7
2xy + 3y = 6x + 7
2xy - 6x = 7 - 3y
(2y - 6)x = 7 - 3y
x = 2y7 - 3y
-6
จาก x = 72y- -3y6  เป็นเศษส่วนที่มีตัวส่วนเป็นพหุนามก�ำลังหนึ่ง และ
เศษส่วนจะไม่นิยามเมื่อตัวส่วนเป็นศูนย์ นั่นคือ 2y - 6 ต้องไม่เท่ากับศูนย์
จะได้ 2y - 6 ≠ 0
y ≠ 3
ดังนั้น Rf = { y ∙ y ≠ 3 } หรือ Rf = R - { 3 }
2) หาโดเมนของความสัมพันธ์
จาก g(x) = 2xx -+ 11 เป็นเศษส่วนที่มีตัวส่วนเป็นพหุนามก�ำลังหนึ่ง และ
เศษส่วนจะไม่นิยามเมื่อตัวส่วนเป็นศูนย์ นั่นคือ x - 1 ต้องไม่เท่ากับศูนย์
จะได้ x - 1 ≠ 0
x ≠ 1
ดังนั้น Dg = { x ∙ x ≠ 1 } หรือ Dg = R - { 1 }
หาเรนจ์ของความสัมพันธ์
จาก g(x) = 2xx -+ 11  หรือ y = 2xx -+ 11 จัดตัวแปร x ในรูปของ y
จะได้ y(x - 1) = 2x + 1
xy - y = 2x + 1
xy - 2x = y + 1
(y - 2)x = y + 1
x = 1y +- 2y

108
จ าก  x = 1y +- 2y  เป็นเศษส่วนทีม่ ตี วั ส่วนเป็นพหุนามก�ำลังหนึง่ และเศษส่วน
จะไม่นิยามเมื่อตัวส่วนเป็นศูนย์ นั่นคือ y - 2 ต้องไม่เท่ากับศูนย์
จะได้ y - 2 ≠ 0
y ≠ 2
ดังนั้น Rg = { y ∙ y ≠ 2 } หรือ Rg = R - { 2 }
3) หาโดเมนของความสัมพันธ์
จาก  h(x) = x + 1 - 12x  เป็นเศษส่วนที่มีตัวส่วนเป็นพหุนามก�ำลังหนึ่ง
และเศษส่วนจะไม่นิยามเมื่อตัวส่วนเป็นศูนย์ นั่นคือ x ต้องไม่เท่ากับศูนย์
จะได้ x ≠ 0
จะได้ Dh = { x ∙ x ≠ 0 } หรือ Dh = R - { 0 }
หาเรนจ์ของความสัมพันธ์
จาก  h(x) = x + 1 - 12x  หรือ y = x + 1 - 12x จะพบว่า y เป็น
จ�ำนวนจริงใด ๆ
ดังนั้น Rh = R
4) หาโดเมนของความสัมพันธ์
จาก k(x) = 2 x เป็นเศษส่วนทีม่ ตี วั ส่วนเป็นพหุนามก�ำลังสอง และเศษส่วน
x -1
จะไม่นิยามเมื่อตัวส่วนเป็นศูนย์ นั่นคือ x2 - 1 ต้องไม่เท่ากับศูนย์
จะได้ x2 - 1 ≠ 0
x ≠ 1, -1
ดังนั้น Dk = { x ∙ x ≠ -1, 1 } หรือ Dk = R - { -1, 1 }
หาเรนจ์ของความสัมพันธ์
จาก k(x) = 2 x หรือ y = 2 x จะพบว่า y เป็นจ�ำนวนจริงใด ๆ
x -1 x -1
ดังนั้น Rk = R

109
ระดับทาทาย

หนด f(x) = ax - 3
27. กําหนด f( x - 1 โดยที่ x เปนจํานวนใด ๆ และ x 1 ใหหาคา a ที่ทําให f(a) = a
แนวคิด จาก f(x) = ax - 3
x - 1 และ f(a) = a
จะได้ a(a) - 3
a - 1 = a
a2 - 3 = a(a - 1)
a2 - 3 = a2 - a
ดังนั้น a = 3
28. หาโดเมนและเรนจ์ของฟงก์ชันตอไปนี้
1) f(x) = x - 2 2) g(x) = x2 + 2
แนวคิด 1) หาโดเมนของความสัมพันธ์
เนื่องจาก x - 2 เป็นการก�าหนดค่ารากที่สอง ซึ่งจ�านวนในรากที่สอง
ต้องไม่เป็นจ�านวนลบ
ดังนั้น x - 2 ≥ 0
จะได้ x ≥ 2
เซตค�าตอบของอสมการ คือ { x ∙ x ≥ 2 } หรือ [2, ∞)
ดังนั้น Df = { x ∙ x ≥ 2 } หรือ Df = [2, ∞)
หาเรนจ์ของความสัมพันธ์
จัดตัวแปร x ในรูปของ y ซึ่งต้องยกก�าลังสองทั้งสองข้างของสมการ
จาก y = x - 2 และ y ≥ 0
จะได้ y2 = x - 2
x = y2 + 2
ดังนั้น y2 + 2 ≥ 0 และ y ≥ 0
y ≥ 0
เซตค�าตอบของอสมการ คือ { y ∙ y ≥ 0 } หรือ [0, ∞)
ดังนั้น Rf = { y ∙ y ≥ 0 } หรือ Rf = [0, ∞)

110
2) หาโดเมนของความสัมพันธ์
เนื่องจาก  x2 + 2 เป็นการก�ำหนดค่ารากที่สอง ซึ่งจ�ำนวนในรากที่สอง
ต้องไม่เป็นจ�ำนวนลบ
จะได้ x2 + 2 ≥ 0
ดังนั้น Dg = R
หาเรนจ์ของความสัมพันธ์
จัดตัวแปร x ในรูปของ y ซึ่งต้องยกก�ำลังสองทั้งสองข้างของสมการ
จาก y = x2 + 2 และ y ≥ 0
จะได้ y2 = x2 + 2
x2 = y2 - 2
x = ±  y2 - 2
เนื่องจาก  y2 - 2 เป็นการก�ำหนดค่ารากที่สอง ซึ่งจ�ำนวนในรากที่สอง
ต้องไม่เป็นจ�ำนวนลบ
ดังนั้น y2 - 2 ≥ 0 และ y ≥ 0
(y -   2 )(y + 2 ) ≥ 0
จากอสมการ แสดงค่า y บนเส้นจ�ำนวนจริงได้ ดังนี้

-  2 0 2
เซตค�ำตอบของอสมการ คือ { y ∙ y ≥   2 } หรือ [  2, ∞)
ดังนั้น Rg = { y ∙ y ≥   2 } หรือ Rg = [  2, ∞)

111
ลองทําดู (หน้า 79)
ให้เขียนกราฟของฟังก์ชันเชิงเส้นต่อไปนี้บนระนาบเดียวกัน
1) y1 = 2x, y2 = 4x, y3 = 6x
2) y1 = 5x, y2 = 15 x, y3 = 101 x
3) y1 = x, y2 = -x
4) y1 = 2x, y2 = 2x + 1, y3 = 2x + 3, y4 = 2x - 1
แนวคิด 1) y1 = 2x, y2 = 4x, y3 = 6x
Y y
3 y2 y1
5
4
3
2
1
X
-5 -4 -3 -2 -1-10 1 2 3 4 5
-2
-3
-4
-5
จ ากกราฟ จะเห็นว่า ถ้าสัมประสิทธิ์ของ x หรือ a มีค่ามากขึ้น
แล้วกราฟจะเบนเข้าแกน Y เมื่อ a > 0
2) y1 = 5x, y2 = 15 x, y3 = 101 x
Y
y1
5
4
3
2
1 y2
y3
0 X
-5 -4 -3 -2 -1-1 1 2 3 4 5
-2
-3
-4
-5
จ ากกราฟ จะเห็นว่า ถ้าสัมประสิทธิ์ของ x หรือ a มีค่าน้อยลง
แล้วกราฟจะเบนเข้าแกน X เมื่อ a > 0
112
3) y1 = x, y2 = -x
Y
y2 y1
5
4
3
2
1
X
-5 -4 -3 -2 -1-10 1 2 3 4 5
-2
-3
-4
-5

จ ากกราฟ จะเห็นว่า กราฟของ y = x และ y = -x


มีแกน X และแกน Y เป็นแกนสมมาตร
4) y1 = 2x, y2 = 2x + 1, y3 = 2x + 3, y4 = 2x - 1
Y y3 y2 y1 y4
4
3
2
1
X
-5 -4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4 5
-1
-2
-3
-4
-5

จ ากกราฟ จะเห็นว่า กราฟของเส้นตรง y = ax + b จะขนานกัน เมื่อ a


เท่ากัน และตัดแกน Y ที่ 0, 1, 3, -1 หรือจุด (0, 0), (0, 1), (0, 3) และ
(0, -1) และตัดแกน X ที่ 0, - 12  , - 32  , 12 หรือจุด (0, 0), (- 12 , 0),
(- 32 , 0) และ ( 12 , 0)

113
ลองทําดู (หน้า 81)
ให้เขียนกราฟของฟังก์ชันที่ก�าหนดต่อไปนี้ พร้อมทั้งหาจุดที่กราฟตัดแกน X และแกน Y
1) y = -x + 3 2) y = 4 - 2x
แนวคิด 1) y = -x + 3
Y
y = -x + 3
7
6
5
4
3
2
1
-4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4 X
-1

จ ากกราฟ จะเห็นว่า จุดที่กราฟตัดแกน X คือ (3, 0) และจุดที่กราฟตัด


แกน Y คือ (0, 3)
2) y = 4 - 2x
Y
y = 4 - 2x
7
6
5
4
3
2
1
-4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4 X
-1
-2
-3

จ ากกราฟ จะเห็นว่า จุดที่กราฟตัดแกน X คือ (2, 0) และจุดที่กราฟตัด


แกน Y คือ (0, 4)

114
Class Discussion (หน้า 81)
ให้นักเรียนจับคู่ แล้วช่วยกันตอบค�ำถามต่อไปนี้
1. เขียนกราฟของ 2x + y = 3 โดยใช้โปรแกรมคณิตศาสตร์เชิงพลวัต เช่น The Geometer’s
Sketchpad (GSP), GeoGebra
แนวคิด Y

2x + y = 3 7
6
5
4
3
2
1
-4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4 5 6 7 X
-1

2. พิจารณาว่าจุด A(2, -1) และ B(-2, 5) อยู่บนกราฟหรือไม่ และแต่ละจุดสอดคล้องกับ


สมการ 2x + y = 3 หรือไม่ เพราะเหตุใด
แนวคิด จากกราฟ พิจารณาจุด A(2, -1) อยู่บนกราฟ แต่จุด B(-2, 5) ไม่อยู่บนกราฟ
และมีจุด A(2, -1) สอดคล้องกับสมการ 2x + y = 3 เพราะ เมื่อแทนค่า
x = 2 และ y = -1 แล้วสมการจะเป็นจริง
3. ให้หาค่า p เมื่อจุด (1, p) อยู่บนกราฟของสมการ 2x + y = 3
แนวคิด เนื่องจาก จุด (1, p) อยู่บนกราฟของสมการ 2x + y = 3
แทนค่า x = 1 และ y = p ในสมการ 2x + y = 3
จะได้ 2(1) + p = 3
p = 3 - 2
p = 1
ดังนั้น ค่า p มีค่าเท่ากับ 1 เมื่อจุด (1, p) อยู่บนกราฟของสมการ
2x + y = 3

115
4. ให้หาค่า q เมื่อจุด (q, -7) อยู่บนกราฟของสมการ 2x + y = 3
แนวคิด เนื่องจาก จุด (q, -7) อยู่บนกราฟของสมการ 2x + y = 3
แทนค่า x = q และ y = -7 ในสมการ 2x + y = 3
จะได้ 2q + (-7) = 3
q = 3 + 7
q = 10
ดังนั้น ค่า q มีค่าเท่ากับ 10 เมื่อจุด (q, -7) อยู่บนกราฟของสมการ
2x + y = 3
ลองทําดู (หน้า 82)
ให้เขียนกราฟของ 4x + y = 3 และตรวจสอบว่าจุด (1, 3) อยู่บนกราฟหรือไม่
แนวคิด หำจุดตัดแกน X
แทนค่า y = 0
จะได้ 4x + (0) = 3
x = 34
หำจุดตัดแกน Y
แทนค่า x = 0
จะได้ 4(0) + y = 3
y = 3
ดังนั้น จุดที่กราฟของ 4x + y = 3 ตัดแกน X คือ จุด (34 , 0)
และตัดแกน Y คือ จุด (0, 3)
Y
4x + y = 3 6
5
4
3
2
1
-4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4 X
-1
-2

116
ตรวจสอบว่าจุด (1, 3) อยู่บนกราฟหรือไม่
แทนค่า x = 1 และ y = 3 ลงในสมการ 4x + y = 3
จะได้ 4(1) + 3 = 3
7 = 3 เป็นเท็จ
ดังนั้น จุด (1, 3) ไม่อยู่บนกราฟของ 4x + y = 3
ลองทําดู (หน้า 84)
นิธิศเป็นพนักงานบริษัทเอกชนแห่งหนึ่ง ได้รับเงินเดือนจากบริษัทเดือนละ 20,000 บาท
และได้รับเงินจากการท�างานล่วงเวลาชั่วโมงละ 125 บาท
1) ให้เขียนความสัมพันธ์ของรายได้รวมทั้งหมดกับจ�านวนชั่วโมงการท�างานล่วงเวลา
พร้อมทั้งเขียนกราฟของความสัมพันธ์ดังกล่าว
2) ให้หารายได้รวมทั้งหมด ถ้าเขาท�างานล่วงเวลา 20 ชั่วโมง
3) ถ้าในเดือนนั้นนิธิศได้รับเงินรวมทั้งหมด 23,750 บาท
ให้หาว่าเขาจะใช้เวลาท�างานล่วงเวลากี่ชั่วโมง
แนวคิด 1) ให้ x แทนจ�านวนชั่วโมงการท�างานล่วงเวลา
f(x) แทนรายได้รวมทั้งหมด
จะได้ f(x) = 20,000 + 125x
f(x)
จ�ำนวนชั่วโมงกำรท�ำงำน จ�ำนวนรำยได้ทั้งหมด 20,625
ล่วงเวลำ (ชม.) x (บำท) f(x) 20,500
1 20,125 20,375
2 20,250 20,250
3 20,375 20,125
4 20,500 20,000
5 20,625 0 1 2 3 4 5 x

2) จ�านวนรายได้ทั้งหมดของนิธิศ ถ้าท�างานล่วงเวลา 20 ชั่วโมง


= 20,000 + 125(20)
= 20,000 + 2,500
= 22,500

117
3) ถ้าในเดือนนั้นนิธิศได้รับเงินรวมทั้งหมด 23,750 บาท จะได้ f(x) = 23,750
จาก f(x) = 20,000 + 125x
จะได้ 23,750 = 20,000 + 125x
125x = 23,750 - 20,000
125x = 3,750
x = 30
ดังนั้น นิธิศจะใช้เวลาท�างานล่วงเวลา 30 ชั่วโมง จึงได้เงินรวมทั้งหมด
23,750 บาท

แบบฝกทักษะ 2.2 (หน้า 84)

ระดับพื้นฐาน
1. ให้เขียนกรำฟของฟงกชันเชิงเส้นต่อไปนี้บนระนำบเดียวกัน
1) y1 = 5x + 1, y2 = 10x + 1, y3 = 15x + 1
2) y1 = 4x, y2 = 14 x, y3 = 18 x
3) y1 = 2x, y2 = -2x
4) y1 = 3x, y2 = 3x - 5, y3 = 3x + 1, y4 = 3x + 7
5) y1 = x + 4, y2 = 2x - 4, y3 = 3x + 4, y4 = 4x + 4
แนวคิด 1) y1 = 5x + 1, y2 = 10x + 1, y3 = 15x + 1
Y y3 y2 y1
3
2
1

0 X
-2 -1 1 2
-1
-2
y3
จ ากกราฟ จะเห็นว่า ถ้าสัมประสิทธิ์ของ x หรือ a มีค่ามากขึ้น
แล้วกราฟจะเบนเข้าแกน Y เมื่อ a > 0
118
2) y1 = 4x, y2 = 14  x, y3 = 18  x
Y
y1
3
2
1 y2
y3
0 X
-2 -1 1 2
-1
-2

จ ากกราฟ จะเห็นว่า ถ้าสัมประสิทธิ์ของ x หรือ a มีค่าน้อยลง


แล้วกราฟจะเบนเข้าแกน X เมื่อ a > 0
3) y1 = 2x, y2 = -2x
Y

y2 3
y1
2
1

0 X
-2 -1 1 2
-1
-2

จ ากกราฟ จะเห็นว่า กราฟของ y1 = 2x และ y2 = -2x มีแกน X


และแกน Y เป็นแกนสมมาตร

119
4) y1 = 3x, y2 = 3x - 5, y3 = 3x + 1, y4 = 3x + 7
Yy
4 y3 y1
y2
8
6
4
2
0 X
-8 -6 -4 -2 2 4 6 8
-2
-4
-6

จ ากกราฟ จะเห็นว่า กราฟของเส้นตรง y = ax + b จะขนานกัน เมื่อ a


เท่ากัน และตัดแกน Y ที่ 0, -5, 1, 7 หรือจุด (0, 0), (0, -5), (0, 1), (0, 7)
และตัดแกน X ที่ 0, 53 , - 13 , - 73 หรือจุด (0, 0), ( 53 , 0), (- 13 , 0), (- 73 , 0)
5) y1 = x + 4, y2 = 2x - 4, y3 = 3x + 4, y4 = 4x + 4
Y
y4 y
3
y1 y2
5
4
3
2
1
X
-5 -4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4 5
-1
y4 -2
-3
-4
จ ากกราฟ จะเห็นว่า ถ้าสัมประสิทธิ์ของ x หรือ a มีค่ามากขึ้น
แล้วกราฟจะเบนเข้าแกน Y เมื่อ a > 0
120
2. ให้เขียนกรำฟของฟงกชันที่ก�ำหนดต่อไปนี้ พร้อมทั้งหำจุดที่กรำฟตัดแกน X
และแกน Y
1) y = 5x - 6 2) y = 10 - 3x
แนวคิด 1) y = 5x - 6
Y
y = 5x - 6
1
-3 -2 -1 0 1 2 3 4 5 X
-1
-2
-3
-4
-5
-6

จ ากกราฟ จะเห็นว่า จุดที่กราฟตัดแกน X คือ ( 65 , 0) และจุดที่กราฟ


ตัดแกน Y คือ (0, -6)
2) y = 10 - 3x
Y
y = 10 - 3x
12
10
8
6
4
2
X
-6 -4 -2 0 2 4 6 8
-2

จ ากกราฟ จะเห็นว่า จุดที่กราฟตัดแกน X คือ (103 , 0) และจุดที่กราฟ


ตัดแกน Y คือ (0, 10)

121
3. ให้เขียนกรำฟของ 77x + 4y = 1 และตรวจสอบว่ำจุด (-1, 2) อยู่บนกรำฟหรือไม่
แนวคิด หำจุดตัดแกน X
แทนค่า y = 0
จะได้ 7x + 4(0) = 1
x = 17
หำจุดตัดแกน Y
แทนค่า x = 0
จะได้ 7(0) + 4y = 1
y = 14
Y
7x + 4y = 1
5
4
3
2
1
X
-5 -4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4 5
-1
-2
-3
-4

ด ังนั้น จุดที่กราฟของ 7x + 4y = 1 ตัดแกน X คือจุด ( 17 , 0) และตัดแกน Y


คือจุด (0, 14 )
ตรวจสอบว่าจุด (-1, 2) อยู่บนกราฟหรือไม่
แทนค่า x = -1 และ y = 2 ลงในสมการ 7x + 4y = 1
จะได้ 7(-1) + 4(2) = 1
1 = 1 เป็นจริง
ดังนั้น จุด (-1, 2) อยู่บนกราฟของ 7x + 4y = 1

122
4. พิจำรณำกรำฟ ดังรูป
Y
1) ให้เขียนสมการจากกราฟ f และ g
3
2 f ที่ก�าหนด
1 2) ให้เขียนกราฟของสมการ y = 3
-5 -4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4 5
X และ y = 0 บนระนาบเดียวกัน
-1 g
-2

แนวคิด 1) จากกราฟ จะได้ กราฟ f คือ y = 2 และกราฟ g คือ y = - 32


2) จากสมการ y = 3 และ y = 0 จะได้กราฟ ดังนี้
Y
5
4 y = 3
3
2
1 y = 0
X
-4 -3 -2 -1 -10 1 2 3 4
-2
-3

5. ธำดำได้รับเงินจำกพ่อเดือนละ 3,600 บำท ถ้ำธำดำใช้เงินโดยเฉลี่ยวันละ 120 บำท


จำกเงินเดือนที่ได้รับ
1) ให้เขียนความสัมพันธ์ของจ�านวนเงินที่เหลือในแต่ละเดือนกับจ�านวนวันที่ใช้เงินไป
พร้อมทั้งเขียนกราฟของความสัมพันธ์ดังกล่าว
2) ให้หาจ�านวนเงินที่เหลือหลังจากใช้เงินไปแล้ว 3 วัน, 6 วัน และ 9 วัน
3) ถ้าในวันที่ธาดามีเงินเหลือ 720 บาท ให้หาว่าธาดาจะใช้เงินโดยเฉลี่ยไปแล้วกี่วัน
แนวคิด 1) ให้ x แทนจ�านวนวันที่ใช้เงินไป
f(x) แทนจ�านวนเงินที่เหลือในแต่ละเดือน
จะได้ f(x) = 3,600 - 120x

123
จ�ำนวนวัน จ�ำนวนเงิน
ที่ใช้เงิน (วัน) x ที่เหลือ (บำท) f(x) f(x)
5 3,000 3,600
10 2,400 3,000
2,400
15 1,800 1,800
20 1,200 1,200
25 600 600
x
30 0 0 5 10 15 20 25 30

2) จ�านวนเงินที่เหลือหลังจากใช้เงินไปแล้ว 3 วัน = 3,600 - 120(3)


= 3,600 - 360
= 3,240
จ�านวนเงินที่เหลือหลังจากใช้เงินไปแล้ว 6 วัน = 3,600 - 120(6)
= 3,600 - 720
= 2,880
จ�านวนเงินที่เหลือหลังจากใช้เงินไปแล้ว 9 วัน = 3,600 - 120(9)
= 3,600 - 1,080
= 2,520
3) ถ้าในวันที่ธาดามีเงินเหลือ 720 จะได้ f(x) = 720
จาก f(x) = 3,600 - 120x
จะได้ 720 = 3,600 - 120x
120x = 3,600 - 720
120x = 2,880
x = 24
ดังนั้น ธาดาใช้เงินโดยเฉลี่ยไปแล้ว 24 วัน จึงจะเหลือเงินอยู่ 720 บาท
ระดับกลาง
6. ให้เขียนกรำฟของ y = 6 - 33x เมื่อ -3 ≤ x ≤ 3 และถ้ำจุด (a, 0), (-2, b)
และ (c, 1.5) อยู่บนกรำฟของ y = 6 - 3x ให้หำค่ำ a, b และ c
แนวคิด แทนค่า (a, 0) ลงในสมการ y = 6 - 3x
จะได้ 0 = 6 - 3(a)
a = 2
124
แทนค่า (-2, b) ลงในสมการ
จะได้ b = 6 - 3(-2)
b = 12
แทนค่า (c, 1.5) ลงในสมการ
จะได้ 1.5 = 6 - 3(c)
c = 1.5
เขียนกราฟของ y = 6 - 3x เมื่อ -3 ≤ x ≤ 3 ได้ ดังนี้
Y

15
10
5
X
-6 -4 -2 0 2 4 6 8 10 12
-5
-10
-15

7. พิจำรณำสมกำร --x + 2y = 4 เมื่อก�ำหนดค่ำ x และ y ดังตำรำง


x -5 0 5
y p 2 q
1) ให้หาค่า p และ q
2) ให้เขียนกราฟของ -x + 2y = 4 เมื่อ -5 ≤ x ≤ 5
3) ถ้าจุด (r, 0.5) อยู่บนกราฟของ -x + 2y = 4 ให้หาค่า r
แนวคิด 1) จากตาราง แทนค่า (-5, p) ลงในสมการ -x + 2y = 4
จะได้ -(-5) + 2p = 4
p = - 12
แทนค่า (5, q) ลงในสมการ -x + 2y = 4
จะได้ -5 + 2q = 4
q = 92
125
2) เขียนกราฟของ -x + 2y = 4 เมื่อ -5 ≤ x ≤ 5 ได้ ดังนี้
Y
5
4
3
2
1
X
-5 -4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4 5
-1
-2

3) เนื่องจากจุด (r, 0.5) อยู่บนกราฟของ -x + 2y = 4


แทนค่า (r, 0.5) ลงในสมการ -x + 2y = 4
จะได้ -r + 2(0.5) = 4
r = -3
ระดับทาทาย

8. พิจำรณำสมกำร -2 -2x + y = - 3
1) ให้เติมค�าตอบลงในช่องว่าง
x -1 0 2
y
2) ให้เขียนกราฟของ -2x + y = -3 เมื่อ -1 ≤ x ≤ 2
3) ให้เขียนกราฟของ -2x + y = -3 และ y = -1 บนระนาบเดียวกัน
4) ใ ห้หาพื้นที่ที่ถูกปิดล้อมด้วยกราฟของสมการ -2x + y = -3, y = -1, แกน X
และแกน Y
แนวคิด 1) x -1 0 2
y -5 -3 1

126
2) เขียนกราฟของ -2x + y = -3 เมื่อ -1 ≤ x ≤ 2 ได้ ดังนี้
Y
1
X
-4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4 5
-1
-2 -2x + y = -3
-3
-4
-5

3) เขียนกราฟของ -2x + y = -3 และ y = -1 ได้ ดังนี้


Y
1 -2x + y = -3
-4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4 5 X
-1
y = -1
-2
-3
-4
-5

4) เขียนกราฟของ -2x + y = -3, y = -1, แกน X และแกน Y ได้ ดังนี้


Y
-2x + y = -3
1 3
(2, 0)
-2 -1 0 1 2 3 X
-1 (1, -1) y = -1
-2
-3 (0, -3)

เนื่องจากพื้นที่ถูกปิดล้อมเป็นรูปสี่เหลี่ยมคางหมู
จากสูตรพื้นที่รูปสี่เหลี่ยมคางหมู = 12 × ผลบวกของด้านคู่ขนาน × สูง
=12 × (1 + 1.5) × 1
= 1.25 ตารางหน่วย

127
Investigation (หน้า 86)
ให้นักเรียนตอบค�ำถามต่อไปนี้
1. เขียนกราฟต่อไปนี้โดยใช้โปรแกรมคณิตศาสตร์เชิงพลวัต
1) y = x2 2) y = -x2
แนวคิด 1) เขียนกราฟของ y = x2 ได้ ดังนี้
Y
y = x2
5
4
3
2
1
-4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4 X

2) เขียนกราฟของ y = -x2 ได้ ดังนี้


Y
2
1
X
-4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4
-1
-2 y = -x2
-3
-4
-5

2. จากข้อ 1. ให้สังเกตลักษณะของกราฟในแต่ละข้อ แล้วตอบค�ำถามต่อไปนี้


1) กราฟในข้อ 1. ทั้งสองกราฟจะลากผ่านจุดใดจุดหนึ่งที่เป็นจุดเดียวกันคือจุดใด
2) ให้หาจุดต�่ำสุดและจุดสูงสุดของกราฟ
3) ให้หาแกนสมมาตรของกราฟ

128
แนวคิด 1) กราฟของสมการ y = x2 และ y = -x2 จะลากผ่านจุดเดียวกัน คือ
จุด (0, 0)
2) จุดต�่าสุดของกราฟ y = x2 และจุดสูงสุดของกราฟ y = -x2 คือ
จุด (0, 0)
3) แกน Y หรือเส้นตรง x = 0

ลองทําดู
(หน้า 88)
ให้เขียนกราฟของฟังก์ชันก�าลังสองต่อไปนี้บนระนาบเดียวกัน พร้อมทั้งหาจุดวกกลับ
1) y1 = 3x2, y2 = 5x2, y3 = 7x2
2) y1 = -3x2, y2 = -5x2, y3 = -7x2
แนวคิด 1) จาก y1 = 3x2, y2 = 5x2, y3 = 7x2
จะได้ จุดวกกลับของ y1 = 3x2, y2 = 5x2, y3 = 7x2 คือ จุด (0, 0)
เขียนตารางคู่อันดับ (x, y) ได้ ดังนี้

x -2 -1 0 1 2
y1 12 3 0 3 12
y2 20 5 0 5 20
y3 28 7 0 7 28

จากตารางคู่อันดับ เขียนกราฟได้ ดังนี้


Y
y1 y2 y3
35
30
25
20
15
10
5
-4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4 X

129
2) จาก y1 = -3x2, y2 = -5x2, y3 = -7x2
จะได้ จุดวกกลับของ y1 = -3x2, y2 = -5x2, y3 = -7x2 คือ จุด (0, 0)
เขียนตารางคู่อันดับ (x, y) ได้ ดังนี้
x -2 -1 0 1 2
y1 -12 -3 0 -3 -12
y2 -20 -5 0 -5 -20
y3 -28 -7 0 -7 -28
จากตารางคู่อันดับ เขียนกราฟได้ ดังนี้
Y
5
X
-4 -3 -2 -1 -50 1 2 3 4
-10
-15
-20
-25
-30
y1 y2 y3 -35

ลองทําดู (หน้า 90)


ให้เขียนกราฟของฟังก์ชันก�าลังสองต่อไปนี้บนระนาบเดียวกัน พร้อมทั้งหาจุดวกกลับ
1) y1 = x2 + 5, y2 = x2 - 5
2) y1 = -x2 + 3, y2 = -x2 - 3
แนวคิด 1) จาก y1 = x2 + 5, y2 = x2 - 5
จ ะได้ จุดวกกลับของ y1 = x2 + 5, y2 = x2 - 5 คือ จุด (0, 5)
และจุด (0, -5) ตามล�าดับ

130
เขียนกราฟได้ ดังนี้
Y y1 y2
10
8
6
4
2
-4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4 X
-2
-4
-6

2) จาก y1 = -x2 + 3, y2 = -x2 - 3


จะได้ จุดวกกลับของ y1 = -x2 + 3, y2 = -x2 - 3 คือ จุด (0, 3)
และจุด (0, -3) ตามล�ำดับ
เขียนกราฟได้ ดังนี้
Y
4
2
-4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4 X
-2
-4
-6 y1
-8
-10
y2

Investigation (หน้า 90)


ให้นักเรียนตอบค�ำถามต่อไปนี้
1. เขียนกราฟที่ก�ำหนดต่อไปนี้
1) y = (x - 2)2 + k เมื่อ k = -4, -1, 0, 1 และ 4
2) y = -(x - h)2 + 1 เมื่อ h = -4 และ 2

131
Y
แนวคิด 1)
12 y5 y1 = (x - 2)2 - 4
10 y4 y2 = (x - 2)2 - 1
8 y3
y2 y3 = (x - 2)2
6 y4 = (x - 2)2 + 1
4 y1
2 y5 = (x - 2)2 + 4
-2 -1 0 1 2 3 4 5 X
-2
-4

2) Y
y1 = -(x + 4)2 +1 y2 = -(x - 2)2 + 1
1

-6 -5 -4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4 X
-1
-2
-3

2. จากข้อ 1. ให้สังเกตลักษณะของกราฟในแต่ละข้อ แล้วตอบค�ำถามต่อไปนี้


1) กราฟในข้อ 1. เป็นกราฟเส้นโค้งเปิดขึ้นด้านบนหรือเส้นโค้งเปิดลงด้านล่าง
2) กราฟตัดแกน X ที่จุดใด และแกน Y ที่จุดใด
3) ให้หาแกนสมมาตรของกราฟ
4) ให้หาจุดต�่ำสุดและจุดสูงสุดของกราฟ
แนวคิด 1) จากข้อ 1. กราฟ y = (x - 2)2 + k เป็นกราฟเส้นโค้งเปิดขึ้นด้านบน
และกราฟ y = -(x - h)2 + 1 เป็นกราฟเส้นโค้งเปิดลงด้านล่าง
2) กราฟของ y1 = (x - 2)2 - 4 ตัดแกน X ที่จุด (0, 0) และ (4, 0)
และตัดแกน Y ที่จุด (0, 0)
y2 = (x - 2)2 - 1 ตัดแกน X ที่จุด (1, 0) และ (3, 0) และตัดแกน Y
ที่จุด (0, 3)
y3 = (x - 2)2 ตัดแกน X ที่จุด (2, 0) และตัดแกน Y ที่จุด (0, 4)
y4 = (x - 2)2 + 1 กราฟไม่ตัดแกน X และตัดแกน Y ที่จุด (0, 5)
y5 = (x - 2)2 + 4 กราฟไม่ตัดแกน X และตัดแกน Y ที่จุด (0, 8)
132
กราฟของ y1 = -(x + 4)2 + 1 ตัดแกน X ที่จุด (-5, 0) และ (-3, 0)
และตัดแกน Y ที่จุด (0, -15)
y2 = -(x - 2)2 + 1 ตัดแกน X ที่จุด (1, 0) และ (3, 0) และตัดแกน Y
ที่จุด (0, -3)
3) จากรูปข้อ 1) แกนสมมาตรของกราฟ คือ เส้นตรง x = 2
จากรูปข้อ 2) แกนสมมาตรของกราฟ คือ เส้นตรง x = -4 และเส้นตรง x = 2
4) จากรูปข้อ 1) จุดต�่าสุดของกราฟอยู่ที่จุด (2, k) เมื่อ k = -4, -1, 0, 1 และ 4
จากกราฟของ y1 = -(x + 4)2 + 1 และ y2 = -(x - 2)2 + 1
มีจุดสูงสุดของกราฟอยู่ที่จุด (-4, 1) และจุด (2, 1) ตามล�าดับ
ลองทําดู (หน้า 92)
ให้เขียนกราฟของฟังก์ชันก�าลังสองต่อไปนี้ พร้อมทั้งหาจุดวกกลับ
1) y = -x2 2) y = -(x - 4)2 3) y = -(x - 4)2 + 3
แนวคิด 1) จาก y = -x2 จะได้จุดวกกลับที่จุด (0, 0)
เขียนกราฟได้ ดังนี้
Y
2
-4 -3 -2 -1-20 1 2 3 4 X
-4
-6
-8
-10
-12 y = -x2

2) จาก y = -(x - 4)2 จะได้จุดวกกลับที่จุด (4, 0)


เขียนกราฟได้ ดังนี้
Y
4
2
-3 -2 -1-20 1 2 3 4 5 X
-4
-6
-8
-10
-12 y = -(x - 4)2
133
3) จาก y = -(x - 4)2 + 3 จะได้จุดวกกลับที่จุด (4, 3)
เขียนกราฟได้ ดังนี้
Y
4
3
2
1
-1-10 1 2 3 4 5 6 7 8 X
-2 y = -(x - 4)2 + 3
-3

Investigation (หน้า 93)


เติมค�ำตอบลงในตารางให้ถูกต้อง

กราฟเปิดขึ้น จุดต�่ำสุด สมการ
ax2 h)2
y = + bx + c y = a(x - + k ค่า a ด้านบน/ แกน
/จุดสูงสุด สมมาตร
เปิดลงด้านล่าง
y = x2 - 4x + 3 y = (x - 2)2 - 1 1 เปิดขึ้นด้านบน (2, -1) x = 2
y = -x2 - 2x + 3 y = -(x + 1)2 + 4 -1 เปิดลงด้านล่าง (-1, 4) x = -1
y = x2 - 4x + 4 y = (x - 2)2 1 เปิดขึ้นด้านบน (2, 0) x = 2
y = -4x2 + 12x - 9 y = -4(x - 32 )2 -4 เปิดลงด้านล่าง ( 32 , 0) x = 32
y = 2x2 + 2x + 1 y = 2(x + 12 )2 + 12 2 เปิดขึ้นด้านบน (- 12 , 12 ) x = - 12
y = -3x2 + x - 4 y = -3(x - 16 )2 - 47
12 -3 เปิดลงด้านล่าง ( 16 , - 47
12) x = 6
1

134
ลองทําดู (หน้า 95)
ให้หาจุดวกกลับของกราฟของฟังก์ชันต่อไปนี้ พร้อมทั้งเขียนกราฟ
1) y = x2 - 4x + 11 2) y = -2x2 + 6x + 5
แนวคิด 1) วิธีที่ 1 จาก y = x2 - 4x + 11
จัดสมการ y = x2 - 4x + 11 ให้อยูใ่ นรูปก�าลังสองสมบูรณ์
จะได้ y = (x2 - 4x + 4) + 7
y = (x - 2)2 + 7
ดังนั้น กราฟจะมีจุดวกกลับอยู่ที่จุด (2, 7)
วิธีที่ 2 จาก y = x2 - 4x + 11
จะได้ a = 1, b = -4 และ c = 11 2
พิกัดของจุดวกกลับ คือ (- 2ab , 4ac - b
4a )
จะได้ - 2ab = - 2(1)
(-4) = 2
2 4(1)(11) - (-4)2
และ 4ac - b4a = 4(1) = 7
ดังนั้น กราฟจะมีจุดวกกลับอยู่ที่จุด (2, 7)
เขียนกราฟได้ ดังนี้
Y
y = x2 - 4x + 11
14
12
10
8
6 (2, 7)
4
2
X
-4 -2 -20 2 4 6

2) จาก y = -2x2 + 6x + 5
จะได้ a = -2, b = 6 และ c = 5 2
พิกัดของจุดวกกลับ คือ (- 2ab , 4ac - b
4a )
จะได้ - 2ab = - 2(-2)
6 = 3
2
135
และ 4ac - b
2
= 4(-2)(5) - (6)2 = 19
4a 4(-2) 2
ดังนั้น กราฟจะมีจุดวกกลับอยู่ที่จุด ( 32 , 192 )
เขียนกราฟได้ ดังนี้
Y
10 ( 32 , 192)
8
6
4
2 y = -2x2 + 6x + 5
X
-4 -2 -20 2 4 6
-4

แบบฝกทักษะ 2.3ก (หน้า 95)

ระดับพื้นฐาน
1. ให้เขียนกรำฟของฟงกชันก�ำลังสองต่อไปนี้บนระนำบเดียวกัน พร้อมทั้งหำจุดวกกลับ
1) y1 = 6x2, y2 = 7x2, y3 = 8x2
2) y1 = 13 x2, y2 = 15 x2, y3 = 17 x2
3) y1 = -3x2, y2 = -5x2, y3 = -7x2
4) y1 = 2x2 - 1, y2 = 2x2 + 1, y3 = 2x2 + 3
5) y1 = -3x2 - 5, y2 = -3x2 - 3, y3 = -3x2 - 1
6) y1 = (x - 1)2, y2 = (x - 2)2, y3 = (x - 3)2
7) y1 = -(x + 2)2, y2 = -(x + 3)2, y3 = -(x + 5)2
8) y1 = -2x2, y2 = -2(x + 3)2, y3 = -2(x + 3)2 + 1
9) y1 = x2, y2 = (x + 6)2, y3 = 2(x + 6)2, y4 = 2(x + 6)2 + 1
10) y = 2(x + 1)2 - 7
11) y = -3(x - 5)2 + 1
12) y = - 12 (x + 1)2 - 3
136
แนวคิด 1) จาก y1 = 6x2, y2 = 7x2, y3 = 8x2
จะได้ จุดวกกลับของ y1 = 6x2, y2 = 7x2, y3 = 8x2 คือ จุด (0, 0)
เขียนตารางคู่อันดับ (x, y) ได้ ดังนี้
x -2 -1 0 1 2
y1 24 6 0 6 24
y2 28 7 0 7 28
y3 32 8 0 8 32
จากตารางคู่อันดับ เขียนกราฟได้ ดังนี้
y1y2 y3 Y
35
30
25
20
15
10
5
X
-2.5 -2 -1.5 -1 -0.5 0 0.5 1 1.5 2 2.5

2) จาก y1 = 13  x2, y2 = 15  x2, y3 = 17  x2


จะได้ จุดวกกลับของ y1 = 13  x2, y2 = 15  x2, y3 = 17  x2 คือ จุด (0, 0)
เขียนตารางคู่อันดับ (x, y) ได้ ดังนี้

x -2 -1 0 1 2
y1 4 1 0 1 4
3 3 3 3
y2 4 1 0 1 4
5 5 5 5
y3 4 1 0 1 4
7 7 7 7

137
จากตารางคู่อันดับ เขียนกราฟได้ ดังนี้
Y
y3 y2 y1
1.8
1.6
1.4
1.2
1
0.8
0.6
0.4
0.2
X
-3 -2.5 -2 -1.5 -1 -0.5 0 0.5 1 1.5 2 2.5 3

3) จาก y1 = -3x2, y2 = -5x2, y3 = -7x2


จะได้ จุดวกกลับของ y1 = -3x2, y2 = -5x2, y3 = -7x2 คือ จุด (0, 0)
เขียนตารางคู่อันดับ (x, y) ได้ ดังนี้

x -2 -1 0 1 2
y1 -12 -3 0 -3 -12
y2 -20 -5 0 -5 -20
y3 -28 -7 0 -7 -28

จากตารางคู่อันดับ เขียนกราฟได้ ดังนี้


Y
X
-5 -4 -3 -2 -1-50 1 2 3 4 5
-10
-15
-20
-25
-30
-35
-40
y1 y2 y3

138
4) จาก y1 = 2x2 - 1, y2 = 2x2 + 1, y3 = 2x2 + 3
จะได้ จุดวกกลับของ y1 = 2x2 - 1, y2 = 2x2 + 1, y3 = 2x2 + 3 คือ
จุด (0, -1), (0, 1) และ (0, 3) ตามล�ำดับ
เขียนตารางคู่อันดับ (x, y) ได้ ดังนี้

x -2 -1 0 1 2
y1 7 1 -1 1 7
y2 9 3 1 3 9
y3 11 5 3 5 11

เขียนกราฟได้ ดังนี้
Y
y1y2 y3
14
12
10
8
6
4
2
X
-5 -4 -3 -2 -1-20 1 2 3 4 5

5) จาก y1 = -3x2 - 5, y2 = -3x2 - 3, y3 = -3x2 - 1


จะได้ จุดวกกลับของ y1 = -3x2 - 5, y2 = -3x2 - 3, y3 = -3x2 - 1
คือ จุด (0, -5), (0, -3) และ (0, -1) ตามล�ำดับ
เขียนตารางคู่อันดับ (x, y) ได้ ดังนี้

x -2 -1 0 1 2
y1 -17 -8 -5 -8 -17
y2 -15 -6 -3 -6 -15
y3 -13 -4 -1 -4 -13

139
เขียนกราฟได้ ดังนี้
Y
2
X
-5 -4 -3 -2 -1-20 1 2 3 4 5
-4
-6
-8
-10
-12
-14
y3 y y1
2

6) จาก y1 = (x - 1)2, y2 = (x - 2)2, y3 = (x - 3)2


จะได้ จุดวกกลับของ y1 = (x - 1)2, y2 = (x - 2)2, y3 = (x - 3)2
คือ จุด (1, 0), (2, 0) และ (3, 0)
เขียนตารางคู่อันดับ (x, y) ได้ ดังนี้

x -2 -1 0 1 2
y1 9 4 1 0 1
y2 16 9 4 1 0
y3 25 16 9 4 1
จากตารางคู่อันดับ เขียนกราฟได้ ดังนี้
Y
y1 y2 y3
6
5
4
3
2
1
-3 -2 -1 0 1 2 3 4 5 6 X
-1

140
7) จาก y1 = -(x + 2)2, y2 = -(x + 3)2, y3 = -(x + 5)2
จะได้ จุดวกกลับของ y1 = -(x + 2)2, y2 = -(x + 3)2, y3 = -(x + 5)2
คือ จุด (-2, 0), (-3, 0) และ (-5, 0)
เขียนตารางคู่อันดับ (x, y) ได้ ดังนี้

x -2 -1 0 1 2
y1 0 -1 -4 -9 -16
y2 -1 -4 -9 -16 -25
y3 -9 -16 -25 -36 -49

จากตารางคู่อันดับ เขียนกราฟได้ ดังนี้
Y
2
X
-9 -8 -7 -6 -5 -4 -3 -2 -1-20 1 2 3
-4
-6
-8
-10
-12
y3 y2 y1

8) จาก y1 = -2x2, y2 = -2(x + 3)2, y3 = -2(x + 3)2 + 1


จะได้ จุดวกกลับของ y1 = -2x2, y2 = -2(x + 3)2, y3 = -2(x + 3)2 + 1
คือ จุด (0, 0), (-3, 0) และ (-3, 1)
เขียนตารางคู่อันดับ (x, y) ได้ ดังนี้

x -2 -1 0 1 2
y1 -8 -2 0 -2 -8
y2 -2 -8 -18 -32 -50
y3 -1 -7 -17 -31 -49

141
จากตารางคู่อันดับ เขียนกราฟได้ ดังนี้
Y
4
2
X
-7 -6 -5 -4 -3 -2 -1-20 1 2 3
-4
-6
-8
-10
-12
y3 y2 y1 -14

9) จาก y1 = x2, y2 = (x + 6)2, y3 = 2(x + 6)2, y4 = 2(x + 6)2 + 1


จะได้ จุดวกกลับของ y1 = x2, y2 = (x + 6)2, y3 = 2(x + 6)2, y4 = 2(x + 6)2 + 1
คือ จุด (0, 0), (-6, 0), (-6, 0) และ (-6, 1)
เขียนตารางคู่อันดับ (x, y) ได้ ดังนี้

x -2 -1 0 1 2
y1 4 1 0 1 4
y2 16 25 36 49 64
y3 32 50 72 98 128
y4 33 51 73 99 129

142
จากตารางคู่อันดับ เขียนกราฟได้ ดังนี้
Y
y2 y3 y4 y1 20
18
16
14
12
10
8
6
4
2
X
-10 -9 -8 -7 -6 -5 -4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4 5

10) จาก y = 2(x + 1)2 - 7 จะได้จุดวกกลับที่จุด (-1, -7) สร้างตารางคู่อันดับ


แล้วเขียนกราฟได้ ดังนี้

x -2 -1 0 1 2
y1 -5 -7 -5 1 11
Y
1 y = 2(x + 1)2 - 7
X
-4 -3 -2 -1 0 1 2
-1
-2
-3
-4
-5
-6
-7

143
11) จาก y = -3(x - 5)2 + 1 จะได้จุดวกกลับที่จุด (5, 1) สร้างตารางคู่อันดับ
แล้วเขียนกราฟได้ ดังนี้

x 3 4 5 6 7
y1 -11 -2 1 -2 -11
Y
2
X
-4 -2 0 2 4 6 8 10
-2
-4
-6
-8
-10
-12 y = -3(x - 5)2 + 1

12) จาก y = - 12 (x + 1)2 - 3 จะได้จุดวกกลับที่จุด (-1, -3) สร้างตารางคู่อันดับ


แล้วเขียนกราฟได้ ดังนี้
x -2 -1 0 1 2

y1 - 72 -3 - 72 -5 - 152
Y
1
X
-5 -4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4
-1
-2
-3
-4
-5
-6
-7
-8 y = - 12 (x + 1)2 - 3

144
ระดับกลาง
2. ให้เขียนกรำฟของฟงกชันก�ำลังสองต่อไปนี้ พร้อมทั้งบอกจุดต�่ำสุดหรือสูงสุดของกรำฟ
1) y = 4x2 - 4x 2) y = 2x2 + 5x - 1
3) 3x2 + 6x = 2y - 10 4) y + 2x = 2x2 + 5x - 5
5) -x2 + 4x = 2y - 1
แนวคิด 1) เนื่องจาก a = 4, b = -4, c = 0, และ a > 0 2
2 4(4)(0) - (-4)
จะได้จุดต�่าสุด คือ (- 2a , 4a ) = (- 2(4) , 4(4) ) = ( 12 , -1)
b 4ac - b (-4)
Y
y = 4x2 - 4x
2
1
X
-3 -2 -1 0 1 2 3
-1
1
-2 (2 , -1)

2) เนื่องจาก a = 2, b = 5, c = -1 และ a > 0


จะได้จุดต�่าสุด คือ (- 2ab , 4ac - b
2
5 4(2)(-1) - (5)2
4a ) ( 2(2)
=
- , 4(2) )
= (- 54 , - 338 )
Y
4
3
2
1
X
-4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4
-1
-2
-3
-4
5 33
(- 4 , - 8 )

145
3) จัดสมการได้ y = 32  x2 + 3x + 5
เนื่องจาก a = 32 , b = 3, c = 5 และ a > 0
2 4 ( 3 )(5) - (3)2
จะได้จุดต�่ำสุด คือ (- 2ab  , 4ac4a- b ) = -  33  , 2 3
2 ( 2 ) 4 ( 2 )
= (-1, 72 )
Y
14
12
10
8
6
4
7
(-1 , 2 ) 2
-10 -8 -6 -4 -2 0 2 4 6 8 X
-2

4) จัดสมการได้ y = 2x2 + 3x - 5


เนื่องจาก a = 2, b = 3, c = -5 และ a > 0
2
3  , 4(2)(-5) - (3)2 )
จะได้จุดต�่ำสุด คือ (- 2ab  , 4ac4a- b ) = (- 2(2)
4(2)
= (- 34 , - 498 )
Y

1
X
-3 -2 -1 0 1 2 3
-1
-2
-3
-4
-5
-6
3 49
(- 4  , -  8 ) -7

146
5) จัดสมการได้ y = - 12 x2 + 2x + 12
เนื่องจาก a = - 12 , b = 2, c = 12 และ a < 0
b 4ac - b2
2 4 (- 12 )( 12 ) - (2)2
จะได้จุดสูงสุด คือ (- 2a , 4a ) = - ,
1
2 (- 2 ) 4 (- 12 )
= (2, 52 )
Y
4
3 (2, 52)
2
1
X
-3 -2 -1 0 1 2 3 4 5 6
-1
-2
-3

ระดับทาทาย
3. ให้เขียนกรำฟของสมกำร y = x2 + 6x และ y = -(x + 3)2 - 1 บนระนำบเดียวกัน แล้ว
กรำฟทั้งสองสมกำรมีจุดตัดกันทั้งหมดกี่จุด คือจุดใดบ้ำง
แนวคิด จากกราฟจะได้ว่า กราฟทั้งสองสมการมีจุดตัดกันทั้งหมด 2 จุด คือ จุด (-1, -5)
และ (-5, -5)

147
เขียนกราฟของ y = x2 + 6x และ y = -(x + 3)2 - 1 ได้ ดังนี้
Y
y = x2 + 6x 1
X
-8 -7 -6 -5 -4 -3 -2 -1 0 1 2
-1
-2
-3
-4
(-5, -5) (-1, -5) -5
-6
-7
-8
-9
y = -(x + 3)2 - 1

a 2 + bx + c เมื่อ a 0 โดยพิจำรณำจุดวกกลับ
4. ให้เขียนสมกำรก�ำลังสองที่อยู่ในรูป y = ax
และจุดตัดแกน X จำกกรำฟ ดังรูป
Y
4
3
2
(-3, 0) 1 (1, 0)
-4 -3 -2 -1-10 1 2 X
-2
-3
(-1, -4)-4

แนวคิด เ นื่องจาก กราฟของฟังก์ชันตัดแกน X ที่จุด (-3, 0) และ (1, 0)


และมีจุดวกกลับที่จุด (-1, -4)
แทนค่า (1, 0) และ (-1, -4) ในสมการ y = ax2 + bx + c
จะได้ a(1)2 + b(1) + c = 0
a + b + c = 0 ……➊
และ 2
a(-1) + b(-1) + c = -4
a - b + c = -4 ……➋

148
➊ - ➋ 2b = 4
b = 2
2
จากจุดวกกลับอยู่ที่จุด (- 2ab  , 4ac4a- b ) = (-1, -4)
จะได้ว่า - 2ab = -1
แทนค่า b = 2 จะได้ - 2a2 = -1
a = 1
แทนค่า a และ b ใน ➊ จะได้ 1 + 2 + c = 0
c = -3
ดังนั้น สมการก�ำลังสองคือ y = x2 + 2x - 3

Investigation (หน้า 97)


ให้นักเรียนตอบค�ำถามต่อไปนี้
1. เขียนกราฟสมการก�ำลังสองที่ก�ำหนดต่อไปนี้
1) y = x2 + 1 2) y = -x2 - 1
3) y = 2(x - 4)2 4) y = -3(x + 1)2
5) y = (x - 3)2 - 1 6) y = -x2 + 6x - 5
แนวคิด 1) Y
5
4 y = x2 + 1
3
2
1
-3 -2 -1 0 1 2 3 X

2) Y
1
-3 -2 -1-10 1 2 3 X
-2
-3 y = -x2 - 1
-4
-5

149
3) Y
5
4
3 y = 2(x - 4)2
2
1
-1 0 1 2 3 4 5 6 X

4) Y
1
-3 -2 -1-10 1 2 3 X
-2 y = -3(x + 1)2
-3
-4

5) Y
3 y = (x - 3)2 - 1
2
1
-1 0 1 2 3 4 5 6 X
-1
-2

6) Y
6
4
2
-2 -1 0 1 2 3 4 5 X
-2
-4 y = -x2 + 6x - 5
-6

150
2. จากข้อ 1. ให้พิจารณาว่ากราฟตัดแกน X กี่จุด และตัดจุดใดบ้าง
แนวคิด กราฟของข้อ 1) และ 2) ไม่ตัดแกน X
กราฟของข้อ 3) และ 4) ตัดแกน X เพียงจุดเดียว คือ จุด (4, 0)
และ (-1, 0) ตามล�าดับ
กราฟของข้อ 5) และ 6) ตัดแกน X สองจุด คือ (2, 0), (4, 0) และ (1, 0),
(5, 0) ตามล�าดับ
ลองทําดู (หน้า 99)
ให้หาค�าตอบของสมการต่อไปนี้ โดยใช้กราฟ
1) 2x2 + 5 = 0 2) -3x2 - 7 = 0
แนวคิด 1) เขียนกราฟของสมการได้ ดังนี้
Y
y = 2x2 + 5
24
22
20
18
16
14
12
10
8
6
4
2
X
-4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4 5 6
-2

จากกราฟ จะเห็นว่า กราฟของ y = 2x2 + 5 ไม่ตัดแกน X


ดังนั้น สมการ 2x2 + 5 = 0 ไม่มีค�าตอบที่เป็นจ�านวนจริง

151
2) เขียนกราฟของสมการได้ ดังนี้
Y
4
2
-10 -8 -6 -4 -2 -20 2 4 6 8 10 X
-4
-6
-8
-10
-12 2
-14 y = -3x - 7

จากกราฟ จะเห็นว่า กราฟของ y = -3x2 - 7 ไม่ตัดแกน X


ดังนั้น สมการ -3x2 - 7 = 0 ไม่มีค�ำตอบที่เป็นจ�ำนวนจริง

ให้หาค�ำตอบของสมการ x2 - 8x + 16 = 0 โดยใช้กราฟ
แนวคิด เขียนกราฟของสมการได้ ดังนี้
Y
y = x2 - 8x + 16
12
10
8
-6
-4
-2
X
-2 0 2 4 6 8 10 12
-2 (4, 0)

จ ากกราฟ จะเห็นว่า กราฟของ y = x2 - 8x + 16 ตัดแกน X เพียงจุดเดียว คือ


จุด (4, 0) นั่นคือ เมื่อ y = 0 จะได้ x = 4
ดังนั้น ค�ำตอบของสมการ x2 - 8x + 16 = 0 มีค�ำตอบเดียว คือ 4

152
ลองทําดู (หน้า 100)
ให้หาค�าตอบของสมการ 2(x + 3)2 - 8 = 0 โดยใช้กราฟ
แนวคิด วิธีที่ 1 เขียนกราฟของสมการได้ ดังนี้
Y
10 y = 2(x + 3)2 - 8
8
6
4
(-5, 0) (-1, 0) 2
-7 -6 -5 -4 -3 -2 -1-20 1 X
-4
-6
-8

จ ากกราฟ จะเห็นว่า กราฟของ y = 2(x + 3)2 - 8 ตัดแกน X สองจุด


คือ จุด (-5, 0) และจุด (-1, 0) นั่นคือ เมื่อ y = 0 จะได้ x = -5 และ -1
ดังนั้น ค�าตอบของสมการ 2(x + 3)2 - 8 = 0 มีสองค�าตอบ คือ -5
และ -1
วิธีที่ 2 จาก 2(x + 3)2 - 8 = 0
จัดสมการให้อยู่ในรูป 2(x + 3)2 = 8
ก�าหนดให้ y1 = 2(x + 3)2 และ y2 = 8
เขียนกราฟของ y1 และ y2 ได้ ดังนี้
Y
y1
12
10
(-5, 8) (-1, 8) 8 y2
6
4
2
-7 -6 -5 -4 -3 -2 -1 0 1 X

จ ากกราฟ จุดที่กราฟของ y1 ตัดกับกราฟของ y2 คือ จุด (-5, 8) และ


จุด (-1, 8) ซึ่งเป็นจุดที่ y1 = y2 หรือ 2(x + 3)2 = 8
จะได้ x = -5 และ -1
ดังนั้น ค�าตอบของสมการ 2(x + 3)2 - 8 = 0 คือ -5 และ -1
153
ลองทําดู (หน้า 101)
ให้เขียนกราฟของ f(x) = -x2 - 2x + 3 และให้หา
1) จุดวกกลับของกราฟ พร้อมทั้งบอกค่าต�่าสุดหรือค่าสูงสุดของฟังก์ชัน
2) จุดที่กราฟตัดแกน X
3) โดเมนและเรนจ์ของฟังก์ชัน
แนวคิด จาก f(x) = -x2 - 2x + 3
จะได้ a = -1, b = -2 และ c = 3
2
พิกัดของจุดวกกลับ คือ (- 2ab , 4ac - b
4a )
(-2) = -1
จะได้ - 2ab = - 2(-1)
4ac - b2 4(-1)(3) - (-2)2
และ 4a = 4(-1) = 4
เนื่องจาก a < 0 จะได้ว่า กราฟของฟังก์ชันจะเป็นเส้นโค้งเปิดลงด้านล่าง
และมีจุดวกกลับอยู่ที่จุด (-1, 4)
เขียนกราฟได้ ดังนี้
Y

6
5
(-1, 4)
4
3
2
(-3, 0) 1
(1, 0)
-5 -4 -3 -2 -1 0 1 2 3 X
-1
-2
f(x) = -x2 - 2x + 3

1) จากกราฟ จะเห็นว่า จุดวกกลับของกราฟจะเป็นฟังก์ชนั ทีม่ คี า่ สูงสุด


และค่าสูงสุด คือ 4
2) กราฟตัดแกน X สองจุด คือ จุด (-3, 0) และจุด (1, 0)
3) Df = R และ Rf = (-∞, 4]

154
แบบฝกทักษะ 2.3 ข (หน้า 102)

ระดับพื้นฐาน

1. ให้หำค�ำตอบของสมกำรต่อไปนี้ โดยใช้กรำฟ
1) x2 + 7 = 0 2) 2x2 + 6 = 0
3) 3x2 + 5 = 0 4) -4x2 - 10 = 0
5) x2 + 12x + 36 = 0 6) x2 - 10x + 25 = 0
7) -2x2 + 12x - 18 = 0 8) 3x2 + 24x + 48 = 0
9) 4(x - 1)2 - 1 = 0 10) -5(x + 2)2 + 10 = 0
แนวคิด 1) เขียนกราฟของสมการได้ ดังนี้
Y
y = x2 + 7
14
12
10
8
6
4
2
-8 -6 -4 -2 0 2 4 6 8 X
-2

จากกราฟ จะเห็นว่า กราฟของ y = x2 + 7 ไม่ตัดแกน X


ดังนั้น สมการ x2 + 7 = 0 ไม่มีค�าตอบที่เป็นจ�านวนจริง

155
2) เขียนกราฟของสมการได้ ดังนี้
Y
y = 2x2 + 6
14
12
10
8
6
4
2
-8 -6 -4 -2 0 2 4 6 8 X
-2

จากกราฟ จะเห็นว่า กราฟของ y = 2x2 + 6 ไม่ตัดแกน X


ดังนั้น สมการ 2x2 + 6 = 0 ไม่มีคำ� ตอบที่เป็นจ�ำนวนจริง
3) เขียนกราฟของสมการได้ ดังนี้
Y
18 y = 3x2 + 5
16
14
12
10
8
6
4
2
-8 -6 -4 -2 0 2 4 6 8 X
-2

จากกราฟ จะเห็นว่า กราฟของ y = 3x2 + 5 ไม่ตัดแกน X


ดังนั้น สมการ 3x2 + 5 = 0 ไม่มีคำ� ตอบที่เป็นจ�ำนวนจริง

156
4) เขียนกราฟของสมการได้ ดังนี้
Y
10
5
-4 -3 -2 -1-50 1 2 3 4 5 X
-10
-15
-20 y = -4x2 - 10
-25
-30

จากกราฟ จะเห็นว่า กราฟของ y = -4x2 - 10 ไม่ตัดแกน X


ดังนั้น สมการ -4x2 - 10 = 0 ไม่มีคำ� ตอบที่เป็นจ�ำนวนจริง
5) เขียนกราฟของสมการได้ ดังนี้
Y
y= x2 + 12x + 36
12
10
8
6
4
2
-14 -12 -10 -8 -6 -4 -2 0 2 X
(-6, 0) -2

จ ากกราฟ จะเห็นว่า กราฟของ y = x2 + 12x + 36 ตัดแกน X


เพียงจุดเดียว คือ จุด (-6, 0) นั่นคือ เมื่อ y = 0 จะได้ x = -6
ดังนั้น ค�ำตอบของสมการ x2 + 12x + 36 = 0 มีคำ� ตอบเดียว คือ -6

157
6) เขียนกราฟของสมการได้ ดังนี้
Y
y = x2 - 10x + 25
7
6
5
4
3
2
1
-1 0 1 2 3 4 5 6 7 8 X
-1 (5, 0)

จ ากกราฟ จะเห็นว่า กราฟของ y = x2 - 10x + 25 ตัดแกน X


เพียงจุดเดียว คือ จุด (5, 0) นั่นคือ เมื่อ y = 0 จะได้ x = 5
ดังนั้น ค�ำตอบของสมการ x2 - 10x + 25 = 0 มีค�ำตอบเดียว คือ 5
7) เขียนกราฟของสมการได้ ดังนี้
Y
2
1 (3, 0)
-2 -1 0 1 2 3 4 5 6 7 X
-1
-2
-3 y = -2x2 + 12x - 18
-4
-5
-6

จ ากกราฟ จะเห็นว่า กราฟของ y = -2x2 + 12x - 18 ตัดแกน X


เพียงจุดเดียว คือ จุด (3, 0) นั่นคือ เมื่อ y = 0 จะได้ x = 3
ดังนั้น ค�ำตอบของสมการ -2x2 + 12x - 18 = 0 มีค�ำตอบเดียว คือ 3

158
8) เขียนกราฟของสมการได้ ดังนี้
Y
y = 3x2 + 24x + 48
10
8
6
4
2
-12 -10 -8 -6 -4 -2 0 2 X
(-4, 0) -2

จ ากกราฟ จะเห็นว่า กราฟของ y = 3x2 + 24x + 48 ตัดแกน X


เพียงจุดเดียว คือ จุด (-4, 0) นัน่ คือ เมือ่ y = 0 จะได้ x = -4
ดังนัน้ ค�ำตอบของสมการ 3x2 + 24x + 48 = 0 มีคำ� ตอบเดียว คือ -4
9) วิธีที่ 1 เขียนกราฟของสมการได้ ดังนี้
Y
y = 4(x - 1)2 - 1
4
3
2
(12 , 0) 1
-2 -1 0 1 2 3 4 X
-1
-2 (32 , 0)

จ ากกราฟ จะเห็นว่า กราฟของ y = 4(x - 1)2 - 1 ตัดแกน X สองจุด


คือ จุด (12, 0) และจุด (32, 0) นั่นคือ เมื่อ y = 0 จะได้ x = 12 และ 32
ดังนั้น ค�ำตอบของสมการ 4(x - 1)2 - 1 = 0 มีสองค�ำตอบ คือ 12
และ 32
วิธีที่ 2 จาก 4(x - 1)2 -1 = 0
จัดสมการให้อยู่ในรูป 4(x - 1)2 = 1
ก�ำหนด y1 = 4(x - 1)2 และ y2 = 1

159
เขียนกราฟของ y1 และ y2 ได้ ดังนี้
Y y1
4
3
(12 , 1) 2 (32 , 1)
1 y2
-2 -1 0 1 2 3 4 5 X
-1
-2

 จากกราฟ จุดที่กราฟของ y1 ตัดกับกราฟของ y2 คือ จุด ( 12 , 1)


และจุด ( 32 , 1) ซึ่งเป็นจุดที่ y1 = y2 หรือ 4(x - 1)2 = 1
จะได้ x เท่ากับ 12 และ 32
ดังนั้น ค�ำตอบของสมการ 4(x - 1)2 - 1 = 0 คือ 12 และ 32

10) วิธีที่ 1 เขียนกราฟของสมการได้ ดังนี้


Y
12
10
8
6
(-2 - 2 , 0) 4 (-2 + 2 , 0)
2
-10 -8 -6 -4 -2 0 2 4 6 8 X
-2
-4
y = -5(x + 2)2 + 10

จ ากกราฟ จะเห็นว่า กราฟของ y = -5(x + 2)2 + 10


ตัดแกน X สองจุด คือ จุด (-2 -   2, 0) และจุด (-2 +   2, 0)
นั่นคือ เมื่อ y = 0 จะได้ x = -2 -   2 และ -2 + 2
ดังนั้น ค�ำตอบของสมการ -5(x + 2)2 + 10 = 0 มีสองค�ำตอบ
คือ -2 -   2 และ -2 +   2
160
วิธีที่ 2 จาก -5(x + 2)2 + 10 = 0
จัดสมการให้อยู่ในรูป -5(x + 2)2 = -10
ก�าหนด y1 = -5(x + 2)2 และ y2 = -10
เขียนกราฟของ y1 และ y2 ได้ ดังนี้
Y

-10 -8 -6 -4 -2 0 2 4 6 X
-2
-4
(-2 - 2 , -10) -6
-8 (-2 + 2 , -10)
-10 y2
y1 -12

จ ากกราฟ จุดที่กราฟของ y1 ตัดกับกราฟของ y2 คือ


จุด (-2 - 2, -10) และจุด (-2 + 2, -10) ซึ่งเป็นจุดที่ y2 = y1
หรือ -5(x + 2)2 = -10 จะได้ x เท่ากับ x = -2 - 2
และ -2 + 2
ดังนั้น ค�าตอบของสมการ -5(x + 2)2 + 10 = 0 คือ -2 - 2 และ
-2 + 2
2. พิจำรณำฟงกชันต่อไปนี้ ให้หำ
1) จุดวกกลับของกราฟ พร้อมทั้งบอกค่าต�่าสุดหรือค่าสูงสุดของฟังก์ชัน
2) จุดที่กราฟตัดแกน X
3) โดเมนและเรนจ์ของฟังก์ชัน
(1) y = x2 - 8x + 54 (2) y = -x2 + 3x - 15
(3) y = (x - 1)2 - 11 (4) y = -(x + 2)2 + 8
(5) y = (x + 2)(x + 3) (6) y = (x + 1)(x - 1)
แนวคิด (1) จาก f(x) = x2 - 8x + 54
จะได้ a = 1, b = -8 และ c = 54
2 2
พิกัดของจุดวกกลับ คือ (- 2ab , 4ac - b (-8) 4(1)(54) - (-8)
4a ) ( 2(1)

= - , 4(1) )
= (4, 38)
เนื่องจาก a > 0 จะได้ว่า กราฟของฟังก์ชันจะเป็นเส้นโค้งเปิดขึ้นด้านบน
และมีจุดวกกลับอยู่ที่จุด (4, 38)
161
เขียนกราฟได้ ดังนี้
Y y = x2 - 8x + 54
90
80
70
60
50
40
30 (4, 38)
20
10
-6 -4 -2 0 2 4 6 8 10 12 X

1) จากกราฟ จะเห็นว่า จุดวกกลับของกราฟจะเป็นฟังก์ชันที่มีค่าต�ำ่ สุด
และค่าต�่ำสุด คือ 38
2) กราฟไม่ตัดแกน X
3) Df = R และ Rf = [38, ∞)
(2) จาก f (x) = -x2 + 3x - 15
จะได้ a = -1, b = 3 และ c = -15

2 3  , 4(-1)(-15) - (3)2)
พิกัดของจุดวกกลับ คือ (- 2ab  , 4ac4a- b ) = (- 2(-1) 4(-1)
= (32 , - 51 4)
เนื่องจาก a < 0 จะได้ว่า กราฟของฟังก์ชันจะเป็นเส้นโค้งเปิดลงด้านล่าง
และมีจุดวกกลับอยู่ที่จุด (32, - 514)
เขียนกราฟได้ ดังนี้
Y
-20
-10
-15 -10 -5 0 5 10 15 20 X
-10 3 , - 51
-20 (2 4 )
-30
-40
-50
y = -x2 + 3x - 15
162
1) จากกราฟ จะเห็นว่า จุดวกกลับของกราฟจะเป็นฟังก์ชันที่มีค่าสูงสุด
และค่าสูงสุด คือ - 514
2) กราฟไม่ตัดแกน X
3) Df = R และ Rf = (-∞, - 514]
(3) จาก  f(x) = (x - 1)2 - 11 = x2 - 2x - 10
จะได้ a = 1, b = -2 และ c = -10 2
(-2)  , 4(1)(-10) - (-2)2 )
พิกัดของจุดวกกลับ คือ (- 2ab  , 4ac4a- b ) = (- 2(1) 4(1)
= (1, -11)
เนื่องจาก a > 0 จะได้ว่า กราฟของฟังก์ชันจะเป็นเส้นโค้งเปิดขึ้นด้านบน
และมีจุดวกกลับอยู่ที่จุด (1, -11)
เขียนกราฟได้ ดังนี้
Y
y = (x - 1)2 - 11
2
(1 -  11 , 0) 1 (1 +  11 , 0)
-4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4 5 X
-1
-2
-3
-4
-5
-6
-7
-8
-9
-10
-11 (1, -11)

1) จากกราฟ จะเห็นว่า จุดวกกลับของกราฟจะเป็นฟังก์ชันที่มีค่าต�่ำสุด


และค่าต�่ำสุด คือ -11
2) กราฟตัดแกน X สองจุด คือ จุด (1 -   11, 0) และจุด (1 +   11, 0)
3) Df = R และ Rf = [-11, ∞)

163
(4) จาก f(x) = -(x + 2)2 + 8 = -x2 - 4x + 4
จะได้ a = -1, b = -4 และ c = 4

2 -4  , 4(-1)(4) - (-4)2 )
พิกัดของจุดวกกลับ คือ (- 2ab  , 4ac4a- b ) = (- 2(-1) 4(-1)
= (-2, 8)
เนื่องจาก a < 0 จะได้ว่า กราฟของฟังก์ชันจะเป็นเส้นโค้งเปิดลงด้านล่าง
และมีจุดวกกลับอยู่ที่จุด (-2, 8)
เขียนกราฟได้ ดังนี้
Y
10
(-2, 8) 8
6
4
2
(-2 - 2  2  , 0) (-2 +  2  2  , 0)
-10 -8 -6 -4 -2 0 2 4 6 X
-2
-4 y = -(x + 2)2 + 8

1) จ ากกราฟ จะเห็นว่า จุดวกกลับของกราฟจะเป็นฟังก์ชันที่มีค่าสูงสุด
และค่าสูงสุด คือ 8
2) กราฟตัดแกน X สองจุด คือจุด (-2 - 2  2, 0) และจุด (-2 + 2  2, 0)
3) Df = R และ Rf = (-∞, 8]
(5) จาก f(x) = (x + 2)(x + 3) = x2 + 5x + 6
จะได้ a = 1, b = 5 และ c = 6 2
5  , 4(1)(6) - (5)2)
พิกัดของจุดวกกลับ คือ (- 2ab  , 4ac4a- b ) = (- 2(1) 4(1)
5 1
=(- 2  , - 4 )
เนื่องจาก a > 0 จะได้ว่า กราฟของฟังก์ชันจะเป็นเส้นโค้งเปิดขึ้นด้านบน
และมีจุดวกกลับอยู่ที่จุด (- 52  , - 14 )

164
เขียนกราฟได้ ดังนี้
Y
y = (x + 2)(x + 3)
7
6
5
4
3
2
1
(-3, 0) (-2, 0) X
-6 -5 -4 -3 -2 -1 0 1
(- 52 , - 14)

1) จากกราฟ จะเห็นว่า จุดวกกลับของกราฟจะเป็นฟังก์ชันที่มีค่าต�่ำสุด


และค่าต�่ำสุด คือ - 14
2) กราฟตัดแกน X สองจุด คือ จุด (-3, 0) และจุด (-2, 0)
3) Df = R และ Rf = [- 14 , ∞)
(6) จาก   f(x) = (x + 1)(x - 1) = x2 - 1
จะได้ a = 1, b = 0 และ c = -1
2 0  , 4(1)(-1) - (0)2
พิกัดของจุดวกกลับ คือ (- 2ab  , 4ac4a- b ) = (- 2(1)
4(1) )
= (0, -1)
เนื่องจาก a > 0 จะได้ว่า กราฟของฟังก์ชันจะเป็นเส้นโค้งเปิดขึ้นด้านบน
และมีจุดวกกลับอยู่ที่จุด (0, -1)
เขียนกราฟได้ ดังนี้
Y
y = (x + 1)(x - 1)
4
3
2
1
(-1, 0) (1, 0) X
-3 -2 -1 0 1 2 3
-1 (0, -1)
-2

165
1) จากกราฟ จะเห็นว่า จุดวกกลับของกราฟจะเป็นฟังก์ชันที่มีค่าต�่าสุด
และค่าต�่าสุด คือ -1
2) กราฟตัดแกน X สองจุด คือ จุด (-1, 0) และจุด (1, 0)
3) Df = R และ Rf = [-1, ∞)

ระดับกลาง
3. พิจำรณำกรำฟของสมกำร y = x2 - 4x + 3 ดังรูป
Y
6
5
4
3 C
2
1 A B
-3 -2 -1-10 1 2 3 4 5 6 X

ให้หำ
1) พิกัดของจุด A จุด B และจุด C
2) จุดต�่าสุดและค่าต�่าสุดของกราฟ
3) แกนสมมาตรของกราฟ
4) ถ้ากราฟของ y = x2 - 4x + 3 เลื่อนลงจากแกน X เป็นระยะ 1 หน่วย แล้วสมการ
ก�าลังสองที่ได้จากการเลื่อนกราฟคือสมการใด ให้ตอบในรูป y = ax2 + bx + c
พร้อมทั้งบอกจุดที่กราฟตัดแกน X
แนวคิด 1) จุด A จุด B และจุด C คือ จุด (1, 0), (3, 0) และ (0, 3) ตามล�าดับ
2) จุดต�่าสุดของกราฟ คือ จุด (2, -1) และมีค่าต�่าสุด คือ -1
3) แกนสมมาตรของกราฟ คือ x = 2
4) จาก y = x2 - 4x + 3 เลื่อนกราฟลงจากแกน X เป็นระยะ 1 หน่วย
จะได้ y = x2 - 4x + 3 - 1 = x2 - 4x + 2
และจุดที่ตัดแกน X คือ จุด (2 - 2, 0) และ (2 + 2, 0)

166
ระดับทาทาย

4. กรำฟของ y = ((x - h)2 + k มีจุดต�่ำสุดอยู่ที่จุด (- 12 , 34 )


1) ให้หาค่าของ h และ k
2) ให้เขียนกราฟของ y = (x - h)2 + k และหาพิกัดของจุดที่กราฟตัดกับแกน Y
แนวคิด 1) เนื่องจากจุดต�่าสุดของกราฟเป็นพิกัดของจุดวกกลับ (h, k)
จะได้ h = - 12 และ k = 34
2
2) จาก y = (x - h)2 + k จะได้ y = (x + 12) + 34 = x2 + x + 1
เขียนกราฟได้ ดังนี้
Y
2
y = (x + 12) + 34
5
4
3
2
(- 12 , 34) 1 (0, 1)
-5 -4 -3 -2 -1 0 1 2 3 X
-1

ดังนั้น จุดที่กราฟตัดแกน Y คือ จุด (0, 1)


5. ก�ำหนดสมกำร y = --x2 + 10x - 4
1) ให้จัดสมการในรูป y = -(x - h)2 + k
2) ให้หาค่า h และ k
3) ให้เขียนกราฟของ y = -x2 + 10x - 4 และหาจุดสูงสุดของกราฟ
แนวคิด 1) จาก y = -x2 + 10x - 4
จะได้ y = -(x2 - 10x + 4)
= -[x2 - 2(5)x + 52 - 21]
= -(x - 5)2 + 21
2) จาก y = -(x - h)2 + k จะได้ว่า h = 5 และ k = 21

167
3) เขียนกราฟ y = -x2 + 10x - 4 ได้ ดังนี้
Y
22 (5, 21)
20
18
16
14
12
10
8
6 y = -x2 + 10x - 4
4
2
-10 -8 -6 -4 -2 0 2 4 6 8 10 12 14 16 18 X
-2

จุดสูงสุดของกราฟ คือ จุด (5, 21)


6. ก�ำหนดสมกำร y = x2 - 2x โดยมีตำรำงคู่อันดับ ดังนี้
x -2 -1 0 1 2 3 4
y 8 3 0 -1 0 3 8
1) ให้เขียนกราฟของ y = x2 - 2x เมื่อ -2 ≤ x ≤ 4 และหาค่าต�่าสุดของกราฟ
2) จากกราฟในข้อ 1) ให้หาค่า x เมื่อ y = 1
3) ให้หาแกนสมมาตรของกราฟ
4) จากกราฟในข้อ 1) ให้หาค�าตอบของสมการ x2 - 2x = x โดยใช้กราฟ

168
แนวคิด 1) เขียนกราฟ y = x2 - 2x ได้ ดังนี้
Y
8
7 y = x2 - 2x
6
5
4
3
2
1
-4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4 5 6 X
-1

ค่าต�่ำสุดของกราฟ คือ -1
2) จากกราฟใน ข้อ 1) เมื่อ y = 1
จะได้ x2 - 2x = 1
x2 - 2x - 1 = 0
(x - 1)2 = 2
x = 1 ± 2
ดังนั้น x = 1 - 2 และ 1 + 2
3) แกนสมมาตรของกราฟ คือ เส้นตรง x = 1
4) ก�ำหนด y1 = x2 - 2x และ y2 = x
เขียนกราฟของ y1 และ y2 ได้ ดังนี้
Y
y 1 y2
4
3
2
1
X
-4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4
-1
-2

169
จ ากกราฟ จุดที่กราฟของ y1 ตัดกับกราฟของ y2 คือ จุด (0, 0)
และจุด (3, 3) ซึ่งเป็นจุดที่ y1 = y2 หรือ x2 - 2x = x
จะได้ x = 0 และ 3
ดังนั้น ค�าตอบของสมการ x2 - 2x = x คือ 0 และ 3
ลองทําดู (หน้า 105)
ใ ห้ใช้ความรู้เรื่องกราฟหาค�าตอบของอสมการ x2 - 4 > 0
แนวคิด ให้ y = x2 - 4
เขียนกราฟของ y = x2 - 4 และมีจุดวกกลับอยู่ที่จุด (0, -4) ได้ ดังนี้
หาจุดที่กราฟตัดแกน X โดยให้ y = 0
จะได้ x2 - 4 = 0
(x - 2)(x + 2) = 0
x = -2, 2
จะได้ว่า กราฟตัดแกน X ที่จุด (-2, 0) และจุด (2, 0) ดังรูป
Y
4 y = x2 - 4
2
X
-4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4
-2
-4
-6

พิจารณาหาค่า x เมื่อ y > 0 ดังรูป


Y
4
2
X
-4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4
-2
-4
-6

จากกราฟ จะได้ y > 0 เมื่อ x < -2 หรือ x > 2


ดังนั้น เซตค�าตอบของอสมการ x2 - 4 > 0 คือ { x ∙ x < -2 หรือ x > 2 } หรือ
(-∞, -2) (2, ∞)
170
ลองทําดู (หน้า 106)
ให้แก้อสมการต่อไปนี้ โดยใช้กราฟ
1) 2x2 + x - 3 ≤ 0 2) 2x2 + x - 3 ≥ 0
แนวคิด 1) เขียน 2x2 + x - 3 ให้อยู่ในรูป a(x - h)2 + k ได้ ดังนี้
2x2 + x - 3 = 2(x2 + 12 x + 161 - 161 - 32)
= 2(x + 14)2 - 258
เมื่อเทียบกับ a(x - h)2 + k จะได้ a = 2, h = - 14 และ k = - 258
เขียนกราฟของ y = 2x2 + x - 3 และมีจุดวกกลับอยู่ที่จุด (- 14, - 258 ) ได้
ดังนี้
หาจุดที่กราฟตัดแกน X โดยให้ y = 0
จะได้ 2x2 + x - 3 = 0
(2x + 3)(x - 1) = 0
x = - 32, 1
จะได้ว่า กราฟตัดแกน X ที่จุด (- 32, 0) และ (1, 0) ดังรูป
Y
1 y = 2x2 + x - 3
(- 32 , 0) (1, 0)
-2 -1 0 1 2 X

-1

-2

-3
1
( 4 8)
- , - 25
-4

171
พิจารณาหาค่า x เมื่อ y ≤ 0 ดังรูป
Y
1

-2 -1 0 1 2 X

-1

-2

-3

-4

จากกราฟ จะได้ y ≤ 0 เมื่อ - 32 ≤ x ≤ 1


ดังนั้น เซตค�ำตอบของอสมการ 2x2 + x - 3 ≤ 0 คือ { x ∙ - 32 ≤ x ≤ 1 }
หรือ [- 32, 1]
2) ให้ y = 2x2 + x - 3
พิจารณาหาค่า x เมื่อ y ≥ 0
จะได้ y ≥ 0 เมื่อ x ≤ - 32 หรือ x ≥ 1 ดังรูป
Y
1

-2 -1 0 1 2 X

-1

-2

-3

-4

ดังนั้น เซตค�ำตอบของอสมการ 2x2 + x - 3 ≥ 0 คือ


{ x  ∙  x ≤ - 32 หรือ x ≥ 1 } หรือ (-∞, - 32] ∪ [1, ∞)
172
แบบฝกทักษะ 2.3 ค (หน้า 107)

ระดับพื้นฐาน
1. ให้แก้อสมการต่อไปนี้ โดยใช้กราฟ
1.
1) x2 - 7 > 0 2) x2 - 16 > 0
3) 2x2 - 32 < 0 4) -4x2 + 8 < 0
5) x2 + 7x + 10 < 0 6) x2 - 13x + 42 > 0
7) 2x2 - 3x - 54 > 0 8) 2x2 + x - 28 > 0
แนวคิด 1) ให้ y = x2 - 7
เขียนกราฟของ y = x2 - 7 และมีจุดวกกลับอยู่ที่จุด (0, -7) ดังนี้
Y
y = x2 - 7
8
6
4
2
-10 -8 -6 -4 -2 0 2 4 6 8 10 X
-2
-4
-6
-8 (0, -7)

จากกราฟ จะเห็นว่า กราฟตัดแกน X สองจุด


และหาจุดที่กราฟตัดแกน X โดยให้ y = 0
จะได้ x2 - 7 = 0
(x - 7)(x + 7) = 0
x = - 7, 7
จะได้ว่า กราฟตัดแกน X ที่จุด (- 7, 0) และ ( 7, 0)

173
พิจารณาหาค่า x เมื่อ y > 0
จะได้ x2 - 7 > 0 เมื่อ x < - 7 หรือ x > 7  ดังรูป
Y
8
6
4
2
-10 -8 -6 -4 -2 0 2 4 6 8 10 X
-2
-4
-6
-8

ดังนั้น เซตค�ำตอบของอสมการ x2 - 7 > 0 คือ { x ∙ x <  -  7 หรือ x >  7}
หรือ (-∞, - 7 ) ∪ ( 7, ∞)
2) ให้ y = x2 - 16
เขียนกราฟของ y = x2 - 16 และมีจุดวกกลับอยู่ที่จุด (0, -16) ดังนี้
Y y = x2 - 16
4
2
-12 -10 -8 -6 -4 -2 0 2 4 6 8 10 12 X
-2
-4
-6
-8
-10
-12
-14
-16 (0, -16)

จากกราฟ จะเห็นว่า กราฟตัดแกน X สองจุด


และหาจุดที่กราฟตัดแกน X โดยให้ y = 0
จะได้ x2 - 16 = 0
(x - 4)(x + 4) = 0
x = -4, 4
จะได้ว่า กราฟตัดแกน X ที่จุด (-4, 0) และ (4, 0)

174
พิจารณาหาค่า x เมื่อ y > 0
จะได้ x2 - 16 > 0 เมื่อ x < -4 หรือ x > 4 ดังรูป
Y
4
2
-12 -10 -8 -6 -4 -2 0 2 4 6 8 10 12 X
-2
-4
-6
-8
-10
-12
-14
-16

ดังนั้น เซตค�ำตอบของอสมการ x2 - 16 > 0 คือ { x ∙ x < -4 หรือ x > 4 }


หรือ (-∞, -4 ) ∪ (4, ∞ )
3) ให้ y = 2x2 - 32
เขียนกราฟของ y = 2x2 - 32 และมีจุดวกกลับอยู่ที่จุด (0, -32) ดังนี้
Y
y = 2x2 - 32
5
-20 -15-10 -5 0 5 10 15 20 X
-5
-10
-15
-20
-25
-30 (0, -32)
-35

หาจุดที่กราฟตัดแกน X โดยให้ y = 0
จะได้ 2x2 - 32 = 0
(x - 4)(x + 4) = 0
x = -4, 4
จะได้ว่า กราฟตัดแกน X ที่จุด (-4, 0) และ (4, 0)

175
พิจารณาหาค่า x เมื่อ y < 0
จะได้ 2x2 - 32 < 0 เมื่อ -4 < x < 4 ดังรูป
Y
5
-20 -15-10 -5 0 5 10 15 20 X
-5
-10
-15
-20
-25
-30
-35

ดังนั้น เซตค�ำตอบของอสมการ 2x2 - 32 < 0 คือ { x ∙ -4 < x < 4 }


หรือ (-4, 4)
4) ให้ y = -4x2 + 8
เขียนกราฟของ y = -4x2 + 8 และมีจุดวกกลับอยู่ที่จุด (0, 8) ดังนี้
Y
10
8 (0, 8)
6
4
2
-8 -6 -4 -2 0 2 4 6 8 X
-2
-4 y = -4x2 + 8

หาจุดที่กราฟตัดแกน X โดยให้ y = 0
จะได้ -4x2 + 8 = 0
(x - 2)(x + 2 ) = 0
x = - 2, 2
จะได้ว่า กราฟตัดแกน X ที่จุด (- 2 , 0) และ ( 2 , 0)
พิจารณาหาค่า x เมื่อ y < 0
จะได้ -4x2 + 8 < 0 เมื่อ x < - 2  หรือ x > 2  ดังรูป

176
Y
10
8
6
4
2
-8 -6 -4 -2 0 2 4 6 8 X
-2
-4

ดังนั้น เซตค�ำตอบของอสมการ -4x2 + 8 < 0 คือ


{ x ∙ x < - 2 หรือ x > 2 } หรือ (-∞, - 2 ) ∪ ( 2, ∞)
5) ให้ y = x2 + 7x + 10
เขียน x2 + 7x + 10 ให้อยู่ในรูป a(x - h)2 + k ได้ดังนี้
x2 + 7x + 10 = x2 + 2(1)(72)x + (72) - (72) + 10
2 2

x2 + 7x + 10 = (x + 72) - 94
2

เมื่อเทียบกับ a(x - h)2 + k จะได้ a = 1, h = - 72 และ k = - 94
เขียนกราฟของ y = x2 + 7x + 10 มีจุดวกกลับอยู่ที่จุด (- 72 , - 94) ดังรูป
Y
y = x2 + 7x + 10
5
4
5
4
3
2
1
-9 -8 -7 -6 -5 -4 -3 -2 -1 0 1 2 X
-1
-2
7 9
(- 2 , - 4) -3

หาจุดที่กราฟตัดแกน X โดยให้ y = 0
จะได้ x2 + 7x + 10 = 0
(x + 2)(x + 5) = 0
x = -5, -2
จะได้ว่า กราฟตัดแกน X ที่จุด (-5, 0) และ (-2, 0)
177
พิจารณาหาค่า x เมื่อ y < 0
จะได้ x2 + 7x + 10 < 0 เมื่อ -5 < x < -2 ดังรูป
Y
7
6
5
4
3
2
1
-9 -8 -7 -6 -5 -4 -3 -2 -1 0 1 2 X
-1
-2
-3

ดังนั้น เซตค�ำตอบของอสมการ x2 + 7x + 10 < 0 คือ { x ∙ -5 < x < -2 }


หรือ (-5, -2)
6) ให้ y = x2 - 13x + 42
เขียน y = x2 - 13x + 42 ให้อยู่ในรูป a(x - h)2 + k ได้ดังนี้
x2 - 13x + 42 = x2 - 2(1)(132)x + (132) - (132) + 42
2 2

x2 - 13x + 42 = (x - 132) - 14
2

เมื่อเทียบกับ a(x - h)2 + k จะได้ a = 1, h = 132 และ k = - 14
เขียนกราฟของ y = x2 - 13x + 42 และมีจุดวกกลับอยู่ที่จุด (132, - 14)
ดังรูป
Y
y = x2 - 13x + 42
3
2
1
-4 -2 0 2 4 6 8 10 X
-1  ( 132, - 14)
-2

178
หาจุดที่กราฟตัดแกน X โดยให้ y = 0
จะได้ x2 - 13x + 42 = 0
(x - 7)(x - 6) = 0
x = 6, 7
จะได้ว่า กราฟตัดแกน X ที่จุด (6, 0) และ (7, 0)
พิจารณาหาค่า x เมื่อ y > 0
จะได้ x2 - 13x + 42 > 0 เมื่อ x < 6 หรือ x > 7 ดังรูป
Y
3
2
1
-4 -2 0 2 4 6 8 10 X
-1
-2

ดังนั้น เซตค�ำตอบของอสมการ x2 - 13x + 42 > 0 คือ { x ∙ x < 6 หรือ x > 7 }
หรือ (-∞, 6) ∪ (7, ∞)
7) ให้ y = 2x2 - 3x - 54
เขียน 2x2 - 3x - 54 ให้อยู่ในรูป a(x - h)2 + k ได้ดังนี้
2x2 - 3x - 54 = 2[x2 - 2(1)(34)x + (34) - (34) - 27]
2 2

= 2(x - 34) - 441
2
8
เมื่อเทียบกับ a(x - h) + k จะได้ a = 2, h = 34 และ k = - 441
2
8
เขียนกราฟของ y = 2x2 - 3x - 54 มีจุดวกกลับอยู่ที่จุด (34, - 4418)
ดังรูป

179
Y
y = 2x2 - 3x - 54
30
20
10
-8 -6 -4 -2 0 2 4 6 8 10 X
-10
-20
-30
-40
-50
-60 (34 , - 441
8)
หาจุดที่กราฟตัดแกน X โดยให้ y = 0
จะได้ 2x2 - 3x - 54 = 0
(x - 6)(2x + 9) = 0
x = - 92, 6
จะได้ว่า กราฟตัดแกน X ที่จุด (- 92, 0) และ (6, 0)
พิจารณาหาค่า x เมื่อ y > 0
จะได้ 2x2 - 3x - 54 > 0 เมื่อ x < - 92 หรือ x > 6 ดังรูป
Y
30
20
10
-8 -6 -4 -2 0 2 4 6 8 10 X
-10
-20
-30
-40
-50
-60
ดังนั้น เซตค�ำตอบของอสมการ 2x2 - 3x - 54 > 0 คือ
{ x ∙ x < - 92 หรือ x > 6 } หรือ (-∞, - 92) ∪ (6, ∞)
8) ให้ y = 2x2 + x - 28
เขียน 2x2 + x - 28 ให้อยู่ในรูป a(x - h)2 + k ได้ดังนี้
2x2 + x - 28 = 2[x2 + 2(1)(14)x + (14) - (14) - 14]
2 2

= 2(x + 14) - 225
2
8
180
เมื่อเทียบกับ a(x - h)2 + k จะได้ a = 2, h = - 14 และ k = - 2258
เขียนกราฟของ y = 2x2 + x - 28 มีจุดวกกลับอยู่ที่จุด (- 14, - 225
8 ) ดังรูป
Y
y = 2x2 + x - 28
5
-8 -6 -4 -2 0 2 4 6 8 10 X
-5
-10
-15
-20
-25
-30 (- 14 , - 225
8)
หาจุดที่กราฟตัดแกน X โดยให้ y = 0
จะได้ 2x2 + x - 28 = 0
(x + 4)(2x - 7) = 0
x = -4, 72
จะได้ว่า กราฟตัดแกน X ที่จุด (-4, 0) และ (72, 0)
พิจารณาหาค่า x เมื่อ y > 0
จะได้ 2x2 + x - 28 > 0 เมื่อ x < -4 หรือ x > 72 ดังรูป
Y
5
-8 -6 -4 -2 0 2 4 6 8 10 X
-5
-10
-15
-20
-25
-30

ดังนั้น เซตค�ำตอบของอสมการ 2x2 + x - 28 > 0 คือ


{ x ∙ x < -4 หรือ x > 72 } หรือ (-∞ , -4) ∪ (72 , ∞)

181
ระดับกลาง

2. ใหแกอสมการตอไปนี้ โดยใชกราฟ
2.
1) 4(2x - 3)2 ≥ x2 2) 2 - x - x2 < 0
3) 3x2 ≤ x2 - x + 3 4) 2x(2 - x) < 3(x - 2)
5) 2 + 3x < 5x2 6) (x + 2)2 > 2x + 7
7) 4(x + 1)(x - 4) + 25 ≥ 0 8) (2x + 1)(3x - 1) < 14
แนวคิด 1)จาก 4(2x - 3)2 ≥ x2
จะได้ 4(4x2 - 12x + 9) - x2 ≥ 0
15x2 - 48x + 36 ≥ 0
ให้ y = 15x2 - 48x + 36
เขียน 15x2 - 48x + 36 ในรูป a(x - h)2 + k ได้ ดังนี้
15x2 - 48x + 36 = 15(x2 - 48 15 x + 15)
36
= 15(x2 - 165 x + 125)
2 2
= 15[x2 - 2( 85 )x + ( 85 ) - ( 85 ) + 125]
2
= 15[(x - 85 ) - 254 ]
2
= 15(x - 85) - 125
เมื่อเทียบกับ a(x - h)2 + k จะได้ a = 15, h = 85 และ k = - 125

เขียนกราฟของ y = 15x2 - 48x + 36 มีจุดวกกลับอยู่ที่จุด (85, - 125)
ดังรูป
Y
14 y = 15x2 - 48x + 36
12
10
8
6
4
2
-4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4 5 6 7 X
-2
-4 (8 , - 12)
5 5

182
หาจุดที่กราฟตัดแกน X โดยให้ y = 0
จะได้ 15x2 - 48x + 36 = 0
5x2 - 16x + 12 = 0
(5x - 6)(x - 2) = 0
x = 65, 2
จะได้ว่า กราฟตัดแกน X ที่จุด (65, 0) และ (2, 0)
พิจารณาหาค่า x เมื่อ y ≥ 0
จะได้ 15x2 - 48x + 36 ≥ 0 เมื่อ x ≤ 65 หรือ x ≥ 2 ดังรูป
Y
14
12
10
8
6
4
2
-4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4 5 6 7 X
-2
-4

ดังนั้น เซตค�ำตอบของอสมการ 15x2 - 48x + 36 ≥ 0 คือ


{ x ∙ x ≤ 65 หรือ x ≥ 2 } หรือ (-∞, 65] ∪ [2, ∞)
2) ให้ y = 2 - x - x2
เขียน y = 2 - x - x2 ในรูป a(x - h)2 + k ได้ ดังนี้
2 - x - x2 = -(x2 + x - 2) = -[x2 + 2(1)(12)x + (12) - (12) - 2]
2 2

= -[(x + 12) - 94]
2

= -(x + 12) + 94
2

เมื่อเทียบกับ a(x - h)2 + k จะได้ a = -1, h = - 12 และ k = 94
เขียนกราฟของ y = 2 - x - x2 และมีจุดวกกลับอยู่ที่จุด (- 12, 94) ดังรูป

183
Y
4
1
( 2 4) 3
-   , 9
2
1
-5 -4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4 5 X
-1
-2
-3
-4 y = 2 - x - x2
-5

หาจุดที่กราฟตัดแกน X โดยให้ y = 0
จะได้ 2 - x - x2 = 0
(x + 2)(x - 1) = 0
x = -2, 1
จะได้ว่า กราฟตัดแกน X ที่จุด (-2, 0) และ (1, 0)
พิจารณาหาค่า x เมื่อ y < 0 จะได้ 2 - x - x2 < 0 เมื่อ x < -2 หรือ
x > 1 ดังรูป
Y
4
3
2
1
-5 -4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4 5 X
-1
-2
-3
-4
-5

ดังนั้น เซตค�ำตอบของอสมการ 2 - x - x2 < 0 คือ { x ∙ x < -2 หรือ x > 1 }


หรือ (-∞, -2) ∪ (1, ∞)
3) จาก 3x2 ≤ x2 - x + 3
จะได้ 2x2 + x - 3 ≤ 0
ให้ y = 2x2 + x - 3
เขียน 2x2 + x - 3 ในรูป a(x - h)2 + k ได้ ดังนี้

184
2x2 + x - 3 = 2(x2 + 12 x - 32) = 2[x2 + 2(1)(14)x + (14) - (14) - 32]
2 2

= 2[(x + 14) - 25
2
16]
= 2(x + 14) - 258
2

เมื่อเทียบกับ a(x - h)2 + k จะได้ a = 2, h = - 14 และ k = - 258
เขียนกราฟของ y = 2x2 + x - 3 และมีจุดวกกลับอยู่ที่จุด (- 14, - 258 )
ดังรูป Y
y = 2x2 + x - 3
4
3
2
1
-6 -5 -4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4 5 X
-1
-2
-3
(- 14 , - 258 )

หาจุดที่กราฟตัดแกน X โดยให้ y = 0
จะได้ 2x2 + x - 3 = 0
(2x + 3)(x - 1) = 0
x = - 32 , 1
จะได้ว่า กราฟตัดแกน X ที่จุด (- 32 , 0) และ (1, 0)
พิจารณาหาค่า x เมื่อ y ≤ 0
จะได้ 2x2 + x - 3 ≤ 0 เมื่อ - 32 ≤ x ≤ 1
Y
4
3
2
1
-6 -5 -4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4 5 X
-1
-2
-3

ดังนั้น เซตค�ำตอบของอสมการ 2x2 + x - 3 ≤ 0 คือ { x ∙ - 32 ≤ x ≤ 1 }


หรือ [- 32 , 1]
185
4) จาก 2x(2 - x) < 3(x - 2)
จะได้ 2x2 - x - 6 > 0
ให้ y = 2x2 - x - 6
เขียน 2x2 - x - 6 ในรูป a(x - h)2 + k ได้ดังนี้
2x2 - x - 6 = 2(x2 - 12 x - 3) = 2[x2 - 2(1)(14)x + (14) - (14) - 3]
2 2

= 2[(x - 14) - 49 1)2 - 49
2
16 ] = 2 ( x - 4 8
เมื่อเทียบกับ a(x - h)2 + k จะได้ a = 2, h = 14 และ k = - 498
เขียนกราฟของ y = 2x2 - x - 6 และมีจุดวกกลับอยู่ที่ (14 , - 498) ดังรูป
Y
y = 2x2 - x - 6
2
1
-5 -4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4 5 X
-1
-2
-3
-4
-5
-6 1 49
-7 (4 , -  8 )

หาจุดที่กราฟตัดแกน X โดยให้ y = 0
จะได้ 2x2 - x - 6 = 0
(2x + 3)(x - 2) = 0
x = - 32 , 2
จะได้ว่า กราฟตัดแกน X ที่จุด (- 32 , 0) และ (2, 0)
พิจารณาหาค่า x เมื่อ y > 0
จะได้ 2x2 - x - 6 > 0 เมื่อ x < - 32 หรือ x > 2

186
Y
2
1
-5 -4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4 5 X
-1
-2
-3
-4
-5
-6
-7
ดังนั้น เซตค�ำตอบของอสมการ 2x2 + x - 6 > 0 คือ

{ x ∙ x < - 32 หรือ x > 2 } หรือ (-∞, - 32) ∪ (2, ∞)
5) จาก 2 + 3x < 5x2 จะได้ 5x2 - 3x - 2 > 0
ให้ y = 5x2 - 3x - 2
เขียน 5x2 - 3x - 2 ในรูป a(x - h)2 + k ได้ดังนี้
5x2 - 3x - 2 = 5(x2 - 35 x - 25) = 5[x2 - 2(103 )x + (103 ) - (103 ) - 25]
2 2

= 5[(x - 103 ) - 100
2 49
]
= 5(x - 103 ) - 49
2
20
2 + k จะได้ a = 5, h = 3  49
เมื่อเทียบกับ a(x - h) 10 และ k = - 20
เขียนกราฟของ y = 5x2 - 3x - 2 และมีจุดวกกลับอยู่ที่จุด (103  , - 4920)
ดังรูป Y 2 y = 5x - 3x - 2
6
5
4
3
2
1
-5 -4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4 5 X
-1
-2
-3 ( 3  , - 49 )
10 20
หาจุดที่กราฟตัดแกน X โดยให้ y = 0
จะได้ 5x2 - 3x - 2 = 0
(5x + 2)(x - 1) = 0
x = - 25 , 1
187
จะได้ว่า กราฟตัดแกน X ที่จุด (- 25 , 0) และ (1, 0)
พิจารณาหาค่า x เมื่อ y > 0
จะได้ 5x2 - 3x - 2 > 0 เมื่อ x < - 25 หรือ x > 1
Y
6
5
4
3
2
1
-5 -4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4 5 X
-1
-2
-3
ดังนั้น เซตค�ำตอบของอสมการ 5x2 - 3x - 2 > 0 คือ
{ x ∙ x < - 25 หรือ x > 1 } หรือ (-∞, - 25) ∪ (1, ∞)
6) จาก (x + 2)2 > 2x + 7
จะได้ x2 + 2x - 3 > 0
ให้ y = x2 + 2x - 3
เขียน x2 + 2x - 3 ในรูป a(x - h)2 + k ได้ดังนี้
x2 + 2x - 3 = x2 + 2x + 1 - 4 = (x + 1)2 - 4
เมื่อเทียบกับ a(x - h)2 + k จะได้ a = 1, h = -1 และ k = -4
เขียนกราฟของ y = x2 + 2x - 3 และมีจุดวกกลับอยู่ที่จุด (-1, -4) ดังรูป
Y
2
y = x + 2x - 3
4
3
2
1
-6 -5 -4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4 X
-1
-2
-3
(-1, -4)-4
-5

หาจุดที่กราฟตัดแกน X โดยให้ y = 0
188
จะได้ x2 + 2x - 3 = 0
(x + 3)(x - 1) = 0
x = -3, 1
จะได้ว่า กราฟตัดแกน X ที่จุด (-3, 0) และ (1, 0)
พิจารณาหาค่า x เมื่อ y > 0
จะได้ x2 - 2x - 3 > 0 เมื่อ x < -3 หรือ x > 1
Y
4
3
2
1
-6 -5 -4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4 X
-1
-2
-3
-4
-5

ดังนั้น เซตค�ำตอบของอสมการ x2 - 2x - 3 > 0 คือ



{ x ∙ x < -3 หรือ x > 1 } หรือ (-∞, -3) ∪ (1, ∞)
7) จาก 4(x + 1)(x - 4) + 25 ≥ 0
จะได้ 4x2 - 12x + 9 ≥ 0
ให้ y = 4x2 - 12x + 9
เขียน 4x2 - 12x + 9 ในรูป a(x - h)2 + k ได้ดังนี้
4x2 - 12x + 9 = 4(x2 - 3x + 94)
= 4(x - 32)
2

เมื่อเทียบกับ a(x - h)2 + k จะได้ a = 4, h = 32 และ k = 0


เขียนกราฟของ y = 4x2 - 12x + 9 และมีจุดวกกลับอยู่ที่จุด (32 , 0) ดังรูป

189
Y
y = 4x2 - 12x + 9
7
6
5
4
3
2
1
-3 -2 -1 0 1 2 3 4 5 6 X
-1 3  , 0
(2 )

หาจุดที่กราฟตัดแกน X โดยให้ y = 0
จะได้ 4x2 - 12x + 9 = 0
(2x - 3)2 = 0
x = 32
จะได้ว่า กราฟตัดแกน X ที่จุด (32 , 0)
พิจารณาหาค่า x เมื่อ y ≥ 0
จะได้ 4x2 - 12x + 9 ≥ 0 เมื่อ x∊R
Y
7
6
5
4
3
2
1
-3 -2 -1 0 1 2 3 4 5 6 X
-1

ดังนั้น เซตค�ำตอบของอสมการ 4x2 - 12x + 9 ≥ 0 คือ { x ∙ x∊R }


8) จาก (2x + 1)(3x - 1) < 14
จะได้ 6x2 + x - 15 < 0
ให้ y = 6x2 + x - 15
เขียน 6x2 + x - 15 ในรูป a(x - h)2 + k ได้ ดังนี้
6x2 + x - 15 = 6[x2 + 2(121 )x + (121 ) - (121 ) - 156]
2 2

= 6(x + 121 ) - 361
2
24
190
เมื่อเทียบกับ a(x - h)2 + k จะได้ a = 6, h = - 121 และ k = - 361
24
เขียนกราฟของ y = 6x2 + x - 15 และมีจุดวกกลับอยู่ที่จุด (- 121  , - 361
24 )
ดังรูป
Y
4 y = 6x2 + x - 15
2
-2 -1 -20 1 2 3 X
-4
-6
-8
-10
-12
-14
-16 (- 121 , - 361
24 )

หาจุดที่กราฟตัดแกน X โดยให้ y = 0
จะได้ 6x2 + x - 15 = 0
(3x + 5)(2x - 3) = 0
x = - 53 , 32 
จะได้ว่า กราฟตัดแกน X ที่จุด (- 53 , 0) และ (32 , 0)
พิจารณาหาค่า x เมื่อ y < 0
จะได้ 6x2 + x - 15 < 0 เมื่อ - 53 < x < 32
Y
4
2
-2 -1 -20 1 2 3 X
-4
-6
-8
-10
-12
-14
-16

ดังนั้น เซตค�ำตอบของอสมการ 6x2 + x - 15 < 0 คือ { x ∙ - 53 < x < 32 }


หรือ (- 53 , 32)

191
ลองทําดู (หน้า 108)
ก�าหนด x เป็นจ�านวนนับ ซึ่งเมื่อน�ามารวมกับจ�านวนนับอีกจ�านวนหนึ่งจะมีค่าเท่ากับ 40
ให้หาค่าสูงสุดของผลคูณระหว่างจ�านวนนับสองจ�านวนนี้
แนวคิด ให้ x เป็นจ�านวนนับจ�านวนแรก
จะได้ จ�านวนนับจ�านวนที่สอง คือ 40 - x
ให้ y แทนผลคูณระหว่างจ�านวนนับสองจ�านวน
จะได้ y = x(40 - x)
y = 40x - x2 2

จุดวกกลับของฟังก์ชัน y = ax2 + bx + c คือ (- 2ab , 4ac - b
4a )
จาก y = 40x - x 2

จะได้ - 2ab = - 2(-1)


40 = 20

และ 4ac - b
2
= 4(-1)(0) - (40)2 = 400
4a 4(-1)
จะได้จุด (20, 400) เป็นจุดวกกลับของกราฟและจุดสูงสุดของกราฟ
ดังนั้น ผลคูณที่มีค่าสูงสุดเท่ากับ 400

ลองทําดู (หน้า 109)


หินก้อนหนึ่งถูกโยนจากหน้าผาซึ่งมีความสูง h เมตร จากพื้นดิน ถ้าความสูงของก้อนหิน
ที่ถูกโยนขึ้นไป ค�านวณได้จากสูตร h(t) = 28 + 42t - 12t2 เมื่อ t แทนเวลาเป็นวินาที
1) ให้หาความสูงของหน้าผา
2) ให้เขียนกราฟของฟังก์ชัน h(t) = 28 + 42t - 12t2 เมื่อ 0 ≤ t ≤ 4
3) ให้หาเวลาในขณะที่ก้อนหินอยู่ที่จุดสูงสุดจากพื้น
4) ให้หาว่านานเท่าใดก้อนหินจึงตกลงถึงพื้น
แนวคิด 1) หาความสูงของหน้าผา เมื่อ t = 0
จะได้ h(0) = 28 + 42(0) - 12(0)2 = 28
ดังนั้น ความสูงของหน้าผาเท่ากับ 28 เมตร

192
2) จาก h(t) = 28 + 42t - 12t2 เขียนตารางคู่อันดับและกราฟได้ ดังนี้
t (วินาที) 0 0.5 1 2 3 4
h(t) (เมตร) 28 46 58 64 46 4
Y
70
60
50
40
30
20
10
-1 0 1 2 3 4 5 X
-10
-20
-30

2
3) จุดวกกลับของฟังก์ชัน y = ax2 + bx + c คือ (- 2ab , 4ac4a- b )
จาก h(t) = 28 + 42t - 12t2

จะได้ - 2ab = - 2(-12)
42 = 1.75


2
และ 4ac4a- b = 4(-12)(28) - 422 = 64.75
4(-12)
ดังนั้น เมื่อเวลาผ่านไป 1.75 วินาที ก้อนหินจะอยู่สูงที่สุด และอยู่จากพื้น
64.75 เมตร
4) เมื่อก้อนหินตกถึงพื้น แสดงว่า h(t) จะต้องมีค่าเป็นศูนย์
จะได้ 28 + 42t - 12t2 = 0
6t2 - 21t - 14 = 0
จะได้ t = 21 + 777
12  , t = 21 - 777
12
t ≈ 4.07 t ≈ -0.57
ดังนั้น ก้อนหินจะตกถึงพื้นเมื่อเวลาผ่านไปประมาณ 4.07 วินาที

193
ลองทําดู (หน้า 110)
เรยาต้องการล้อมรัว้ ทีด่ นิ รูปสีเ่ หลีย่ มมุมฉากเพือ่ เลีย้ งไก่ โดยทีด่ า้ นหนึง่ ของพืน้ ทีต่ ดิ กับแม่นา�้
ถ้าเรยามีลวดยาว 80 เมตร และไก่ตัวหนึ่งใช้พื้นที่ 5 ตารางเมตร ให้หาว่าเรยาจะเลี้ยงไก่ได้
มากที่สุดกี่ตัว
แนวคิด

x x

80 - 2x
ให้ x แทนความกว้างของรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก
จะได้ ความยาวของรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก คือ 80 - x - x = 80 - 2x
ให้ y แทนพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก
จะได้ y = x(80 - 2x)
y = 80x - 2x2 2

เนื่องจาก จุดวกกลับของฟังก์ชัน y = ax2 + bx + c คือ (- 2ab , 4ac - b
4a )
จาก y = 80x - 2x 2

จะได้ - 2ab = - 2(-2)
80 = 20

และ 4ac - b2 = 4(-2)(0) - 802 = 800


4a 4(-2)
ดังนั้น เรยาต้องล้อมรั้วให้ด้านกว้างของรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากยาว 20 เมตร
จะได้พื้นที่มากที่สุด คือ 800 ตารางเมตร
นั่นคือ จะเลี้ยงไก่ได้มากที่สุด 800
5 = 160 ตัว

194
แบบฝ
กทั กษะ 2.3 ง (หน้า 111)

ระดับพื้นฐาน
1. จํานวนจริงสองจํานวนบวกกันมีคาเทากับ 50 ใหเขียนสมการของฟงก์ชัน f ซึ่งเปนผลคูณ
1.
ของจํานวนจริงสองจํานวนนี้
แนวคิด ให้ x เป็็นจ�านวนนับจ�านวนแรก
จะได้ จ�านวนนับจ�านวนที่สอง คือ 50 - x
ให้ f แทนผลคูณระหว่างจ�านวนนับสองจ�านวน
จะได้ f(x) = x(50 - x)
ดังนั้น f(x) = 50x - x2
2. กําหนด x เปนจํานวนนับ ซึ่งเมื่อนํามารวมกับจํานวนนับอีกจํานวนหนึ่งจะมีคาเทากับ 80
2.
ใหหาคาสูงสุดของผลคูณระหวางจํานวนนับสองจํานวนนี้
แนวคิด ให้ x เป็็นจ�านวนนับจ�านวนแรก
จะได้ จ�านวนนับจ�านวนที่สอง คือ 80 - x
ให้ y แทนผลคูณระหว่างจ�านวนนับสองจ�านวน
จะได้ y = x(80 - x)
y = 80x - x2
2
จุดวกกลับของฟังก์ชัน y = ax2 + bx + c คือ (- 2ab , 4ac - b
4a )
จาก y = 80x - x2

จะได้ - 2ab = - 2(-1)
80 = 40

และ 4ac - b2 = 4(-1)(0) - 802 = 1,600


4a 4(-1)
จะได้จุด (40, 1,600) เป็นจุดวกกลับของกราฟและจุดสูงสุดของกราฟ
ดังนั้น ผลคูณที่มีค่าสูงสุดเท่ากับ 1,600

195
3. นุดาโยนลูกบอลลูกหนึ่งขึ้นไปบนอากาศในแนวดิ่ง ถาความสูง (เปนฟุต) ของลูกบอล
3.
ที่โยนขึ้นไปคํานวณไดจากสูตร f(t) = -t2 + 5t เมื่อ t แทนเวลาเปนวินาที
1) ให้เขียนกราฟของฟังก์ชัน f(t) = -t2 + 5t เมื่อ 0 ≤ t ≤ 5
2) ให้หาเวลาในขณะที่ลูกบอลอยู่ที่จุดสูงสุดจากพื้น
3) ให้หาว่านานเท่าใดลูกบอลจึงตกลงถึงพื้น
แนวคิด 1) จาก f(t) = -t2 + 5t เขียนตารางคู่อันดับและกราฟได้ ดังนี้
t (วินาที) 0 1 2 3 4 5
f(t) (ฟุต) 0 4 6 6 4 0

Y
7
6
5
4
3
2
1
-2 -1 0 1 2 3 4 5 6 7 X

2

2) จุดวกกลับของฟังก์ชัน y = ax2 + bx + c คือ (- 2ab , 4ac - b
4a )

จาก f(t) = -t2 + 5t
จะได้ - 2ab = - 2(-1)
5 = 2.5

และ 4ac - b
2
= 4(-1)(0) - 52 = 6.25
4a 4(-1)
ดังนั้น เมื่อเวลาผ่านไป 2.5 วินาที ก้อนหินจะอยู่สูงที่สุด
และอยู่จากพื้น 6.25 ฟุต

196
3) เมื่อลูกบอลตกถึงพื้น แสดงว่า f(t) จะต้องมีค่าเป็นศูนย์
จะได้ -t2 + 5t = 0
-t(t - 5) = 0
จะได้ t = 0 หรือ t = 5
ดังนั้น ลูกบอลจะตกถึงพื้นเมื่อเวลาผ่านไป 5 วินาที
4. ฝนทิพย์มีที่ดินแปลงหนึ่งอยูริมแมนํ้าและตองการลอมรั้วลวดหนามรอบ ๆ ที่ดินแปลงนี้
4.
ซึ่งเปนรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก โดยดานที่อยูติดริมนํ้าไมตองมีรั้วกั้น ถาลวดยาว 250 เมตร
จะลอมรั้วใหมีพื้นที่มากที่สุดเปนเทาใด
แนวคิด

x x

250 - 2x
ให้ x แทนความกว้างของรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก
จะได้ ความยาวของรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก คือ 250 - x - x = 250 - 2x
ให้ y แทนพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก
จะได้ y = x(250 - 2x)
y = 250x - 2x2 2

เนื่องจาก จุดวกกลับของฟังก์ชัน y = ax2 + bx + c คือ (- 2ab , 4ac - b
4a )
จาก y = 250x - 2x2

จะได้ - 2ab = - 2(-2)
250 = 62.5

และ 4ac - b2 = 4(-2)(0) - 2502 = 7,812.5


4a 4(-2)
ดังนั้น ฝนทิพย์ต้องล้อมรั้วให้ด้านกว้างของรูปสี่เหลี่ยมุมฉากยาว 62.5 เมตร
จะได้พื้นที่มากที่สุด คือ 7,812.5 ตารางเมตร

197
ระดับกลาง
5.5. บริษัทผลิตของเลนแหงหนึ่งมีตนทุนในการผลิต x ชิ้น เทากับ 12 x2 - 30x - 100 บาท
โดยจะขายของเลนชิ้นละ 170 บาท ถาบริษัทแหงนี้ตองการไดกําไรสูงสุด จะตองขาย
ของเลนจํานวนกี่ชิ้น
แนวคิด ให้ f แทนก�าไรที่ได้จากการขายของเล่น x ชิ้น
จะได้ f(x) = 170x - (12x2 - 30x - 100) = - 12x2 + 200x + 100
2
จุดวกกลับของฟังก์ชัน y = ax2 + bx + c คือ (- 2ab , 4ac - b
4a )
จาก f(x) = - 12x2 + 200x + 100
จะได้ - 2ab = - 2001 = 200
2 (- 2)
2 4 ( - 1)(100) - 2002
และ 4ac - b = 2 = 20,100
4a 1
4 (- 2)
ดังนั้น จะต้องขายของเล่น 200 ชิ้น จึงจะได้ก�าไรสูงสุด 20,100 บาท
6.6. บริษัทแหงหนึ่งมีกําไรใน 10 ปแรก เปนเงิน P ลานบาท สามารถคํานวณไดจากสูตร
P = 2.5 - 0.1(x - 3)2 เมื่อ x แทนจํานวนป ใหหาคา x เมื่อบริษัทไมมีผลกําไร
แนวคิด ให้ 2.5 - 0.1(x - 3)2 = 0
จะได้ 25 - (x - 3)2 = 0
(x - 3)2 - 25 = 0
(x - 3 - 5)(x - 3 + 5) = 0
(x - 8)(x + 2) = 0
x = 8 หรือ x = -2
ดังนั้น บริษัทไม่มีผลก�าไรในปที่ 8

198
ระดับทาทาย

7.7. จากการวิเคราะห์ของโรงงานแหงหนึ่งพบวา เมื่อผลิตสินคา x ชิ้น โรงงานจะไดกําไร P(x)


โดยที่ P(x) = ax2 + bx + c (หนวยเปนบาท) ถาโรงงานนี้ไมผลิตสินคาเลย จะขาดทุน
3,000 บาท ถาผลิตได 150 ชิ้น จะไดกําไร 1,000 บาท และถาผลิต 200 ชิ้น จะเทาทุน
ถาโรงงานแหงนี้ตองการไดกําไรสูงสุด จะตองผลิตสินคากี่ชิ้น และไดกําไรสูงสุดเปนเทาใด
แนวคิด จาก P(x) = ax2 + bx + c
จะได้ P(0) = -3,000
2
a(0) + b(0) + c = -3,000
c = -3,000
P(150) = 1,000
2
a(150) + b(150) + c = 1,000
22,500a + 150b - 3,000 = 1,000
450a + 3b = 80 ……➊
         P(200) = 0
2
a(200) + b(200) + c = 0
40,000a + 200b - 3,000 = 0
200a + b = 15 ……➋
3 × ➋ ; 600a + 3b = 45 ……➌
➌ - ➊ ; 150a = -35
a = - 307
แทนค่า a ใน ➊ ด้วย - 307 จะได้ 450 (- 307 ) + 3b = 80
-105 + 3b = 80
3b = 185
b = 185
3
7 2 185
จะได้ P(x) = - 30 x + 3 x - 3,000
2
จุดวกกลับของฟังก์ชัน y = ax2 + bx + c คือ (- 2ab , 4ac - b4a )
185
จะได้ - 2ab = - 3 7 = 925 7 ≈ 132
2 (- 30 )

199
2
4ac - b2 4 (- 307 )(-3,000) - (185 )
3 = 45,125 ≈ 1,074.4
และ 4a = 42
4 (- 307 )
ดังนั้น โรงงานแห่งนี้จะต้องผลิตสินค้า 132 ชิ้น
เพื่อให้ได้ก�าไรสูงสุดประมาณ 1,074.4 บาท
ลองทําดู (หน้า 114)
ให้เขียนกราฟของฟังก์ชันต่อไปนี้บนระนาบเดียวกัน
1) y1 = 4x และ y2 = 5x
2) y1 = (14)x และ y2 = (15)x
แนวคิด 1) y1 = 4x และ y2 = 5x

x -2 -1 0 1 2
y1 = 4x 1 1 1 4 16
16 4
y2 = 5x 1 1 1 5 25
25 5

จากตาราง จะเห็นว่า เมื่อ x มีค่าเพิ่ม จะท�าให้ 4x และ 5x มีค่าเพิ่มขึ้นด้วย
เขียนกราฟได้ ดังนี้ Y
26
24 y2 = 5x
22
20
18
16 y1 = 4x
14
12
10
8
6
4
2
-4 -3.5 -3 -2.5 -2 -1.5 -1 -0.5 0 0.5 1 1.5 2 2.5 3 3.5 X

จ ากกราฟ จะเห็นว่า เมื่อ x มีค่าเพิ่มขึ้น y จะมีค่าเพิ่มขึ้น และเส้นโค้ง


ของกราฟ y2 = 5x จะลู่เข้าใกล้แกน Y มากกว่าเส้นโค้งของกราฟ y1 = 4x
200
2) y1 = (14)x และ y2 = (15)x

x -2 -1 0 1 2
x 1 1
y1 = (14) 16 4 1 4 16
x 1 1
y2 = (15) 25 5 1 5 25
x x
จากตาราง จะเห็นว่า เมื่อ x มีค่าเพิ่ม จะท�ำให้ (14) และ (15) มีค่าลดลง
เขียนกราฟได้ ดังนี้
Y
34
32
30
28
x 26
y2 = ( 15 ) 24
22
20
x 18
1
y1 = ( 4 ) 16
14
12
10
8
6
4
2
-4 -3.5 -3 -2.5 -2 -1.5 -1 -0.5 0 0.5 1 1.5 2 2.5 3 3.5 X
-2
-4

จ ากกราฟ จะเห็นว่า เมื่อ x มีค่าเพิ่มขึ้น y จะมีค่าลดลง


x
และเมื่อ x มีค่าลดลง y จะมีค่าเพิ่มขึ้น และเส้นโค้งของกราฟ y2 = (15)
x
จะลูเ่ ข้าใกล้แกน Y มากกว่าเส้นโค้งของกราฟ y1 = (14)

201
ให้แก้สมการต่อไปนี้
1) 5x = 625 2) (12)x = 2,048
แนวคิด 1) จาก 5x = 625
จะได้ 5x = 54

ดังนั้น x = 4

(12) = 2,048
x
2) จาก
จะได้ (12)x = 211
(12) = (12)
x -11

ดังนั้น x = -11

ลองทําดู (หน้า 115)


ใ นป พ.ศ. 2558 ประเทศไทยมีประชากร 64.6 ล้านคน และมีอัตราการเพิ่ม 0.15% ต่อป
ให้หาจ�านวนประชากรเมื่อเวลาผ่านไป 5 ป
แนวคิด จาก n(t) = n0(1 + r)t

จะได้ n0 = 64,600,000, r = 0.0015
ให้ t = 5 จะได้ n(5) = 64,600,000(1 + 0.0015)5

= 64,600,000(1.0015)5

≈ 65,085,956 คน

ดังนั้น ประเทศไทยมีประชากรประมาณ 65,085,956 คน เมื่อเวลาผ่านไป 5 ป

202
ลองทําดู (หน้า 116)
น ิชาฝากเงิน 50,000 บาท โดยไม่มีการถอน ซึ่งได้รับดอกเบี้ย 3% ต่อป ให้หาว่าเมื่อฝาก
ครบ 5 ป จะได้รับเงินรวมทั้งหมดเป็นจ�านวนเท่าใด โดยสามารถค�านวณได้จากสูตร
f(t) = 50,000(1.03)t
เมื่อ t เป็นจ�านวนปที่ฝาก และ f(t) เป็นเงินรวมที่ได้รับเมื่อฝากครบ t ป
แนวคิด ให้ t = 5
จะได้ t(5) = 50,000(1.03)5

≈ 57,963.70
ดังนั้น เมื่อฝากเงิน 50,000 บาท โดยได้รับดอกเบี้ย 3% ต่อป เมื่อครบ 5 ป
จะได้รับเงินทั้งหมดประมาณ 57,963.70 บาท

Journal Writing (หน้า 116)


จากการวิเคราะห์ พบว่า จ�านวนของผู้ที่ใช้เครือข่ายสังคม (social network) มีอัตราการ
เพิ่มขึ้นแบบเอกซ์โพเนนเชียล และเขียนแทนด้วยสมการ y = 28x เมื่อ x เป็นจ�านวนเดือน
และ y เป็นจ�านวนผู้ที่ใช้เครือข่ายสังคม
Y

y = 28x

1
0 X

1) ให้อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างจ�านวนผู้ที่ใช้เครือข่ายสังคมกับเวลาที่เปลี่ยนแปลงไป
แนวคิด ถ ้า x เพิ่มขึ้น แล้ว y จะเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว และกราฟจะมีแนวโน้มลู่เข้าหา
แกน Y เมื่อ x มีค่ามากขึ้น กล่าวคือ เมื่อเวลาเปลี่ยนแปลงไป จะมีจ�านวน
ผู้ที่ใช้เครือข่ายสังคมเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว

203
2) ให้สืบค้นข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตว่า ในชีวิตจริงมีเรื่องใดหรือเหตุการณ์ใดบ้าง
ที่มีลักษณะกราฟเป็นแบบเอกซ์โพเนนเชียล
แนวคิด เรื่องหรือเหตุการณ์ที่มีลักษณะกราฟเป็นแบบเอกซ์โพเนนเชียล เช่น
การคิดดอกเบี้ยทบต้น การเจริญเติบโตของแบคทีเรีย การเพิ่มของจ�านวน
ประชากร

แบบฝ
กทั กษะ 2.4 (หน้า 117)

ระดับพื้นฐาน
1. ใหเขียนกราฟของฟงก์ชันที่กําหนดตอไปนี้
1.
1) y = 7x 2) y = ( 17 )x
3) y = 3x - 1 4) y = (15)x + 1
แนวคิด 1) y = 7x

x -2 -1 0 1 2
y = 7x 1 1 1 7 49
49 7
จากตาราง จะเห็นว่า เมื่อ x มีค่าเพิ่ม จะท�าให้ 7x มีค่าเพิ่มขึ้น
เขียนกราฟได้ ดังนี้
Y
50 y = 7x
45
40
35
30
25
20
15
10
5
-5 -4 -3 -2 -1 -50 1 2 3 4 5 6 7 X

204
2) y = ( 17 )x

x -2 -1 0 1 2

y = ( 17 )x 49 7 1 1 1
7 49

จากตาราง จะเห็นว่า เมื่อ x มีค่าเพิ่ม จะท�ำให้ ( 17 )x มีค่าลดลง
เขียนกราฟได้ ดังนี้
Y
x
y = (17) 50
40
30
20
10

-6 -4 -2 0 2 4 6 8 10 X
-10

3) y = 3x - 1

x -2 -1 0 1 2

y = 3x - 1 - 89 - 23 0 2 8
จากตาราง จะเห็นว่า เมื่อ x มีค่าเพิ่ม จะท�ำให้ 3x - 1 มีค่าเพิ่มขึ้น

205
เขียนกราฟได้ ดังนี้
Y

10
9
8 y = 3x - 1
7
6
5
4
3
2
1
-7 -6 -5 -4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4 5 6 7 X
-1
-2

4) y = (15)x + 1

x -2 -1 0 1 2

x
y = ( 15 ) + 1 26 6  2 6 26
5 25
จากตาราง จะเห็นว่า เมื่อ x มีค่าเพิ่ม จะท�ำให้ (15)x + 1 มีค่าลดลง

206
เขียนกราฟได้ ดังนี้
Y
28
x
y = (15) + 1 26
24
22
20
18
16
14
12
10
8
6
4
2
-10 -8 -6 -4 -2 0 2 4 6 8 10 X

2. ใหแกสมการตอไปนี้
2.
1) 2x - 1 = 256 2) 3(5x) = 1,875
3) 5(3x + 1) = 1,215 4) (49)x - 1 = (81
16 )
x

x - 1
แนวคิด 1) จาก 2 = 256
2x - 1 = 28
จะได้ x - 1 = 8
ดังนั้น x = 9
2) จาก 3(5x) = 1,875
5x = 625

5x = 54
ดังนั้น x = 4
3) จาก 5(3x + 1) = 1,215
3x + 1 = 243
3x + 1 = 35
จะได้ x + 1 = 5
ดังนั้น x = 4
207
(49) = (81
x - 1 x
4) จาก 16 )
(49) = [(94) ]
x - 1 2x

(49) = [(49) ]
x - 1 -2 x

(49) = (49)
x - 1 -2x

จะได้ x - 1 = -2x
2x + x = 1
3x = 1
ดังนั้น x = 13

ระดับกลาง

3.3. กําหนดสมการ y = 2 + 2x โดยเขียนตารางคูอันดับ ดังนี้


x -1 -0.5 0 1 1.5 2 2.5 3
y a 2.7 3 4 4.8 6 b 10
1) ให้หาค่า a และ b
2) ให้เขียนกราฟ y = 2 + 2x เมื่อ 1 ≤ x ≤ 3
3) จ ากข้อ 2) ใช้กราฟหาค่าประมาณของ y เมื่อ x = 1.6 และหาค่าประมาณของ x
เมื่อ y = 5.5
แนวคิด 1) หาค่าของ a เมื่อ x = -1
จากสมการ y = 2 + 2x
จะได้ y = 2 + 2-1
= 2 + 12
= 52
= 2.5
ดังนั้น ค่าของ a คือ 2.5

208
หาค่าของ b เมื่อ x = 2.5
จากสมการ y = 2 + 2x
จะได้ y = 2 + 22.5
≈ 7.7
ดังนั้น ค่าของ b ประมาณ 7.7
2) Y
10

-4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4 X
-2

-4

3) เมื่อ x = 1.6 จากกราฟ จะได้ y ≈ 5


Y
10
9.5
9
8.5
8
7.5
7
6.5
6
5.5
5
4.5
4
0 0.2 0.4 0.6 0.8 1 1.2 1.4 1.6 1.8 2 2.2 2.4 2.6 2.8 3 3.2 3.4 3.6 3.8 4 X

209
เมื่อ y = 5.5 จากกราฟ จะได้ x ≈ 1.8
Y

12
11
10
9
8
7
6
5
4
3

0 0.8 1 1.2 1.4 1.6 1.8 2 2.2 2.4 2.6 2.8 3 3.2 3.4 3.6 X

4.4. การเพิ่มของจํานวนแบคทีเรีย สามารถคํานวณไดจาก


n(t) = n0(2.718)rt
เมื่อ n(t) แทนจํานวนแบคทีเรียเมื่อเวลาผานไป t ชั่วโมง
n0 แทนจํานวนแบคทีเรีย ณ เวลาเริ่มตน
r แทนอัตราการเพิ่มขึ้นของจํานวนแบคทีเรียตอเวลา
ถาจํานวนของแบคทีเรียมีอัตราการเพิ่มขึ้น 45% ตอชั่วโมง
1) ให้หาจ�านวนแบคทีเรียเมื่อเวลาผ่านไป 3 ชั่วโมง เมื่อมีจ�านวนแบคทีเรีย
ณ เวลาเริ่มต้นเท่ากับ 500 เซลล์
2) ให้หาจ�านวนแบคทีเรีย ณ เวลาเริ่มต้น ถ้าเวลาผ่านไป 5 ชั่วโมง
แล้วมีจ�านวนแบคทีเรียเท่ากับ 1,000 เซลล์
แนวคิด 1) จาก n(t) = n0(2.718)rt
จะได้ n = 500, r = 0.45
0
ให้ t = 3 จะได้ n(3) = 500(2.718)0.45 3 ×


≈ 1,928 เซลล์
ดังนั้น แบคทีเรียจะมีจ�านวนประมาณ 1,928 เซลล์ เมื่อเวลาผ่านไป
3 ชั่วโมง
210
2) จาก n(t) = n0(2.718)rt
จะได้ n(5) = 1,000, r = 0.45

ให้ t = 5 จะได้ n(5) = n0(2.718)0.45 5×


1,000 = n0(2.718)2.25

n0 = 1,0002.25
(2.718)
n0 ≈  105 เซลล์
ดังนั้น จ�านวนของแบคทีเรีย ณ เวลาเริ่มต้น จะมีประมาณ 105 เซลล์
5.5. นุดาตองการฝากเงิน 10,000 บาท โดยไดรับดอกเบี้ย 1.5% ตอป ซึ่งสามารถคํานวณได
จากสูตร
f(t) = k(1.015)t
เมื่อ t เปนจํานวนปที่ฝาก
k เปนจํานวนเงินตน
และ f(t) เปนเงินรวมที่ไดรับเมื่อฝากครบ t ป
1) ให้หาเงินรวมที่ได้รับเมื่อเวลาผ่านไป 2 ป
2) ถ้านุดาฝากเงิน 300,000 บาท โดยได้รับอัตราดอกเบี้ยเท่าเดิม เมื่อเวลาผ่านไป 3 ป
จะได้รับเงินรวมเท่าใด
3) ถ้านุดาอยากได้รับเงินรวมทั้งหมด 1,000,000 บาท ในอีก 5 ปข้างหน้า นุดาจะต้อง
ฝากเงินจ�านวนเท่าใด
แนวคิด 1) จะได้ k = 10,000, และ t = 2
จาก f(t) = k(1.015)t
f(2) = 10,000(1.015)2
= 10,302.25 บาท

ดังนัน้ เมือ่ เวลาผ่านไป 2 ป นุดาจะได้รบั เงินรวมทัง้ หมด 10,302.25 บาท


2) จะได้ k = 300,000 และ t = 3
จาก f(t) = k(1.015)t
f(3) = 300,000(1.015)3
≈ 313,703.51 บาท

ดังนั้น เมื่อเวลาผ่านไป 3 ป นุดาจะได้รับเงินรวมทั้งหมดประมาณ


313,703.51 บาท

211
3) จะได้ f(5) = 1,000,000 และ t = 5
จาก f(t) = k(1.015)t

f(5) = k(1.015)5

1,000,000 = k(1.015)5
k = 1,000,0005
(1.015)
k ≈ 928,260.33 บาท
ดังนั้น นุดาจะต้องฝากเงินจ�านวนประมาณ 928,260.33 บาท

ระดับทาทาย

6.6. กราฟของ y = kax เมื่อ a > 0 แสดงได ดังรูป


Y
y = kax

3
X
0

ใหหาคา k จากกราฟของ y = kax


แนวคิด จากกราฟ ที่จุด x = 0 จะได้ y = 3
จากสมการ y = kax เมื่อ a > 0
จะได้ 3 = ka0

ดังนั้น k = 3

212
ลองทําดู (หน้า 120)
ให้เขียนฟังก์ชันและกราฟของฟังก์ชันแทนอัตราค่าขนส่งไปรษณีย์แบบธรรมดาต่อไปนี้

พิกัดนํ้าหนัก คาบริการ (บาท)
ไม่เกิน 1 กิโลกรัม 20
เกิน 1 กิโลกรัม แต่ไม่เกิน 2 กิโลกรัม 35
เกิน 2 กิโลกรัม แต่ไม่เกิน 3 กิโลกรัม 50
เกิน 3 กิโลกรัม แต่ไม่เกิน 4 กิโลกรัม 65
เกิน 4 กิโลกรัม แต่ไม่เกิน 5 กิโลกรัม 80

แนวคิด เ ขียนฟังก์ชันในรูป f(x) เมื่อ x เป็นน�้าหนักของพัสดุ (กิโลกรัม) และ f(x) เป็น


อัตราค่าบริการในการส่งพัสดุแบบธรรมดาได้ (บาท) ดังนี้
20, 0 < x ≤ 1
35, 1 < x ≤ 2
f(x) = 50, 2 < x ≤ 3
65, 3 < x ≤ 4
80, 4 < x ≤ 5

213
เขียนกราฟของฟังก์ชันได้ ดังนี้
Y (บาท)

80

70

60

50

40

30

20

10

0 X (กิโลกรัม)
1 2 3 4 5

แบบฝ
กทั กษะ 2.5 (หน้า 121)

ระดับพื้นฐาน
1. ใหเขียนฟงก์ชันและกราฟของฟงก์ชันแทนอัตราคาจอดบริเวณสยามสแควร์ตอไปนี้
1.
ระยะเวลา คาบริการ (บาท)
ไม่เกิน 15 นาที 0
เกิน 15 นาที แต่ไม่เกิน 1 ชั่วโมง 10
เกิน 1 ชั่วโมง แต่ไม่เกิน 2 ชั่วโมง 40
เกิน 2 ชั่วโมง แต่ไม่เกิน 3 ชั่วโมง 60
เกิน 3 ชั่วโมง แต่ไม่เกิน 4 ชั่วโมง 80
เกิน 4 ชั่วโมง แต่ไม่เกิน 5 ชั่วโมง 150

214
แนวคิด เขียนฟังก์ชันในรูป f(x) เมื่อ x เป็นระยะเวลาในการจอด (ชั่วโมง) และ f(x)
เป็นอัตราค่าบริการในการจอดบริเวณสยามสแควร์ได้ (บาท) ดังนี้
0, 0 < x ≤ 0.25
10, 0.25 < x ≤ 1

40, 1 < x ≤ 2
f(x) =
60, 2 < x ≤ 3
80, 3 < x ≤ 4
150, 4 < x ≤ 5

เขียนกราฟของฟังก์ชันได้ ดังนี้
Y (บาท)

160

140

120

100

80

60

40

20

0 X (ชั่วโมง)
1 2 3 4 5

215
2. รานเชาจักรยานยนต์แหงหนึ่งคิดอัตราคาบริการ ดังนี้
2.
2 ชั่วโมงแรก คิดคาบริการ 100 บาท
ชั่วโมงที่ 3 ขึ้นไป คิดคาบริการชั่วโมงละ 30 บาท
ใหเขียนฟงก์ชันและกราฟของฟงก์ชันแทนอัตราคาบริการ เมื่อเชารถจักรยานยนต์เปนเวลา
5 ชั่วโมง
แนวคิด เขียนฟังก์ชันในรูป f(x) เมื่อ x เป็นระยะเวลาในการเช่ารถจักรยานยนต์ (ชั่วโมง)
และ f(x) เป็นอัตราค่าบริการในการเช่ารถจักรยานยนต์ได้ (บาท) ดังนี้
100, 0 < x ≤ 2
130, 2 < x ≤ 3
f(x) =
160, 3 < x ≤ 4
190, 4 < x ≤ 5
เขียนกราฟของฟังก์ชันได้ ดังนี้
Y (บาท)

200

160

120

80

40

0 X (ชั่วโมง)
1 2 3 4 5

พิจารณา เช่ารถจักรยานยนต์เป็นเวลา 5 ชั่วโมง


2 ชั่วโมงแรก คิดค่าบริการ 100 บาท
3 ชั่วโมงที่เหลือ คิดค่าบริการ (30 × 3) = 90 บาท
ดังนั้น เมื่อเช่ารถจักรยานยนต์เป็นเวลา 5 ชั่วโมง ต้องจ่ายค่าบริการ
เช่ารถจักรยานยนต์เท่ากับ 100 + 90 = 190 บาท

216
ระดับกลาง
3.3. บริษัท อักษรทรานสปอร์ต จํากัด คิดอัตราคาขนสงสินคาแสดงดวยกราฟของฟงก์ชัน ดังนี้
Y (บาท)
280
240
200
160
120
80
40
0 5 10 15 20 X (กิโลกรัม)

1) ให้เขียนฟังก์ชันแทนอัตราค่าบริการของบริษัท อักษรทรานสปอร์ต จ�ากัด


2) ถ้าต้องการขนส่งพัสดุน�้าหนัก 17 กิโลกรัม จะต้องเสียค่าบริการทั้งหมดกี่บาท
แนวคิด 1) เขียนฟังก์ชันในรูป f(x) เมื่อ x เป็นน�้าหนักของพัสดุ (กิโลกรัม)
และ f(x) เป็นอัตราค่าบริการขนส่งพัสดุได้ (บาท) ดังนี้
80, 0 < x ≤ 5
120, 5 < x ≤ 10
f(x) =
160, 10 < x ≤ 15
280, 15 < x ≤ 20
2) ถ้าขนส่งพัสดุน�้าหนัก 17 กิโลกรัม จะได้ x = 17
จากฟังก์ชัน ข้อ 1) น�้าหนักของพัสดุเกิน 15 กิโลกรัม
แต่ไม่เกิน 20 กิโลกรัม จะคิดอัตราค่าบริการขนส่งพัสดุ 280 บาท
จะได้ x = 17 อยู่ในช่วง 15 < x ≤ 20
ดังนั้น น�้าหนักของพัสดุ 17 กิโลกรัม จะต้องเสียค่าบริการขนส่งพัสดุ
ทั้งหมด 280 บาท

217
ระดับทาทาย

4.4. บริษัท A ใหเชาหองประชุม คิดอัตราคาบริการ ดังนี้


3 ชั่วโมงแรก คิดคาบริการชั่วโมงละ 2,500 บาท
ชั่วโมงที่ 4 ขึ้นไป คิดคาบริการชั่วโมงละ 2,400 บาท
บริษัท B ใหเชาหองประชุม คิดอัตราคาบริการ ดังนี้
6 ชั่วโมงแรก คิดคาบริการชั่วโมงละ 3,000 บาท
ชั่วโมงที่ 7 ขึ้นไป คิดคาบริการชั่วโมงละ 1,800 บาท
ถานักลงทุนคนหนึ่งตองการเชาหองประชุมเปนเวลา 7 ชั่วโมง บริษัทใดจะคิดอัตรา
คาบริการถูกกวากัน
แนวคิด พิจารณา บริษัท A ถ้าเช่าห้องประชุม 7 ชั่วโมง
จะได้ 3 ชั่วโมงแรก = (3 × 2,500) = 7,500 บาท
4 ชั่วโมงที่เหลือ = (4 × 2,400) = 9,600 บาท
บริษัท A คิดค่าบริการเช่าห้องประชุม 7 ชั่วโมง เท่ากับ 7,500 + 9,600
= 17,100 บาท
พิจารณา บริษัท B ถ้าเช่าห้องประชุม 7 ชั่วโมง
จะได้ 6 ชั่วโมงแรก = (6 × 3,000) = 18,000 บาท
1 ชั่วโมงที่เหลือ = (1 × 1,800) = 1,800 บาท
บริษัท B คิดค่าบริการเช่าห้องประชุม 7 ชั่วโมง เท่ากับ 18,000 + 1,800
= 19,800 บาท
ดังนั้น นักลงทุนควรเช่าห้องประชุมจากบริษัท A ซึ่งมีอัตราค่าบริการถูกกว่า
บริษัท B

218
แบบฝกทักษะประจําหนวยการเรียนรูท ่ี 2 (หน้า 127)

1.1. ก�าหนด A = { 5, 10, 20 } และ B = { s, t } ให้หา


1) A × B 2) B × A
3) A × A 4) B × B
แนวคิด 1) จาก A × B = { (a, b) ∙ a∊A และ b∊B }
ดังนั้น A × B = { (5, s), (5, t), (10, s), (10, t), (20, s), (20, t) }
2) จาก B × A = { (a, b) ∙ a∊B และ b∊A }
ดังนั้น B × A = { (s, 5), (s, 10), (s, 20), (t, 5), (t, 10), (t, 20) }
3) จาก A × A = { (a, b) ∙ a∊A และ b∊A }
ดังนั้น A × A = { (5, 5), (5, 10), (5, 20), (10, 5), (10, 10), (10, 20),
(20, 5), (20, 10), (20, 20) }
4) จาก B × B = { (a, b) ∙ a∊B และ b∊B }
ดังนั้น B × B = { (s, s), (s, t), (t, s), (t, t) }

2.2. ก�าหนด A = { 1, 2, 3, 4, 5 } และ B = { 1, 3, 5, 7, 9 } ให้เขียนความสัมพันธ์ที่ก�าหนด


แบบแจกแจงสมาชิกและแบบบอกเงื่อนไข
1) ความสัมพันธ์น้อยกว่าจาก A ไป B
2) ความสัมพันธ์เท่ากับจาก B ไป A
3) ความสัมพันธ์รากที่สองจาก A ไป A
4) ความสัมพันธ์ก�าลังสองจาก B ไป B
แนวคิด จาก A = { 1, 2, 3, 4, 5 } และ B = { 1, 3, 5, 7, 9 }
1) ก�าหนด r1 แทนความสัมพันธ์น้อยกว่าจาก A ไป B ซึ่งหมายถึง สมาชิก
ตัวหน้าน้อยกว่าสมาชิกตัวหลัง จะได้
r1 = { (1, 3), (1, 5), (1, 7), …, (5, 9) } หรือ r1 = { (x, y)∊A × B ∙ x < y }
2) ก�าหนด r2 แทนความสัมพันธ์เท่ากับจาก B ไป A ซึ่งหมายถึง สมาชิก
ตัวหน้าเท่ากับสมาชิกตัวหลัง จะได้
r2 = { (1, 1), (3, 3), (5, 5) } หรือ r2 = { (x, y)∊B × A ∙ x = y }

219
3) ก�าหนด r3 แทนความสัมพันธ์รากที่สองจาก A ไป A ซึ่งหมายถึง สมาชิก
ตัวหน้าเป็นรากที่สองของสมาชิกตัวหลัง จะได้
r3 = { (1, 1), (2, 4) } หรือ r3 = { (x, y)∊A × A ∙ x = y }
4) ก�าหนด r4 แทนความสัมพันธ์ก�าลังสองจาก B ไป B ซึ่งหมายถึง สมาชิก
ตัวหน้าเป็นก�าลังสองของสมาชิกตัวหลัง จะได้
r4 = { (1, 1), (9, 3) } หรือ r4 = { (x, y)∊B × B ∙ x = y2 }

3.3. ให้เขียนกราฟของความสัมพันธ์ต่อไปนี้
1) r1 = { (x, y)∊R × R ∙ y = -2x }
2) r2 = { (x, y)∊R × R ∙ y = x4 }
3) r3 = { (x, y)∊R × R ∙ y = -x3 }
4) r4 = { (x, y)∊R × R ∙ y = ∙x∙ + 1 }
5) r5 = { (x, y)∊R × R ∙ -1 ≤ x ≤ 5 }
แนวคิด 1) จากสมาชิก y = -2x เมื่อแทนค่า x ด้วยจ�านวนจริงบางค่า จะได้พิกัด
ซึ่งแทนสมาชิกของ r1 บางสมาชิกดังตาราง
x -2 -1 0 1 2
y 4 2 0 -2 -4
เขียนกราฟ r1 ได้ ดังนี้
Y
8
6
4
2
-8 -6 -4 -2 0 2 4 6 8 X
-2
-4
-6
-8

220
2) จากสมาชิก y = x4 เมื่อแทนค่า x ด้วยจ�ำนวนจริงบางค่า จะได้พิกัด
ซึ่งแทนสมาชิกของ r2 บางสมาชิกดังตาราง
x -2 -1 0 1 2
y 16 1 0 1 16
เขียนกราฟ r2 ได้ ดังนี้
Y
25

20

15

10

-4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4 X
-5

3) จากสมาชิก y = -x3 เมื่อแทนค่า x ด้วยจ�ำนวนจริงบางค่า จะได้พิกัด


ซึ่งแทนสมาชิกของ r3 บางสมาชิกดังตาราง
x -2 -1 0 1 2
y 8 1 0 -1 -8
เขียนกราฟ r3 ได้ ดังนี้
Y
15
10
5

-3 -2 -1 0 1 2 3 4 X
-5
-10
-15

221
4) จากสมาชิก y = ∙ x∙ + 1 เมื่อแทนค่า x ด้วยจ�ำนวนจริงบางค่า จะได้พิกัด
ซึ่งแทนสมาชิกของ r4 บางสมาชิกดังตาราง
x -2 -1 0 1 2
y 3 2 1 2 3
เขียนกราฟ r4 ได้ ดังนี้
Y

5
4
3
2
1
-4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4 X
-1

5) จาก -1 ≤ x ≤ 5 จะเขียนกราฟ r5 ได้ดังนี้


Y

5
4
3
2
1
-3 -2 -1 0 1 2 3 4 5 X
-1
-2
-3
-4

222
4.4. ให้หาโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ที่ก�าหนดต่อไปนี้
1) r = { (x, y)∊I × I ∙ 5x - 2y = 10 }
2) r = { (x, y)∊R × R ∙ 3y = 6 - x }
3) r = {(x, y)∊R × R ∙ y = 2x + 1x - 5 }
4) r = { (x, y)∊R × R ∙ (x + 3)y = 4x }
5) r = { (x, y) ∙ y = ∙x∙ + 2 }
6) r = { (x, y) ∙ y = 49 - 9x2 }
แนวคิด 1) หาโดเมนของความสัมพันธ์
จาก 5x - 2y = 10 จัดตัวแปร y ในรูปของ x
จะได้ y = 5x - 10 2
5x
y = 2 - 5
เนื่องจาก 5x2 ต้องเป็นจ�านวนเต็ม แสดงว่า x เป็นจ�านวนเต็มที่หารด้วย 2
ลงตัว โดยค่าของ x เป็นแบบรูปของจ�านวนที่เพิ่มขึ้นครั้งละ 2
คือ …, -4, -2, 0, 2, 4, …
ดังนั้น Dr = { x ∙ x∊I และ x หารด้วย 2 ลงตัว }
หรือ Dr = { …, -4, -2, 0, 2, 4, … }
หาเรนจ์ของความสัมพันธ์
จาก 5x - 2y = 10 จัดตัวแปร x ในรูปของ y
จะได้ x = 10 + 2y 5
x = 2 + 2y5
เนื่องจาก 2y5 ต้องเป็นจ�านวนเต็ม แสดงว่า y เป็นจ�านวนเต็มที่หารด้วย 5
ลงตัว โดยค่าของ y เป็นแบบรูปของจ�านวนที่เพิ่มขึ้นครั้งละ 5
คือ …, -10, -5, 0, 5, 10, …
ดังนั้น Rr = { y ∙ y∊I และ x หารด้วย 5 ลงตัว }
หรือ Rr = { …, -10, -5, 0, 5, 10, … }

223
2) หาโดเมนของความสัมพันธ์
จาก 3y = 6 - x จัดตัวแปร y ในรูปของ x
จะได้ y = 6 3- x
เนื่องจาก y ต้องเป็นจ�ำนวนจริงใด ๆ ดังนั้น Dr = R
หาเรนจ์ของความสัมพันธ์
จาก 3y = 6 - x จัดตัวแปร x ในรูปของ y
จะได้ x = 6 - 3y
เนื่องจาก x ต้องเป็นจ�ำนวนจริงใด ๆ ดังนั้น Rr = R
3) หาโดเมนของความสัมพันธ์
จาก y = 2xx -+ 51 เป็นเศษส่วนทีม่ ตี วั ส่วนเป็นพหุนามก�ำลังหนึง่ และเศษส่วน
จะไม่นิยามเมื่อตัวส่วนเป็นศูนย์ นั่นคือ 2x + 1 ต้องไม่เท่ากับศูนย์
จะได้ 2x + 1 ≠ 0
x ≠ - 12
ดังนั้น Dr = {x  ∙ x ≠ - 12 } หรือ Dr = R - {- 12 }
หาเรนจ์ของความสัมพันธ์
จาก y = 2xx -+ 51 จัดตัวแปร x ในรูปของ y
จะได้ y(2x + 1) = x - 5
2xy + y = x - 5
2xy - x = -y - 5
(2y - 1)x = -y - 5
x = 2y-y - 5
-1
-y - 5
จาก x = 2y - 1 เป็นเศษส่วนที่มีตัวส่วนเป็นพหุนามก�ำลังหนึ่ง
และเศษส่วนจะไม่นิยามเมื่อตัวส่วนเป็นศูนย์
นั่นคือ 2y - 1 ต้องไม่เท่ากับศูนย์
จะได้ 2y - 1 ≠ 0
y ≠ 12
ดังนั้น Rr = {y  ∙ y ≠ 12 } หรือ Rr = R - { 12 }

224
4) หาโดเมนของความสัมพันธ์
จาก (x + 3)y = 4x จัดตัวแปร y ในรูปของ x
จะได้ y = x 4x+ 3
4x
จาก y = x + 3  เป็นเศษส่วนที่มีตัวส่วนเป็นพหุนามก�ำลังหนึ่ง และเศษส่วน
จะไม่นิยามเมื่อตัวส่วนเป็นศูนย์ นั่นคือ x + 3 ต้องไม่เท่ากับศูนย์
จะได้ x + 3 ≠ 0
x ≠ -3
ดังนั้น Dr = { x  ∙ x ≠ -3 } หรือ Dr = R - { -3 }
หาเรนจ์ของความสัมพันธ์

จาก (x + 3)y = 4x จัดตัวแปร x ในรูปของ y

จะได้ xy + 3y = 4x

xy - 4x = -3y
(y - 4)x = -3y
x = y-3y
-4
จาก x = y-3y - 4 เป็นเศษส่วนที่มีตัวส่วนเป็นพหุนามก�ำลังหนึ่ง และเศษส่วน
จะไม่นิยามเมื่อตัวส่วนเป็นศูนย์ นั่นคือ y - 4 ต้องไม่เท่ากับศูนย์
จะได้ y - 4 ≠ 0
y ≠ 4
ดังนั้น Rr = { y  ∙ y ≠ 4 } หรือ Rr = R - { 4 }
5) หาโดเมนของความสัมพันธ์
เนื่องจาก ∙ x ∙ + 2 เป็นการก�ำหนดค่าสัมบูรณ์ ซึ่งจ�ำนวนในค่าสัมบูรณ์
เป็นจ�ำนวนจริงใด ๆ ดังนั้น Dr = { x  ∙ x∊R } หรือ Dr = R
หาเรนจ์ของความสัมพันธ์
เนื่องจาก y = ∙ x ∙ + 2 และ ∙ x ∙ + 2 ≥ 2 ส�ำหรับทุก x∊R
ดังนั้น Rr = { y  ∙ y ≥ 2 } หรือ Rr = [2, ∞)

225
6) หาโดเมนของความสัมพันธ์
เนื่องจาก 49 - 9x2 เป็นการก�ำหนดค่ารากที่สอง ซึ่งจ�ำนวนในรากที่สอง
ต้องไม่เป็นจ�ำนวนลบ
ดังนั้น 49 - 9x2 ≥ 0
9x2 - 49 ≤ 0
(3x - 7)(3x + 7) ≤ 0
จากอสมการ แสดงค่า x บนเส้นจ�ำนวนจริงได้ ดังนี้

- 73  7 
3
เซตค�ำตอบของอสมการ คือ { x  ∙ - 73 ≤ x ≤ 73  } หรือ [- 73 , 73  ]
ดังนั้น Dr = { x  ∙ - 73 ≤ x ≤ 73  } หรือ [- 73 , 73  ]
หาเรนจ์ของความสัมพันธ์
จัดตัวแปร x ในรูปของ y ซึ่งต้องยกก�ำลังสองทั้งสองข้างของสมการ
จะได้ y = 49 - 9x2  และ y ≥ 0
y2 = 49 - 9x2
9x2 = 49 - y2
x = ± 13    49 - y2 
ดังนั้น 49 - y2 ≥ 0 และ y ≥ 0
2
จะได้ 0 ≥ y - 49
0 ≥ (y - 7)(y + 7)
(y - 7)(y + 7) ≤ 0 และ y ≥ 0
จากอสมการ แสดงค่า y บนเส้นจ�ำนวนจริงได้ ดังนี้


-7 0 7
เซตค�ำตอบของอสมการ คือ { y  ∙ 0 ≤ y ≤ 7 } หรือ [0, 7]
ดังนั้น Rr = { y  ∙ 0 ≤ y ≤ 7 } หรือ [0, 7]
226
5.5. ก�าหนด f(x) = ax + b ซึ่ง f(3) = -2 และ f(1) = 6 ให้หาค่าของ a และ b
แนวคิด จาก f(x) = ax + b
จะได้ f(3) = a(3) + b = -2 ……➊
และ f(1) = a(1) + b = 6 ……➋
3 × ➋ ; 3a + 3b = 18 ……➌
➊ - ➌ ; -2b = -20
b = 10
แทนค่า b ใน ➋ ; a + 10 = 6
a = -4
6.6. ก�าหนดฟังก์ชัน
x2 + 3, x <  0
f(x) = 2x - 5, 0 ≤ x < 3
7, x ≥ 3
ให้หา
1) f(0) + f(1) 2) f(-1) - f(3)
3) f(-2) + f(-1) + f(3.5) 4) f(-5) + f(2) - f(5)
แนวคิด 1) f(0) + f(1) = [2(0) - 5] + [2(1) - 5]
= -8
2) f(-1) - f(3) = [(-1)2 + 3] - 7
= -3
3) f(-2) + f(-1) + f(3.5) = [(-2)2 + 3] + [(-1)2 + 3] + 7
= 18
4) f(-5) + f(2) - f(5) = [(-5)2 + 3] + [2(2) - 5] - 7
= 20

227
7.7. ให้เขียนกราฟของฟังก์ชันต่อไปนี้ พร้อมทั้งหาเรนจ์ของฟังก์ชัน
1) y = 6 - x, -3 ≤ x ≤ 3 2) y = 0.02x2 - 1, x ≥ 5
3) y = (x + 4)(x - 9) 4) y = 7x, x∊R-
แนวคิด 1) วิธีที่ 1 จาก f(x) = 6 - x
พิจารณาที่ x = -3 จะได้ f(-3) = 6 - (-3) = 9
พิจารณาที่ x = 3 จะได้ f(3) = 6 - 3 = 3
เขียนกราฟของฟังก์ชันได้ ดังนี้
Y
10
8
6
4
2
-6 -4 -2 0 2 4 6 X

จากกราฟ จะได้ว่า ค่าของฟังก์ชันอยู่ในช่วง 3 ≤ y ≤ 9


วิธีที่ 2 จาก -3 ≤ x ≤ 3
น�า -1 คูณทั้งอสมการ จะได้
3 ≥  -x ≥ -3
หรือ -3 ≤ -x ≤ 3
น�า 6 บวกทั้งอสมการ จะได้
-3 + 6 ≤  -x + 6 ≤ 3 + 6
3 ≤   6 - x ≤ 9
3 ≤    y ≤ 9
ดังนั้น Rf = { y ∙ 3 ≤ y ≤ 9 } หรือ Rf = [3, 9]

228
2) วิธีที่ 1 จาก f(x) = 0.02x2 - 1
จะได้ จุดวกกลับของ f(x) = 0.02x2 - 1 คือ จุด (0, -1)
เนื่องจาก x ≥ 5 จะได้กราฟของฟังก์ชันเป็น ดังนี้
Y
12
10
8
6
4
2
-2 -20 2 4 6 8 10 12 14 16 18 20 X
-4

จากกราฟ จะได้ว่า ค่าของฟังก์ชันอยู่ในช่วง y ≥ -0.5


วิธีที่ 2 จาก x ≥  5
ยกก�ำลังสองทั้งสองข้างของอสมการ จะได้
x2 ≥ 25
น�ำ 0.02 คูณทั้งอสมการ จะได้
0.02x2 ≥ 0.5
น�ำ -1 บวกทั้งอสมการ จะได้
0.02x2 - 1 ≥ -0.5
y ≥ -0.5
ดังนั้น Rf = { y  ∙ y ≥ -0.5 } หรือ Rf = [-0.5, ∞)
3) จาก f(x) = (x + 4)(x - 9) = x2 - 5x - 36
จะได้ กราฟตัดแกน X ที่จุด (-4, 0) และ (9, 0)
(-5) , 4(1)(-36) - (-5)2 = 5  , - 169
และมีจุดวกกลับ คือจุด (- 2(1)
4(1) ) (2 4 )

229
เขียนกราฟของฟังก์ชันได้ ดังนี้
Y
-20 -15 -10 -5 -50 5 10 15 20 25 X
-10
-15
-20
-25
-30
-35
-40

จากกราฟ จะได้ว่า ค่าของฟังก์ชันอยู่ในช่วง y ≥ - 169 4


169 169
ดังนั้น Rf = { y  ∙ y ≥ -  4  } หรือ Rf = [-  4 , ∞)
4) แทนค่า x ด้วยจ�ำนวนจริงบางค่า จะได้พิกัดซึ่งแทนสมาชิกของ y
บางสมาชิกดังตาราง
x -3 -2 -1 0
y 1 1 1 1
343 49 7
เขียนกราฟของฟังก์ชันได้ ดังนี้
Y
1.6
1.4
1.2
1
0.8
0.6
0.4
0.2
0 X
-0.2 0.2 0.4 0.6 0.8 1
-2.4 -2.2 -2 -1.8 -1.6 -1.4 -1.2 -1 -0.8 -0.6 -0.4 -0.2
-0.4
-0.6
-0.8
จากกราฟ จะได้ว่า เมื่อ x∊R- ค่าของฟังก์ชันอยู่ในช่วง 0 < y < 1
ดังนั้น Rf =  { y  ∙ 0 < y < 1 } หรือ Rf = (0, 1)

230
8.8. ก�าหนด y = x2 - 10x + 9
1) ให้เขียนตารางคู่อันดับ
x -2 0 1 3 6 9 10
y
2) ให้เขียนกราฟของฟังก์ชัน y = x2 - 10x + 9
3) ให้แก้สมการ x2 - 10x + 9 = 0 โดยใช้กราฟ
แนวคิด 1)
x -2 0 1 3 6 9 10
y 33 9 0 -12 -15 0 9
2) Y
4
2
-8 -6 -4 -2 -20 2 4 6 8 10 12 14 16 18 X
-4
-6
-8
-10
-12
-14
-16
-18

3) จากกราฟ จะได้ว่า ค�าตอบของสมการ y = x2 - 10x + 9 คือ 1 และ 9

231
9.9. ให้เขียนฟังก์ชันและกราฟของฟังก์ชันแทนอัตราค่าบริการท�าความสะอาดของบริษัท
แห่งหนึ่งต่อไปนี้
เวลา (ชั่วโมง) ราคาตอชั่วโมง (บาท/ชั่วโมง)
0 < x ≤ 2 250
2 < x ≤ 4 220
4 < x ≤ 5 200
5 < x ≤ 6 180

แนวคิด Y (บาท/ชั่วโมง)
260
240
220
200
180
160
140
120
100
0 1 2 3 4 5 6 X (ชั่วโมง)

10. ห ินก้อนหนึ่งถูกโยนจากบนยอดตึกลงไปในทะเล ซึ่งต�าแหน่งการเคลื่อนที่ของหิน


10.
สามารถค�านวณได้จากสูตร
y = 60 + 25x - x2
เมื่อ y แทนความสูงของก้อนหิน มีหน่วยเป็นเมตร
และ x แทนระยะทางในแนวราบที่ขว้างก้อนหินไปได้ มีหน่วยเป็นเมตร

232
1) ให้แก้สมการ 60 + 25x - x2 = 0 และเขียนค�ำตอบให้อยู่ในรูปทศนิยม 1 ต�ำแหน่ง
2) ให้อธิบายค�ำตอบที่เป็นค่าบวกที่ได้จากข้อ 1)
3) ก�ำหนดตารางคู่อันดับ
x 0 2 4 6 8 10
y 60 106 144 174 196 210

x 12 14 16 18 20 22
y 216 214 204 186 160 126

ให้เขียนกราฟของ y = 60 + 25x - x2 เมื่อ 0 ≤ x ≤ 22 และ 0 ≤ y ≤ 220


4) ให้หาจุดที่ก้อนหินอยู่ที่จุดสูงสุดจากระดับน�้ำทะเล
5) ให้หาระยะทางในแนวราบ เมื่อก้อนหินอยู่สูงจากระดับน�้ำทะเล 180 เมตร
แนวคิด 1) จาก 60 + 25x - x2 = 0
จะได้ x2 - 25x - 60 = 0
2
x = 25 ±   (-25)2(1)- 4(1)(-60)

= 25 ±   6252
+ 240

= 25 ±   2 865

= 25 +2  865 , 25 - 2  865

ดังนั้น x = 25 +2  865 , 25 - 2  865 หรือประมาณ 27.2, -2.2


2) จากค�ำตอบใน 1) จะได้วา่ ระยะทางในแนวราบทีข่ ว้างก้อนหิน คือ 27.2 เมตร

233
3) Y
250

200

150

100

50

0 5 10 15 20 25 X
-50

4) จาก - 2ab = 2(-1)


-25 = 12.5

4ac - b2 = 4(-1)(60) - (25)2


4a 4(-1)
= -240 - 625
-4
= 216.25 เมตร

ดังนั้น ก้อนหินอยู่ที่จุดสูงสุดจากระดับน�ำ้ ทะเล เมื่อก้อนหินมีระยะทาง


ในแนวราบ 12.5 เมตร และอยู่สูงจากระดับน�้ำทะเล 216.25 เมตร
5) จาก y = 60 + 25x - x2

จะได้ 180 = 60 + 25x - x2

x2 - 25x + 120 = 0
2
x = -(-25) ±  (-25)
2(1)
- 4(1)(120)

= 25 ± 
2
145

= 25 +2  145 และ 25 -2  145


≈ 18.52 และ 6.48
ดังนั้น ระยะทางในแนวราบประมาณ 18.52 เมตร และ 6.48 เมตร
เมื่อก้อนหินอยู่สูงจากระดับน�้ำทะเล 180 เมตร
234
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 ล�ำดับและอนุกรม

Investigation (หน้า 132)


ให้นักเรียนเติมค�ำตอบลงในช่องว่างให้ถูกต้อง

รูปที่ 1 รูปที่ 2 รูปที่ 3 รูปที่ 4

1. เติมจ�ำนวนลูกบาศก์ลงในตาราง

รูปที่ 1 2 3 4
จ�ำนวนลูกบาศก์ 1 3 6 10

2. หาจ�ำนวนลูกบาศก์ของรูปที่ 5, 6 และ 7
แนวคิด จากตาราง จะเห็นว่ารูปที่อยู่ถัดไปจะมีจำ� นวนลูกบาศก์เพิ่มขึ้นทีละ 2, 3
และ 4 ตามล�ำดับ จะได้ว่า รูปที่ 5, 6 และ 7 จะมีจำ� นวนลูกบาศก์เพิ่มขึ้น
5, 6 และ 7 ตามล�ำดับ
ดังนั้น รูปที่ 5, 6 และ 7 จะมีจำ� นวนลูกบาศก์เป็น 15, 21 และ 28
ตามล�ำดับ
3. หาความสัมพันธ์ระหว่างล�ำดับของรูป กับจ�ำนวนลูกบาศก์ในแต่ละรูป และหาจ�ำนวน
ลูกบาศก์ของรูปที่ n
แนวคิด จากความสัมพันธ์ เป็นฟังก์ชันที่มี { 1, 2, 3, 4 } เป็นโดเมน
และมี { 1, 3, 6, 10 } เป็นเรนจ์

235
จ�านวนลูกบาศก์รูปที่ n พิจารณา ดังนี้
รูปที่ 1 2 3 4 ... n ...
จ�ำนวนลูกบำศก์ 1 3 6 10 ... n(n + 1) ...
2

ลองทําดู (หน้า 135)


ให้หาห้าพจน์แรกของ an = 4n - 3
แนวคิด จาก an = 4n - 3
จะได้ a1 = 4(1) - 3 = 1
a2 = 4(2) - 3 = 5
a3 = 4(3) - 3 = 9
a4 = 4(4) - 3 = 13
a5 = 4(5) - 3 = 17
ดังนั้น ห้าพจน์แรกของล�าดับนี้ คือ 1, 5, 9, 13, 17
ให้หาห้าพจน์แรกของ an = 4n - 2
แนวคิด จาก an = 4n - 2
จะได้ a1 = 41 - 2 = 4-1 = 14
a2 = 42 - 2 = 40 = 1
a3 = 43 - 2 = 41 = 4
a4 = 44 - 2 = 42 = 16
a5 = 45 - 2 = 43 = 64
ดังนั้น ห้าพจน์แรกของล�าดับนี้ คือ 14, 1, 4, 16, 64

236
ลองทําดู (หน้า 136)
ให้หาห้าพจน์แรกของ an = n(-1)n
แนวคิด จาก an = n(-1)n
จะได้ a1 = (1)(-1)1 = -1
a2 = (2)(-1)2 = 2
a3 = (3)(-1)3 = -3
a4 = (4)(-1)4 = 4
a5 = (5)(-1)5 = -5
ดังนั้น ห้าพจน์แรกของล�าดับนี้ คือ -1, 2, -3, 4, -5
ลองทําดู (หน้า 137)
ให้หาพจน์ถัดไปสองพจน์ของล�าดับที่ก�าหนดต่อไปนี้
1) 5, 10, 16, 23, … 2) 81, 27, 9, 3, …
3) 4, 1, -3, -8, … 4) 1, 4, 16, 64, …
แนวคิด 1) พิจารณาความสัมพันธ์ของพจน์ในล�าดับ
5 10 16 23

+5 +6 +7
จากความสัมพันธ์ จะเห็นว่า พจน์ทอี่ ยูถ่ ดั ไปจะเพิม่ ขึน้ 5, 6 และ 7 ตามล�าดับ
จะได้ว่า พจน์ถัดไปสองพจน์ของล�าดับนี้จะเพิ่มขึ้น 8 และ 9 ตามล�าดับ
ดังนั้น พจน์ถัดไปสองพจน์ของล�าดับนี้ คือ 31 และ 40
2) พิจารณาความสัมพันธ์ของพจน์ในล�าดับ
81 27 9 3

3 ÷3 ÷3
÷
จากความสัมพันธ์ จะเห็นว่า พจน์ที่อยู่ถัดไปจะถูกหารด้วยสามของพจน์
ที่อยู่ข้างหน้า
ดังนั้น พจน์ถัดไปสองพจน์ของล�าดับนี้ คือ 1 และ 13

237
3) พิจารณาความสัมพันธ์ของพจน์ในล�าดับ
4 1 -3 -8

-3 -4 -5
จากความสัมพันธ์ จะเห็นว่า พจน์ที่อยู่ถัดไปจะลดลง 3, 4 และ 5 ตามล�าดับ
จะได้ว่า พจน์ถัดไปสองพจน์ของล�าดับนี้จะลดลง 6 และ 7 ตามล�าดับ
ดังนั้น พจน์ถัดไปสองพจน์ของล�าดับนี้ คือ -14 และ -21
4) พิจารณาความสัมพันธ์ของพจน์ในล�าดับ
1 4 16 64

4 ×4 ×4
×

จากความสัมพันธ์ จะเห็นว่า พจน์ที่อยู่ถัดไปจะเป็นสี่เท่าของพจน์


ที่อยู่ข้างหน้า
ดังนั้น พจน์ถัดไปสองพจน์ของล�าดับนี้ คือ 256 และ 1,024

แบบฝกทักษะ 3.1ก (หน้า 138)


ระดับพื้นฐาน
1. ให้หำห้ำพจน์แรกของล�ำดับต่อไปนี้
1) an = 7n + 2 2) an = 10 - 2n
3) an = 2n + 4 4) an = -3n + 1
n
5) an = 2n(-1)n - 1 6) an = (-2)
n
แนวคิด 1) จาก an = 7n + 2
จะได้ a1 = 7(1) + 2 = 9
a2 = 7(2) + 2 = 16
a3 = 7(3) + 2 = 23
a4 = 7(4) + 2 = 30
a5 = 7(5) + 2 = 37
ดังนั้น ห้าพจน์แรกของล�าดับนี้ คือ 9, 16, 23, 30, 37
238
2) จาก an = 10 - 2n
จะได้ a1 = 10 - 2(1) = 8
a2 = 10 - 2(2) = 6
a3 = 10 - 2(3) = 4
a4 = 10 - 2(4) = 2
a5 = 10 - 2(5) = 0
ดังนั้น ห้าพจน์แรกของล�ำดับนี้ คือ 8, 6, 4, 2, 0
3) จาก an = 2n + 4
จะได้ a1 = 21 + 4 = 2 + 4 = 6
a2 = 22 + 4 = 4 + 4 = 8
a3 = 23 + 4 = 8 + 4 = 12
a4 = 24 + 4 = 16 + 4 = 20
a5 = 25 + 4 = 32 + 4 = 36
ดังนั้น ห้าพจน์แรกของล�ำดับนี้ คือ 6, 8, 12, 20, 36
4) จาก an = -3n + 1
จะได้ a1 = -31 + 1 = (-3) + 1 = -2
a2 = -32 + 1 = (-9) + 1 = -8
a3 = -33 + 1 = (-27) + 1 = -26
a4 = -34 + 1 = (-81) + 1 = -80
a5 = -35 + 1 = (-243) + 1 = -242
ดังนั้น ห้าพจน์แรกของล�ำดับนี้ คือ -2, -8, -26, -80, -242
5) จาก an = 2n(-1)n - 1
จะได้ a1 = 2(1)(-1)1 - 1 = 2(-1)0 = 2
a2 = 2(2)(-1)2 - 1 = 4(-1)1 = -4
a3 = 2(3)(-1)3 - 1 = 6(-1)2 = 6
a4 = 2(4)(-1)4 - 1 = 8(-1)3 = -8
a5 = 2(5)(-1)5 - 1 = 10(-1)4 = 10
ดังนั้น ห้าพจน์แรกของล�ำดับนี้ คือ 2, -4, 6, -8, 10

239
n
6) จาก an = (-2)n
1 2
จะได้ a1 = (-2)1 2 = - 1 = -2
a2 = (-2)23 = 2 = 2
4
a3 = (-2)3 4 = - 3
8
a4 = (-2) 16
4 5 = 4 = 4
a5 = (-2)5 = - 5
32
ดังนั้น ห้าพจน์แรกของล�าดับนี้ คือ -2, 2, - 83, 4, - 325
2. ให้หำพจน์ถัดไปสองพจน์ของล�ำดับที่ก�ำหนดต่อไปนี้
1) 10, 20, 35, 55, … 2) 90, 70, 52, 36, …
3) 1, 5, 25, 125, … 4) 2,000, 1,000, 500, 250, …
แนวคิด 1) พิจารณาความสัมพันธ์ของพจน์ในล�าดับ
10 20 35 55

+10 +15 +20


จากความสัมพันธ์ จะเห็นว่า พจน์ที่อยู่ถัดไปจะเพิ่มขึ้น 10, 15 และ 20
ตามล�าดับ
จะได้ว่า พจน์ถัดไปสองพจน์ของล�าดับนี้จะเพิ่มขึ้น 25 และ 30 ตามล�าดับ
ดังนั้น พจน์ถัดไปสองพจน์ของล�าดับนี้ คือ 80 และ 110
2) พิจารณาความสัมพันธ์ของพจน์ในล�าดับ
90 70 52 36

-20 -18 -16


จากความสัมพันธ์ จะเห็นว่า พจน์ที่อยู่ถัดไปจะลดลง 20, 18 และ 16
ตามล�าดับ
จะได้ว่า พจน์ถัดไปสองพจน์ของล�าดับนี้จะลดลง 14 และ 12 ตามล�าดับ
ดังนั้น พจน์ถัดไปสองพจน์ของล�าดับนี้ คือ 22 และ 10

240
3) พิจารณาความสัมพันธ์ของพจน์ในล�าดับ
1 5 25 125

×5 ×5 ×5
จากความสัมพันธ์ จะเห็นว่า พจน์ที่อยู่ถัดไปจะเป็นห้าเท่าของพจน์
ที่อยู่ข้างหน้า
ดังนั้น พจน์ถัดไปสองพจน์ของล�าดับนี้ คือ 625 และ 3,125
4) พิจารณาความสัมพันธ์ของพจน์ในล�าดับ
2,000 1,000 500 250

÷ 2 ÷2 ÷2

จากความสัมพันธ์ จะเห็นว่า พจน์ที่อยู่ถัดไปจะเป็นครึ่งหนึ่งของพจน์


ที่อยู่ข้างหน้า
ดังนั้น พจน์ถัดไปสองพจน์ของล�าดับนี้ คือ 125 และ 1252
ระดับกลาง
3. ให้หำห้ำพจน์แรกของล�ำดับต่อไปนี้
1) an = n(n + 1)
2 2) an = n(n - 1)
2n + 1
3) an = ( 23 )-n + n 4) an = ( 12 )n + 1 - n + 2
n
5) an = (-1)n(n + 1)(n + 2) 6) an = (-1)n(n + 3) + 2n
แนวคิด 1) จาก an = n(n + 1)
2
จะได้ a1 = (1)(1 + 1)
2 = (1)(2) 2
2 = 2 = 1
a2 = (2)(2 + 1)
2 = (2)(3) 6
2 = 2 = 3
a3 = (3)(3 + 1)
2 = (3)(4) 12
2 = 2 = 6

241
a4 = (4)(42+ 1) = (4)(5) 2 = 2 = 10
20
a5 = (5)(52+ 1) = (5)(6) 30
2 = 2 = 15
ดังนั้น ห้าพจน์แรกของล�ำดับนี้ คือ 1, 3, 6, 10, 15
2) จาก an = n(n - 1)
2n + 1
จะได้ a1 = (1)(1 - 1) = (1)(0) = 0
2(1) + 1 2+1
a2 = (2)(2 - 1) (2)(1) 2
2(2) + 1 = 4 + 1 = 5
a3 = (3)(3 - 1) = (3)(2) = 6
2(3) + 1 6+1 7
a4 = (4)(4 - 1) (4)(3)
2(4) + 1 = 8 + 1 = 9 = 3
12 4
a5 = (5)(5 - 1) = (5)(4) = 20
2(5) + 1 10 + 1 11
ดังนั้น ห้าพจน์แรกของล�ำดับนี้ คือ 0, 25 , 67 , 43 , 20
11
3) จาก an = ( 23 ) + n
-n

จะได้ a1 = ( 23 )-1 + 1 = 32 + 1 = 32 + 22 = 52
a2 = ( 23 )-2 + 2 = 94 + 2 = 94 + 84 = 174
a3 = ( 23 )-3 + 3 = 278 + 3 = 278 + 248 = 518
a4 = ( 23 )-4 + 4 = 81 81 64
16 + 4 = 16 + 16 = 145
16
a5 = ( 23 )-5 + 5 = 243 243 160
32 + 5 = 32 + 32 = 403
32
ดังนั้น ห้าพจน์แรกของล�ำดับนี้ คือ 52 , 174, 518, 145 403
16 , 32

242
an = ( 12 )n  +  1 - n +n 2
4) จาก
จะได้ a1 = ( 12 )1  +  1 - 1 +1 2
= ( 12 )2 - 13
= 14 - 13
= 3 12- 4
= - 121
a2 = ( 12 )2  +  1 - 2 +2 2
= ( 12 )3 - 24
= 18 - 24
= 1 8- 4
= - 38
a3 = ( 12 )3  +  1 - 3 +3 2

= ( 12 )4 - 35
= 161 - 35
= 5 80 - 48
= - 43
80
a4 = ( 12 )4  +  1 - 4 +4 2
= ( 12 )5 - 46
= 321 - 46
= 3 96 - 64
= - 61
96
243
a5 = ( 12 )5  +  1 - 5 +5 2

= ( 12 )6 - 57
= 641 - 57
= 7 448 - 320
= - 313
448
ดังนั้น ห้าพจน์แรกของล�ำดับนี้ คือ - 121 , - 38 , - 43 61 313
80, - 96, - 448
5) จาก an = (-1)n(n + 1)(n + 2)
จะได้ a1 = (-1)1(1 + 1)(1 + 2) = (-1)(2)(3) = -6
a2 = (-1)2(2 + 1)(2 + 2) = (1)(3)(4) = 12
a3 = (-1)3(3 + 1)(3 + 2) = (-1)(4)(5) = -20
a4 = (-1)4(4 + 1)(4 + 2) = (1)(5)(6) = 30
a5 = (-1)5(5 + 1)(5 + 2) = (-1)(6)(7) = -42
ดังนั้น ห้าพจน์แรกของล�ำดับนี้ คือ -6, 12, -20, 30, -42
6) จาก an = (-1)n(n + 3) + 2n
จะได้ a1 = (-1)1(1 + 3) + 2(1)
= (-1)(4) + 2
= (-4) + 2
= -2
a2 = (-1)2(2 + 3) + 2(2)
= (1)(5) + 4
= 5 + 4
= 9
a3 = (-1)3(3 + 3) + 2(3)
= (-1)(6) + 6
= (-6) + 6
= 0
244
a4 = (-1)4(4 + 3) + 2(4)
= (1)(7) + 8
= 7 + 8
= 15
a5 = (-1)5(5 + 3) + 2(5)
= (-1)(8) + 10
= -8 + 10
= 2
ดังนั้น ห้าพจน์แรกของล�าดับนี้ คือ -2, 9, 0, 15, 2
4. ให้หำพจน์ถัดไปสองพจน์ของล�ำดับที่ก�ำหนดต่อไปนี้
1) a, a + b, a + 2b, a + 3b, …
2) a, a2b2, a3b4, a4 b6, …
3) 12 (x + y), 14 (x + y)2, 18 (x + y)3, 161 (x + y)4, …
4) x - 2y + 3z, 2x - 3y + 6z, 3x - 4y + 9z, 4x - 5y + 12z, …
แนวคิด 1) พิจารณาความสัมพันธ์ของพจน์ในล�าดับ
a a + b a + 2b a + 3b

+b +b +b
จากความสัมพันธ์ จะเห็นว่า พจน์ที่อยู่ถัดไปจะเพิ่มขึ้น b ของพจน์
ที่อยู่ก่อนหน้า
ดังนั้น พจน์ถัดไปสองพจน์ของล�าดับนี้ คือ a + 4b และ a + 5b
2) พิจารณาความสัมพันธ์ของพจน์ในล�าดับ
a a2b2 a3b4 a4b6

× ab2 ×ab
2 ×ab
2

จากความสัมพันธ์ จะเห็นว่า พจน์ที่อยู่ถัดไปจะเป็น ab2 เท่าของพจน์


ที่อยู่ข้างหน้า
ดังนั้น พจน์ถัดไปสองพจน์ของล�าดับนี้ คือ a5b8 และ a6b10
245
3) พิจารณาความสัมพันธ์ของพจน์ในล�าดับ
1 (x + y) 1 (x + y)2 1 (x + y)3 1 (x + y)4
2 4 8 16
1 (x + y) × 1 (x + y)
× × 1 (x + y)
2 2 2
จากความสัมพันธ์ จะเห็นว่า พจน์ที่อยู่ถัดไปจะเป็น 12 (x + y) เท่า
ของพจน์ที่อยู่ข้างหน้า
ดังนั้น พจน์ถัดไปสองพจน์ของล�าดับนี้ คือ 321 (x + y)5 และ 641 (x + y)6
4) พิจารณาความสัมพันธ์ของพจน์ในล�าดับ
x - 2y + 3z 2x - 3y + 6z 3x - 4y + 9z 4x - 5y + 12z

+(x - y + 3z) +(x - y + 3z) +(x - y + 3z)


จากความสัมพันธ์ จะเห็นว่า พจน์ที่อยู่ถัดไปจะเพิ่มขึ้น x - y + 3z
ของพจน์ที่อยู่ก่อนหน้า
ดังนั้น พจน์ถัดไปสองพจน์ของล�าดับนี้ คือ 5x - 6y + 15z
และ 6x - 7y + 18z
ระดับทาทาย
5. ให้หำหกพจน์แรกของล�ำดับที่ก�ำหนด
n(n - 5) เมื่อ n เปนจ�ำนวนคี่บวก
an =
3n2 + 4n - 1 เมื่อ n เปนจ�ำนวนคู่บวก
แนวคิด n(n - 5) เมื่อ n เป็นจ�านวนคี่บวก
จาก an =
3n2 + 4n - 1 เมือ่ n เป็นจ�านวนคู่บวก
พิจารณาพจน์ที่ 1, 3 และ 5 จะเห็นว่า n เป็นจ�านวนคี่บวก
จาก an = n(n - 5)
จะได้ a1 = (1)(1 - 5) = (1)(-4) = -4
a3 = (3)(3 - 5) = (3)(-2) = -6
a5 = (5)(5 - 5) = (5)(0) = 0
246
พิจารณาพจน์ที่ 2, 4 และ 6 จะเห็นว่า n เป็นจ�ำนวนคู่บวก
จาก an = 3n2 + 4n - 1
จะได้ a2 = 3(2)2 + 4(2) - 1
= 3(4) + 8 - 1
= 12 + 8 - 1
= 19
a4 = 3(4)2 + 4(4) - 1
= 3(16) + 16 - 1
= 48 + 16 - 1
= 63
a6 = 3(6)2 + 4(6) - 1
= 3(36) + 24 - 1
= 108 + 24 - 1
= 131
ดังนั้น หกพจน์แรกของล�ำดับนี้ คือ -4, 19, -6, 63, 0, 131

Investigation (หน้า 139)


ให้นักเรียนตอบค�ำถามต่อไปนี้
1. เติมค�ำตอบลงในช่องว่าง

ข้อ ล�ำดับ a2 - a1 a3 - a2 a4 - a3 a5 - a4
1 2, 5, 8, 11, 14, … 3 3 3 3
2 6, 3, 0, -3, -6, … -3 -3 -3 -3
3 5, 9, 13, 17, 21, … 4 4 4 4
4 1, 1, 1, 1, 1, … 0 0 0 0
5 1, 2, 4, 7, 11, … 1 2 3 4
6 9, 8, 6, 3, -1, … -1 -2 -3 -4

247
2. ผลต่างของพจน์หลังกับพจน์หน้าที่อยู่ติดกันในแต่ละคู่มีค่าเท่ากันหรือไม่
แนวคิด ผลต่างของพจน์หลังกับพจน์หน้าที่อยู่ติดกันในแต่ละคู่ของข้อ 1-4
มีค่าเท่ากัน
ลองทําดู (หน้า 140)
ให้เขียนสี่พจน์ถัดไปของล�าดับเลขคณิต -8, -3, 2, …
แนวคิด ล�าดับเลขคณิต a1 = -8 และผลต่างร่วม d = (-3) - (-8) = (-3) + 8 = 5
จะได้ a4 = a3 + d = 2 + 5 = 7
a5 = a4 + d = 7 + 5 = 12
a6 = a5 + d = 12 + 5 = 17
a7 = a6 + d = 17 + 5 = 22
ดังนั้น สี่พจน์ถัดไปของล�าดับเลขคณิตนี้ คือ 7, 12, 17, 22
ลองทําดู (หน้า 141)
ให้หาพจน์ที่ 100 ของล�าดับเลขคณิต 9, 17, 25, 33, …
แนวคิด ล�าดับเลขคณิต a1 = 9 และผลต่างร่วม d = 17 - 9 = 8
จาก an = a1 + (n - 1)d
จะได้ a100 = 9 + (100 - 1)(8)
= 9 + (99)(8)
= 9 + 792
= 801
ดังนั้น พจน์ที่ 100 ของล�าดับนี้ คือ 801
ให้หาพจน์ทั่วไปของล�าดับเลขคณิต 19, 12, 5, -2, …
แนวคิด ล�าดับเลขคณิต a1 = 19 และผลต่างร่วม d = 12 - 19 = - 7
จะได้ an = a1 + (n - 1)d
an = 19 + (n - 1)(-7)
= 19 - 7n + 7
= 26 - 7n
ดังนั้น พจน์ทั่วไปของล�าดับนี้ คือ an = 26 - 7n

248
ลองทําดู (หน้า 142)
ให้หาพจน์ที่ 9 ของล�าดับเลขคณิตที่มี a4 = 3 และ a12 = -21
แนวคิด จาก a4 = 3
จะได้ a1 + (4 - 1)d = 3
a1 + 3d = 3 …… ➊
จาก a12 = -21
จะได้ a1 + (12 - 1)d = -21
a1 + 11d = -21 …… ➋
น�า ➋ - ➊ ; 8d = -24
d = -3
แทน d ใน ➊ ด้วย -3 จะได้ a1 = 12
และ a9 = a1 + 8d = 12 + 8(-3) = -12
ดังนั้น พจน์ที่ 9 ของล�าดับเลขคณิตนี้ คือ -12
ถ้า 2x + 1, 21 - x, 4x + 1 เป็นพจน์สามพจน์ที่เรียงกันในล�าดับเลขคณิต ให้หาค่า x
แนวคิด เนื่องจากล�าดับเลขคณิตมีผลต่างร่วมคงตัว
จะได้ (21 - x) - (2x + 1) = (4x + 1) - (21 - x)
20 - 3x = 5x - 20
8x = 40
x = 5
ดังนั้น x มีค่าเท่ากับ 5

ลองทําดู (หน้า 143)


ถ า้ ล�าดับเลขคณิตชุดหนึง่ มีผลบวกและผลคูณของสามพจน์แรกเท่ากับ 15 และ 45 ตามล�าดับ
ให้หาสามพจน์แรกของล�าดับเลขคณิตชุดนี้
แนวคิด ให้สามพจน์แรกของล�าดับเลขคณิต คือ a - d, a, a + d
จะได้ (a - d) + a + (a + d) = 15
3a = 15
a = 5

249
และ (a - d)(a)(a + d) = 45
(5 - d)(5)(5 + d) = 45
25 - d2 = 9
d2 = 16
d = 4, -4
เมื่อ d = 4 และ a = 5 จะได้สามพจน์แรก คือ 1, 5, 9
เมื่อ d = -4 และ a = 5 จะได้สามพจน์แรก คือ 9, 5, 1
ดังนั้น สามพจน์แรกของล�าดับนี้ คือ 1, 5, 9 หรือ 9, 5, 1

ลองทําดู (หน้า 144)


จ�านวนเต็มตั้งแต่ 50 ถึง 750 ที่หารด้วย 3 ลงตัวมีทั้งหมดกี่จ�านวน
แนวคิด จ�านวนแรกที่หารด้วย 3 ลงตัว คือ 51
จ�านวนสุดท้ายที่หารด้วย 3 ลงตัว คือ 750
จะได้ล�าดับเลขคณิต คือ 51, 54, 57, …, 750
จาก an = a1 + (n - 1)d เมื่อ a1 = 51, d = 3 และ an = 750
จะได้ 750 = 51 + (n - 1)(3)
750 = 51 + 3n - 3
3n = 702
n = 234
ดังนั้น จ�านวนเต็มตั้งแต่ 50 ถึง 750 ที่หารด้วย 3 ลงตัวมีทั้งหมด 234 จ�านวน
ก อ้ งภพเริม่ ต้นท�างานทีบ่ ริษทั อักษร ได้รบั เงินเดือนในเดือนแรกเป็นเงินจ�านวน 15,000 บาท
และได้รับเงินเดือนเพิ่มขึ้นทุกป ปละ 750 บาท อยากทราบว่าก้องภพจะต้องท�างานไปอีกกี่ป
ถึงจะมีเงินเดือน 24,000 บาท
แนวคิด เขียนล�าดับเลขคณิตแทนเงินเดือนที่ก้องภพได้รับในแต่ละเดือนได้ดังนี้
15,000, 15,750, 16,500, …, 24,000 โดยที่ a1 = 15,000, d = 750
an = 24,000

250
จาก an = a1 + (n - 1)d
จะได้ 24,000 = 15,000 + (n - 1)(750)
24,000 = 15,000 + 750n - 750
750n = 9,750
n = 13
ดังนั้น ก้องภพจะต้องท�างานอีก 13 ป ถึงจะมีเงินเดือน 24,000 บาท

แบบฝ
กทั กษะ
3.1ข (หน้า 144)

ระดับพื้นฐาน

1. ให้เขียนห้ำพจน์แรกของล�ำดับเลขคณิตที่ก�ำหนดต่อไปนี้
1) a1 = 8, d = 5 2) a1 = -7, d = 7
3) a1 = -5.5, d = -2.5 4) a1 = 45, d = -9
5) a1 = 35 , d = 15 6) a1 = - 12 , d = - 32
แนวคิด 1) ล�าดับเลขคณิตนี้มี a1 = 8 และผลต่างร่วม d = 5
จะได้ a2 = a1 + d = 8 + 5 = 13
a3 = a2 + d = 13 + 5 = 18
a4 = a3 + d = 18 + 5 = 23
a5 = a4 + d = 23 + 5 = 28
ดังนั้น ห้าพจน์แรกของล�าดับเลขคณิตนี้ คือ 8, 13, 18, 23, 28
2) ล�าดับเลขคณิตนี้มี a1 = -7 และผลต่างร่วม d = 7
จะได้ a2 = a1 + d = (-7) + 7 = 0
a3 = a2 + d = 0 + 7 = 7
a4 = a3 + d = 7 + 7 = 14
a5 = a4 + d = 14 + 7 = 21
ดังนั้น ห้าพจน์แรกของล�าดับเลขคณิตนี้ คือ -7, 0, 7, 14, 21

251
3) ล�ำดับเลขคณิตนี้มี a1 = -5.5 และผลต่างร่วม d = -2.5
จะได้ a2 = a1 + d = (-5.5) + (-2.5) = -8
a3 = a2 + d = (-8) + (-2.5) = -10.5
a4 = a3 + d = (-10.5) + (-2.5) = -13
a5 = a4 + d = (-13) + (-2.5) = -15.5
ดังนั้น ห้าพจน์แรกของล�ำดับเลขคณิตนี้ คือ -5.5, -8, -10.5, -13, -15.5
4) ล�ำดับเลขคณิตนี้มี a1 = 45 และผลต่างร่วม d = -9
จะได้ a2 = a1 + d = 45 + (-9) = 36
a3 = a2 + d = 36 + (-9) = 27
a4 = a3 + d = 27 + (-9) = 18
a5 = a4 + d = 18 + (-9) = 9
ดังนั้น ห้าพจน์แรกของล�ำดับเลขคณิตนี้ คือ 45, 36, 27, 18, 9
5) ล�ำดับเลขคณิตนี้มี a1 = 35 และผลต่างร่วม d = 15
จะได้ a2 = a1 + d = 35 + 15 = 45
a3 = a2 + d = 45 + 15 = 55 = 1
a4 = a3 + d = 55 + 15 = 65
a5 = a4 + d = 65 + 15 = 75
ดังนั้น ห้าพจน์แรกของล�ำดับเลขคณิตนี้ คือ 35 , 45 , 1, 65 , 75
6) ล�ำดับเลขคณิตนี้มี a1 = - 12 และผลต่างร่วม d = - 32
จะได้ a2 = a1 + d = (- 12 ) + (- 32 ) = - 42 = -2
a3 = a2 + d = (-2) + (- 32 ) = - 72
a4 = a3 + d = (- 72 ) + (- 32 ) = - 102 = -5
a5 = a4 + d = (-5) + (- 32 ) = - 132
ดังนั้น ห้าพจน์แรกของล�ำดับเลขคณิตนี้ คือ - 12  , -2, - 72  , -5, - 132

252
2. ให้หำพจน์ของล�ำดับเลขคณิตที่ก�ำหนดต่อไปนี้
1) a5 เมื่อ a1 = 2 และ d = 6 2) a11 เมื่อ a1 = -5 และ d = -4
3) a20 เมื่อ a1 = 12 และ d = 11 4) a50 เมื่อ a1 = -83 และ d = 9
5) a75 เมื่อ a1 = 34 และ d = 14 6) a100 เมื่อ a1 = 103 และ d = - 107
แนวคิด 1) ล�าดับเลขคณิตนี้มี a1 = 2 และผลต่างร่วม d = 6
จาก an = a1 + (n - 1)d
จะได้ a5 = 2 + (5 - 1)(6)
= 2 + (4)(6)
= 2 + 24
= 26
ดังนั้น พจน์ที่ 5 ของล�าดับนี้ คือ 26
2) ล�าดับเลขคณิตนี้มี a1 = -5 และผลต่างร่วม d = -4
จาก an = a1 + (n - 1)d
จะได้ a11 = (-5) + (11 - 1)(-4)
= (-5) + (10)(-4)
= (-5) + (-40)
= -45
ดังนั้น พจน์ที่ 11 ของล�าดับนี้ คือ -45
3) ล�าดับเลขคณิตนี้มี a1 = 12 และผลต่างร่วม d = 11
จาก an = a1 + (n - 1)d
จะได้ a20 = 12 + (20 - 1)(11)
= 12 + (19)(11)
= 12 + 209
= 221
ดังนั้น พจน์ที่ 20 ของล�าดับนี้ คือ 221

253

4) ล�ำดับเลขคณิตนี้มี a1 = -83 และผลต่างร่วม d = 9
จาก an = a1 + (n - 1)d
จะได้ a50 = (-83) + (50 - 1)(9)
= (-83) + (49)(9)
= (-83) + 441
= 358
ดังนั้น พจน์ที่ 50 ของล�ำดับนี้ คือ 358
5) ล�ำดับเลขคณิตนี้มี a1 = 34 และผลต่างร่วม d = 14
จาก an = a1 + (n - 1)d
จะได้ a75 = 34 + (75 - 1)(14)
= 34 + (74)(14)
= 34 + 744
= 774
ดังนั้น พจน์ที่ 75 ของล�ำดับนี้ คือ 774
6) ล�ำดับเลขคณิตนี้มี a1 = 103 และผลต่างร่วม d = - 107
จาก an = a1 + (n - 1)d
จะได้ a100 = 103 + (100 - 1)(- 107 )
= 103 + (99)(- 107 )
= 103 + (- 693 10 )
= - 690
10
= -69
ดังนั้น พจน์ที่ 100 ของล�ำดับนี้ คือ -69

254
3. ให้หำพจน์ทั่วไปของล�ำดับเลขคณิตต่อไปนี้
1) 11, 20, 29, 38, … 2) -15, -4, 7, 18, …
3) 100, 87, 74, 61, … 4) -32, -28, -24, -20, …
5) 15 , 1, 95 , 135 , ... 6) -1, - 34 , - 12 , - 14 , …
แนวคิด 1) ล�าดับเลขคณิตนี้มี a1 = 11 และผลต่างร่วม d = 20 - 11 = 9
จาก an = a1 + (n - 1)d
จะได้ an = 11 + (n - 1)(9)
= 11 + 9n - 9
= 9n + 2
ดังนั้น พจน์ทั่วไปของล�าดับนี้ คือ an = 9n + 2
2) ล�าดับเลขคณิตนี้มี a1 = -15 และผลต่างร่วม d = (-4) - (-15) = 11
จาก an = a1 + (n - 1)d
จะได้ an = (-15) + (n - 1)(11)
= (-15) + 11n - 11
= 11n - 26
ดังนั้น พจน์ทั่วไปของล�าดับนี้ คือ an = 11n - 26
3) ล�าดับเลขคณิตนี้มี a1 = 100 และผลต่างร่วม d = 87 - 100 = -13
จาก an = a1 + (n - 1)d
จะได้ an = 100 + (n - 1)(-13)
= 100 - 13n + 13
= 113 - 13n
ดังนั้น พจน์ทั่วไปของล�าดับนี้ คือ an = 113 - 13n
4) ล�าดับเลขคณิตนี้มี a1 = -32 และผลต่างร่วม d = (-28) - (-32) = 4
จาก an = a1 + (n - 1)d
จะได้ an = (-32) + (n - 1)(4)
= (-32) + 4n - 4
= 4n - 36
ดังนั้น พจน์ทั่วไปของล�าดับนี้ คือ an = 4n - 36
255
5) ล�าดับเลขคณิตนี้มี a1 = 15 และผลต่างร่วม d = 1 - 15 = 55 - 15 = 45
จาก an = a1 + (n - 1)d
จะได้ an = 15 + (n - 1)(45)
= 15 + 45 n - 45
= 45 n - 35
ดังนั้น พจน์ทั่วไปของล�าดับนี้ คือ an = 45 n - 35
6) ล�าดับเลขคณิตนี้มี a1 = -1 และผลต่างร่วม d = (- 34) - (-1) = 14
จาก an = a1 + (n - 1)d
จะได้ an = (-1) + (n - 1)(14)
= (-1) + 4n - 14
= 4n - 54
ดังนั้น พจน์ทั่วไปของล�าดับนี้ คือ an = 4n - 54
4. ถ้ำล�ำดับเลขคณิตชุดหนึ่งมีผลบวกและผลคูณของสำมพจน์แรกเท่ำกับ 21 และ 315
ตำมล�ำดับ ให้หำสำมพจน์แรกของล�ำดับเลขคณิตชุดนี้
แนวคิด ให้สามพจน์แรกของล�าดับเลขคณิต คือ a - d, a, a + d
จะได้ (a - d) + a + (a + d) = 21
3a = 21
a = 7
และ (a - d)(a)(a + d) = 315
(7 - d)(7)(7 + d) = 315
49 - d2 = 45
d2 = 4
d = 2, -2
เมื่อ d = 2 และ a = 7 จะได้สามพจน์แรก คือ 5, 7, 9
เมื่อ d = -2 และ a = 7 จะได้สามพจน์แรก คือ 9, 7, 5
ดังนั้น สามพจน์แรกของล�าดับนี้ คือ 5, 7, 9 หรือ 9, 7, 5
256
ระดับกลาง
5. ให้หำพจน์ที่ 20 ของล�ำดับเลขคณิตที่มี a4 = 4a1 และ a1 = 39
แนวคิด จาก a4 = 4a1
จะได้ a4 = 4(39)
a4 = 156
a1 + (4 - 1)d = 156
a1 + 3d = 156
39 + 3d = 156
3d = 117
d = 39
และ a20 = a1 + 19d = 39 + 19(39) = 39 + 741 = 780
ดังนั้น พจน์ที่ 20 ของล�าดับเลขคณิตนี้ คือ 780
6. ล�ำดับเลขคณิต -15, -6, 3, 12, …, 876 มีทั้งหมดกี่พจน์
แนวคิด จาก an = a1 + (n - 1)d เมื่อ a1 = -15, d = (-6) - (-15) = 9
และ an = 876
จะได้ 876 = (-15) + (n - 1)(9)
876 = (-15) + 9n - 9
9n = 900
n = 100
ดังนั้น ล�าดับเลขคณิต -15, -6, 3, 12, …, 876 มีทั้งหมด 100 พจน์
7. ถ้ำ 5, a, b, c, 25 เปนจ�ำนวนจริงซึ่งเรียงกันเปนล�ำดับเลขคณิต ให้หำ a + b + c
แนวคิด เนื่องจากล�าดับเลขคณิตมีผลต่างร่วมคงตัว
และ an = a1 + (n - 1)d
จะได้ a5 = a1 + 4d
25 = 5 + 4d
4d = 20
d = 5
ล�าดับเลขคณิตนี้มี a1 = 5 และผลต่างร่วม d = 5

257
จะได้ a2 = a1 + d = 5 + 5 = 10
a3 = a2 + d = 10 + 5 = 15
a4 = a3 + d = 15 + 5 = 20
แทน a2, a3, a4 ใน a, b, c จะได้ a + b + c = 10 + 15 + 20 = 45
ดังนั้น a + b + c เท่ากับ 45
8. ให้หำพจน์กลำง 5 พจน์ ของล�ำดับเลขคณิตที่อยู่ระหว่ำง 25 และ 13
แนวคิด เนื่องจากล�าดับเลขคณิตมีผลต่างร่วมคงตัว
และ an = a1 + (n - 1)d
จะได้ 13 = 25 + (7 - 1)d
13 = 25 + 6d
6d = -12
d = -2
ล�าดับเลขคณิตนี้มี a1 = 25 และผลต่างร่วม d = -2
จะได้ a2 = a1 + d = 25 + (-2) = 23
a3 = a2 + d = 23 + (-2) = 21
a4 = a3 + d = 21 + (-2) = 19
a5 = a4 + d = 19 + (-2) = 17
a6 = a5 + d = 17 + (-2) = 15
ดังนั้น พจน์กลาง 5 พจน์ ของล�าดับเลขคณิตที่อยู่ระหว่าง 25 และ 13
คือ 23, 21, 19, 17, 15
9. ก�ำหนด x เปนจ�ำนวนจริง ถ้ำ 2x - 4, x + 1, 3x - 3, …, 3x2 + x + 2 เปนล�ำดับเลขคณิต
แล้วล�ำดับนี้จะมีทั้งหมดกี่พจน์
แนวคิด เนื่องจากล�าดับเลขคณิตมีผลต่างร่วมคงตัว
จะได้ (x + 1) - (2x - 4) = (3x - 3) - (x + 1)
5 - x = 2x - 4
x = 3
แทน x ในแต่ละพจน์ด้วย 3

258
จะได้ a1 = 2x - 4 = 2(3) - 4 = 6 - 4 = 2
a2 = x + 1 = 3 + 1 = 4
a3 = 3x - 3 = 3(3) - 3 = 9 - 3 = 6
และ an = 3x2 + x + 2 = 3(3)2 + 3 + 2 = 3(9) + 5 = 32
จาก an = a1 + (n - 1)d เมื่อ a1 = 2, d = 4 - 2 = 2 และ an = 32
จะได้ 32 = 2 + (n - 1)(2)
32 = 2 + 2n - 2
2n = 32
n = 16
ดังนั้น ล�าดับเลขคณิตนี้มีทั้งหมด 16 พจน์
10. ก�ำหนด 4 พจน์แรกของล�ำดับเลขคณิต
2x - 5, x + 5, 2x + 5, 4x เมื่อ x∊R
ให้หำพจน์ที่ 100 ของล�ำดับนี้
แนวคิด เนื่องจากล�าดับเลขคณิตมีผลต่างร่วมคงตัว
จะได้ (x + 5) - (2x - 5) = (2x + 5) - (x + 5)
10 - x = x
x = 5
แทน x ในแต่ละพจน์ด้วย 5 เมื่อ x∊R
จะได้ a1 = 2x - 5 = 2(5) - 5 = 10 - 5 = 5
a2 = x + 5 = 5 + 5 = 10
a3 = 2x + 5 = 2(5) + 5 = 10 + 5 = 15
และ a4 = 4x = 4(5) = 20
จาก an = a1 + (n - 1)d เมื่อ a1 = 5, d = 10 - 5 = 5 และ n = 100
จะได้ a100 = 5 + (100 - 1)(5)
= 5 + (99)(5)
= 5 + 495
= 500
ดังนั้น พจน์ที่ 100 ของล�าดับนี้ คือ 500

259
11. จ�ำนวนเต็มตั้งแต่ 9 ถึง 999 ที่หำรด้วย 9 แล้วเหลือเศษ 1 มีทั้งหมดกี่จ�ำนวน
แนวคิด จ�านวนแรกที่หารด้วย 9 แล้วเหลือเศษ 1 คือ 10
จ�านวนสุดท้ายที่หารด้วย 9 แล้วเหลือเศษ 1 คือ 991
จะได้ล�าดับเลขคณิต คือ 10, 19, 28, …, 991
จาก an = a1 + (n - 1)d เมื่อ a1 = 10, d = 9 และ an = 991
จะได้ 991 = 10 + (n - 1)(9)
991 = 10 + 9n - 9
9n = 990
n = 110
ดังนั้น จ�านวนเต็มตั้งแต่ 9 ถึง 999 ที่หารด้วย 9 แล้วเหลือเศษ 1
มีทั้งหมด 110 จ�านวน
12. ซุงกองหนึ่งวำงเรียงกันเปนชั้น ๆ โดยที่จ�ำนวนซุงในชั้นบนกับชั้นที่ถัดลงมำต่ำงกัน 3 ต้น
เสมอ ถ้ำซุงกองนี้ในชั้นบนสุดมีซุง 35 ต้น และชั้นล่ำงสุดมีซุง 92 ต้น ให้หำว่ำซุงกองนี้
วำงเรียงกันทั้งหมดกี่ชั้น
แนวคิด เขียนล�าดับเลขคณิตแทนจ�านวนซุงที่วางในแต่ละชั้นได้ ดังนี้
35, 38, 41, …, 92 โดยที่ a1 = 35, d = 3, an = 92
จาก an = a1 + (n - 1)d
จะได้ 92 = 35 + (n - 1)(3)
92 = 35 + 3n - 3
3n = 60
n = 20
ดังนั้น ซุงกองนี้วางเรียงกันทั้งหมด 20 ชั้น

260
ระดับทาทาย
13. ถ้ำ an เปนพจน์ทั่วไป โดยที่ a1 = 1 และ an + 1 = an - 3 เมื่อ n∊{ 1, 2, 3, … }
แล้ว a1 + a2 + a3 + a4 + a5 + a6 มีค่ำเท่ำใด
แนวคิด จาก a1 = 1 และ an + 1 = an - 3 เมื่อ n∊{ 1, 2, 3, … }
จะได้ a2 = a1 + 1 = a1 - 3 = 1 - 3 = -2
a3 = a2 + 1 = a2 - 3 = (-2) - 3 = -5
a4 = a3 + 1 = a3 - 3 = (-5) - 3 = -8
a5 = a4 + 1 = a4 - 3 = (-8) - 3 = -11
a6 = a5 + 1 = a5 - 3 = (-11) - 3 = -14
จะได้ a1 + a2 + a3 + a4 + a5 + a6 = 1 + (-2) + (-5) + (-8) + (-11) + (-14)
= -39
ดังนั้น a1 + a2 + a3 + a4 + a5 + a6 มีค่าเท่ากับ -39
14. จ�ำนวนเต็มตั้งแต่ 1 ถึง 1,000 ที่หำรด้วย 2 และ 3 ลงตัว แต่หำรด้วย 5 ไม่ลงตัว
มีทั้งหมดกี่จ�ำนวน
แนวคิด จ�านวนแรกที่หารด้วย 2 และ 3 ลงตัว คือ 6
จ�านวนสุดท้ายที่หารด้วย 2 และ 3 ลงตัว คือ 996
จะได้ล�าดับเลขคณิต คือ 6, 12, 18, …, 996
จาก an = a1 + (n - 1)d เมื่อ a1 = 6, d = 6 และ an = 996
จะได้ 996 = 6 + (n - 1)(6)
996 = 6 + 6n - 6
6n = 996
n = 166
พิจารณาล�าดับเลขคณิต 6, 12, 18, …, 996
จ�านวนแรกที่หารด้วย 5 และ 6 ลงตัว คือ 30
จ�านวนสุดท้ายที่หารด้วย 5 ลงตัว คือ 990
จะได้ล�าดับเลขคณิต คือ 30, 60, 90, …, 990

261
จาก an = a1 + (n - 1)d เมื่อ a1 = 30, d = 30 และ an = 990
จะได้ 990 = 30 + (n - 1)(30)
990 = 30 + 30n - 30
30n = 990
n = 33
ดังนั้น จ�านวนเต็มตั้งแต่ 1 ถึง 1,000 ที่หารด้วย 2 และ 3 ลงตัว
แต่หารด้วย 5 ไม่ลงตัว มีทั้งหมด 166 - 33 = 133 จ�านวน
15. จ�ำนวนจริงสี่จ�ำนวนเรียงกันเปนล�ำดับเลขคณิตซึ่งรวมกันได้เปน 32 และจ�ำนวนที่มีค่ำ
มำกที่สุดมีค่ำมำกกว่ำจ�ำนวนที่มีค่ำน้อยที่สุดอยู่ 6 ให้หำจ�ำนวนทั้งสี่จ�ำนวนนี้
แนวคิด ให้จ�านวนจริงสี่จ�านวน คือ a1, a1 + d, a1 + 2d, a1 + 3d
เนื่องจากล�าดับเลขคณิตมีผลต่างร่วมคงตัว และจ�านวนที่มีค่า
มากที่สุดมีค่ามากกว่าจ�านวนที่มีค่าน้อยที่สุดอยู่ 6
จะได้ (a1 + 3d) - a1 = 6
3d = 6
d = 2
จาก a1 + (a1 + d) + (a1 + 2d) + (a1 + 3d) = 32
จะได้ 4a1 + 6d = 32
4a1 + 6(2) = 32
4a1 = 32 - 12
4a1 = 20
a1 = 5
นั่นคือ a1 = 5
a2 = a1 + d = 5 + 2 = 7
a3 = a1 + 2d = 5 + 2(2) = 5 + 4 = 9
a4 = a1 + 3d = 5 + 3(2) = 5 + 6 = 11
ดังนั้น จ�านวนจริงสี่จ�านวนที่เรียงกันเป็นล�าดับเลขคณิต คือ 5, 7, 9, 11

262
Investigation (หน้า 146)
ให้นักเรียนตอบค�ำถำมต่อไปนี้
1. เติมค�าตอบลงในช่องว่าง
a2 a3 a4 a5
ข้อ ล�ำดับ a1 a2 a3 a4
1 1, 2, 4, 8, 16, … 2 2 2 2
2 3, -9, 27, -81, 243, … -3 -3 -3 -3
3 64, 32, 16, 8, 4, … 1 1 1 1
2 2 2 2
4 1, 1, 1, 1, 1, … 1 1 1 1
5 1, 2, 6, 24, 120, … 2 3 4 5
6 9, 8, 6, 3, -1, … 8 3 1 - 13
9 4 2
2. อัตราส่วนของพจน์หลังกับพจน์หน้าที่อยู่ติดกันในแต่ละคู่มีค่าเท่ากันหรือไม่
แนวคิด อัตราส่วนของพจน์หลังกับพจน์หน้าที่อยู่ติดกันในแต่ละคู่ของข้อ 1-4
มีค่าเท่ากัน
ลองทําดู (หน้า 148)
ให้เขียนสี่พจน์ถัดไปของล�าดับเรขาคณิต 1, - 13 , 19 , …
- 13 1
แนวคิด ล�าดับเรขาคณิตนี้มี a1 = 1 และอัตราส่วนร่วม r = 1 = - 3
จะได้ a4 = a3r = (19)(- 13) = - 271
a5 = a4r = (- 271 )(- 13) = 811
a6 = a5r = (811 )(- 13) = - 243
1
a7 = a6r = (- 2431 )(- 1) = 1
3 729
ดังนั้น สี่พจน์ถัดไปของล�าดับเรขาคณิตนี้ คือ - 271 , 811 , - 243
1 , 1
729
263
ลองทําดู (หน้า 149)
ให้หาพจน์ที่ 15 ของล�าดับเลขคณิต 271 , - 19 , 13 , …
1 - 19
แนวคิด ล�าดับเรขาคณิตนี้มี a1 = 27 และอัตราส่วนร่วม r = 1 = -3
27
จาก an = a1rn - 1
จะได้ a15 = a1r15 - 1
= a1r14
= (271 )(-3)14
= 177,147
ดังนั้น พจน์ที่ 15 ของล�าดับเรขาคณิตนี้ คือ 177,147
ให้หาพจน์ที่ n ของล�าดับเรขาคณิต 5 , 5, 5 5 , 25, …
แนวคิด ล�าดับเรขาคณิตนี้มี a1 = 5 และอัตราส่วนร่วม r = 5 = 5
n - 1
5
จาก an = a1r
จะได้ an = ( 5)( 5)n - 1
= ( 5 )n
ดังนั้น พจน์ทั่วไปของล�าดับเรขาคณิตนี้ คือ an = ( 5 )n

ลองทําดู (หน้า 150)


243 2 เป็นพจน์ที่เท่าใดของล�าดับเรขาคณิตที่มี 2, 6, 3 2, …
แนวคิด ล�าดับเรขาคณิตนี้มี a1 = 2 และอัตราส่วนร่วม r = 6 = 62 = 3
2
n - 1
จาก an = a1r
จะได้ 243 2 = ( 2)( 3)n - 1
243 2 = ( 3)n - 1
2
243 = ( 3)n - 1

264
1
35 = (32)n - 1
n - 1
35 = 3 2
5 = n - 1
2
n = 11
ดังนั้น 243 2 เป็นพจน์ที่ 11 ของล�าดับเรขาคณิตนี้
ลองทําดู (หน้า 151)
ให้หาพจน์ที่ 8 ของล�าดับเรขาคณิตที่มี a3 = 216 และ a6 = 729
แนวคิด จาก a3 = 216
จะได้ a1r2 = 216 ...... ➊
จาก a6 = 729
จะได้ a1r5 = 729 …… ➋
3
น�า ➋ ; r3 = (32)

r = 32
แทน r ใน ➊ ด้วย 32 จะได้ a1 = 96
7
จะได้ a8 = a1r7 = (96)(32) = 6,5614
ดังนั้น พจน์ที่ 8 ของล�าดับเลขคณิตนี้ คือ 6,561
4
เมธีปล่อยลูกบอลจากตึกสูง 80 เมตร เมื่อตกถึงพื้นลูกบอลจะกระดอนกลับขึ้นไปสูงเป็น
3 เท่าของความสูงที่ตกลงมาเสมอ ให้หาว่าหลังจากลูกบอลกระทบพื้นครั้งที่ 10 ลูกบอล
4
จะกระดอนขึ้นไปได้กี่เมตร
แนวคิด ลูกบอลกระทบพื้นครั้งที่ 1 ลูกบอลจะขึ้นไปได้สูงเท่ากับ 80 × 34 = 60 เมตร
ลูกบอลกระทบพื้นครั้งที่ 2 ลูกบอลจะขึ้นไปได้สูงเท่ากับ 60 × 34 เมตร
2
ลูกบอลกระทบพื้นครั้งที่ 3 ลูกบอลจะขึ้นไปได้สูงเท่ากับ 60 × (34) เมตร
n-1
ลูกบอลกระทบพื้นครั้งที่ n ลูกบอลจะขึ้นไปได้สูงเท่ากับ 60 × (34) เมตร

265
10 - 1
จะได้ ลูกบอลกระทบพื้นครั้งที่ 10 ลูกบอลจะขึ้นไปสูง = 60 × (34)
9
= 60 × (34)
≈ 4.51
ดังนั้น หลังจากลูกบอลกระทบพืน้ ครัง้ ที ่ 10 ลูกบอลจะกระดอนขึน้ ไปได้สงู ประมาณ
4.51 เมตร

แบบฝกทั กษะ 3.1ค (หน้า 152)

ระดับพื้นฐาน

1. ให้เขียนห้ำพจน์แรกของล�ำดับเรขำคณิตที่ก�ำหนดต่อไปนี้
1) a1 = 3, r = 2 2) a1 = 1, r = -5
3) a1 = 20, r = 25 4) a1 = - 45 , r = - 12
5) a1 = a2, r = a เมื่อ a ≠ 0 6) a1 = xy, r = xy เมื่อ x, y ≠ 0
แนวคิด 1) ล�าดับเรขาคณิตนี้มี a1 = 3 และอัตราส่วนร่วม r = 2
จะได้ a2 = a1r = (3)(2) = 6
a3 = a2r = (6)(2) = 12
a4 = a3r = (12)(2) = 24
a5 = a4r = (24)(2) = 48
ดังนั้น ห้าพจน์แรกของล�าดับเรขาคณิตนี้ คือ 3, 6, 12, 24, 48
2) ล�าดับเรขาคณิตนี้มี a1 = 1 และอัตราส่วนร่วม r = -5
จะได้ a2 = a1r = (1)(-5) = -5
a3 = a2r = (-5)(-5) = 25
a4 = a3r = (25)(-5) = -125
a5 = a4r = (-125)(-5) = 625
ดังนั้น ห้าพจน์แรกของล�าดับเรขาคณิตนี้ คือ 1, -5, 25, -125, 625

266
3) ล�ำดับเรขาคณิตนี้มี a1 = 20 และอัตราส่วนร่วม r = 25
จะได้ a2 = a1r = (20)( 25 ) = 8
a3 = a2r = (8)( 25 ) = 165
a4 = a3r = (165 )( 25 ) = 32
25
a5 = a4r = (32 2
25)( 5 ) = 125
64

ดังนั้น ห้าพจน์แรกของล�ำดับเรขาคณิตนี้ คือ 20, 8, 165 , 32 64


25, 125
4) ล�ำดับเรขาคณิตนี้มี a1 = - 45 และอัตราส่วนร่วม r = - 12
จะได้ a2 = a1r = (- 45 )(- 12 ) = 25
a3 = a2r = (25)(- 12 ) = - 15
a4 = a3r = (- 15 )(- 12 ) = 101
a5 = a4r = (101 )(- 12 ) = - 201
ดังนั้น ห้าพจน์แรกของล�ำดับเรขาคณิตนี้ คือ - 45 , 25 , - 15 , 101 , - 201
5) ล�ำดับเลขคณิตนี้มี a1 = a2 และอัตราส่วนร่วม r = a เมื่อ a ≠ 0
จะได้ a2 = a1r = (a2)(a) = a3
a3 = a2r = (a3)(a) = a4
a4 = a3r = (a4)(a) = a5
a5 = a4r = (a5)(a) = a6
ดังนั้น ห้าพจน์แรกของล�ำดับเรขาคณิตนี้ คือ a2, a3, a4, a5, a6

267
6) ล�าดับเรขาคณิตนี้มี a1 = xy และอัตราส่วนร่วม r = xy เมื่อ x, y ≠ 0
จะได้ a2 = a1r = (xy)( xy ) = x2
3
a3 = a2r = (x2)( xy ) = xy
3 4
a4 = a3r = (xy )( xy ) = x2
4 x
y5
x
a5 = a4r = ( 2)( y ) = 3 x
y y
3 4 5
ดังนั้น ห้าพจน์แรกของล�าดับเรขาคณิตนี้ คือ xy, x2, xy , x2, x3
y y
2. ให้หำพจน์ของล�ำดับเรขำคณิตที่ก�ำหนดต่อไปนี้
1) a5 ของล�าดับเรขาคณิต -4, 8, -16, 32, …
2) a8 ของล�าดับเรขาคณิต 32, 16, 8, 4, …
3) a12 ของล�าดับเรขาคณิต 7, 14, 28, 56, …
4) a20 ของล�าดับเรขาคณิต 216, -72, 24, -8, …
2 3
5) a25 ของล�าดับเรขาคณิต 1, x2 , x4 , x8 , … เมื่อ x ≠ 0
แนวคิด 1) ล�าดับเรขาคณิตนี้มี a1 = -4 และอัตราส่วนร่วม r = -48 = -2
จาก an = a1rn - 1
จะได้ a5 = a1r5 - 1
= a1r4
= (-4)(-2)4
= -64
ดังนั้น พจน์ที่ 5 ของล�าดับเรขาคณิตนี้ คือ -64
2) ล�าดับเรขาคณิตนี้มี a1 = 32 และอัตราส่วนร่วม r = 16
32 = 12
จาก an = a1rn - 1
จะได้ a8 = a1r8 - 1
= a1r7
7
= (32)(12)
= 14
ดังนั้น พจน์ที่ 8 ของล�าดับเรขาคณิตนี้ คือ 14
268
3) ล�ำดับเรขาคณิตนี้มี a1 = 7 และอัตราส่วนร่วม r = 147 = 2

จาก an = a1rn - 1

จะได้ a12 = a1r12 - 1
= a1r11

= (7)(2)11

= 14,336
ดังนั้น พจน์ที่ 12 ของล�ำดับเรขาคณิตนี้ คือ 14,336
4) ล�ำดับเรขาคณิตนี้มี a1 = 216 และอัตราส่วนร่วม r = 216 -72 = - 1
n - 1
3
จาก an = a1r

จะได้ a20 = a1r20 - 1
= a1r19
19
= (216)(- 13 )

= -  816
3
ดังนั้น พจน์ที่ 20 ของล�ำดับเรขาคณิตนี้ คือ -  816
3
x
5) ล�ำดับเรขาคณิตนี้มี a1 = 1 และอัตราส่วนร่วม r = 21 = x2
จาก an = a1rn - 1

จะได้ a25 = a1r25 - 1
= a1r24
24

= (1)( x2 )
24
= x

(2)
24
ดังนั้น พจน์ที่ 25 ของล�ำดับเรขาคณิตนี้ คือ ( x2 )

269
3. ให้หำพจน์ที่ n ของล�ำดับเรขำคณิตต่อไปนี้
1) 4, 12, 36, 108, … 2) 15, 5, 53 , 59 , …
3) 64, -16, 4, -1, … 4) 2 , 10 , 5 2 , 5 10
5) 16 , 1, 6, 36, … 6) a, -a3, a5, -a7, … เมื่อ a ≠ 0
แนวคิด 1) ล�าดับเรขาคณิตนี้มี a1 = 4 และอัตราส่วนร่วม r = 124 = 3
จาก an = a1rn - 1
จะได้ an = (4)(3)n - 1
ดังนั้น พจน์ที่ n ของล�าดับเรขาคณิตนี้ คือ an = 4(3)n - 1
2) ล�าดับเรขาคณิตนี้มี a1 = 15 และอัตราส่วนร่วม r = 155 = 13
จาก an = a1rn - 1
n-1
จะได้ an = (15)( 13 )
n-2
= 5( 13 )
n-2
ดังนั้น พจน์ที่ n ของล�าดับเรขาคณิตนี้ คือ an = 5( 13 )
3) ล�าดับเรขาคณิตนี้มี a1 = 64 และอัตราส่วนร่วม r = -16 64 = - 14
จาก an = a1rn - 1
n-1
จะได้ an = (64)(- 14 )
n - 1
= (-1)n - 4
4 n - 1
ดังนั้น พจน์ที่ n ของล�าดับเรขาคณิตนี้ คือ an = n - 4 (-1)
4
4) ล�าดับเรขาคณิตนี้มี a1 = 2 และอัตราส่วนร่วม r = 10 = 5
2
จาก an = a1rn - 1
จะได้ an = ( 2)( 5)n - 1
= 2( 5)n - 1
ดังนั้น พจน์ที่ n ของล�าดับเรขาคณิตนี้ คือ an = 2( 5)n - 1

270
5) ล�าดับเรขาคณิตนี้มี a1 = 16 และอัตราส่วนร่วม r = 11 = 6
จาก an = a1rn - 1 6
จะได้ an = ( 16 )(6)n - 1
= 6n - 2
ดังนั้น พจน์ที่ n ของล�าดับเรขาคณิตนี้ คือ an = 6n - 2
3
6) ล�าดับเรขาคณิตนี้มี a1 = a และอัตราส่วนร่วม r = -aa = -a2
จาก an = a1rn - 1
จะได้ = (a)(-a2)n - 1
= (-1)n - 1 a2n - 1
ดังนั้น พจน์ที่ n ของล�าดับเรขาคณิตนี้ คือ an = (-1)n - 1 a2n - 1
4. -486 เปนพจน์ที่เท่ำใดของล�ำดับเรขำคณิตที่มี -6, 18, -54, …
แนวคิด ล�าดับเรขาคณิตนี้มี a1 = -6 และอัตราส่วนร่วม r = 18 -6 = -3
จาก an = a1rn - 1
จะได้ -486 = (-6)(-3)n - 1
-486 = (-3)n - 1
-6
81 = (-3)n - 1
(-3)4 = (-3)n - 1
n - 1 = 4
n = 5
ดังนั้น -486 เป็นพจน์ที่ 5 ของล�าดับเรขาคณิตนี้

271
5. ให้หำพจน์ที่ 4 ของล�ำดับเรขำคณิตที่มี a5 = 12 และ a8 = - 161
แนวคิด จาก a5 = 12
จะได้ a1r4 = 12 ...... ➊
จาก a8 = - 161
จะได้ a1r7 = - 161 ...... ➋
น�า ➋ ; r3 = - 18
➊ 3
r3 = (- 12 )
r = - 12
แทน r ใน ➊ ด้วย - 12 จะได้ a1 = 8
3
จะได้ a4 = a1r3 = (8)(- 12 ) = -1
ดังนั้น พจน์ที่ 4 ของล�าดับเรขาคณิตนี้ คือ -1
6. ให้หำพจน์ที่ 12 ของล�ำดับเรขำคณิตที่มี a2 = 2 3 และ a5 = 4 6
แนวคิด จาก a2 = 2 3
จะได้ a1r = 2 3 ...... ➊
จาก a5 = 4 6
จะได้ a1r4 = 4 6 ...... ➋
น�า ➋ ; r3 = 2 2

r3 = ( 2)3
r = 2
แทน r ใน ➊ ด้วย 2 จะได้ a1 = 6
จะได้ a12 = a1r11 = ( 6)( 2)11 = 64 3
ดังนั้น พจน์ที่ 12 ของล�าดับเรขาคณิตนี้ คือ 64 3

272
2 4
7. ให้หำพจน์ที่ 15 ของล�ำดับเรขำคณิตที่มี a3 = a4 และ a5 = a8 เมื่อ b ≠ 0
2
b b
แนวคิด จาก a3 = 4 a
b2
จะได้ a1r = a4
2 ...... ➊
b4
จาก a5 = a8
b4
จะได้ a1r4 = a8 ...... ➋
b2
น�า ➋ ; r2 = a4
➊ b 2
r = ( a2)
2
b
r = 2, - a2
a
b b
แทน r ใน ➊ ด้วย 2 และ - a2 จะได้ a1 = 1
a
b b 14 14
เมื่อ r = 2 และ a1 = 1 จะได้ a15 = a1r14 = (1)( a2) = a28
a
b b 14 b14
เมื่อ r = - 2 และ a1 = 1 จะได้ a15 = a1r = (1)(- a2) = a28
a 14
b 14 b b
a
ดังนั้น พจน์ที่ 15 ของล�าดับเรขาคณิตนี้ คือ 28
b
ระดับกลาง
8. ผลบวกของสำมพจน์แรกของล�ำดับเรขำคณิตล�ำดับหนึ่งเปน 26 และผลคูณของสำมพจน์นี้
เปน 216 ให้หำสำมพจน์แรกของล�ำดับเรขำคณิตนี้
แนวคิด ให้สามพจน์แรกของล�าดับเรขาคณิต คือ ar-1, a, ar
จะได้ (ar-1)(a)(ar) = 216
a3 = 216
a3 = 6 3
a = 6
และ (ar-1) + a + ar = 26
6r-1 + 6 + 6r = 26
6 + 6r - 20 = 0
r
3r2 - 10r + 3 = 0
(r - 3)(3r - 1) = 0
r = 3, 13
273
แทน r ใน ➊ ด้วย 3 และ 13 จะได้ a = 6
เมื่อ r = 3 และ a = 6 จะได้ ar-1 = ar = 63 = 2
ar = (6)(3) = 18
เมื่อ r = 13 และ a = 6 จะได้ ar-1 = ar = 61 = (6)(3) = 18
3
และ 1
ar = (6)( 3 ) = 2
ดังนั้น สามพจน์แรกของล�าดับเรขาคณิตนี้ คือ 2, 6, 18 หรือ 18, 6, 2
9. ถ้ำ 5, x, 80 เปนจ�ำนวนจริง 3 จ�ำนวน ซึ่งเรียงกันเปนล�ำดับเรขำคณิต แล้ว x มีค่ำเท่ำใด
แนวคิด เนื่องจากล�าดับเรขาคณิตมีอัตราส่วนร่วมคงตัว
จะได้ x = 80
5 x
2 = 400
x
x = ± 20
ดังนั้น x มีค่าเท่ากับ 20 หรือ -20
10. ให้หำจ�ำนวนจริงสำมจ�ำนวนซึ่งอยู่ระหว่ำง 65 และ 545 ที่จะท�ำให้จ�ำนวนทั้งห้ำเรียงกันเปน
ล�ำดับเรขำคณิต
แนวคิด จาก a5 = 545 และ a1 = 65
จะได้ a1r4 = 545
6 r4 = 54
5 5
4
r = 9
r = - 3 หรือ r = 3
เมื่อ a1 = 65 และ r = - 3 จะได้ a2 = - 6 53 , a3 = 185 , a4 = - 18 3
5
เมื่อ a1 = 65 และ r = 3 จะได้ a2 = 6 53 , a3 = 185 , a4 = 18 3 5
ดังนั้น สามพจน์ที่อยู่ระหว่าง 65 และ 545 คือ - 6 53 , 185 , - 18 3
5
หรือ 6 53 , 185 , 18 3
5

274
11. รถยนต์คันหนึ่งรำคำ 465,000 บำท คิดค่ำเสื่อมรำคำคงที่ 10% ต่อป กล่ำวคือ รำคำ
รถยนต์จะลดลง 10% ของมูลค่ำคงเหลือในแต่ละป ถ้ำเวลำผ่ำนไป t ป มูลค่ำคงเหลือของ
รถยนต์คันนี้มีค่ำเท่ำใด เมื่อ
1) t = 3
2) t = 5
3) t = 10
แนวคิด ก�าหนดให้ รถยนต์ราคา 465,000 บาท
10 = 1
คิดค่าเสื่อมราคาคงที่ 10% = 100 10
จะได้ ค่าเสื่อมราคาคงที่ 10% ของรถยนต์ในปที่ 1 = 465,000 × 101
= 46,500
มูลค่าคงเหลือของรถยนต์ในปที่ 1 = 465,000 - 46,500
= 418,500
และ ค่าเสื่อมราคาคงที่ 10% ของรถยนต์ในปที่ 2 = 418,500 × 101
มูลค่าคงเหลือของรถยนต์ในปที่ 2 = 41,850
= 418,500 - 41,850
= 376,650
นั่นคือ a1 = 418,500 และอัตราส่วนร่วม r = 376,650
418,500 = 0.9
1) t = 3
จาก an = a1rn - 1
จะได้ a3 = a1r3 - 1
= (418,500)(0.9)2
= 338,985
2) t = 5
จาก an = a1rn - 1
จะได้ a5 = a1r5 - 1
= (418,500)(0.9)4
= 274,577.85

275
3) t = 10
จาก an = a1rn - 1
จะได้ a10 = a1r10 - 1
= (418,500)(0.9)9
≈ 162,135.47
ดังนั้น มูลค่าคงเหลือของรถยนต์เมื่อเวลาผ่านไป 3 ป มีค่าเท่ากับ
338,985 บาท เมื่อเวลาผ่านไป 5 ป มีค่าเท่ากับ 274,577.85 บาท
และเมื่อเวลาผ่านไป 10 ป มีค่าประมาณ 162,135.47 บาท
12. ในป พ.ศ. 2560 ประชำกรในอ�ำเภอหนึ่งของจังหวัดหนึ่งมี 178,500 คน ถ้ำในแต่ละป
ประชำกรในอ�ำเภอนี้เพิ่มขึ้นปละ 2% ให้หำว่ำในป พ.ศ. 2565 ในอ�ำเภอนี้จะมีประชำกรกี่คน
แนวคิด ก�าหนดให้ ป พ.ศ. 2560 ประชากรในอ�าเภอหนึ่งของจังหวัดหนึ่งมี 178,500 คน
และในแต่ละปประชากรในอ�าเภอนี้เพิ่มขึ้นปละ 2% = 100 2 = 1
50
จะได้ จ�านวนของประชากรที่เพิ่มขึ้นในปที่ 1 = 178,500 × 501 = 3,570
จ�านวนของประชากรทั้งหมดในปที่ 1 = 178,500 + 3,570
= 182,070
และ จ�านวนของประชากรที่เพิ่มขึ้นในปที่ 2 = 182,070 × 501 = 3,641
จ�านวนของประชากรทั้งหมดในปที่ 2 = 182,070 + 3,641
= 185,711
นั่นคือ a1 = 182,070 และอัตราส่วนร่วม r = 185,711
182,070 = 1.02

จาก an = a1rn - 1
จะได้ a5 = (182,070)(1.02)4
≈ 197,078

ดังนั้น ในป พ.ศ. 2565 ในอ�าเภอนี้จะมีประชากรประมาณ 197,078 คน

276
ระดับทาทาย
13. เมื่อน�ำจ�ำนวนจริงจ�ำนวนหนึ่งไปบวกกับแต่ละจ�ำนวนต่อไปนี้ คือ 3, 23 และ 123
แล้วผลบวกที่ได้จะเปนพจน์ 3 พจน์ที่เรียงกันเปนล�ำดับเรขำคณิต ให้หำจ�ำนวนจริง
ที่น�ำไปบวก
แนวคิด ให้ x เป็นจ�านวนจริงที่น�าไปบวกแต่ละจ�านวน
จะได้ x + 3, x + 23, x + 123
เนื่องจากล�าดับเรขาคณิตมีอัตราส่วนร่วมคงตัว
จะได้ x + 23 = x + 123
x + 3 x + 23
(x + 23)(x + 23) = (x + 3)(x + 123)
x2 + 23x + 23x + 529 = x2 + 123x + 3x + 369
x2 + 46x + 529 = x2 + 126x + 369
(x2 + 46x + 529) - (x2 + 126x + 369) = 0
x2 + 46x + 529 - x2 - 126x - 369 = 0
-80x + 160 = 0
-80x = -160
x = 2
แทน x ด้วย 2 ในพจน์ที่ 1 จะได้ x + 3 = 2 + 3 = 5
แทน x ด้วย 2 ในพจน์ที่ 2 จะได้ x + 23 = 2 + 23 = 25
แทน x ด้วย 2 ในพจน์ที่ 3 จะได้ x + 123 = 2 + 123 = 125
ดังนั้น จ�านวนจริงที่น�าไปบวกกับแต่ละจ�านวน คือ 2
14. ถ้ำ x, y และ z เปนจ�ำนวนจริง 3 จ�ำนวนที่เรียงกันเปนล�ำดับเรขำคณิต ให้หำ y ในเทอม
ของ x และ z
แนวคิด ให้ x, y และ z เป็นจ�านวนจริงที่เรียงกันเป็นล�าดัับเรขาคณิต
เนื่องจากล�าดับเรขาคณิตมีอัตราส่วนร่วมคงตัว
จะได้ y z
x = y
y2 = xz
y = xz
ดังนั้น y ในเทอมของ x และ z คือ y = xz
277
15. ถ้ำพจน์ที่ 1 พจน์ที่ 2 และพจน์ที่ 4 ของล�ำดับเลขคณิตล�ำดับหนึ่ง ซึ่งมีค่ำไม่เท่ำกัน
จะเรียงกันเปนล�ำดับเรขำคณิต และผลบวกของ 3 พจน์นี้เปน 14 ให้หำล�ำดับเรขำคณิตนี้
แนวคิด ให้ a1, a2 และ a4 ของล�าดับเลขคณิต คือ a - d, a, a + 2d
จะได้ (a - d) + a + (a + 2d) = 14
3a + d = 14
d = 14 - 3a …… ➊
เนื่องจากล�าดับเรขาคณิตมีอัตราส่วนร่วมคงตัว
จะได้ a a + 2d
a - d = a
a2 = (a - d)(a + 2d)
a2 = a2 + 2ad - ad - 2d2
a2 = a2 + ad - 2d2
2d2 - ad = 0
d(2d - a) = 0
2d - a = 0
a = 2d …… ➋
แทน a ใน ➊ ด้วย 2d จะได้ d = 14 - 3(2d)
d = 14 - 6d
7d = 14
d = 2
แทน d ใน ➋ ด้วย 2 จะได้ a = 2(2)
a = 4
นั่นคือ a1 = a - d = 4 - 2 = 2
a2 = a = 4
a4 = a + 2d = 4 + 2(2) = 4 + 4 = 8
ดังนั้น ล�าดับเรขาคณิตนี้ คือ 2, 4, 8

278
Thinking Time (หน้า 155)
5 4
นักเรียนคิดว่า Σi=1 2i(i - 1) และ Σi=0 2i(i + 1) มีค่าเท่ากันหรือไม่ เพราะเหตุใด
แนวคิด มีค่าเท่ากัน เพราะการเขียนสัญลักษณ์แทนการบวกอาจเขียนได้หลายรูปแบบ
และดัชนีไม่จ�าเป็นต้องเริ่มจาก 1 ซึ่งสัญลักษณ์ทั้งสองต่างก็มีค่าเท่ากับ 80
เท่ากัน

ลองทําดู (หน้า 156)


ให้หาค่าของ
12 10 5
1) Σi=1 7 2) Σ
i=5
 (3i + 1) 3) Σ (4k - 1)2
k=1
12
แนวคิด 1) Σi=1 7 = 7 + 7 + 7 + … + 7
มี 12 พจน์
= 7(12)
= 84
10
2) Σi=5 (3i + 1) = [3(5) + 1] + [3(6) + 1] + [3(7) + 1] + [3(8) + 1] + [3(9) + 1]
+ [3(10) + 1]
= 16 + 19 + 22 + 25 + 28 + 31
= 141
5
Σ (4k - 1)2 = [4(1) - 1]2 + [4(2) - 1]2 + [4(3) - 1]2 + [4(4) - 1]2
3) k=1
+ [4(5) - 1]2
= 32 + 72 + 112 + 152 + 192
= 9 + 49 + 121 + 225 + 361
= 765

279
ลองทําดู (หน้า 157)
ให้หาค่าของ
5 4 7
1) Σi=1 (7i - 10) Σ 5j + 4 ) Σ (3k - 1)2
2) j=1 (
3 3) k=1
5 5 5
แนวคิด 1) Σi=1 (7i - 10) = Σi=1 7i - Σi=1 10
5
= 7 Σi=1 i - 5(10)
= 7(1 + 2 + 3 + 4 + 5) - 50
= 7(15) - 50
= 105 - 50
= 55
2) Σj=1 ( 3 ) = 13 [Σj=1 (5j + 4)]
4 5j + 4 4

= 13 [Σj=1 5j + Σj=1 4]
4 4

= 13 [5 Σj=1 j + 4(4)]
4

= 13 [5(1 + 2 + 3 + 4) + 16]
= 13 [5(10) + 16]
= 13 (66)
= 22
7 7
Σ (3k - 1)2 = k=1
3) k=1 Σ (9k2 - 6k + 1)
7 7 7
= Σ 9k2 - k=1
k=1 Σ 6k + k=1
Σ 1
7 7
Σ k2 - 6 k=1
= 9 k=1 Σ k + 7(1)
= 9(12 + 22 + 32 + 42 + 52 + 62 + 72) - 6(1 + 2 + 3
+ 4 + 5 + 6 + 7) + 7
= 9(140) - 6(28) + 7
= 1,260 - 168 + 7
= 1,099
280
ลองทําดู (หน้า 160)
ให้หาผลบวกของอนุกรมต่อไปนี้
n n
1) Σi=1 (2i2 + 4i) 2) Σ
i=1
3
 (i - 3i)
n n n
แนวคิด 1) Σi=1 (2i2 + 4i) = Σi=1 2i2 + Σi=1 4i
n n
= 2 Σi=1 i2 + 4 Σi=1 i
= 2 [n(n + 1)(2n + 1) 6 ] + 4 [n(n + 1)
2 ]
= n(n + 1)(2n + 1)
3 + 2n(n + 1)
= n(n + 1)(2n + 1) + 6n(n + 1)
3
n
= 3 (n + 1)[(2n + 1) + 6]
= 3n (n + 1)(2n + 7)
= 3n (2n2 + 9n + 7)
n n n
2) Σi=1 (i3 - 3i) = Σi=1 i3 - Σi=1 3i
n n
= Σi=1 i3 - 3 Σi=1 i
2
= [ n(n + 1)2 - 3 [ 2 ]
] n(n + 1)
2
= n4 (n + 1)2 - 3n(n + 1) 2
= 14 [n2(n + 1)2 - 6n(n + 1)]
= 14 [n2(n2 + 2n + 1) - 6n2 - 6n]
= 14 [n4 + 2n3 + n2 - 6n2 - 6n]
= 14 [n4 + 2n3 - 5n2 - 6n]
= 4n [n3 + 2n2 - 5n - 6]

281
ลองทําดู (หน้า 161)
n
ให้หาผลบวก 20 พจน์แรกของอนุกรม Σi=1 (4i + 1)3
n n
แนวคิด เนื่องจาก Σi=1 (4i + 1)3 = Σi=1 (64i3 + 48i2 + 12i + 1)
n n n n
= 64 Σi=1 i3 + 48 Σi=1 i2 + 12 Σi=1 i + Σi=1 1
2
= 6 4 [n(n + 1) ]
2 + 48 [
n(n + 1)(2n + 1)]
6
n(n + 1)
+ 12 [ 2 ] + n
20 2
จะได้ Σi=1 (4i + 1)3 = 64 [20(20 + 1) 2 ] + 48 [ 20(20 + 1)[2(20) + 1]
6 ]
+ 12 [20(20 + 1)
2 ] + 20
= 2,822,400 + 137,760 + 2,520 + 20
= 2,962,700
n
ดังนั้น ผลบวก 20 พจน์แรกของอนุกรม Σi=1 (4i + 1)3 เท่ากับ 2,962,700

แบบฝกทักษะ 3.2
ก (หน้า 161)

ระดับพื้นฐาน
1. ให้หาค่าของ
20 15
1) Σi=1 25 Σ (10k + 7)
2) k=1
8 10
3) Σi=1
(2i + 5)2
  4) k=1 3
Σ (k + 5k)
20
แนวคิด 1) Σi=1 25 = 25(20)
= 500
15 15 15
Σ (10k + 7) = k=1
2) k=1 Σ 10k + k=1
Σ 7
15
Σ k + 7(15)
= 10 k=1
= 10[15(15 + 1)
2 ] + 105

282
= 10(120) + 105
= 1,200 + 105
= 1,305
8 8 2
3) Σi=1 (2i + 5)2 = Σi=1
 (4i + 20i + 25)
8 2 8 8
= Σi=1
  Σ
4i + 20i + 25
i=1
  Σi=1

8 2 8
Σ Σ
= 4 i + 20 i + 25(8)
i=1
  i=1

= 4[8(8 + 1)[2(8) + 1]
6 ] + 20[8(8 + 1)
2 ] + 200
= 4(204) + 20(36) + 200
= 816 + 720 + 200
= 1,736
10 3 10 10
4) k=1
Σ (k + 5k) Σ k3 + k=1
= k=1 Σ 5k
10 10
= Σ k3 + 5 Σ
k=1 i=1
 k
2
= [10(10 + 1)
2 ] + 5[10(10 + 1)
2 ]
= [5(11)]2 + 5[5(11)]
= 3,025 + 275
= 3,300
2. ให้หาผลบวกของอนุกรมต่อไปนี้
n n
1) Σi=1 (i3 + i - 1) Σ (k - 2)(k + 1)
2) k=1
n 2 n
3) Σ
i=1 (3i - 2) Σ (k2 + 1)(k - 2)
4) k=1
n n n n
แนวคิด 1) Σi=1 (i3 + i - 1) = Σi=1 i3 + Σi=1 i - Σi=1 1
= n(n + 1) 2 n(n + 1)
2 + 2 - n(1)
2 2n(n + 1)
= [n(n + 1)]4 + 4 - n

283
= n(n 4+ 1) [n(n + 1) + 2] - n
= n(n 4+ 1) (n2 + n + 2) - n
= 4n [(n + 1)(n2 + n + 2) - 4]
= 4n  (n3 + 2n2 + 3n - 2)
n n
2) k=1 Σ (k2 - k - 2)
Σ (k - 2)(k + 1) = k=1
n n n
Σ k2 - k=1
= k=1 Σ k - k=1
Σ 2

= n(n + 1)(2n6
+ 1) - n(n + 1) - 2n
2
= 6n  (n + 1)(2n + 1 - 3) - 2n
= 3n  (n + 1)(n - 1) - 2n
= 3n  [(n + 1)(n - 1) - 6]
= 3n  (n2 - 1 - 6)
= 3n  (n2 - 7)
n n
3) Σi=1 (3i - 2)2 =
Σ 2
i=1 (9i - 12i + 4)
n n n
= 9Σi=1 i2 - 12Σi=1 i + Σi=1 4
= 9n(n + 1)(2n6
+ 1) - 12n(n + 1) + n(4)
2
= 2n  (n + 1)[3(2n + 1) - 12] + 4n
= 2n  (n + 1)(6n - 9) + 4n
= 2n  [(n + 1)(6n - 9) + 8]
= 2n  (6n2 - 3n - 1)

284
n n
Σ (k2 + 1)(k - 2) = k=1
4) k=1 Σ (k3 - 2k2 + k - 2)
n n n n
= Σ k3 - 2k=1
k=1 Σ k2 + k=1
Σ k - k=1
Σ 2

= n(n + 1) 2 n(n + 1)(2n + 1) n(n + 1)


2 - 2 6 + 2 - 2n
2 2 4n(n + 1)(2n + 1) 6n(n + 1)
= 3n (n + 1)
12 - 12 + 12 - 2n
= 12n (n + 1) 3n(n + 1) - 4(2n + 1) + 6 - 2n
= 12n (n + 1)(3n2 - 5n + 2) - 2n
= 12n (n + 1)(3n2 - 5n + 2) - 24
= 12n (3n3 - 2n2 - 3n - 22)

ระดับกลาง
3. ให้หำผลบวกของอนุกรมต่อไปนี้
85 100
Σ  (k - 1)
1) k=20 Σ  n(n - 1)
2) n=65
85 85 19
แนวคิด 1) Σ  (k - 1)
k=20 Σ  (k - 1) - k=1
= k=1 Σ  (k - 1)
85 85 19 19
= Σ  k - k=1
k=1 Σ  1 - k=1
Σ  k - k=1
Σ  1
85 19 85 19
Σ  k - k=1
= k=1 Σ  k - k=1
Σ  1 - k=1
Σ 1
= 852 (85 + 1) - 192 (19 + 1) - (85 - 19)
= 85(43) - 19(10) - 66
= 3,655 - 190 - 66
= 3,399

285
100 100 64
2) Σ  
n=65 Σ  n(n - 1) - n=1
n(n - 1) = n=1 Σ  n(n - 1)
100 2 64
= Σ  
n=1 Σ  (n2 - n)
(n - n) - n=1
100 2 100 64 64
= Σ  
n - n=1
n=1 Σ  n2 - n=1
Σ  n - n=1 Σ  n

= 100(100 + 1)[2(100) + 1]
6 - 100(100 + 1)
2
- 64(64 + 1)[2(64) + 1]
6 - 64(64 + 1)
2
= 100(101)(201)
6 - 100(101) 64(65)(129) 64(65)
2 - 6 - 2
= [50(101)(67) - 50(101)] - [32(65)(43) - 32(65)]
= 50(101)(66) - 32(65)(42)
= 333,300 - 87,360
= 245,940
30 2
4. ก�ำหนด Σ
n=1 (a - n ) = 55 ให้หำค่ำของ a
30 30 30
แนวคิด เนื่องจาก Σ (a - n2)
n=1 = n=1 Σ n2
Σ a - n=1

= 30a - 30(30 + 1)[2(30) + 1]


6
= 30a - 5(31)(61)
จะได้ว่า 30a - 5(31)(61) = 55
6a - (31)(61) = 11
6a = 11 + 1,891
a = 317
4 5
5. ก�ำหนด Σi=1 (a + bi + 1) = 22 และ Σi=1 (ai - b - 3) = 10 ให้หำค่ำของ a และ b
4 4 4 4
แนวคิด เนื่องจาก Σi=1 (a + bi + 1) = Σi=1 a + Σi=1 bi + Σi=1 1
= 4a + 4(4 + 1)
2 b + 1(4)
= 4a + 10b + 4

286
5 5 5 5
และ Σ
- b - 3) = Σi=1 ai - Σi=1 b - Σi=1 3
i=1
 (ai

= 5(5 2+ 1) a - 5b - 3(5)
= 15a - 5b - 15
จะได้ว่า 4a + 10b + 4 = 22 ......➊
15a - 5b - 15 = 10 ......➋
➋ × 2 จะได้ 30a - 10b - 30 = 20 ......➌
➊ + ➌ จะได้ 34a - 26 = 42
34a = 68
a = 2
แทนค่า a ใน ➋ ด้วย 2 จะได้ 15(2) - 5b - 15 = 10
-5b = 10 - 15
b = 1
ดังนั้น ค่าของ a เท่ากับ 2 และ b เท่ากับ 1

Class Discussion (หน้า 162)


ให้นักเรียนจับคู่ แล้วตอบค�ำถามต่อไปนี้
1. ให้หาผลบวกของพจน์ทุกพจน์ของล�ำดับเลขคณิต 1, 3, 5, 7, 9, 11
แนวคิด ผลบวกของพจน์ทุกพจน์ คือ 1 + 3 + 5 + 7 + 9 + 11 = 36
2. ให้หาผลบวกของพจน์ทุกพจน์ของล�ำดับเลขคณิต 1, 3, 5, …, 99
แนวคิด ผลบวกของพจน์ทุกพจน์ที่มีจำ� นวนมาก ๆ ท�ำได้ ดังนี้
1 + 3 + 5 + ... + 99 ......➊
99 + 97 + 95 + ... + 1 ......➋
น�ำ ➊ + ➋ ; 100 + 100 + 100 + ... + 100 = 50 × 100
50 พจน์
ดังนั้น 1 + 3 + 5 + ... + 99 = 50 ×2 100 = 2,500

287
ลองทําดู (หน้า 164)
ให้หาผลบวก 38 พจน์แรกของอนุกรมเลขคณิต 4 + 12 + 20 + … + (8n - 4) + …
แนวคิด เนื่องจาก a1 = 4, d = 8 และ n = 38
จาก Sn = 2n [2a1 + (n - 1)d]
จะได้ S38 = (38) 2 [2(4) + (38 - 1)(8)]
= 19[8 + (37)(8)]
= 19(304)
= 5,776
ดังนั้น ผลบวกของ 38 พจน์แรกของอนุกรมเลขคณิตนี้ คือ 5,776

ลองทําดู (หน้า 165)


ให้หาผลบวกของพจน์ทุกพจน์ของอนุกรมเลขคณิต 6 + 15 + 24 + … + 177
แนวคิด เนื่องจาก a1 = 6, d = 9
หาจ�านวนพจน์แรก an = a1 + (n - 1)d
จะได้ 177 = 6 + (n - 1)(9)
177 = 6 + 9n - 9
177 = 9n - 3
9n = 180
n = 20
หาผลบวกของ 20 พจน์ จาก Sn = 2n (a1 + an)
จะได้ S20 = 202 (6 + 177)
= 10(183)
= 1,830
ดังนั้น ผลบวกทั้ง 20 พจน์ของอนุกรมเลขคณิตนี้ คือ 1,830

288
ให้หาผลบวกของจ�านวนคี่ตั้งแต่ 15 + 17 + 19 + … + 455
แนวคิด เนื่องจาก a1 = 15, d = 2
หาจ�านวนพจน์จาก an = a1 + (n - 1)d
จะได้ 455 = 15 + (n - 1)(2)
455 = 15 + 2n - 2
2n = 442
n = 221
หาผลบวกของ 221 พจน์ จาก Sn = 2n (a1 + an)
จะได้ S221 = 221 2 (15 + 455)
= 221
2 (470)
= 51,935
ดังนั้น ผลบวกทั้ง 221 พจน์ของอนุกรมเลขคณิตนี้ คือ 51,935
ลองทําดู (หน้า 166)
ให้หาผลบวกของจ�านวนเต็มที่มีค่าอยู่ระหว่าง 30 และ 150 ที่หารด้วย 7 ลงตัว
แนวคิด จ�านวนแรกที่หารด้วย 7 ลงตัว คือ 35
จ�านวนสุดท้ายที่หารด้วย 7 ลงตัว คือ 147
จะได้อนุกรมเลขคณิต คือ 35 + 42 + 49 + … + 147
หาจ�านวนพจน์จาก an = a1 + (n - 1)d
จะได้ 147 = 35 + (n - 1)(7)
147 = 35 + 7n - 7
147 = 7n + 28
7n = 119
n = 17
หาผลบวกของ 17 พจน์ จาก Sn = 2n (a1 + an)
จะได้ S17 = 172 (35 + 147)
= 172 (182)
= 1,547
ดังนั้น ผลบวกทั้ง 17 พจน์ของอนุกรมเลขคณิตนี้ คือ 1,547
289
ลองทําดู (หน้า 167)
ย งิ่ ยงต้องการวางถุงปุย ซ้อนกันเป็นชัน้ ๆ แต่ละชัน้ มีจา� นวนถุงปุย มากกว่าจ�านวนถุงปุย ในชัน้
ถัดไปเป็นจ�านวน 2 ถุงเสมอ ถ้าเขาต้องการวางถุงปุยไว้ชั้นล่างสุด 50 ถุง และวางถุงปุยไว้
ชั้นบนสุดจ�านวน 4 ถุง ให้หาว่ามีปุยทั้งหมดกี่ถุง
แนวคิด ให้ a1 = 4, an = 50 และ d = 2
หาจ�านวนชั้นที่ยิ่งยงต้องการวางถุงปุย
จาก an = a1 + (n - 1)d
จะได้ 50 = 4 + (n - 1)(2)
50 = 4 + 2n - 2
50 = 2n + 2
2n = 48
n = 24
จาก Sn = 2n [2a1 + (n - 1)d]
จะได้ S24 = 242 [2(4) + (24 - 1)(2)]
= 12[8 + (23)(2)]
= 12(8 + 46)
= 12(54)
= 648
ดังนั้น ยิ่งยงมีถุงปุยทั้งหมด 648 ถุง

แบบฝกทักษะ 3.2
ข (หน้า 167)

ระดับพื้นฐาน
1. ให้หำผลบวก 10 พจน์แรกของล�ำดับเลขคณิต 5, 12, 19, …, 7n - 2, …
แนวคิด เนื่องจาก a1 = 5, d = 7 และ n = 10
จาก Sn = 2n [2a1 + (n - 1)d]

290
จะได้ S10 = 102 [2(5) + (10 - 1)(7)]
= 5[10 + (9)(7)]
= 5(10 + 63)
= 5(73)
= 365
ดังนั้น ผลบวก 10 พจน์แรกของล�าดับเลขคณิตนี้ คือ 365
2. ให้หำผลบวก 15 พจน์แรกของล�ำดับเลขคณิต 1, 3, 5, …, 2n - 1, …
แนวคิด เนื่องจาก a1 = 1, d = 2 และ n = 15
จาก Sn = 2n [2a1 + (n - 1)d]
จะได้ S15 = 152 [2(1) + (15 - 1)(2)]
= 152 [2 + (14)(2)]
= 152 (2 + 28)
= 152 (30)
= 225
ดังนั้น ผลบวก 15 พจน์แรกของล�าดับเลขคณิตนี้ คือ 225
3. ให้หำผลบวก 20 พจน์แรกของล�ำดับเลขคณิต -20, 10, 40, …, 30n - 50, …
แนวคิด เนื่องจาก a1 = -20, d = 30 และ n = 20
จาก Sn = 2n [2a1 + (n - 1)d]
จะได้ S20 = 202 [2(-20) + (20 - 1)(30)]
= 10[(-40) + (19)(30)]
= 10[(-40) + 570]
= 10(530)
= 5,300
ดังนั้น ผลบวก 20 พจน์แรกของล�าดับเลขคณิตนี้ คือ 5,300

291
4. ให้หำผลบวก 40 พจน์แรกของอนุกรมเลขคณิต -10 + 6 + 22 + … + (16n - 26) + …
แนวคิด เนื่องจาก a1 = -10, d = 16 และ n = 40
จาก Sn = 2n [2a1 + (n - 1)d]
จะได้ S40 = 402 [2(-10) + (40 - 1)(16)]
= 20[(-20) + (39)(16)]
= 20[(-20) + 624]
= 20(604)
= 12,080
ดังนั้น ผลบวก 40 พจน์แรกของอนุกรมเลขคณิตนี้ คือ 12,080
5. ให้หำผลบวก 50 พจน์แรกของล�ำดับเลขคณิต 15 , 35 , 1, …, 25 n - 15 , …
แนวคิด เนื่องจาก a1 = 15, d = 25 และ n = 50
จาก Sn = 2n [2a1 + (n - 1)d]
จะได้ S50 = 502 [2(15) + (50 - 1)(25)]
= 25[25 + (49)(25)]
= 25(25 + 985)
= 25(1005)
= 25(20)
= 500
ดังนั้น ผลบวก 50 พจน์แรกของล�าดับเลขคณิตนี้ คือ 500
6. ให้หำผลบวกของอนุกรมเลขคณิตต่อไปนี้
1) (-50) + (-45) + (-40) + … + 20
2) 3.5 + 5 + 6.5 + … + 35
3) 1 + 5 + 9 + … + 61
4) 12 + 1 + 32 + … + 15
5) (- 53) + (-1) + (- 13) + … + 5
292
แนวคิด 1) เนื่องจาก a1 = -50, d = 5
หาจ�ำนวนพจน์จาก an = a1 + (n - 1)d
จะได้ 20 = (-50) + (n - 1)(5)
20 = (-50) + 5n - 5
20 = 5n - 55
5n = 75
n = 15
หาผลบวกของ 15 พจน์ จาก Sn = 2n  (a1 + an)
จะได้ S15 = 152  [(-50) + 20]
S15 = 152  (-30)
= -225
ดังนั้น ผลบวกทั้ง 15 พจน์ของอนุกรมเลขคณิตนี้ คือ -225
2) เนื่องจาก a1 = 3.5, d = 1.5
หาจ�ำนวนพจน์จาก an = a1 + (n - 1)d
จะได้ 35 = 3.5 + (n - 1)(1.5)
35 = 3.5 + 1.5n - 1.5
35 = 1.5n + 2
1.5n = 33
n = 22
หาผลบวกของ 22 พจน์ จาก Sn = 2n  (a1 + an)
จะได้ S22 = 222 (3.5 + 35)
= 11(38.5)
= 423.5
ดังนั้น ผลบวกทั้ง 22 พจน์ของอนุกรมเลขคณิตนี้ คือ 423.5

293

3) เนื่องจาก a1 = 1, d = 4

หาจ�ำนวนพจน์จาก an = a1 + (n - 1)d

จะได้ 61 = 1 + (n - 1)(4)

61 = 1 + 4n - 4

61 = 4n - 3

4n = 64

n = 16
หาผลบวกของ 16 พจน์ จาก Sn = 2n  (a1 + an)

จะได้ S16 = 162 (1 + 61)


= 8(62)

= 496

ดังนั้น ผลบวกทั้ง 16 พจน์ของอนุกรมเลขคณิตนี้ คือ 496
4) เนื่องจาก a1 = 12, d = 12
หาจ�ำนวนพจน์จาก an = a1 + (n - 1)d
จะได้ 15 = 12 + (n - 1)(12)
15 = 12 + 2n - 12
n
2 = 15
n = 30
หาผลบวกของ 30 พจน์ จาก Sn = 2n  (a1 + an)
จะได้ S30 = 302 (12 + 15)
= 15(312)
= 465 2
ดังนั้น ผลบวกทั้ง 30 พจน์ของอนุกรมเลขคณิตนี้ คือ 465
2

294
5) เนื่องจาก a1 = - 53, d = 23
หาจ�านวนพจน์จาก an = a1 + (n - 1)d
จะได้ 5 = (- 53) + (n - 1)(23)
5 = (- 53) + 2n3 - 23
5 = 2n3 - 73
2n = 22
3 3
n = 11
หาผลบวกของ 11 พจน์ จาก Sn = 2n (a1 + an)
จะได้ S11 = 112 [(- 53) + 5]
= 112 (103)
= 553
ดังนั้น ผลบวกทั้ง 11 พจน์ของอนุกรมเลขคณิตนี้ คือ 553
7. ให้หำผลบวกของจ�ำนวนคู่ตั้งแต่ 16 + 18 + 20 + … + 780
แนวคิด เนื่องจาก a1 = 16, d = 2
หาจ�านวนพจน์จาก an = a1 + (n - 1)d
จะได้ 780 = 16 + (n - 1)(2)
780 = 16 + 2n - 2
780 = 2n + 14
2n = 766
n = 383
หาผลบวกของ 383 พจน์ จาก Sn = 2n (a1 + an)
จะได้ S383 = 383 2 (16 + 780)
= 383
2 (796)
= 152,434
ดังนั้น ผลบวกทั้ง 383 พจน์ของอนุกรมเลขคณิตนี้ คือ 152,434
295
8. ให้หำผลบวกของจ�ำนวนคี่ตั้งแต่ 15 + 17 + 19 + … + 999
แนวคิด เนื่องจาก a1 = 15, d = 2
หาจ�านวนพจน์จาก an = a1 + (n - 1)d
จะได้ 999 = 15 + (n - 1)(2)
999 = 15 + 2n - 2
999 = 2n + 13
2n = 986
n = 493
หาผลบวกของ 493 พจน์ จาก Sn = 2n (a1 + an)
จะได้ S493 = 493 2 (15 + 999)
= 493
2 (1,014)
= 249,951
ดังนั้น ผลบวกทั้ง 493 พจน์ของอนุกรมเลขคณิตนี้ คือ 249,951
9. ให้หำผลบวกของจ�ำนวนเต็มที่มีค่ำอยู่ระหว่ำง 150 และ 600 ที่ 11 หำรลงตัว
แนวคิด จ�านวนแรกที่หารด้วย 11 ลงตัว คือ 154
จ�านวนสุดท้ายที่หารด้วย 11 ลงตัว คือ 594
จะได้อนุกรมเลขคณิต คือ 154 + 165 + 176 + … + 594
หาจ�านวนพจน์จาก an = a1 + (n - 1)d
จะได้ 594 = 154 + (n - 1)(11)
594 = 154 + 11n - 11
594 = 11n + 143
11n = 451
n = 41
หาผลบวกของ 41 พจน์ จาก Sn = 2n (a1 + an)
จะได้ S41 = 412 (154 + 594)
= 412 (748)
= 15,334
ดังนั้น ผลบวกทั้ง 41 พจน์ของอนุกรมเลขคณิตนี้ คือ 15,334
296
ระดับกลาง
10. อนุกรมเลขคณิตอนุกรมหนึ่งมีพจน์ที่ 3 เท่ำกับ 11 และผลบวก 8 พจน์ เท่ำกับ 124
ให้หำอนุกรมเลขคณิตนี้
แนวคิด จาก an = a1 + (n - 1)d
จะได้ a3 = a1 + (3 - 1)d
11 = a1 + 2d
a1 = 11 - 2d ......➊
จาก Sn = 2n [2a1 + (n - 1)d]
จะได้ S8 = 82 [2a1 + (8 - 1)d]
124 = 4(2a1 + 7d)
31 = 2a1 + 7d
7d = 31 - 2a1 ......➋
แทน a1 ใน ➋ ด้วย 11 - 2d จะได้ 7d = 31 - 2(11 - 2d)
7d = 31 - 22 + 4d
3d = 9
d = 3
แทน d ใน ➊ ด้วย 3 จะได้ a1 = 11 - 2(3)
a1 = 11 - 6
a1 = 5
นั่นคือ a1 = 5
a2 = a1 + d = 5 + 3 = 8
a3 = a2 + d = 8 + 3 = 11
a4 = a3 + d = 11 + 3 = 14
a5 = a4 + d = 14 + 3 = 17
a6 = a5 + d = 17 + 3 = 20
a7 = a6 + d = 20 + 3 = 23
a8 = a7 + d = 23 + 3 = 26
ดังนั้น อนุกรมเลขคณิตนี้ คือ 5 + 8 + 11 + 14 + 17 + 20 + 23 + 26
297
11. ก�ำหนด A = { 30, 31, 32, … , 100 } ให้หำผลบวก
ำผลบวกของสมำชิกของเซต A ที่ 2 หำรลงตัว
แต่ 3 หำรไม่ลงตัว
แนวคิด จ�านวนแรกที่หารด้วย 2 ลงตัว คือ 30
จ�านวนสุดท้ายที่หารด้วย 2 ลงตัว คือ 100
จะได้อนุกรมเลขคณิต คือ 30 + 32 + 34 + … + 100
หาจ�านวนพจน์จาก an = a1 + (n - 1)d
จะได้ 100 = 30 + (n - 1)(2)
100 = 30 + 2n - 2
100 = 2n + 28
2n = 72
n = 36
หาผลบวกของ 36 พจน์ จาก Sn = 2n (a1 + an)
จะได้ S36 = 362 (30 + 100)
= 18(130)
= 2,340
จ�านวนแรกที่หารด้วย 2 และ 3 ลงตัว คือ 30
จ�านวนสุดท้ายที่หารด้วย 2 และ 3 ลงตัว คือ 96
จะได้อนุกรมเลขคณิต คือ 30 + 36 + 42 + … + 96
หาจ�านวนพจน์จาก an = a1 + (n - 1)d
จะได้ 96 = 30 + (n - 1)(6)
96 = 30 + 6n - 6
96 = 6n + 24
6n = 72
n = 12
หาผลบวกของ 12 พจน์ จาก Sn = 2n (a1 + an)
จะได้ S12 = 122 (30 + 96)
= 6(126)
= 756
ดังนั้น ผลบวกของสมาชิกของเซต A ที่ 2 หารลงตัว แต่ 3 หารไม่ลงตัว เท่ากับ
2,340 - 756 = 1,584

298
12. จำกข้อ 11. ให้หำผลบวกของสมำชิกของเซต A ที่ 2 และ 3 หำรลงตัว แต่หำรด้วย 5
ไม่ลงตัว
แนวคิด 11. ผลบวกของสมาชิกของเซต A ที่ 2 และ 3 หารลงตัว คือ 756
จากข้อ 11. ผลบวกของสมาชิ
จ�านวนที่ 2, 3 และ 5 หารลงตัว คือ 30, 60 และ 90
จะได้ผลบวกของจ�านวนที่ 2, 3 และ 5 หารลงตัว เท่ากับ 30 + 60 + 90 = 180
ดังนั้น ผลบวกของสมาชิกของเซต A ที่ 2 และ 3 หารลงตัว แต่หารด้วย 5
ไม่ลงตัว เท่ากับ 756 - 180 = 576
13. ให้หำค่ำ n จำกผลบวกของอนุกรม 3 + 7 + 11 + … + (4n - 1) = 1,830
แนวคิด เนื่องจาก a1 = 3, an = 4n - 1, และ Sn = 1,830
จาก Sn = 2n (a1 + an)
จะได้ 1,830 = 2n [3 + (4n - 1)]
1,830 = 2n (3 + 4n - 1)
1,830 = 2n (4n + 2)
2
1,830 = 4n2 + 2n2
1,830 = 2n2 + n
2n2 + n - 1,830 = 0
(n - 30)(2n + 61) = 0
n = 30, - 612
เนื่องจากอนุกรมเลขคณิตนี้มีจ�านวนพจน์เป็นจ�านวนเต็มบวก
ดังนั้น ค่าของ n จากผลบวกของอนุกรมเลขคณิตนี้ คือ 30

299
14. อนุกรมเลขคณิตอนุกรมหนึ่งมีพจน์ที่ n เปน -5n + 2 ให้หำผลบวก 20 พจน์แรกของ
อนุกรมนี้
แนวคิด ก�าหนดให้ an = -5n + 2
a1 = -5(1) + 2 = (-5) + 2 = -3
a20 = -5(20) + 2 = (-100) + 2 = -98
จาก Sn = 2n (a1 + an)
จะได้ S20 = 202 [(-3) + (-98)]
= 10(-101)
= -1,010
ดังนั้น ผลบวก 20 พจน์แรกของอนุกรมนี้ คือ -1,010
15. อนุกรมเลขคณิตอนุกรมหนึ่ง ถ้ำ S15 มีค่ำมำกกว่ำ S14 อยู่ 32 และพจน์แรกเท่ำกับ 4
ให้หำผลบวก 25 พจน์แรกของอนุกรมนี้
แนวคิด จาก S15 - S14 = 32 และ a1 = 4
จะได้ a15 = 32
a15 = a1 + 14d
32 = 4 + 14d
14d = 28
d = 2
จาก Sn = 2n [2a1 + (n - 1)d]
จะได้ S25 = 252 [8 + (24)(2)]
= 252 (56)
= 700
ดังนั้น ผลบวก 25 พจน์แรกของอนุกรมนี้ คือ 700

300
16. อนุกรมเลขคณิตอนุกรมหนึ่งมีผลบวก 5 พจน์แรกเปน 85 และพจน์ที่ 8 ของอนุกรมนี้
คือ 32 ให้หำผลบวก 10 พจน์แรกของอนุกรมนี้
แนวคิด จาก a8 = 32
จะได้ a1 + 7d = 32
a1 = 32 - 7d ......➊
จาก Sn = 2n [2a1 + (n - 1)d]
จะได้ S5 = 52 [2(32 - 7d) + (5 - 1)d]
85 = 52 (64 - 10d)
170 = 320 - 50d
50d = 150
d = 3
แทน d ใน ➊ ด้วย 3 จะได้ a1 = 32 - 7d = 32 - 7(3) = 32 - 21 = 11
จาก an = a1 + (n - 1)d
จะได้ a10 = 11 + (10 - 1)(3)
= 11 + 27
= 38
จาก Sn = 52 (a1 + an)
จะได้ S10 = 102 (11 + 38)
= 5(49)
= 245
ดังนั้น ผลบวก 10 พจน์แรกของอนุกรมนี้ คือ 245

301
17. ถ้ำ x + 1, 2x + 3, 4x + 2 เปนสำมพจน์แรกของล�ำดับเลขคณิตล�ำดับหนึ่ง
ให้หำผลบวก 30 พจน์แรกของล�ำดับนี้
แนวคิด เนื่องจากล�าดับเลขคณิตมีผลต่างร่วมคงตัว
จะได้ (2x + 3) - (x + 1) = (4x + 2) - (2x + 3)
2x + 3 - x - 1 = 4x + 2 - 2x - 3
x + 2 = 2x - 1
2x - x = 2 + 1
x = 3
แทน x ด้วย 3 ในพจน์ที่ 1 จะได้ x + 1 = 3 + 1 = 4
แทน x ด้วย 3 ในพจน์ที่ 2 จะได้ 2x + 3 = 2(3) + 3 = 9
แทน x ด้วย 3 ในพจน์ที่ 3 จะได้ 4x + 2 = 4(3) + 2 = 14
เนื่องจาก a1 = 4, d = 9 - 4 = 5
จาก Sn = 2n [2a1 + (n - 1)d]
จะได้ S30 = 302 [2(4) + (30 - 1)(5)]
= 15(8 + 145)
= 15(153)
= 2,295
ดังนั้น ผลบวก 30 พจน์แรกของอนุกรมนี้ คือ 2,295
ระดับทาทาย
18. ก�ำหนด Sn เปนผลบวก n พจน์แรกของล�ำดับเลขคณิต a1, a2, a3, … ถ้ำ S5 = 20
และ S16 = -200 ให้หำ a10 + a13
แนวคิด จาก Sn = 2n [2a1 + (n - 1)d]
จะได้ S5 = 52 [2a1 + (5 - 1)d]
20 = 52 (2a1 + 4d)
40 = 10a1 + 20d
4 = a1 + 2d
a1 = 4 - 2d ......➊
302
และ S16 = 162 [2a1 + (16 - 1)d]
-200 = 8(2a1 + 15d)
- 200
8 = 2a1 + 15d
-25 = 2a1 + 15d
15d = -25 - 2a1 ......➋
แทน a1 ใน ➋ ด้วย 4 - 2d จะได้ 15d = -25 - 2(4 - 2d)
15d = -25 - 8 + 4d
11d = -33
d = -3
แทน d ใน ➊ ด้วย -3 จะได้ a1 = 4 - 2(-3)
a1 = 4 + 6
a1 = 10
จาก an = a1 + (n - 1)d
จะได้ a10 = 10 + (10 - 1)(-3) = 10 + (9)(-3) = 10 + (-27) = -17
และ a13 = 10 + (13 - 1)(-3) = 10 + (12)(-3) = 10 + (-36) = -26
ดังนั้น a10 + a13 มีค่าเท่ากับ (-17) + (-26) = -43
19. นำงสำวอ้อมใจต้องกำรเก็บเงินเดือนแรก 1,000 บำท และเดือนต่อ ๆ ไปเก็บมำกกว่ำ
เดือนก่อนหน้ำนั้น 100 บำท และเก็บเงินต่อเนื่องโดยไม่น�ำไปใช้จนครบ 1 ป อยำกทรำบว่ำ
นำงสำวอ้อมใจจะมีเงินทั้งหมดกี่บำท
แนวคิด ให้เงินเก็บเดือนแรก คือ a1 = 1,000
เดือนต่อ ๆ ไปเก็บมากกว่าเดือนแรก คือ d = 100
เงินเก็บต่อเนื่องโดยไม่น�าไปใช้จนครบ 1 ป หรือ 12 เดือน คือ n = 12
จาก Sn = 2n [2a1 + (n - 1)d]
จะได้ S12 = 122 [2(1,000) + (12 - 1)(100)]
= 6[2,000 + (11)(100)]
= 6(2,000 + 1,100)
= 6(3,100)
= 18,600
ดังนั้น นาวสาวอ้อมใจจะมีเงินทั้งหมด 18,600 บาท

303
20. เรือ A และเรือ B เดินทำงออกจำกจุดเดียวกัน ซึ่งจะออกเดินทำงพร้อมกันและไปใน
ทิศทำงเดียวกัน โดยเรือ A เดินทำงวันแรก 60 กิโลเมตร วันที่สอง 58 กิโลเมตร วันที่สำม
56 กิโลเมตร และเรือ B เดินทำงวันแรก 10 กิโลเมตร วันที่สอง 13 กิโลเมตร วันที่สำม
16 กิโลเมตร ให้หำว่ำเรือทั้งสองล�ำอยู่ห่ำงจำกจุดตั้งต้นเปนระยะทำงกี่กิโลเมตร เมื่อเรือ B
เดินทำงไปทันเรือ A
แนวคิด ล�าดับเลขคณิตของเรือ A คือ 60, 58, 56, … และผลต่างร่วม d = -2
ล�าดับเลขคณิตของเรือ B คือ 10, 13, 16, … และผลต่างร่วม d = 3
จาก Sn = 2n [2a1 + (n - 1)d]
จะได้ Sn ของเรือ A = Sn ของเรือ B
n n
2 [2(60) + (n - 1)(-2)] = 2 [2(10) + (n - 1)(3)]
n n
2 (120 - 2n + 2) = 2 (20 + 3n - 3)
n n
2 (122 - 2n) = 2 (17 + 3n)
122n - 2n2 = 17n + 3n2
5n2 - 105n = 0
n2 - 21n = 0
n(n - 21) = 0
n = 0, 21
ดังนั้น n = 21
เนื่องจาก เรือ B เดินทางไปทันเรือ A เมื่อ n = 21
จะได้ S21 = 212 [120 + (21 - 1)(-2)]
= 212 (120 - 40)
= 212 (80)
= 21(40)
= 840
ดังนั้น เรือทั้งสองล�าอยู่ห่างจากจุดตั้งต้นเป็นระยะทาง 840 กิโลเมตร
เมื่อเรือ B เดินทางไปทันเรือ A
304
Class Discussion (หน้า 169)
ให้นักเรียนจับคู่ แล้วตอบค�ำถำมต่อไปนี้
1. ให้หาผลบวกของพจน์ทุกพจน์ของล�าดับเรขาคณิต 1, 2, 4, 8, 16, 32
แนวคิด หาผลบวกของพจน์ทุกพจน์ คือ 1 + 2 + 4 + 8 + 16 + 32 = 63
2. ให้หาผลบวกของพจน์ทุกพจน์ของล�าดับเรขาคณิต 1, 2, 4, …, 4,096
แนวคิด ผลบวกของพจน์ทุกพจน์ที่มีจ�านวนมาก ๆ ท�าได้ ดังนี้
ให้ S = 1 + 2 + 4 + 8 + … + 4,096 ......➊
น�า 2 × ➊ ; 2S = 2 + 4 + 8 + 16 + … + 8,192 ......➋
น�า ➋ - ➊ ; S = 8,192 - 1
ดังนั้น S = 8,191

ลองทําดู (หน้า 171)


ให้หาผลบวก 12 พจน์แรกของอนุกรมเรขาคณิต 3 + 9 + 27 + … + 3(3)n - 1 + …
แนวคิด เนื่องจาก a1 = 3, r = 3 และ n = 12
a1(rn - 1)
จาก Sn = r - 1
12 - 1)
จะได้ S12 = 3(33 - 1
= 3(531,440)
2
= 797,160
ดังนั้น ผลบวกของ 12 พจน์แรกของอนุกรมเรขาคณิตนี้ คือ 797,160

305
ลองทําดู (หน้า 172)
ให้หาผลบวกของพจน์ทุกพจน์ของอนุกรมเรขาคณิต 15 + 101 + 201 + … + 1,280
1
แนวคิด เนื่องจาก a1 = 15 , r = 12
หาจ�านวนพจน์จาก an = a1rn - 1
1 = 1 1 n - 1
จะได้ 1,280 (5)(2)
1 = 1 n - 1
256 (2)
(12) = (12)
8 n - 1

8 = n - 1
n = 9
n)
หาผลบวกของ 9 พจน์ จาก Sn = a1(1 - r 1 - r
(15)[1 - (12) ]
9
S9 =
1 - 12
( 1)(1 - 1 )
= 5 1 512
2
= 25 (511
512)
511
= 1,280
511
ดังนั้น ผลบวกของพจน์ทุกพจน์ของอนุกรมเรขาคณิตนี้ คือ 1,280

306
ลองทําดู (หน้า 173)
4 ให้หา r, n และ S
อนุกรมเรขาคณิตอนุกรมหนึ่งมี a1 = 12, a2 = 4 และ an = 243 n
แนวคิด เนื่องจาก a1 = 12, a2 = 4
จะได้ r = 124 = 13
an = a1rn -1
4 1 n - 1
243 = 12(3)
1 1 n - 1
729 = (3)
(13) = (13)
6 n - 1

6 = n - 1
n = 7
a (1 - r n)
จาก 1
Sn = 1 - r
12[1 - (13)7]
จะได้ S7 =
1 - 13
12(2,186 )
= 2,187 2
3
= 4,372
243
ดังนั้น r = 13 , n = 7 และ S7 = 4,372
243

307
ลองทําดู (หน้า 174)
ก�าพลต้องการออมเงินไว้จ�านวนหนึ่ง โดยเดือนแรกออมไว้ 1,000 บาท เดือนที่สองออมไว้
1,500 บาท เดือนที่สามออมไว้ 2,250 บาท และเขาออมเงินไปเรื่อย ๆ จนครบ 8 เดือน
อยากทราบว่าเขาจะออมเงินได้ทั้งหมดกี่บาท
แนวคิด จ�านวนเงินที่ก�าพลออมเงินได้เดือนแรก 1,000
จ�านวนเงินที่ก�าพลออมเงินได้เดือนที่สอง 1,500
จ�านวนเงินที่ก�าพลออมเงินได้เดือนที่สาม 2,250
จ�านวนเงินที่ก�าพลออมเงินได้ในแต่ละเดือนเขียนแทนด้วยล�าดับเรขาคณิตดังนี้
1,000, 1,500, 2,250, …
จากล�าดับเรขาคณิตที่ได้มี a1 = 1,000, a2 = 1,500
และ r = 1,500 3
1,000 = 2 = 1.5
หาจ�านวนเงินทั้งหมดที่ก�าพลออมไว้จนครบ 8 เดือน
n - 1)
จาก Sn = a1(rr - 1
8 - 1]
จะได้ S8 = 1,000[(1.5) 1.5 - 1

1,000(25.63 - 1)
0.5
= 1,000(24.63)
0.5
= 49,260
ดังนัน้ เมือ่ เวลาผ่านไป 8 เดือน ก�าพลจะออมเงินได้ทงั้ หมดประมาณ 49,260 บาท

แบบฝกทั กษะ 3.2 ค (หน้า 174)

ระดับพื้นฐาน
1. ให้หำผลบวก 8 พจน์แรกของอนุกรมเรขำคณิต 1 + 5 + 25 + … + 5n - 1 + …
แนวคิด เนื่องจาก a1 = 1, r = 5 และ n = 8
a1(rn - 1)
จาก Sn = r - 1

308
1(58 - 1)
จะได้ S8 = 5 - 1
= 1(390,625 - 1)
4
= 390,624
4
= 97,656
ดังนั้น ผลบวกของ 8 พจน์แรกของอนุกรมเรขาคณิตนี้ คือ 97,656
2. ให้หำผลบวก 12 พจน์แรกของอนุกรมเรขำคณิต 4 + 12 + 36 + … + 4(3)n - 1 + …
แนวคิด เนื่องจาก a1 = 4, r = 3 และ n = 12
a1(rn - 1)
จาก Sn = r - 1
4(312 - 1)
จะได้ S12 = 3 - 1
= 4(531,441 - 1)
2
= 2(531,440)
= 1,062,880
ดังนั้น ผลบวกของ 12 พจน์แรกของอนุกรมเรขาคณิตนี้ คือ 1,062,880
n-1
3. ให้หำผลบวก 20 พจน์แรกของอนุกรมเรขำคณิต 3 + 1 + 13 + … + 3(13) + …
แนวคิด เนื่องจาก a1 = 3, r = 13 และ n = 20
a1(1 - rn)
จาก Sn = 1 - r
3[1 - (13)20]
จะได้ S20 =
1 - 13
3[1 - (13)20]
= 2
3
= 92 [1 - (13)20]
= 12 [9 - (13)18]
ดังนั้น ผลบวกของ 20 พจน์แรกของอนุกรมเรขาคณิตนี้ คือ 12 [9 - (13)18]
309
4. ให้หำผลบวกของพจน์ทุกพจน์ของอนุกรมเรขำคณิตที่ก�ำหนดต่อไปนี้
1) 8 + 4 + 2 + … + 641 2) 13 + 39 + 117 + … + 3,159
3) 2,401 + 343 + 49 + … + 3431 2
4) 50 + 10 + 2 + … + 625
5) 1 + (-3) + 9 + … + (-2,187)
แนวคิด 1) เนื่องจาก a1 = 8, r = 12
หาจ�านวนพจน์จาก an = a1rn - 1
1 = 8 1 n - 1
จะได้ 64 (2)
1 = 1 n - 1
512 (2)
1 = 1 n - 1
29 (2)
1
(2)
9
= 1
(2)
n - 1

9 = n - 1
n = 10
n)
หาผลบวกของ 10 พจน์ จาก Sn = a1(1 - r
1 - r
8[1 - (12)10]
จะได้ S10 =
1 - 12
1 ]
8[1 - 1,024
= 1
2
= 16(1,023
1,024)
= 1,023
64
ดังนั้น ผลบวกของพจน์ทุกพจน์ของอนุกรมเรขาคณิตนี้ คือ 1,023
64

310
2) เนื่องจาก a1 = 13, r = 3
หาจ�ำนวนพจน์จาก an = a1rn - 1

จะได้ 3,159 = 13(3)n - 1

243 = 3n - 1

35 = 3n - 1

5 = n - 1
n = 6
a1(rn - 1)
หาผลบวกของ 6 พจน์ จาก Sn = r - 1
6
จะได้
S6 = 13( 33 -- 11 )

= 13(728)
2

= 4,732
ดังนั้น ผลบวกของพจน์ทุกพจน์ของอนุกรมเรขาคณิตนี้ คือ 4,732
3) เนื่องจาก a1 = 2,401, r = 17
หาจ�ำนวนพจน์จาก an = a1rn - 1
1 = 2,401 1 n - 1
จะได้ 343 (7)
1 = 74 1 n - 1
73 (7)
(17) = (17)
7 n - 1

(17) = (17)
7 n - 1

7 = n - 1
n = 8

311
a1(1 - rn)
หาผลบวกของ 8 พจน์ จาก Sn = 1 - r

จะได้
2,401[1 - (17)8]
S8 =
1 - 17
= 960,800
343
ดังนั้น ผลบวกของพจน์ทุกพจน์ของอนุกรมเรขาคณิตนี้ คือ 960,800
343
4) เนื่องจาก a1 = 50, r = 15
หาจ�ำนวนพจน์จาก an = a1rn - 1
2 = 50 1 n - 1
จะได้ 625 (5)
2 = (1)n - 1
31,250 5
1 = (1)n - 1
15,625 5
(15) = (15)
6 n - 1

6 = n - 1
n = 7
a1(1 - rn)
หาผลบวกของ 7 พจน์ จาก Sn = 1 - r
50 [ 1 - ( 1)7]

จะได้ S7 = 5
1-5 1
50(1 - 78,125 1 )

= 5 1
5-5
50( 78,124 )

= 78,125 4
5
= 39,062
625
ดังนั้น ผลบวกของพจน์ทุกพจน์ของอนุกรมเรขาคณิตนี้ คือ 39,062
625
312
5) เนื่องจาก a1 = 1, r = -3
หาจ�านวนพจน์จาก an = a1rn - 1
จะได้ -2,187 = 1(-3)n - 1
(-3)7 = (-3)n - 1
7 = n - 1
n = 8
a1(rn - 1)
หาผลบวกของ 8 พจน์ จาก Sn = r - 1
8 - 1]
จะได้ S8 = 1[(-3)
(-3) - 1
= 6,561 - 1
-4
= -1,640
ดังนั้น ผลบวกของพจน์ทุกพจน์ของอนุกรมเรขาคณิตนี้ คือ -1,640

ระดับกลาง

5. อนุกรมเรขำคณิต 15 + 30 + 60 + … ต้องบวกกันกี่พจน์ถึงจะได้ผลบวกเปน 1,905


แนวคิด เนื่องจาก a1 = 15, r = 2
a1(rn - 1)
หาผลบวกของพจน์ทุกพจน์ของอนุกรมเรขาคณิต จาก Sn = r - 1
n - 1)
จะได้ 1,905 = 15(2 2 - 1
1,905 = 15(2n - 1)
127 = 2n - 1
2n = 128
2n = 2 7
n = 7
ดังนั้น อนุกรมเรขาคณิตนี้ต้องบวกกัน 7 พจน์ จึงจะได้ผลบวกเป็น 1,905

313
6. อนุกรมเรขำคณิต 6 + (-18) + 54 + … ต้องบวกกันกี่พจน์ถึงจะได้ผลบวกเปน -1,092
แนวคิด เนื่องจาก a1 = 6, r = -3
a1(rn - 1)
หาผลบวกของพจน์ทุกพจน์ของอนุกรมเรขาคณิต จาก Sn = r - 1
n - 1]
จะได้ -1,092 = 6[(-3)(-3) - 1
n
-1,092 = 6[(-3)-4 - 1]
(-1,092)(- 23) = (-3)n - 1
728 = (-3)n - 1
729 = (-3)n
(-3)6 = (-3)n
n = 6
ดังนั้น อนุกรมเรขาคณิตนี้ต้องบวกกัน 6 พจน์ จึงจะได้ผลบวกเป็น -1,092
7. อนุกรมเรขำคณิตอนุกรมหนึ่งมีพจน์แรกเปน 19 และพจน์ที่ 5 เท่ำกับ 9 ให้หำผลบวก 8
พจน์แรกของอนุกรมนี้
แนวคิด เนื่องจาก a1 = 19, a5 = 9
จาก an = a1rn - 1
จะได้ a5 = (19)r 4
9 = (19)r 4
81 = r4
r4 = 3 4
r = 3, -3
a1(rn - 1)
จาก Sn = r - 1

314
(19)(3 - 1) 1)[(-3) - 1]
8 8
r = 3 ; S8 = (
r = -3 ; S8 = 9 (-3) - 1
3 - 1
(19)(6,561 - 1) ( 1)(6,561 - 1)
= 2 = 9 -4
= (181 )(6,560) = - 1,640
9
= 3,280
9
ดังนั้น ผลบวก 8 พจน์แรกของอนุกรมนี้ เมื่อ r = 3 คือ 3,280
9
1,640
และ r = -3 คือ - 9
8. อนุกรมเรขำคณิตอนุกรมหนึง่ มีผลบวกสำมพจน์แรกเปน 14 และพจน์ที่ 5 มีคำ่ เปนสีเ่ ท่ำของ
พจน์ที่ 3 ให้หำผลบวก 8 พจน์แรกของอนุกรมนี้
แนวคิด ห้าพจน์แรกของล�าดับเรขาคณิต คือ ar-1, a, ar, ar2, ar3
เนื่องจาก a5 = 4a3
จะได้ ar3 = 4(ar)
ar3 = 4
ar
r2 = 4
r = 2, -2
-1
จาก ar + a + ar = 14
เมื่อ r = 2 จะได้ a
2 + a + 2a = 14
7a = 14
2
a = 4
เมื่อ r = -2 จะได้ - 2a + a - 2a = 14
a = - 283
เนื่องจาก r = 2 จะได้ a = 4 จึงได้ a1 = 2

315
a1(rn - 1)
จาก Sn = r - 1
8 - 1)
r = 2 ; S8 = 2(22 - 1
= 2(256 - 1)
= 2(255)
= 510
เนื่องจาก r = -2 จะได้ a = - 283 จึงได้ a1 = 143
( 14)[(-2)8 - 1]
r = -2 ; S8 = 3 (-2) - 1
( 14)(255)
= 3 -3
= - 1,190
3
ดังนั้น ผลบวก 8 พจน์แรกของอนุกรมนี้ เมื่อ r = 2 คือ 510
และ r = -2 คือ - 1,190
3
9. นิธิศต้องกำรออมเงินไว้จ�ำนวนหนึ่ง โดยเดือนแรกออมไว้ 2,000 บำท และเดือนต่อ ๆ ไป
จะออมเงินเพิ่มขึ้น 5% ของเดือนที่ผ่ำนมำ ถ้ำเขำออมเงินไปเรื่อย ๆ จนครบ 1 ป
อยำกทรำบว่ำเขำจะออมเงินได้ทั้งหมดกี่บำท
แนวคิด จ�านวนเงินที่นิธิศออมไว้เดือนแรก 2,000
จ�านวนเงินที่นิธิศออมไว้เดือนที่สอง 2,000 + (2,000 × 5%) = 2,100
จ�านวนเงินที่นิธิศออมไว้เดือนที่สาม 2,100 + (2,100 × 5%) = 2,205
จ�านวนเงินที่นิธิศออมไว้ในแต่ละเดือนเขียนแทนด้วยล�าดับเรขาคณิตดังนี้
2,000 , 2,100 , 2,205 , …
จากล�าดับเรขาคณิตที่ได้มี a1 = 2,000, a2 = 2,100
และ r = 2,100 21
2,000 = 20 = 1.05
หาจ�านวนเงินทั้งหมดที่นิธิศออมไว้ในเวลา 1 ป หรือ 12 เดือน

316
a (rn - 1)
จาก Sn = r - 1 1

2,000[(1.05) 12 - 1]
จะได้ S12 = 1.05 - 1

2,000(1.80 - 1)
0.05
= 2,000(0.8)
0.05
= 32,000
ดังนั้น เมื่อเวลาผ่านไป 12 ป นิธิศจะออมเงินได้ทั้งหมดประมาณ 32,000 บาท
ระดับทาทาย

10. ก�ำหนด a1, a2, a3, … เปนล�ำดับเรขำคณิตของจ�ำนวนจริงบวกที่มี r เปนอัตรำส่วนร่วม


และสอดคล้องกับสมกำร aa3 ++ aa5 = 14 และ a2 = 8 ให้หำผลบวก 10 พจน์แรกของอนุกรม
4 6
เรขำคณิต a1 + a2 + a3 + …
a + a
แนวคิด เนื่องจาก a3 + a 5 = 14
4 6
a1r2 + a1r4 1
จะได้ =
a1r3 + a1r5 4
a1r2(1 + r2) 1
= 4
a1r3 (1 + r2)
1 = 1
r 4
r = 4
จาก a2 = 8
จะได้ a1r = 8
a1(4) = 8
a1 = 2

317
a1(rn - 1)
จาก Sn = r - 1
10
S10 = 2(44 - 1 - 1)

= 2(1,048,576 - 1)
3
= 699,050
ดังนั้น ผลบวก 10 พจน์แรกของอนุกรมเรขาคณิต a1 + a2 + a3 + … คือ
699,050
ลองทําดู (หน้า 176)
ให้หาพจน์ทั่วไปของล�าดับจ�ากัดต่อไปนี้
1) 1, 4, 9, 16, 25 2) 1, 2 2 , 3 3 , 8, 5 5
แนวคิด 1) พิจารณาความสัมพันธ์ของพจน์และล�าดับที่ของแต่ละพจน์
จะได้ a1 = 1 = 12
a2 = 4 = 22
a3 = 9 = 32
a4 = 16 = 42
a5 = 25 = 52
ดังนั้น an = n2 เมื่อ n∊{ 1, 2, 3, 4, 5 }
2) พิจารณาความสัมพันธ์ของพจน์และล�าดับที่ของแต่ละพจน์
จะได้ a1 = 1 = ( 1)3
a2 = 2 2 = ( 2)3
a3 = 3 3 = ( 3)3
a4 = 8 = ( 4)3
a5 = 5 5 = ( 5)3
ดังนั้น an = ( n)3 เมื่อ n∊{ 1, 2, 3, 4, 5 }

318
Thinking Time (หน้า 176)
นักเรียนหาพจน์ทั่วไปของล�าดับ 1, 2, 3, 5, 8, 13 ได้หรือไม่ ถ้าได้ให้แสดงวิธีการหา
ค�าตอบ
แนวคิด พิจารณาความสัมพันธ์ของพจน์และล�าดับที่ของแต่ละพจน์
จะได้ a1 = 1
a2 = 2
a3 = 3 = 1 + 2 = a1 + a2
a4 = 5 = 2 + 3 = a2 + a3
a5 = 8 = 3 + 5 = a3 + a4
a6 = 13 = 5 + 8 = a4 + a5

an = an - 2 + an - 1
ดังนั้น an = an - 2 + an - 1 เมื่อ n∊{ 3, 4, 5, … }
ลองทําดู (หน้า 177)
ให้หาพจน์ทั่วไปของล�าดับต่อไปนี้
1) 3, 10, 17, 24, 31, …
2) 0, 3, 8, 15, 24, …
แนวคิด 1) พิจารณาความสัมพันธ์ของพจน์และล�าดับที่ของแต่ละพจน์
จะได้ a1 = 3
a2 = 10 = 3 + 7 = 3 + 7(1)
a3 = 17 = 3 + 7 + 7 = 3 + 7(2)
a4 = 24 = 3 + 7 + 7 + 7 = 3 + 7(3)
a5 = 31 = 3 + 7 + 7 + 7 + 7 = 3 + 7(4)

an = 3 + 7(n - 1) = 7n - 4
ดังนั้น an = 7n - 4 เมื่อ n∊{ 1, 2, 3, … }

319
2) พิจารณาความสัมพันธ์ของพจน์และล�าดับที่ของแต่ละพจน์
จะได้ a1 = 0 = 1 - 1 = (1 × 1) - 1
a2 = 3 = 4 - 1 = (2 × 2) - 1
a3 = 8 = 9 - 1 = (3 × 3) - 1
a4 = 15 = 16 - 1 = (4 × 4) - 1
a5 = 24 = 25 - 1 = (5 × 5) - 1

an = (n × n) - 1 = n2 - 1
ดังนั้น an = n2 - 1 เมื่อ n∊{ 1, 2, 3, … }

Performance Task (หน้า 178)


การหาล�าดับบรรพบุรุษของผึ้งเพศผู้ 1 ตัว สามารถหาได้จากแผนภาพ ดังนี้
โดยก�าหนด M แทนผึ้งตัวผู้ และ F แทนผึ้งตัวเมีย
M รุ่นที่ 1
F รุ่นที่ 2
M F รุ่นที่ 3
F M F รุ่นที่ 4
ให้นักเรียนสืบค้นเรื่องล�ำดับบรรพบุรุษของผึ้งเพิ่มเติมจำกอินเทอร์เน็ตว่ำ บรรพบุรุษของผึ้ง
ในแต่ละรุน่ มีควำมสัมพันธ์เปนล�ำดับแบบใด จำกนัน้ เขียนล�ำดับบรรพบุรษุ ของผึง้ รุน่ ที่ 1 ถึงรุน่ ที่ 20
แนวคิด จากการศึกษา พบว่าจ�านวนผึ้งในแต่ละรุ่น จะเป็นล�าดับซึ่งสอดคล้องกับ
ล�าดับพีโบนักชี (Fibonacci sequence) หากเขียนให้อยู่ในรูปของสัญลักษณ์
ล�าดับ Fn ของจ�านวนพีโบนักชี ดังนี้
Fn = Fn - 1 + Fn - 2

320
โดยก�ำหนดค่าเริ่มแรกให้ F0 = 0 และ F1 = 1
โดยจ�ำนวนของผึ้ง มีลำ� ดับดังนี้
จ�ำนวน
รุ่นที่
M (ผึ้งตัวผู้) F (ผึ้งตัวเมีย) รวม
1 1 0 1
2 0 1 1
3 1 1 2
4 1 2 3
5 2 3 5
6 3 5 8
7 5 8 13
8 8 13 21
9 13 21 34
10 21 34 55
11 34 55 89
12 55 89 144
13 89 144 233
14 144 233 377
15 233 377 610
16 377 610 987
17 610 987 1597
18 987 1597 2584
19 1597 2584 4181
20 2584 4181 6765

321
แบบฝกทั กษะ
3.3 (หน้า 179)

ระดับพื้นฐาน
1. ให้หำพจน์ทั่วไปของล�ำดับจ�ำกัดต่อไปนี้
1) 1, 6, 11, 16, 21 2) 1, 8, 27, 64, 125
3) 3 , 3, 3 3 , 9, 9 3 4) 0, 1, 3, 7, 15
แนวคิด 1) พิจารณาความสัมพันธ์ของพจน์และล�าดับที่ของแต่ละพจน์
จะได้ a1 = 1
a2 = 6 = 1 + 5 = 1 + 5(1)
a3 = 11 = 1 + 5 + 5 = 1 + 5(2)
a4 = 16 = 1 + 5 + 5 + 5 = 1 + 5(3)
a5 = 21 = 1 + 5 + 5 + 5 + 5 = 1 + 5(4)
ดังนั้น an = 1 + 5(n - 1) = 5n - 4 เมื่อ n∊{ 1, 2, 3, 4, 5 }
2) พิจารณาความสัมพันธ์ของพจน์และล�าดับที่ของแต่ละพจน์
จะได้ a1 = 1 = 13
a2 = 8 = 23
a3 = 27 = 33
a4 = 64 = 43
a5 = 125 = 53
ดังนั้น an = n3 เมื่อ n∊{ 1, 2, 3, 4, 5 }
3) พิจารณาความสัมพันธ์ของพจน์และล�าดับที่ของแต่ละพจน์
จะได้ a1 = 3 = ( 3)1
a2 = 3 = ( 3)2
a3 = 3 3 = ( 3)3
a4 = 9 = ( 3)4
a5 = 9 3 = ( 3)5
ดังนั้น an = ( 3)n เมื่อ n∊{ 1, 2, 3, 4, 5 }

322
4) พิจารณาความสัมพันธ์ของพจน์และล�าดับที่ของแต่ละพจน์
จะได้ a1 = 0 = 1 - 1 = 20 - 1
a2 = 1 = 2 - 1 = 21 - 1
a3 = 3 = 4 - 1 = 22 - 1
a4 = 7 = 8 - 1 = 23 - 1
a5 = 15 = 16 - 1 = 24 - 1
ดังนั้น an = 2n - 1 - 1 เมื่อ n∊{ 1, 2, 3, 4, 5 }
2. ให้หำพจน์ทั่วไปของล�ำดับต่อไปนี้
1) 7, 11, 15, 19, 23, … 2) 15, 8, 1, -6, -13, …
3) 5, 8, 13, 20, 29, … 4) 60, 50, 42, 36, 32, …
แนวคิด 1) พิจารณาความสัมพันธ์ของพจน์และล�าดับที่ของแต่ละพจน์
จะได้ a1 = 7 = 4 + 3 = 4(1) + 3
a2 = 11 = 4 + 4 + 3 = 4(2) + 3
a3 = 15 = 4 + 4 + 4 + 3 = 4(3) + 3
a4 = 19 = 4 + 4 + 4 + 4 + 3 = 4(4) + 3
a5 = 23 = 4 + 4 + 4 + 4 + 4 + 3 = 4(5) + 3

an = 4n + 3
ดังนั้น an = 4n + 3 เมื่อ n∊{ 1, 2, 3, … }
2) พิจารณาความสัมพันธ์ของพจน์และล�าดับที่ของแต่ละพจน์
จะได้ a1 = 15
a2 = 8 = 15 - 7 = 15 - 7(1)
a3 = 1 = 15 - 7 - 7 = 15 - 7(2)
a4 = -6 = 15 - 7 - 7 - 7 = 15 - 7(3)
a5 = -13 = 15 - 7 - 7 - 7 - 7 = 15 - 7(4)

an = 15 - 7(n - 1) = 22 - 7n
ดังนั้น an = 22 - 7n เมื่อ n∊{ 1, 2, 3, … }
323
3) พิจารณาความสัมพันธ์ของพจน์และล�าดับที่ของแต่ละพจน์
จะได้ a1 = 5 = (1 × 1) + 4 = 12 + 4
a2 = 8 = (2 × 2) + 4 = 22 + 4
a3 = 13 = (3 × 3) + 4 = 32 + 4
a4 = 20 = (4 × 4) + 4 = 42 + 4
a5 = 29 = (5 × 5) + 4 = 52 + 4

an = (n × n) + 4 = n2 + 4
ดังนั้น an = n2 + 4 เมื่อ n∊{ 1, 2, 3, … }
4) พิจารณาความสัมพันธ์ของพจน์และล�าดับที่ของแต่ละพจน์
จะได้ a1 = 60 = (1 × 1) - 13(1) + 72 = 12 - 13(1) + 72
a2 = 50 = (2 × 2) - 13(2) + 72 = 22 - 13(2) + 72
a3 = 42 = (3 × 3) - 13(3) + 72 = 32 - 13(3) + 72
a4 = 36 = (4 × 4) - 13(4) + 72 = 42 - 13(4) + 72
a5 = 32 = (5 × 5) - 13(5) + 72 = 52 - 13(5) + 72
an = (n × n) - 13(n) + 72 = n2 - 13n + 72
ดังนั้น an = n2 - 13n + 72 เมื่อ n∊{ 1, 2, 3, … }

ระดับกลาง
3. ให้หำพจน์ทั่วไปของล�ำดับต่อไปนี้
1) - 13 , 16 , - 19 , 121 , - 151 , … 2) 24 , 49 , 148 , 16 32
19 , 24 , …
3) 23 , - 49 , 278 , - 16 32
81 , 243 , … 4) 1, 35 , 15 , 1257 , 9 , …
625

324
แนวคิด 1) พิจารณาความสัมพันธ์ของพจน์และล�ำดับที่ของแต่ละพจน์
จะได้ a1 = - 13 = 3(-1) = (-1)1
× 1 3(1)
a2 = 16 = (-1)3 ×× (-1) (-1)2
2 = 3(2)
a3 = - 19 = (-1) ×3(-1) × (-1) = (-1)3
× 3 3(3)
a4 = 121 = (-1) × (-1)3 ×× (-1) × (-1) = (-1)4
4 3(4)
a5 = - 151 = (-1) × (-1) ×3(-1) × (-1) × (-1) = (-1)5
× 5 3(5)
n
ดังนั้น an = (-1)
3n เมื่อ n∊{ 1, 2, 3, ... }
2) พิจารณาความสัมพันธ์ของพจน์และล�ำดับที่ของแต่ละพจน์
จะได้ a1 = 24 = 5(1)2 - 1 = 21
5(1) - 1
a2 = 49 = 5 2× ×2 2- 1 = 22
5(2) - 1
a3 = 148 = 25 ×× 23 ×- 12 = 23
5(3) - 1
a4 = 16 = 2 × 2 × 2 × 2 = 24
19 5×4-1 5(4) - 1
a5 = 32 = 2 × 2 × 2 × 2 × 2 = 25
24 5×5-1 5(5) - 1
n
ดังนั้น an = 5n2- 1 เมื่อ n∊{ 1, 2, 3, ... }

325

3) พิจารณาความสัมพันธ์ของพจน์และล�ำดับที่ของแต่ละพจน์
1
จะได้ a1 = 23 = (-1)1 + 1( 23 )
= (-1)1 + 1( 23 )
2
a2 = - 49 = (-1)2 + 1( 23 ×× 23 ) = (-1)2 + 1( 23 )
3
a3 = 278 = (-1)3 + 1( 23 ×× 23 ×× 23 ) = (-1)3 + 1( 23 )
a4 = - 16 4 + 1 2 × 2 × 2 × 2 4 + 1 2 4
81 = (-1) ( 3×3×3×3 ) = (-1) (3)
32 = (-1)5 + 1 2 × 2 × 2 × 2 × 2 = (-1)5 + 1 2 5
a5 = 243 (3 × 3 × 3 × 3 × 3) (3)
n
ดังนั้น an = (-1)n + 1( 23 ) เมื่อ n∊{ 1, 2, 3, ... }
4) พิจารณาความสัมพันธ์ของพจน์และล�ำดับที่ของแต่ละพจน์
จะได้ a1 = 1 = 2(1)1 - 1- 1
5
a2 = 35 = 2(2) - 1
52 - 1
a3 = 15 = 2(3) - 1
53 - 1
a4 = 125 7 = 2(4) - 1
54 - 1
a5 = 625 9 = 2(5) - 1
55 - 1
ดังนั้น an = 2nn - 1
- 1  เมื่อ n∊{ 1, 2, 3, ... }
5

326
ระดับทาทาย

4. ให้หำพจน์ทั่วไปของล�ำดับ 7, 77, 777, 7,777, …


แนวคิด พิจารณาความสัมพันธ์ของพจน์และล�าดับที่ของแต่ละพจน์
จะได้ a1 = 7 = 7(1) = 79 (10 - 1) = 79 (101 - 1)
a2 = 77 = 7(11) = 79 (100 - 1) = 79 (102 - 1)
a3 = 777 = 7(111) = 79 (1,000 - 1) = 79 (103 - 1)
a4 = 7777 = 7(1,111) = 79 (10,000 - 1) = 79 (104 - 1)

an = 79 (10n - 1)
ดังนั้น an = 79 (10n - 1) เมื่อ n∊{ 1, 2, 3, … }

แบบฝกทักษะประจําหนวยการเรียนรูท ่ี 3 (หน้า 182)

1. ให้เขียนห้าพจน์แรกของล�าดับต่อไปนี้
1) an = 3n2 - 1 2) an = 5n3 + n - 2
n + 1
4n - 3
3) an = 3n + 1 4) an = (-1)
n + 5
แนวคิด 1) จาก an = 3n2 - 1
จะได้ a1 = 3(1)2 - 1 = 3(1) - 1 = 3 - 1 = 2
a2 = 3(2)2 - 1 = 3(4) - 1 = 12 - 1 = 11
a3 = 3(3)2 - 1 = 3(9) - 1 = 27 - 1 = 26
a4 = 3(4)2 - 1 = 3(16) - 1 = 48 - 1 = 47
a5 = 3(5)2 - 1 = 3(25) - 1 = 75 - 1 = 74
ดังนั้น ห้าพจน์แรกของล�าดับนี้ คือ 2, 11, 26, 47, 74

327
2) จาก an = 5n3 + n - 2
จะได้ a1 = 5(1)3 + 1 - 2 = 5(1) - 1 = 5 - 1 = 4
a2 = 5(2)3 + 2 - 2 = 5(8) = 40
3
a3 = 5(3) + 3 - 2 = 5(27) + 1 = 135 + 1 = 136
a4 = 5(4)3 + 4 - 2 = 5(64) + 2 = 320 + 2 = 322
a5 = 5(5)3 + 5 - 2 = 5(125) + 3 = 625 + 3 = 628
ดังนั้น ห้าพจน์แรกของล�ำดับนี้ คือ 4, 40, 136, 322, 628
3) จาก an = 3n4n - 3
+1
4(1) - 3 = 4 - 3 = 1
จะได้ a1 = 3(1) +1 3+1 4
4(2) - 3 = 8 - 3 = 5
a2 = 3(2) +1 6+1 7
4(3) - 3 = 12 - 3 = 9
a3 = 3(3) +1 9+1 10
4(4) - 3 = 16 - 3 = 13 = 1
a4 = 3(4) + 1 12 + 1 13
4(5) - 3 = 20 - 3 = 17
a5 = 3(5) + 1 15 + 1 16
ดังนั้น ห้าพจน์แรกของล�ำดับนี้ คือ 14, 57, 109 , 1, 17
16
n+1
4) จาก an = (-1)
n+5
1+1
จะได้ a1 = (-1) = (-1)2 = 1
1+5 6 6
2+1 (-1)3 =
a2 = (-1)
2+5 = 7 - 17
3+1 (-1)4 =
a3 = (-1)
3+5 = 8
1
8
4+1 (-1)5 =
a4 = (-1)
4+5 = 9 - 19
5+1
a5 = (-1) = (-1)6 = 1
5 + 5 10 10
ดังนั้น ห้าพจน์แรกของล�ำดับนี้ คือ 16, - 17, 18, - 19, 101

328
2. ให้หาพจน์ทั่วไปของล�าดับต่อไปนี้
1) -1, 2, 7, 14, … 2) 0, 7, 26, 63, …
3) 0, 1, 2 , 3 , … 4) 15 , 27 , 13 , 114 , …
แนวคิด 1) -1 2 7 14

+3 +5 +7

+2 +2
จากล�าดับที่ก�าหนดให้ จะเห็นว่า ผลต่างครั้งที่ 2 มีค่าคงตัวเท่ากับ 2
ในพจน์ทั่วไปอยู่ในรูป an = an2 + bn + c
แทน n = 1 จะได้ a1 = -1 = a + b + c ......➊
แทน n = 2 จะได้ a2 = 2 = 4a + 2b + c ......➋
แทน n = 3 จะได้ a3 = 7 = 9a + 3b + c ......➌
น�า ➋ - ➊ จะได้ 3 = 3a + b ......➍
น�า ➌ - ➋ จะได้ 5 = 5a + b ......➎
น�า ➎ - ➍ จะได้ 2 = 2a
a = 1
แทน a ใน ➍ ด้วย 1 จะได้ b = 0
แทน a และ b ใน ➊ ด้วย 1 และ 0 ตามล�าดับ จะได้ c = -2
ดังนั้น an = n2 - 2
2) 0 7 26 63

+7 +19 +31

+12 +12
จากล�าดับที่ก�าหนดให้ จะเห็นว่า ผลต่างครั้งที่ 2 มีค่าคงตัวเท่ากับ 12

329
ในพจน์ทั่วไปอยู่ในรูป an = an2 + bn + c
แทน n = 1 จะได้ a1 = 0 = a + b + c ......➊
แทน n = 2 จะได้ a2 = 7 = 4a + 2b + c ......➋
แทน n = 3 จะได้ a3 = 26 = 9a + 3b + c ......➌
น�ำ ➋ - ➊ จะได้ 7 = 3a + b ......➍
น�ำ ➌ - ➋ จะได้ 19 = 5a + b ......➎
น�ำ ➎ - ➍ จะได้ 12 = 2a
a = 6
แทน a ใน ➍ ด้วย 6 จะได้ b = -11
แทน a และ b ใน ➊ ด้วย 6 และ -11 ตามล�ำดับ จะได้ c = 5
ดังนั้น an = 6n2 - 11n + 5
3) พิจารณาความสัมพันธ์ของพจน์และล�ำดับที่ของแต่ละพจน์
จะได้ a1 = 0 = 1 - 1 


a2 = 1 = 2 - 1 

a3 =  2  = 3 - 1 
a4 =  3  = 4 - 1 

an =   n - 1 
ดังนั้น an =  n - 1 
4) พิจารณาความสัมพันธ์ของพจน์และล�ำดับที่ของแต่ละพจน์
จะได้ a1 = 15 = 2(1)1+ 3
a2 = 27 = 2(2)2+ 3
a3 = 13 = 2(3)3+ 3
a4 = 114 = 2(4)4+ 3

an = 2n n+ 3
ดังนั้น an = 2n n+ 3
330
3. ให้เขียนห้าพจน์แรกของล�าดับเลขคณิตที่ก�าหนดต่อไปนี้
1) a1 = -2, d = 2 2) a1 = 4, d = -1
3) a1 = 10, d = -5.5 4) a1 = - 34 , d = - 14
แนวคิด 1) ล�าดับเลขคณิตนี้มี a1 = -2 และผลต่างร่วม d = 2
จะได้ a2 = a1 + d = (-2) + 2 = 0
a3 = a2 + d = 0 + 2 = 2
a4 = a3 + d = 2 + 2 = 4
a5 = a4 + d = 4 + 2 = 6
ดังนั้น ห้าพจน์แรกของล�าดับเลขคณิตนี้ คือ -2, 0, 2, 4, 6
2) ล�าดับเลขคณิตนี้มี a1 = 4 และผลต่างร่วม d = -1
จะได้ a2 = a1 + d = 4 + (-1) = 3
a3 = a2 + d = 3 + (-1) = 2
a4 = a3 + d = 2 + (-1) = 1
a5 = a4 + d = 1 + (-1) = 0
ดังนั้น ห้าพจน์แรกของล�าดับเลขคณิตนี้ คือ 4, 3, 2, 1, 0
3) ล�าดับเลขคณิตนี้มี a1 = 10 และผลต่างร่วม d = -5.5
จะได้ a2 = a1 + d = 10 + (-5.5) = 4.5
a3 = a2 + d = 4.5 + (-5.5) = -1
a4 = a3 + d = (-1) + (-5.5) = -6.5
a5 = a4 + d = (-6.5) + (-5.5) = -12
ดังนั้น ห้าพจน์แรกของล�าดับเลขคณิตนี้ คือ 10, 4.5, -1, -6.5, -12
4) ล�าดับเลขคณิตนี้มี a1 = - 34 และผลต่างร่วม d = - 14
จะได้ a2 = a1 + d = (- 34 ) + (- 14 ) = - 44 = -1
a3 = a2 + d = (- 44 ) + (- 14 ) = - 54
a4 = a3 + d = (- 54 ) + (- 14 ) = - 64 = - 32
a5 = a4 + d = (- 64 ) + (- 14 ) = - 74
ดังนั้น ห้าพจน์แรกของล�าดับเลขคณิตนี้ คือ - 34 , -1, - 54 , - 32 , - 74

331
4. ให้เขียนห้าพจน์แรกของล�าดับเรขาคณิตที่ก�าหนดต่อไปนี้
1) a1 = 1, r = 3 2) a1 = 100, r = 1.2
3) a1 = 21, r = -3 4) a1 = - 17 , r = - 72
แนวคิด 1) ล�าดับเรขาคณิตนี้มี a1 = 1 และอัตราส่วนร่วม r = 3
จะได้ a2 = a1r = (1)(3) = 3
a3 = a2r = (3)(3) = 9
a4 = a3r = (9)(3) = 27
a5 = a4r = (27)(3) = 81
ดังนั้น ห้าพจน์แรกของล�าดับเรขาคณิตนี้ คือ 1, 3, 9, 27, 81
2) ล�าดับเรขาคณิตนี้มี a1 = 100 และอัตราส่วนร่วม r = 1.2
จะได้ a2 = a1r = (100)(1.2) = 120
a3 = a2r = (120)(1.2) = 144
a4 = a3r = (144)(1.2) = 172.80
a5 = a4r = (172.8)(1.2) = 207.36
ดังนั้น ห้าพจน์แรกของล�าดับเรขาคณิตนี้ คือ 100, 120, 144, 172.80,
207.36
3) ล�าดับเรขาคณิตนี้มี a1 = 21 และอัตราส่วนร่วม r = -3
จะได้ a2 = a1r = (21)(-3) = -63
a3 = a2r = (-63)(-3) = 189
a4 = a3r = (189)(-3) = -567
a5 = a4r = (-567)(-3) = 1,701
ดังนั้น ห้าพจน์แรกของล�าดับเรขาคณิตนี้ คือ 21, -63, 189, -567, 1,701
4) ล�าดับเรขาคณิตนี้มี a1 = - 17 และอัตราส่วนร่วม r = - 72
จะได้ a2 = a1r = (- 17 )(- 72 ) = 147 = 12
a3 = a2r = ( 12 )(- 72 ) = - 74
a4 = a3r = (- 74 )(- 72 ) = 498
a5 = a4r = (498)(- 72 ) = - 34316
ดังนั้น ห้าพจน์แรกของล�าดับเรขาคณิตนี้ คือ - 17 , 12 , - 74 , 498, - 343
16
332
5. ให้หาพจน์ที่ 12 ของล�าดับเลขคณิตที่มี a5 = 5a1 และ a1 = 8
แนวคิด เนื่องจาก a1 = 8 และ a5 = 5a1
จะได้ a5 = 5a1 = 5(8) = 40
จาก an = a1 + (n - 1)d
จะได้ a5 = a1 + (5 - 1)d
40 = 8 + 4d
4d = 32
d = 8
แทน a1 และ d ด้วย 8
จะได้ a12 = 8 + (12 - 1)(8)
= 8 + (11)(8)
= 8 + 88
= 96
ดังนั้น พจน์ที่ 12 ของล�าดับเลขคณิตนี้ คือ 96
6. ถ้า 10, a, b, c, 30 เป็นจ�านวนจริง ซึ่งเรียงกันเป็นล�าดับเลขคณิต ให้หา a + b - c
แนวคิด เนื่องจาก a1 = 10, a5 = 30
จะได้ a5 = a1 + (5 - 1)d
30 = 10 + 4d
4d = 20
d = 5
แทน d ด้วย 5 จะได้ a2 = a = a1 + d = 10 + 5 = 15
a3 = b = a2 + d = 15 + 5 = 20
a4 = c = a3 + d = 20 + 5 = 25
ดังนั้น a + b - c เท่ากับ 15 + 20 - 25 = 10

333
7. จ�านวนเต็มที่อยู่ระหว่าง 30 ถึง 300 ที่หารด้วย 9 ลงตัวมีทั้งหมดกี่จ�านวน
แนวคิด จ�านวนแรกที่หารด้วย 9 ลงตัว คือ 36
จ�านวนสุดท้ายที่หารด้วย 9 ลงตัว คือ 297
จะได้ล�าดับเลขคณิต คือ 36, 45, 54, …, 297
จาก an = a1 + (n - 1)d เมื่อ a1 = 36, d = 9 และ an = 297
จะได้ 297 = 36 + (n - 1)(9)
297 = 36 + 9n - 9
9n = 270
n = 30
ดังนั้น จ�านวนเต็มที่อยู่ระหว่าง 30 ถึง 300 ที่หารด้วย 9 ลงตัว
มีทั้งหมด 30 จ�านวน
8. จ�านวนเต็มตั้งแต่ 10 ถึง 500 ที่หารด้วย 3 และ 4 ลงตัว แต่หารด้วย 7 ไม่ลงตัว
มีทั้งหมดกี่จ�านวน
แนวคิด จ�านวนแรกที่หารด้วย 3 และ 4 ลงตัว คือ 12
จ�านวนสุดท้าย คือ 492
จะได้ล�าดับเลขคณิต คือ 12, 24, 36, …, 492
จาก an = a1 + (n - 1)d เมื่อ a1 = 12, d = 12 และ an = 492
จะได้ 492 = 12 + (n - 1)(12)
492 = 12 + 12n - 12
12n = 492
n = 41
จ�านวนแรกที่หารด้วย 3, 4 และ 7 ลงตัว คือ 84
จ�านวนสุดท้ายที่หารด้วย 3, 4 และ 7 ลงตัว คือ 420
จะได้ล�าดับเลขคณิต คือ 84, 168, 252, …, 420
จะได้ 420 = 84 + (n - 1)(84)
420 = 84 + 84n - 84
84n = 420
n = 5
ดังนั้น จ�านวนเต็มตั้งแต่ 10 ถึง 500 ที่หารด้วย 3 และ 4 ลงตัว แต่หารด้วย 7
ไม่ลงตัวมีทั้งหมด 41 - 5 = 36 จ�านวน

334
9. ให้หาพจน์ที่ 20 ของล�าดับเรขาคณิตที่มี a6 = 128 และ a4 = 32
แนวคิด เนื่องจาก a6 = 128 และ a4 = 32
จาก an = a1rn-1
จะได้ a6 = a1r5
128 = a1r5 ......➊
3
และ a4 = a1r
32 = a1r3 ......➋
5
➊ ; 128 = a1r
➋ 32 a1r3
r2 = 4
r = 2, -2
เนื่องจากล�าดับเรขาคณิตแต่ละพจน์เป็นจ�านวนเต็มบวก r จึงมีค่าเท่ากับ 2
แทน r ใน ➋ ด้วย 2 จะได้ 32 = a1(2)3
32 = 8a1
a1 = 4
แทน a1 และ r ด้วย 4 และ 2 ตามล�าดับ
จะได้ a20 = a1r20-1
= (4)(2)19
= (4)(524,288)
= 2,097,152
ดังนั้น พจน์ที่ 20 ของล�าดับเรขาคณิตนี้ คือ 2,097,152
10. ผ ลบวกของสามพจน์แรกของล�าดับเรขาคณิตล�าดับหนึ่งเป็น 35 และผลคูณของสามพจน์นี้
เป็น 1,000 ให้หาสามพจน์แรกของล�าดับเรขาคณิตนี้
แนวคิด สามพจน์แรกของล�าดับเรขาคณิตนี้ คือ ar-1, a, ar
จะได้ (ar-1)(a)(ar) = 1,000
a3 = 103
a = 10

335
แทน a1 ด้วย 10 จะได้ ar-1 + a + ar = 35
10 + 10 + 10r = 35
r
10r + 10r = 25
10r2 + 10 = 25
r r
10 (r2 + 1) = 25
r
r2 + 1 = 25 (10r )
r2 + 1 = 5r2
2r2 - 5r + 2 = 0
(2r - 1)(r - 2) = 0
r = 12 , 2
แทน r ด้วย 12 จะได้สามพจน์แรกของล�าดับเรขาคณิตนี้ คืิอ 20, 10, 5
แทน r ด้วย 2 จะได้สามพจน์แรกของล�าดับเรขาคณิตนี้ คือ 5, 10, 20
ดังนั้น สามพจน์แรกของล�าดับเรขาคณิตนี้ คือ 20, 10, 5 หรือ 5, 10, 20
11. ถ้า 10, x, y, 80 เป็นจ�านวนจริง 4 จ�านวน ซึ่งเรียงกันเป็นล�าดับเรขาคณิต แล้ว x + y
มีค่าเท่าใด
แนวคิด เนื่องจากล�าดับเรขาคณิตนี้มี คือ a1 = 10, a4 = 80
จาก an = a1rn-1
จะได้ a4 = (10)r4-1
80 = 10r3
r3 = 8
r3 = 2 3
r = 2
แทน r ด้วย 2 จะได้ a2 = x = a1r = 10(2) = 20
แทน a2 และ r ด้วย 20 และ 2 ตามล�าดับ จะได้ a3 = y = a2r = 20(2) = 40
ดังนั้น x + y เท่ากับ 20 + 40 = 60

336
12. ใ ห้หาผลบวกของอนุกรมต่อไปนี้
20 25
1) Σi=1 (5i2 - 10i + 1) 2) Σi=1 (i3 + 10)
30 30
3) Σ  (2k + 6)2
k=10 Σ  (2k3 - 3k + 1)
4) k=15
20 20 20 20
แนวคิด 1) Σi=1 (5i2 - 10i + 1) = Σi=1 5i2 - Σi=1 10i + Σi=1 1
20 20 20
= 5 Σi=1 i2 - 10 Σi=1 i + Σi=1 1
= 5[20(20 + 1)[2(20) + 1]
6 ] - 10[ 20(20 + 1)
2 ] + 20
= 5(2,870) - 10(210) + 20
= 14,350 - 2,100 + 20
= 12,270
25 25 25
2) Σi=1 (i3 + 10) = Σi=1 i3 + Σi=1 10
2
= [25(25 + 1)
2 ] + 10(25)
= (325)2 + 250
= 105,625 + 250
= 105,875
30 30 9
Σ  (2k + 6)2
3) k=10 Σ (2k + 6)2 - k=1
= k=1 Σ (2k + 6)2
30 9
= Σ (4k2 + 24k + 36) - k=1
k=1 Σ (4k2 + 24k + 36)
30 30 30
Σ k2 + 24 k=1
= [4 k=1 Σ k + k=1
Σ 36] -
9 9 9
Σ k2 + 24 k=1
[4 k=1 Σ k + k=1
Σ 36]

= [4  (30(30 + 1)(2(30) + 1)
6 ) + 24 (30(30 + 1)
2 )
+ 30(36)] - [4 (9(9 + 1)(2(9) + 1)
6 )
+ 24 (9(9 + 1)
2 ) + 9(36)]
= [4(9,455) + 24(465) + 1,080] - [4(285) + 24(45)
+ 324]
337
= (37,820 + 11,160 + 1,080) - (1,140 + 1,080
+ 324)
= 50,060 - 2,544
= 47,516
30 30 14
Σ  (2k3 - 3k + 1) = k=1
4) k=15 Σ (2k3 - 3k + 1) - k=1
Σ (2k3 - 3k + 1)
30 30 30
Σ k3 - 3 k=1
= [2 k=1 Σ k + k=1
Σ 1]
14 14 14
Σ k3 - 3 k=1
- [2 k=1 Σ k + k=1 Σ 1]

= [2 (30(30 + 1) - 3 (30(30 + 1)
2
2 ) 2 ) + 30]
2
- [2 (14(14 + 1)
2 ) - 3 (14(14 + 1)
2 ) + 14]
= (432,450 - 1,395 + 30) - (22,050 - 315 + 14)
= 431,085 - 21,749
= 409,336
13. อนุกรมเลขคณิตอนุกรมหนึ่ง ถ้า S12 มีค่ามากกว่า S11 อยู่ 40 และพจน์แรกเท่ากับ 7
ให้หาผลบวก 30 พจน์แรกของอนุกรมนี้
แนวคิด เนื่องจาก S12 - S11 = 40 และ a1 = 7
จะได้ a12 = 40
a12 = a1 + 11d
40 = 7 + 11d
33 = 11d
d = 3
จาก Sn = 2n [2a1 + (n - 1)d]
จะได้ S30 = 302 [2(7) + (30 - 1)(3)]
= 15 [14 + (29)(3)]
= 15 (14 + 87)

338
= 15(101)
= 1,515
ดังนั้น ผลบวก 30 พจน์แรกของอนุกรมเลขคณิตนี้ คือ 1,515
14. อนุกรมเลขคณิตมีอนุกรมหนึ่งผลบวก 5 พจน์แรกเป็น 150 และพจน์ที่ 7 ของอนุกรมนี้
คือ 70 ให้หาผลบวก 12 พจน์แรกของอนุกรมนี้
แนวคิด เนื่องจาก S5 = 150 และ a7 = 70
จาก an = a1 + (n - 1)d
จะได้ a7 = a1 + (7 - 1)d
70 = a1 + 6d
a1 = 70 - 6d ......➊
แทน a1 ด้วย 70 - 6d ใน Sn = 2n [2a1 + (n - 1)d]
จะได้ S5 = 52 [2(70 - 6d) + (5 - 1)d]
150 = 52 [(140 - 12d) + 4d]
150 = 52 (140 - 8d)
150 = 5(70) - 5(4d)
150 = 350 - 20d
20d = 350 - 150
20d = 200
d = 10
แทน d ด้วย 10 ใน ➊ จะได้ a1 = 70 - 6(10) = 70 - 60 = 10
และ S12 = 122 [2(10) + (11)(10)] = 6(20 + 110) = 6(130) = 780
ดังนั้น ผลบวก 12 พจน์แรกของอนุกรมเลขคณิตนี้ คือ 780

339
15. ถ้า x - 4, 2x, 4x - 1 เป็นสามพจน์แรกของล�าดับเลขคณิตล�าดับหนึ่ง ให้หาผลบวก 25
พจน์แรกของล�าดับนี้
แนวคิด เนื่องจากล�าดับเลขคณิตมีผลต่างร่วมคงตัว
จะได้ 2x - (x - 4) = 4x - 1 - 2x
2x - x + 4 = 2x - 1
x + 4 = 2x - 1
-x = -5
x = 5
แทน x ด้วย 5 ในแต่ละพจน์
จะได้ a1 = x - 4 = 5 - 4 = 1
a2 = 2x = 2(5) = 10
a3 = 4x - 1 = 4(5) - 1 = 20 - 1 = 19
ล�าดับเลขคณิตนี้มี a1 = 1 และผลต่างร่วม d = 10 - 1 = 9
จาก Sn = 2n [2a1 + (n - 1)d]
จะได้ S25 = 252 [2(1) + (25 - 1)(9)]
= 252 [2 + (24)(9)]
= 252 (2 + 216)
= 252 (218)
= 25(109)
= 2,725
ดังนั้น ผลบวก 25 พจน์แรกของล�าดับเลขคณิตนี้ คือ 2,725

340
16. ให้หาผลบวก 15 พจน์แรกของอนุกรมเรขาคณิต 10 + 20 + 40 + … + 10(2)n - 1 + …
แนวคิด อนุกรมเรขาคณิตนี้มี a1 = 10 และอัตราส่วนร่วม r = 2
n
จาก Sn = a1(rr - 1 - 1)
15 - 1)
จะได้ S15 = 10(22 - 1
= 10(32,768 - 1)
= 10(32,767)
= 327,670
ดังนั้น ผลบวก 15 พจน์แรกของอนุกรมเรขาคณิตนี้ คือ 327,670
n - 1
17. ให้หาผลบวก 20 พจน์แรกของอนุกรมเรขาคณิต 625 + 125 + 25 + … + 625(15) + …
แนวคิด อนุกรมเรขาคณิตนี้มี a1 = 625 และอัตราส่วนร่วม r = 15
n)
จาก Sn = 1 - ra1 (1 - r
1 20
[1 - () ]
จะได้ S20 = 625 15
1 - 5
5[ 1 - ( 1 )20]
= 5 45
15
= 14 [55 - ( 15 ) ]
ดังนั้น ผลบวก 20 พจน์แรกของอนุกรมเรขาคณิตนี้
15
คือ 14 [55 - ( 15 ) ]

341
18. อนุกรมเรขาคณิต 9 + 18 + 36 + … ต้องบวกกันกี่พจน์ถึงจะได้ผลบวกเป็น 1,143
แนวคิด เนื่องจาก a1 = 9, r = 2
n
หาผลบวกของพจน์ทุกพจน์ของอนุกรมเรขาคณิต จาก Sn = r - 1 a1(r - 1)
n - 1)
จะได้ 1,143 = 9(22 - 1
1,143 = 9(2n - 1)
127 = 2n - 1
2n = 128
2n = 27
n = 7
ดังนั้น อนุกรมเรขาคณิตนี้ต้องบวกกัน 7 พจน์ จึงจะได้ผลบวกเป็น 1,143
19. อนุกรมเรขาคณิต 3 + (-9) + 27 + … ต้องบวกกันกี่พจน์ถึงจะได้ผลบวกเป็น 1,641
แนวคิด เนื่องจาก a1 = 3, r = -3 n - 1)
หาผลบวกของพจน์ทุกพจน์ของอนุกรมเรขาคณิต จาก Sn = r - 1 a1(r
n - 1]
3[(-3)
จะได้ 1,641 = -3 - 1
n - 1]
1,641 = 3[(-3)
-4
n - 1
-2,188 = (-3)
-2,187 = (-3)7
(-3)n = (-3)7
n = 7
ดังนั้น อนุกรมเรขาคณิตนี้ต้องบวกกัน 7 พจน์ จึงจะได้ผลบวกเป็น 1,641

342
20. อ นุกรมเรขาคณิตอนุกรมหนึ่งมีพจน์แรกเป็น 15 และพจน์ที่ 4 มีค่าเป็น 10 เท่าของพจน์
ที่ 3 ให้หาผลบวกของ 5 พจน์แรกของอนุกรมนี้
แนวคิด เนื่องจาก a1 = 15 และ a4 = 10a3
จาก an = a1rn-1
จะได้ a2 = ( 15 ) r
a3 = ( 15 ) r2
และ a4 = ( 15 ) r3
แทน a3 และ a4 ด้วย ( 15 ) r2 และ ( 15 ) r3 ตามล�าดับ ใน a4 = 10a3
จะได้ ( 15 ) r3 = 10( 15 ) r2
r3 = 2r2
5
r3 = 5(2)
r2
r = 10
n - 1)
จาก Sn = a1(rr - 1
( 15 )(10 - 1)
5
จะได้ S5 = 10 - 1
( 15 )(100,000 - 1)
= 9
( 15 )(99,999)
= 9
= ( 15 )(11,111)
= 11,111 5
ดังนั้น ผลบวก 5 พจน์แรกของอนุกรมนี้ คือ 11,111
5

343
21. จ�านวนจริง 6 จ�านวนเรียงกันเป็นล�าดับเรขาคณิต มีจ�านวนที่น้อยที่สุด คือ 7 และจ�านวน
ที่มากที่สุด คือ 224 ให้หาผลบวกของจ�านวนทั้ง 6 จ�านวน
แนวคิด จาก an = a1rn-1
จะได้ a6 = a1r6-1
224 = 7r5
r5 = 32
r5 = 25
r = 2
n - 1)
จาก Sn = r - 1 a 1(r
6 - 1)
จะได้ S6 = 7(22 - 1
= 7(64 - 1)
= 7(63)
= 441
ดังนั้น ผลบวกของจ�านวนทั้ง 6 จ�านวนนี้ คือ 441

344
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 ดอกเบี้ยและมูลค่าของเงิน

ลองทําดู (หน้ำ 187)


ณเดชน์ฝำกเงินที่ธนำคำรแห่งหนึ่งเป็นจ�ำนวนเงิน 20,000 บำท ธนำคำรให้ดอกเบี้ย 1.25%
ต่อปี โดยคิดดอกเบีย้ แบบคงต้น ให้หำว่ำเมือ่ สิน้ ปีท ี่ 5 ณเดชน์จะมีเงินฝำกในธนำคำรเป็นเงิน
ทั้งหมดเท่ำใด
แนวคิด จำกโจทย์ จะได้ P = 20,000, r = 0.0125 และ t = 5
และจำกสูตรดอกเบี้ยคงต้น A = P(1 + rt)
จะได้ เมื่อสิ้นปีที่ 5 ณเดชน์จะมีเงินฝำก คือ 20,000[1 + (0.0125)(5)]
= 20,000(1.0625)
= 21,250 บำท
ดังนั้น เมื่อสิ้นปีที่ 5 ณเดชน์จะมีเงินฝำกในธนำคำรเป็นเงินทั้งหมด 21,250 บำท

ลองทําดู (หน้ำ 188)


ปริญฝำกเงินกับธนำคำรเป็นเงินจ�ำนวนหนึง่ ธนำคำรให้ดอกเบีย้ 0.75% ต่อปี โดยคิดดอกเบีย้
แบบคงต้น เมื่อสิ้นปีที่ 6 ปริญได้รับเงินพร้อมดอกเบี้ยทั้งหมดเป็นเงินจ�ำนวน 15,675 บำท
อยำกทรำบว่ำปริญฝำกเงินไว้กับธนำคำรเป็นเงินจ�ำนวนเท่ำใด
แนวคิด จำกโจทย์ จะได้ A = 15,675, r = 0.0075 และ t = 6
และจำกสูตรดอกเบี้ยคงต้น A = P(1 + rt)
จะได้ 15,675 = P[1 + (0.0075)(6)]
15,675 = 1.045P
P = 15,000
ดังนั้น ปริญฝำกเงินไว้กับธนำคำรเป็นเงินจ�ำนวน 15,000 บำท

345
น ิภำกู้เงินจำกกับธนำคำรเป็นเงินจ�ำนวน 250,000 บำท เพื่อไปลงทุนท�ำธุรกิจ ธนำคำรคิด
ดอกเบี้ย 8.5% ต่อปี โดยคิดดอกเบี้ยแบบคงต้น ธนำคำรแจ้งว่ำเมื่อครบก�ำหนดที่นิภำ
ได้ตกลงไว้กับธนำคำร นิภำจะต้องช�ำระเงินทั้งหมด 377,500 บำท อยำกทรำบว่ำนิภำกู้เงิน
จำกธนำคำรเป็นเวลำเท่ำใด
แนวคิด จำกโจทย์ จะได้ A = 377,500, P = 250,000 และ r = 0.085
และจำกสูตรดอกเบี้ยคงต้น A = P(1 + rt)
จะได้ 377,500 = 250,000[1 + (0.085)t]
0.085t = 0.51
t = 6
ดังนั้น นิภำกู้เงินจำกธนำคำรเป็นเวลำ 6 ปี
ลองทําดู (หน้ำ 189)
สุนีย์ฝำกเงินกับธนำคำรเป็นเงินจ�ำนวน 50,000 บำท ธนำคำรให้ดอกเบี้ย 0.15% ต่อเดือน
โดยคิดดอกเบี้ยแบบคงต้น ให้หำว่ำเมื่อสิ้นปีที่ 3 สุนีย์จะมีเงินฝำกในธนำคำรเป็นเงินจ�ำนวน
ทั้งหมดเท่ำใด
แนวคิด จำกโจทย์ จะได้ P = 50,000 และ t = 3
เนื่องจำกธนำคำรให้ดอกเบี้ย 0.15% ต่อเดือน
ดังนั้น r = 0.0015 × 12 = 0.018
และจำกสูตรดอกเบี้ยคงต้น A = P(1 + rt)
จะได้ A = 50,000[1 + (0.018)(3)]
A = 52,700
ดังนั้น เมื่อสิ้นปีที่ 3 สุนีย์จะมีเงินฝำกในธนำคำรเป็นเงินทั้งหมด 52,700 บำท
ลองทําดู (หน้ำ 193)
วิทยำกู้เงินจำกธนำคำรจ�ำนวน 200,000 บำท เพื่อน�ำไปดำวน์ห้องชุดห้องหนึ่ง เมื่อวันที่ 7
กรกฎำคม พ.ศ. 2560 โดยมีก�ำหนดช�ำระคืนในวันที่ 20 มีนำคม พ.ศ. 2561 และธนำคำร
คิดดอกเบีย้ แบบคงต้นในอัตรำ 12% ต่อปี ให้หำจ�ำนวนดอกเบีย้ ทีว่ ทิ ยำต้องจ่ำยให้กบั ธนำคำร
โดยวิธี
1) คิดดอกเบี้ยแบบธรรมดำและนับจ�ำนวนวันแบบแท้จริง
2) คิดดอกเบี้ยแบบธรรมดำและนับจ�ำนวนวันแบบกะประมำณ
346
3) คิดดอกเบี้ยแบบแท้จริงและนับจ�ำนวนวันแบบแท้จริง
4) คิดดอกเบี้ยแบบแท้จริงและนับจ�ำนวนวันแบบกะประมาณ
แนวคิด จากโจทย์ จะนับจ�ำนวนวันแบบแท้จริงได้ ดังนี้
พ.ศ. 2560 กรกฎาคม 24 วัน (วันที่ 7 ถึงวันที่ 31)
สิงหาคม 31 วัน
กันยายน 30 วัน
ตุลาคม 31 วัน
พฤศจิกายน 30 วัน
ธันวาคม 31 วัน
พ.ศ. 2561 มกราคม 31 วัน
กุมภาพันธ์ 28 วัน
มีนาคม 20 วัน
รวมทั้งหมด 256 วัน
และจากโจทย์ จะนับจ�ำนวนวันแบบกะประมาณได้ ดังนี้
พ.ศ. 2560 กรกฎาคม 24 วัน (วันที่ 7 ถึงวันที่ 31)
สิงหาคม 30 วัน
กันยายน 30 วัน
ตุลาคม 30 วัน
พฤศจิกายน 30 วัน
ธันวาคม 30 วัน
พ.ศ. 2561 มกราคม 30 วัน
กุมภาพันธ์ 30 วัน
มีนาคม 20 วัน
รวมทั้งหมด 254 วัน
1) คิดดอกเบี้ยแบบธรรมดาและนับจ�ำนวนวันแบบแท้จริง
จากโจทย์ จะได้ P = 200,000, r = 0.12 และ t = 256 360
และจากสูตร I = P × r × t
จะได้ I = 200,000 × 0.12 × 256
360
I ≈ 17,066.67
ดังนั้น วิทยาต้องจ่ายดอกเบี้ยให้กับธนาคารประมาณ 17,066.67 บาท
347
2) คิดดอกเบี้ยแบบธรรมดาและนับจ�ำนวนวันแบบกะประมาณ
จากโจทย์ จะได้ P = 200,000, r = 0.12 และ t = 254360
และจากสูตร I = P × r × t
จะได้ I = 200,000 × 0.12 × 254
360
I ≈ 16,933.33
ดังนั้น วิทยาต้องจ่ายดอกเบี้ยให้กับธนาคารประมาณ 16,933.33 บาท
3) คิดดอกเบี้ยแบบแท้จริงและนับจ�ำนวนวันแบบแท้จริง
จากโจทย์ จะได้ P = 200,000, r = 0.12 และ t = 256365
และจากสูตร I = P × r × t
จะได้ I = 200,000 × 0.12 × 256
365
I ≈ 16,832.88
ดังนั้น วิทยาต้องจ่ายดอกเบี้ยให้กับธนาคารประมาณ 16,832.88 บาท
4) คิดดอกเบี้ยแบบแท้จริงและนับจ�ำนวนวันแบบกะประมาณ
จากโจทย์ จะได้ P = 200,000, r = 0.12 และ t = 254365
และจากสูตร I = P × r × t
จะได้ I = 200,000 × 0.12 × 254
365
I ≈ 16,701.37
ดังนั้น วิทยาต้องจ่ายดอกเบี้ยให้กับธนาคารประมาณ 16,701.37 บาท

Investigation (หน้า 194)


ให้นักเรียนตอบค�ำถามต่อไปนี้
ปิงปองต้องการฝากเงินจ�ำนวน 10,000 บาท เป็นระยะเวลา 3 ปี โดยมีข้อเสนอจากธนาคาร
สองแห่ง ดังนี้
ธนาคารอักษรไทยให้ดอกเบี้ย 2% ต่อปี โดยคิดดอกเบี้ยแบบคงต้น
ธนาคารสยามไทยให้อัตราดอกเบี้ย 2% ต่อปี โดยคิดดอกเบี้ยทบต้นต่อปี
1. ให้หาดอกเบี้ยและเงินรวมทั้งหมดที่ได้รับจากธนาคารอักษรไทย เมื่อฝากครบ 3 ปี

348
แนวคิด จากโจทย์ จะได้ P = 10,000, r = 0.02 และ t = 3
และจากสูตรดอกเบี้ยคงต้น A = P(1 + rt)
จะได้ เมื่อสิ้นปีที่ 3 ปิงปองจะมีเงินฝาก คือ 10,000[1 + (0.02)(3)]
= 10,000(1.06)
= 10,600 บาท
และจะได้ดอกเบี้ยทั้งหมดเท่ากับ 10,600 - 10,000 = 600 บาท
ดังนั้น ปิงปองได้รับดอกเบี้ยทั้งหมด 600 บาท และได้รับเงินทั้งหมด
10,600 บาท
2. ให้หาดอกเบี้ยและเงินรวมทั้งหมดที่ได้รับจากธนาคารสยามไทย เมื่อฝากครบ 3 ปี ดังนี้
สิ้นปีที่ 1 : เงินต้น P1 = 10,000
200
ดอกเบี้ย I1 = 10,000 × 2% = .........................................................................
จ�ำนวนเงินรวมทั้งหมดเมื่อสิ้นปีที่ 1, A1 = P1 + I1
200
= 10,000 + ................................................
= 10,200
สิ้นปีที่ 2 : เงินต้น P2 = A1 = 10,200
10,200 × 2% = .........................................................................
ดอกเบี้ย I2 = ............................. 204
จ�ำนวนเงินรวมทั้งหมดเมื่อสิ้นปีที่ 2, A2 = P2 + I2
204
= 10,200 + ................................................
10,404
= .........................................................................
10,404
สิ้นปีที่ 3 : เงินต้น P3 = A2 = .............................
10,404 × 2% = .........................................................................
ดอกเบี้ย I3 = ............................. 208.08
จ�ำนวนเงินรวมทั้งหมดเมื่อสิ้นปีที่ 3, A3 = P3 + I3
= 10,404 + 208.08 = 10,612.08
.........................................................................

349
3. ธนำคำรไหนให้ดอกเบี้ยมำกกว่ำกัน และมำกกว่ำอยู่เท่ำใด
แนวคิด ปิงปองได้รับดอกเบี้ยจำกธนำคำรอักษรไทยเป็นเงิน 600 บำท
และได้รับดอกเบี้ยจำกธนำคำรสยำมไทยเป็นเงิน 612.08 บำท
ดังนั้น ปิงปองได้รับดอกเบี้ยจำกธนำคำรสยำมไทยมำกกว่ำและมำกกว่ำอยู่
612.08 - 600 = 12.08 บำท
ลองทําดู (หน้ำ 196)
น�ำโชคฝำกเงินที่ธนำคำรแห่งหนึ่งเป็นจ�ำนวน 100,000 บำท เป็นเวลำ 5 ปี ธนำคำรให้
ดอกเบี้ย 1.65% ต่อปี
1) ให้หำเงินรวมทั้งหมด โดยธนำคำรคิดดอกเบี้ยทบต้นต่อปี
2) ให้หำเงินรวมทั้งหมด โดยธนำคำรคิดดอกเบี้ยทบต้นทุกเดือน
แนวคิด 1) จำกโจทย์ จะได้ P = 100,000, i = 0.0165 และ n = 5
และจำกสูตรดอกเบี้ยทบต้น A = P(1 + i)n
จะได้ A = 100,000(1 + 0.0165)5
A = 100,000(1.0165)5
A ≈ 108,526.78 บำท
ดังนั้น เมื่อสิ้นปีที่ 5 น�ำโชคจะมีเงินรวมทั้งหมดประมำณ 108,526.78 บำท
2) เนื่องจำกธนำคำรคิดดอกเบี้ยทบต้นทุกเดือน
จะได้ว่ำ ในเวลำ 1 ปี จะมีกำรคิดดอกเบี้ยทบต้นทั้งหมด 12 ครั้ง
ดังนั้น ในเวลำ 5 ปี จะมีกำรคิดดอกเบี้ยทบต้นทั้งหมด 60 ครั้ง
จะได้ n = 60 และ i = 0.0165 12 = 0.001375
นั่นคือ A = 100,000(1 + 0.001375)60
A = 100,000 (1.001375)60
A ≈ 108,593.71 บำท
ดังนั้น เมื่อสิ้นปีที่ 5 น�ำโชคจะมีเงินรวมทั้งหมดประมำณ 108,593.71 บำท

350
ลองทําดู (หน้ำ 197)
มำนะฝำกเงินกับธนำคำรเป็นเงินจ�ำนวนหนึ่ง ธนำคำรให้ดอกเบี้ย 0.5% ต่อปี โดยคิด
ดอกเบี้ยแบบทบต้นต่อปี เมื่อสิ้นปีที่ 3 มำนะได้รับเงินพร้อมดอกเบี้ยทั้งหมดเป็นเงินจ�ำนวน
57,881.25 บำท อยำกทรำบว่ำมำนะฝำกเงินไว้กับธนำคำรเป็นเงินจ�ำนวนเท่ำใด
แนวคิด จำกโจทย์ จะได้ A = 57,881.25, i = 0.005 และ n = 3
และจำกสูตรดอกเบี้ยทบต้น A = P(1 + i)n
จะได้ 57,881.25 = P(1 + 0.005)3
57,881.25 = (1.005)3P
P = 57,881.253
(1.005)
P ≈ 57,021.64
ดังนั้น มำนะฝำกเงินไว้กับธนำคำรเป็นเงินจ�ำนวนประมำณ 57,021.64 บำท

ลองทําดู (หน้ำ 198)


ณิชำกู้เงินจำกธนำคำรเป็นเงินจ�ำนวน 5,000,000 บำท โดยธนำคำรคิดดอกเบี้ยแบบทบต้น
เมื่อครบก�ำหนด 7 ปีที่ณิชำได้ตกลงช�ำระหนี้ไว้กับธนำคำร ณิชำจะต้องช�ำระเงินทั้งหมด
9,140,196 บำท อยำกทรำบว่ำธนำคำรคิดอัตรำดอกเบี้ยร้อยละเท่ำใดต่อปี
แนวคิด จำกโจทย์ จะได้ A = 9,140,196, P = 5,000,000 และ n = 7
และจำกสูตรดอกเบี้ยทบต้น A = P(1 + i)n
จะได้ 9,140,196 = 5,000,000(1 + i)7
1.8280 ≈ (1 + i)7
1.09 ≈ 1 + i
i = 0.09
ดังนั้น ธนำคำรคิดอัตรำดอกเบี้ยร้อยละ 9 ต่อปี

351
แบบฝกทักษะ 4.1 (หน้ำ 198)
ระดับพื้นฐาน
1. นิธิศฝำกเงินกับธนำคำรแห่งหนึ่งเปนจ�ำนวน 30,000 บำท เปนเวลำ 5 ปี ธนำคำรให้ดอกเบี้ย
1.
1.25% ต่อปี โดยคิดดอกเบี้ยแบบคงต้น
1) ให้หำเงินรวมทั้งหมด
2) ให้หำดอกเบี้ยที่ได้รับในเวลำ 5 ปี
แนวคิด 1) จำกโจทย์ จะได้ P = 30,000, r = 0.0125 และ t = 5
และจำกสูตรดอกเบี้ยคงต้น A = P(1 + rt)
จะได้ เมื่อสิ้นปีที่ 5 นิธิศจะมีเงินฝำก คือ 30,000[1 + (0.0125)(5)]
= 30,000(1 + 0.0625)
= 30,000(1.0625)
= 31,875 บำท
ดังนั้น เมื่อสิ้นปีที่ 5 นิธิศจะมีเงินฝำกกับธนำคำรเป็นเงินทั้งหมด
31,875 บำท
2) เนื่องจำก ดอกเบี้ย = เงินรวมทั้งหมด - เงินต้น
= 31,875 - 30,000
= 1,875 บำท
ดังนั้น เมื่อสิ้นปีที่ 5 นิธิศจะได้รับดอกเบี้ยทั้งหมด 1,875 บำท
2. มิกกี้ฝำกเงินกับธนำคำรเปนเงินจ�ำนวนหนึ่ง ธนำคำรให้ดอกเบี้ย 0.5% ต่อปี เมื่อสิ้นปีที่ 4
2.
มิกกี้ได้รับเงินพร้อมดอกเบี้ยทั้งหมดเปนเงินจ�ำนวน 10,150.75 บำท
1) ให้หำเงินต้น เมื่อธนำคำรคิดดอกเบี้ยแบบคงต้น
2) ให้หำเงินต้น เมื่อธนำคำรคิดดอกเบี้ยแบบทบต้นต่อปี
แนวคิด 1) จำกโจทย์ จะได้ A = 10,150.75, r = 0.005 และ t = 4
และจำกสูตรดอกเบี้ยคงต้น A = P(1 + rt)
จะได้ 10,150.75 = P[1 + (0.005)(4)]
10,150.75 = 1.02P
P ≈ 9,951.72
ดังนั้น มิกกี้ฝำกเงินไว้กับธนำคำรเป็นเงินจ�ำนวนประมำณ 9,951.72 บำท
352
2) จำกโจทย์ จะได้ A = 10,150.75, i = 0.005 และ n = 4
และจำกสูตรดอกเบี้ยทบต้น A = P(1 + i)n
จะได้ 10,150.75 = P(1 + 0.005)4
10,150.75 = (1.005)4P
P = 10,150.754
(1.005)
P ≈ 9,950.25
ดังนั้น มิกกี้ฝำกเงินไว้กับธนำคำรเป็นเงินจ�ำนวนประมำณ 9,950.25 บำท
3. พีระกู้เงินจำกธนำคำรเปนเงินจ�ำนวน 75,000 บำท ธนำคำรคิดดอกเบี้ย 5% ต่อปี โดยคิด
3.
ดอกเบี้ยแบบคงต้น ธนำคำรแจ้งว่ำเมื่อครบก�ำหนดที่พีระได้ตกลงไว้กับธนำคำร พีระจะต้อง
ช�ำระเงินทั้งหมด 93,750 บำท อยำกทรำบว่ำพีระกู้เงินจำกธนำคำรเปนเวลำเท่ำใด
แนวคิด จำกโจทย์ จะได้ A = 93,750, P = 75,000 และ r = 0.05
และจำกสูตรดอกเบี้ยคงต้น A = P(1 + rt)
จะได้ 93,750 = 75,000[1 + (0.05)t]
0.05t = 0.25
t = 5
ดังนั้น พีระกู้เงินจำกธนำคำรเป็นเวลำ 5 ปี
4. รพีกู้เงินจำกธนำคำรจ�ำนวน 500,000 บำท เมื่อวันที่ 22 สิงหำคม พ.ศ. 2561 โดยมีก�ำหนด
4.
ช�ำระคืนในวันที่ 16 เมษำยน พ.ศ. 2562 และธนำคำรคิดดอกเบี้ยแบบคงต้นในอัตรำ 6.5%
ต่อปี ให้หำจ�ำนวนดอกเบี้ยที่รพีต้องจ่ำยให้กับธนำคำรโดยวิธี
1) คิดดอกเบี้ยแบบธรรมดำและนับจ�ำนวนวันแบบแท้จริง
2) คิดดอกเบี้ยแบบธรรมดำและนับจ�ำนวนวันแบบกะประมำณ
3) คิดดอกเบี้ยแบบแท้จริงและนับจ�ำนวนวันแบบแท้จริง
4) คิดดอกเบี้ยแบบแท้จริงและนับจ�ำนวนวันแบบกะประมำณ
แนวคิด จำกโจทย์ จะนับจ�ำนวนวันแบบแท้จริงได้ ดังนี้
พ.ศ. 2561 สิงหำคม 9 วัน (วันที่ 22 ถึงวันที่ 31)
กันยำยน 30 วัน
ตุลำคม 31 วัน
พฤศจิกำยน 30 วัน
ธันวำคม 31 วัน
353
พ.ศ. 2562 มกราคม 31 วัน
กุมภาพันธ์ 28 วัน
มีนาคม 31 วัน
เมษายน 16 วัน
รวมทั้งหมด 237 วัน
และจากโจทย์ จะนับจ�ำนวนวันแบบกะประมาณได้ ดังนี้
พ.ศ. 2561 สิงหาคม 9 วัน (วันที่ 22 ถึงวันที่ 31)
กันยายน 30 วัน
ตุลาคม 30 วัน
พฤศจิกายน 30 วัน
ธันวาคม 30 วัน
พ.ศ. 2562 มกราคม 30 วัน
กุมภาพันธ์ 30 วัน
มีนาคม 30 วัน
เมษายน 16 วัน
รวมทั้งหมด 235 วัน
1) คิดดอกเบี้ยแบบธรรมดาและนับจ�ำนวนวันแบบแท้จริง
จากโจทย์ จะได้ P = 500,000, r = 0.065 และ t = 237 360
และจากสูตร I = P × r × t
จะได้ I = 500,000 × 0.065 × 237
360
I ≈ 21,395.83
ดังนั้น รพีต้องจ่ายดอกเบี้ยให้กับธนาคารประมาณ 21,395.83 บาท
2) คิดดอกเบี้ยแบบธรรมดาและนับจ�ำนวนวันแบบกะประมาณ
จากโจทย์ จะได้ P = 500,000, r = 0.065 และ t = 235 360
และจากสูตร I = P × r × t
จะได้ I = 500,000 × 0.065 × 235
360
I ≈ 21,215.28
ดังนั้น รพีต้องจ่ายดอกเบี้ยให้กับธนาคารประมาณ 21,215.28 บาท
3) คิดดอกเบี้ยแบบแท้จริงและนับจ�ำนวนวันแบบแท้จริง
จากโจทย์ จะได้ P = 500,000, r = 0.065 และ t = 237 365
354
และจำกสูตร I = P × r × t
จะได้ I = 500,000 × 0.065 × 237
365
I ≈ 21,102.74
ดังนั้น รพีต้องจ่ำยดอกเบี้ยให้กับธนำคำรประมำณ 21,102.74 บำท
4) คิดดอกเบี้ยแบบแท้จริงและนับจ�ำนวนวันแบบกะประมำณ
จำกโจทย์ จะได้ P = 500,000, r = 0.065 และ t = 235
365
และจำกสูตร I = P × r × t
จะได้ I = 500,000 × 0.065 × 235
365
I ≈ 20,924.66
ดังนั้น รพีต้องจ่ำยดอกเบี้ยให้กับธนำคำรประมำณ 20,924.66 บำท
5. วันเฉลิมฝำกเงินกับธนำคำรแห่งหนึ่งเปนเงิน 250,000 บำท เปนเวลำ 2.5 ปี ธนำคำรให้
5.
ดอกเบี้ย 0.8% ต่อปี
1) ให้หำเงินรวมทั้งหมด ถ้ำธนำคำรคิดดอกเบี้ยทบต้นต่อปี
2) ให้หำเงินรวมทั้งหมด ถ้ำธนำคำรคิดดอกเบี้ยทบต้นทุก 3 เดือน
แนวคิด 1) จำกโจทย์ จะได้ P = 250,000, i = 0.008 และ n = 2.5
และจำกสูตรดอกเบี้ยทบต้น A = P(1 + i)n
จะได้ A = 250,000(1 + 0.008)2.5
A = 250,000(1.008)2.5
A ≈ 255,030.04 บำท
ดังนั้น เมื่อสิ้นปีที่ 2.5 วันเฉลิมจะมีเงินทั้งหมดประมำณ 255,030.04 บำท
2) เนื่องจำกธนำคำรคิดดอกเบี้ยทบต้นทุก 3 เดือน
จะได้ว่ำ ในเวลำ 1 ปี จะมีกำรคิดดอกเบี้ยทบต้นทั้งหมด 4 ครั้ง
ดังนั้น ในเวลำ 2.5 ปี จะมีกำรคิดดอกเบี้ยทบต้นทั้งหมด 10 ครั้ง
จะได้ n = 10 และ i = 0.008 4 = 0.002 10
ดังนั้น A = 250,000(1 + 0.002)
A = 250,000(1.002)10
A ≈ 255,045.24 บำท
ดังนั้น เมื่อสิ้นปีที่ 2.5 วันเฉลิมจะมีเงินรวมทั้งหมดประมำณ
255,045.24 บำท
355
6. ยุวดีกู้จำกเงินกับธนำคำรเปนเงินจ�ำนวน 400,000 บำท โดยธนำคำรคิดดอกเบี้ยแบบทบต้น
6.
ธนำคำรแจ้งว่ำเมื่อครบก�ำหนดที่ยุวดีได้ตกลงไว้กับธนำคำร 6 ปี ยุวดีจะต้องช�ำระหนี้เปนเงิน
ทั้งหมด 600,292 บำท อยำกทรำบว่ำธนำคำรคิดอัตรำดอกเบี้ยร้อยละเท่ำใดต่อปี
แนวคิด จำกโจทย์ จะได้ A = 600,292, P = 400,000 และ n = 6
และจำกสูตรดอกเบี้ยทบต้น A = P(1 + i)n
จะได้ 600,292 = 400,000(1 + i)6
1.5 ≈ (1 + i)6
1.07 ≈ 1 + i
i = 0.07
ดังนั้น ธนำคำรคิดอัตรำดอกเบี้ยร้อยละ 7 ต่อปี
ระดับกลาง
7. ปกรณ์ฝำกเงินกับธนำคำรเปนเงินจ�ำนวน 55,000 บำท เปนระยะเวลำ 4 ปี โดย 3 ปีแรก
7.
ธนำคำรให้ดอกเบี้ย 0.5% ต่อปี และในปีสุดท้ำยธนำคำรให้อัตรำดอกเบี้ยพิเศษ 1.2% ต่อปี
โดยคิดดอกเบีย้ แบบคงต้น อยำกทรำบว่ำเมือ่ สิน้ ปีท ี่ 4 ปกรณ์จะได้รบั เงินฝำกเปนเงินทัง้ หมด
เท่ำใด
แนวคิด เนื่องจำกธนำคำรให้ดอกเบี้ย 0.5% ต่อปี ใน 3 ปีแรก
จำกโจทย์ จะได้ P = 55,000, r = 0.005 และ t = 3
และจำกสูตรดอกเบี้ยคงต้น A = P(1 + rt)
จะได้ A = 55,000[1 + (0.005)(3)]
A = 55,825
ดังนั้น จ�ำนวนเงินที่จะได้รับเมื่อสิ้นปีที่ 3 เท่ำกับ 55,825 บำท
เนื่องจำกธนำคำรให้ดอกเบี้ย 1.2% ต่อปี ในปีที่ 4
จำกโจทย์ จะได้ P = 55,825, r = 0.012 และ t = 1
และจำกสูตรดอกเบี้ยคงต้น A = P(1 + rt)
จะได้ A = 55,825[1 + (0.012)(1)]
A = 56,494.90
ดังนั้น เมื่อสิ้นปีที่ 4 ปกรณ์จะได้รับเงินฝำกเป็นเงินทั้งหมด 56,494.90 บำท

356
8. สมจิตรต้องกำรใช้เงิน 10,000,000 บำท ในอีก 5 ปีข้ำงหน้ำ จึงน�ำเงินไปฝำกธนำคำร
8.
แห่งหนึ่งซึ่งให้ดอกเบี้ย 1.75% ต่อปี โดยคิดทบต้นทุก 6 เดือน อยำกทรำบว่ำสมจิตรต้องน�ำ
เงินไปฝำกธนำคำรจ�ำนวนเท่ำใด
แนวคิด เนื่องจำกธนำคำรคิดดอกเบี้ยทบต้นทุก 6 เดือน
จะได้ว่ำ ในเวลำ 1 ปี จะมีกำรคิดดอกเบี้ยทบต้นทั้งหมด 2 ครั้ง
ดังนั้น ในเวลำ 5 ปี จะมีกำรคิดดอกเบี้ยทบต้นทั้งหมด 10 ครั้ง
จะได้ n = 10 และ i = 0.01752 = 0.00875
และจำกสูตร A = P(1 + i)n
จะได้ 10,000,000 = P(1 + 0.00875)10
P = 10,000,00010
(1.00875)
P ≈ 9,165,676.45 บำท
ดังนั้น สมจิตรต้องน�ำเงินไปฝำกธนำคำรประมำณ 9,165,676.45 บำท
9. ชูใจต้องกำรเก็บเงินเพื่อดำวน์ห้องชุดในอีก 3 ปีข้ำงหน้ำ เปนเงินจ�ำนวน 300,000 บำท
9.
โดยฝำกเงินกับธนำคำร 250,000 บำท เปนเวลำ 3 ปี ธนำคำรให้ดอกเบี้ย 1.3% ต่อปี
โดยคิดทบต้นทุก 3 เดือน อยำกทรำบว่ำเมื่อครบก�ำหนด 3 ปี ชูใจจะมีเงินพอที่จะดำวน์
ห้องชุดหรือไม่
แนวคิด เนื่องจำกธนำคำรคิดดอกเบี้ยทบต้นทุก 3 เดือน
จะได้ว่ำ ในเวลำ 1 ปี จะมีกำรคิดดอกเบี้ยทบต้นทั้งหมด 4 ครั้ง
ดังนั้น ในเวลำ 3 ปี จะมีกำรคิดดอกเบี้ยทบต้นทั้งหมด 12 ครั้ง
จะได้ n = 12 และ i = 0.013 4 = 0.00325
และจำกสูตร A = P(1 + i)n
จะได้ A = 250,000(1 + 0.00325)12
A = 250,000(1.00325)12
A ≈ 259,926.18 บำท
ดังนั้น เมื่อสิ้นปีที่ 3 ชูใจจะมีเงินรวมทั้งหมด 259,926.18 บำท ซึ่งไม่เพียงพอ
ที่จะดำวน์ห้องชุด

357
ระดับทาทาย
110.
0. จันจิต้องกำรน�ำเงิน 200,000 บำท ไปลงทุนเปนเวลำ 4 ปี โดยมีบริษัท A และบริษัท B
ยื่นข้อเสนอ ดังนี้
บริษัท A : ให้อัตรำดอกเบี้ย 4.5% ต่อปี โดยคิดดอกเบี้ยทบต้นทุก 3 เดือน
บริษัท B : ให้อัตรำดอกเบี้ย 4.6% ต่อปี โดยคิดดอกเบี้ยทบต้นทุก 6 เดือน
1) จันจิควรจะลงทุนกับบริษัทใดที่ให้ผลตอบแทนมำกกว่ำกัน
2) เมื่อลงทุนครบ 4 ปี บริษัททั้งสองแห่งจะให้ดอกเบี้ยต่ำงกันเท่ำใด
แนวคิด 1) ถ้ำจันจิลงทุนกับบริษัท A จะมีกำรคิดดอกเบี้ยทบต้นทุก 3 เดือน
จะได้ว่ำ ในเวลำ 1 ปี จะมีกำรคิดดอกเบี้ยทบต้นทั้งหมด 4 ครั้ง
ดังนั้น ในเวลำ 4 ปี จะมีกำรคิดดอกเบี้ยทบต้นทั้งหมด 16 ครั้ง
จะได้ n = 16 และ i = 0.045 4 = 0.01125
และจำกสูตร A = P(1 + i)n
จะได้ A = 200,000(1 + 0.01125)16
A = 200,000(1.01125)16
A ≈ 239,202.96 บำท
ดังนั้น ถ้ำจันจิลงทุนกับบริษัท A จะได้เงินรวมทั้งหมดประมำณ
239,202.96 บำท
ถ้ำจันจิลงทุนกับบริษัท B จะมีกำรคิดดอกเบี้ยต้นทบทุก 6 เดือน
จะได้ว่ำ ในเวลำ 1 ปี จะมีกำรคิดดอกเบี้ยทบต้นทั้งหมด 2 ครั้ง
ดังนั้น ในเวลำ 4 ปี จะมีกำรคิดดอกเบี้ยทบต้นทั้งหมด 8 ครั้ง
จะได้ n = 8 และ i = 0.0462 = 0.023
และจำกสูตร A = P(1 + i)n
จะได้ A = 200,000(1 + 0.023)8
A = 200,000(1.023)8
A ≈ 239,902.66 บำท
ดังนั้น ถ้ำจันจิลงทุนกับบริษัท B จะได้รับเงินรวมทั้งหมดประมำณ
239,902.66 บำท
ดังนั้น จันจิควรจะลงทุนกับบริษัท B เพื่อได้รับผลตอบแทนที่มำกกว่ำ
358
2) เนื่องจำก บริษัท A ให้ผลตอบแทนทั้งหมด 239,202.96 บำท
บริษัท B ให้ผลตอบแทนทั้งหมด 239,902.66 บำท
ดังนั้น เมื่อลงทุนครบ 4 ปี บริษัททั้งสองจะให้ดอกเบี้ยต่ำงกัน คือ
239,902.66 - 239,202.96 = 699.70 บำท

Investigation (หน้ำ 201)


ให้นักเรียนตอบค�ำตอบต่อไปนี้
ตะวันน�ำเงิน 10,000 บำท ไปลงทุนกับบริษัท A โดยได้รับผลตอบแทนเป็นดอกเบี้ย
แบบทบต้น 2% ต่อปี ในเวลำ 1 ปี ดังนี้
ปี เงินต้น ณ ต้นปี ดอกเบี้ยของปี เงินรวม
0 10,000 0 10,000
1 10,000 200 10,200
ค่ำเงิน 10,000 บำท ณ ปัจจุบัน กับค่ำเงิน 10,200 บำท เมื่อเวลำผ่ำนไป 1 ปี นักเรียน
คิดว่ำเงินสองจ�ำนวนนี้มีค่ำเท่ำกันหรือไม่ เพรำะเหตุใด
แนวคิด เงิน 10,200 บำท ในอีก 1 ปีข้ำงหน้ำ จะมีค่ำเท่ำกับ เงิน 10,000 บำท
ณ ปัจจุบัน เพรำะต้องน�ำเงินต้น 10,000 บำท ไปลงทุนเป็นเวลำ 1 ปีเต็ม
จึงจะได้รับเงิน 10,200 บำท
ลองทําดู (หน้ำ 202)
วนำลีฝำกเงินกับธนำคำรจ�ำนวน 250,000 บำท ธนำคำรคิดดอกเบี้ย 1.25% ต่อปี โดยคิด
ดอกเบี้ยแบบทบต้นต่อปี อยำกทรำบว่ำเมื่อสิ้นปีที่ 7 วนำลีจะได้รับเงินต้นพร้อมดอกเบี้ย
ทั้งหมดเท่ำใด
แนวคิด พิจำรณำโดยใช้เส้นเวลำ ดังนี้
0 1 2 3 4 5 6 7 i = 0.0125
PV = 250,000

359
จ ำกโจทย์ จะได้ PV = 250,000, i = 0.0125 และ n = 7
และจำกสูตร FV = PV(1 + i)n
จะได้ FV = 250,000(1 + 0.0125)7
FV ≈ 272,712.62
ดังนัน้ เมือ่ สิน้ ปีท ี่ 7 วนำลีจะได้รบั เงินต้นพร้อมดอกเบีย้ ประมำณ 272,712.62 บำท
ลองทําดู (หน้ำ 204)
โชคชัยต้องกำรใช้เงิน 1,000,000 บำท ในอีก 5 ปีข้ำงหน้ำ อยำกทรำบว่ำ ณ ปัจจุบัน โชคชัย
ต้องฝำกเงินกับธนำคำรเป็นเงินจ�ำนวนเท่ำใด ถ้ำธนำคำรให้ดอกเบี้ย 2.75% ต่อปี โดยคิด
ดอกเบี้ยทบต้นต่อปี
แนวคิด พิจำรณำโดยใช้เส้นเวลำ ดังนี้
0 1 2 3 4 5 i = 0.0275
PV FV = 1,000,000
จำกโจทย์ จะได้ FV = 1,000,000, i = 0.0275 และ n = 5
และจำกสูตร FV n
PV = (1 + i)
จะได้ 1,000,000 5
PV = (1 + 0.0275)
PV ≈ 873,154 บำท
ดังนั้น โชคชัยต้องน�ำเงินประมำณ 873,154 บำท ไปฝำกธนำคำร
เพื่อให้ได้เงิน 1,000,000 บำท ในอีก 5 ปีข้ำงหน้ำ
ลองทําดู (หน้ำ 205)
ถ้ำริสำต้องกำรผลตอบแทนในกำรลงทุนจ�ำนวน 3,500,000 บำท ในระยะเวลำ 4 ปีข้ำงหน้ำ
โดยกำรลงทุนครั้งนี้ได้ผลตอบแทน 7.5% ต่อปี แบบทบต้นทุก 6 เดือน อยำกทรำบว่ำริสำ
จะต้องใช้เงินลงทุนในปัจจุบันเท่ำใด
แนวคิด พิจำรณำโดยใช้เส้นเวลำ ดังนี้
0 1 2 3 4 5 6 7 8 i = 0.0375
PV FV = 3,500,000

360
จ ำกโจทย์ จะได้ FV = 3,500,000, i = 0.075
2 = 0.0375 และ n = 4 × 2 = 8
และจำกสูตร FV n
PV = (1 + i)
จะได้ 3,500,000 8
PV = (1 + 0.0375)
PV ≈ 2,607,133.09
ดังนั้น ริสำจะต้องใช้เงินลงทุนในปัจจุบันประมำณ 2,607,133.09 บำท

แบบฝกทักษะ 4.2 (หน้ำ 205)

ระดับพื้นฐาน

1. วิโรจน์ฝำกเงินกับธนำคำรจ�ำนวน 55,000 บำท ธนำคำรคิดดอกเบี้ย 0.75% ต่อปี โดยคิด


1.
ดอกเบี้ยแบบทบต้นต่อปี อยำกทรำบว่ำเมื่อสิ้นปีที่ 3 วิโรจน์จะได้รับเงินต้นพร้อมดอกเบี้ย
ทั้งหมดเท่ำใด
แนวคิด พิจำรณำโดยใช้เส้นเวลำ ดังนี้
0 1 2 3 i = 0.0075
PV = 55,000
จำกโจทย์ จะได้ PV = 55,000, i = 0.0075 และ n = 3
และจำกสูตร FV = PV(1 + i)n
จะได้ FV = 55,000(1 + 0.0075)3
FV ≈ 56,246.80
ดังนั้น เมื่อสิ้นปีที่ 3 วิโรจน์จะได้รับเงินต้นพร้อมดอกเบี้ยประมำณ
56,246.80 บำท

361
ใช้ขอมู
้อมูลต่อไปนี้ตอบค�ำถำมข้อ 2. - 4.
ธนำคำรสยำมไทยให้ดอกเบี้ย 2.5% ต่อปี โดยคิดดอกเบี้ยทบต้นต่อปี

2. เงิน 30,000 บำท ในอีก 5 ปีข้ำงหน้ำ เทียบได้กับค่ำเงินปจจุบันเปนจ�ำนวนเท่ำใด


2.
แนวคิด พิจำรณำโดยใช้เส้นเวลำ ดังนี้
0 1 2 3 4 5 i = 0.025
PV FV = 30,000
จำกโจทย์ จะได้ FV = 30,000, i = 0.025 และ n = 5
และจำกสูตร FV n
PV = (1 + i)
จะได้ 30,000 5
PV = (1 + 0.025)
30,0005
PV = (1.025)
PV ≈ 26,515.63 บำท
ดังนั้น ถ้ำต้องกำรให้ได้เงิน 30,000 บำท ในอีก 5 ปีข้ำงหน้ำ จะต้องฝำกเงิน
ณ ปัจจุบันเป็นเงินประมำณ 26,515.63 บำท
3. เงิน 50,000 บำท ในอีก 7 ปีข้ำงหน้ำ เทียบได้กับค่ำเงินปจจุบันเปนจ�ำนวนเท่ำใด
3.
แนวคิด พิจำรณำโดยใช้เส้นเวลำ ดังนี้
0 1 2 3 4 5 6 7 i = 0.025
PV FV = 50,000
จำกโจทย์ จะได้ FV = 50,000, i = 0.025 และ n = 7
และจำกสูตร FV n
PV = (1 + i)
จะได้ 50,000 7
PV = (1 + 0.025)
50,0007
PV = (1.025)
PV ≈ 42,063.26 บำท
ดังนั้น ถ้ำต้องกำรให้ได้เงิน 50,000 บำท ในอีก 7 ปีข้ำงหน้ำ จะต้องฝำกเงิน
ณ ปัจจุบันเป็นเงินประมำณ 42,063.26 บำท
362
4. นิติต้องกำรใช้เงิน 100,000 บำท ในอีก 3 ปีข้ำงหน้ำ ให้หำค่ำเงินปจจุบันที่นิติต้องน�ำไป
4.
ฝำกธนำคำร โดยไม่มีกำรถอนจนกว่ำจะครบ 3 ปี
แนวคิด พิจำรณำโดยใช้เส้นเวลำ ดังนี้
0 1 2 3 i = 0.025
PV FV = 100,000

จำกโจทย์ จะได้ FV = 100,000, i = 0.025 และ n = 3


และจำกสูตร FV n
PV = (1 + i)
จะได้ 100,000 3
PV = (1 + 0.025)
PV = 100,000
(1.025)3
PV ≈ 92,859.94 บำท
ดังนั้น นิติต้องน�ำเงินประมำณ 92,859.94 บำท ไปฝำกธนำคำร
เพื่อให้ได้เงิน 100,000 บำท ในอีก 3 ปีข้ำงหน้ำ
5. จำกข้อ 4. ถ้ำธนำคำรให้ดอกเบี้ย 2.25% ต่อปี โดยคิดดอกเบี้ยทบต้นทุก 6 เดือน
5.
ให้หำค่ำเงินปจจุบันที่นิติจะน�ำไปฝำก
แนวคิด เนื่องจำกธนำคำรคิดดอกเบี้ยทบต้นทุก 6 เดือน
จะได้ว่ำ ในเวลำ 1 ปี จะมีกำรคิดดอกเบี้ยทบต้นทั้งหมด 2 ครั้ง
ดังนั้น ในเวลำ 3 ปี จะมีกำรคิดดอกเบี้ยทบต้นทั้งหมด 6 ครั้ง
จำกโจทย์ จะได้ n = 6 และ i = 0.0225
2 = 0.01125
และจำกสูตร FV n
PV = (1 + i)
จะได้ 100,000 6
PV = (1 + 0.01125)
100,000 6
PV = (1.01125)
PV ≈ 93,508.01 บำท
ดังนั้น นิติต้องน�ำเงินประมำณ 93,508.01 บำท ไปฝำกธนำคำร
เพื่อให้ได้เงิน 100,000 บำท ในอีก 3 ปีข้ำงหน้ำ
363
ระดับกลาง
6. สชุ ำติได้รบั ค่ำจ้ำงจำกกำรแสดงคอนเสิรต์ เปนเงิน 500,000 บำท และต้องกำรน�ำเงินไปลงทุน
6.
กับบริษัท A ซึ่งให้ผลตอบแทน 7% ต่อปี โดยคิดดอกเบี้ยทบต้นทุก 3 เดือน อยำกทรำบว่ำ
ในอีก 20 ปีข้ำงหน้ำ เขำจะมีเงินรวมทั้งหมดเท่ำใด
แนวคิด พิจำรณำโดยใช้เส้นเวลำ ดังนี้
0 1 2 3 4 ... 17 18 19 20
PV = 500,000
เนื่องจำก บริษัท A คิดดอกเบี้ยทบต้นทุก 3 เดือน
จะได้ว่ำ ในเวลำ 1 ปี จะมีกำรคิดดอกเบี้ยทบต้นทั้งหมด 4 ครั้ง
ดังนั้น ในเวลำ 20 ปี จะมีกำรคิดดอกเบี้ยทบต้นทั้งหมด 80 ครั้ง
จำกโจทย์ จะได้ PV = 500,000, i = 0.07 4 = 0.0175 และ n = 80
และจำกสูตร FV = PV(1 + i)n
จะได้ FV = 500,000(1 + 0.0175)80
FV = 500,000(1.0175)80
FV ≈ 2,003,195.96 บำท
ดังนั้น เมื่อสิ้นปีที่ 20 สุชำติจะมีเงินรวมทั้งหมดประมำณ 2,003,195.96 บำท

ระดับทาทาย

7. สมชำยและสมหญิงต้องกำรน�ำเงินไปลงทุนกับสองบริษัท โดยสมชำยเลือกลงทุนบริษัท A
7.
และสมหญิงเลือกลงทุนบริษัท B ซึ่งทั้งสองบริษัทมีข้อเสนอ ดังนี้
บริษัท A บริษัท B
อัตรำดอกเบี้ยต่อปี 3% 2%
กำรคิดดอกเบี้ยทบต้น ทบต้นทุก 3 เดือน ทบต้นทุก 6 เดือน
ระยะเวลำ 5 ปี 4 ปี
เงินรวมที่ได้รับทั้งหมด 116,118.41 บำท 113,699.95 บำท

อยำกทรำบว่ำจ�ำนวนเงินต้นของใครมีค่ำมำกกว่ำกัน

364
แนวคิด ห าค่าเงินปัจจุบันของสมชายและสมหญิง แล้วเปรียบเทียบค่าเงิน ณ ปัจจุบัน
สมชายลงทุนกับบริษัท A โดยคิดดอกเบี้ยทบต้นทุก 3 เดือน
จะได้ว่า ในเวลา 1 ปี จะมีการคิดดอกเบี้ยทบต้นทั้งหมด 4 ครั้ง
ดังนั้น ในเวลา 5 ปี จะมีการคิดดอกเบี้ยทบต้นทั้งหมด 20 ครั้ง
จากโจทย์ จะได้ FV = 116,118.41, i = 0.03 4 = 0.0075 และ n = 20
และจากสูตร PV = (1 FV
+ i)n
จะได้ PV = (1116,118.41
+ 0.0075)20
PV = 116,118.41
(1.0075)20
PV ≈ 100,000 บาท
ดังนั้น สมชายลงทุนกับบริษัท A เป็นเงินประมาณ 100,000 บาท
สมหญิงลงทุนกับบริษัท B โดยคิดดอกเบี้ยทบต้นทุก 6 เดือน
จะได้ว่า ในเวลา 1 ปี จะมีการคิดดอกเบี้ยทบต้นทั้งหมด 2 ครั้ง
ดังนั้น ในเวลา 4 ปี จะมีการคิดดอกเบี้ยทบต้นทั้งหมด 8 ครั้ง
จากโจทย์ จะได้ FV = 113,699.95, i = 0.02 2 = 0.01 และ n = 8
และจากสูตร PV = (1 FV
+ i)n
จะได้ PV = 113,699.95
(1 + 0.01)8
PV = 113,699.95
(1.01)8
PV ≈ 105,000 บาท
ดังนั้น สมหญิงลงทุนกับบริษัท B เป็นเงินประมาณ 105,000 บาท
ดังนั้น จ�ำนวนเงินลงทุนของสมหญิงมากกว่าจ�ำนวนเงินลงทุนของสมชาย

365
Investigation (หน้า 207)
ให้นักเรียนตอบค�ำตอบต่อไปนี้
ชาญชัยต้องการออมเงินโดยการฝากประจ�ำกับธนาคารแห่งหนึ่ง โดยมีเงื่อนไขว่าจะต้อง
ฝากเงินเดือนละ 1,000 บาท เท่า ๆ กันทุกเดือน และฝากต่อเนื่องเป็นระยะเวลา 1 ปี โดย
ไม่มีการถอนเงินออก ซึ่งธนาคารจะให้ดอกเบี้ย 1.2% ต่อปี โดยคิดดอกเบี้ยทบต้นต่อเดือน
อยากทราบว่า เมื่อครบก�ำหนด 1 ปี ชาญชัยจะได้รับเงินรวมทั้งหมดเท่าใด ถ้าพิจารณากรณี
1) กรณีเงินงวดเกิดขึ้น ณ วันปลายงวด
แนวคิด พิจารณากรณีฝากเงินปลายงวด ชาญชัยฝากเงินเดือนละ 1,000 บาท
12 เดือน จากดอกเบี้ย 1.2% ต่อปี จะเท่ากับ 1.2
12 = 0.1% ต่อเดือน
เงินปลายงวดที่ 1 คิดดอกเบี้ยทบต้น 11 ครั้ง จะได้เงินรวมเท่ากับ
1,000(1 + 0.001)11
เงินปลายงวดที่ 2 คิดดอกเบี้ยทบต้น 10 ครั้ง จะได้เงินรวมเท่ากับ
1,000(1 + 0.001)10

เงินปลายงวดที่ 12 คิดดอกเบี้ยทบต้น 0 ครั้ง จะได้เงินรวมเท่ากับ
1,000(1 + 0.001)0
ดังนั้น เงินรวมทั้งหมด เท่ากับ
1,000(1 + 0.001)11 + 1,000(1 + 0.001)10+ … + 1,000
= 1,000[(1 + 0.001)11 + (1 + 0.001)10 + … + 1]
12 - 1
= 1,000[ (1 + 0.001)
0.001 ]
≈ 12,066.22 บาท
2) กรณีเงินงวดเกิดขึ้น ณ วันต้นงวด
แนวคิด พิจารณากรณีฝากเงินต้นงวด ชาญชััยฝากเงินเดือนละ 1,000 บาท 12 เดือน
จากดอกเบี้ย 1.2% ต่อปี จะเท่ากับ 1.212 = 0.1% ต่อเดือน
เงินต้นงวดที่ 1 คิดดอกเบี้ยทบต้น 12 ครั้ง จะได้เงินรวมเท่ากับ
1,000(1 + 0.001)12

366
เงินต้นงวดที่ 2 คิดดอกเบี้ยทบต้น 11 ครั้ง จะได้เงินรวมเท่ำกับ
1,000(1 + 0.001)11


เงินต้นงวดที่ 12 คิดดอกเบี้ยทบต้น 1 ครั้ง จะได้เงินรวมเท่ำกับ
1,000(1 + 0.001)1
ดังนั้น เงินรวมทั้งหมด เท่ำกับ
1,000(1 + 0.001)12 + 1,000(1 + 0.001)11 + ... + 1,000(1 + 0.001)1

= 1,000(1 + 0.001)[(1 + 0.001)11 + (1 + 0.001)10 + ... + 1]
12 - 1
= 1,000(1 + 0.001)[(1 + 0.001) 0.001 ]
≈ 12,078.29 บำท

ลองทําดู (หน้ำ 210)


1) สุชำติฝำกเงินกับธนำคำรโดยฝำกประจ�ำทุกเดือน เดือนละ 7,500 บำททุกปลำยงวด
ธนำคำรให้ดอกเบี้ย 1.2% ต่อปี โดยคิดดอกเบี้ยทบต้นทุกเดือน เมื่อครบก�ำหนด 4 ปี
สุชำติจะได้รับเงินทั้งหมดเท่ำใด
2) ธำนินฝำกเงินกับธนำคำรโดยฝำกประจ�ำทุกเดือน เดือนละ 2,000 บำททุกต้นงวด เป็นเวลำ
3 ปี ธนำคำรให้ดอกเบี้ย 2.4% ต่อปี โดยคิดดอกเบี้ยทบต้นทุกเดือน เมื่อครบก�ำหนด
3 ปี ธำนินจะได้รับเงินทั้งหมดเท่ำใด
แนวคิด 1) พิจำรณำโดยใช้เส้นเวลำ ดังนี้
0 1 2 3 ... 48 i = 0.001
7,500 7,500 7,500 ... 7,500
จำกโจทย์ จะได้ A = 7,500, i = 0.012
12 = 0.001 และ n = 4 × 12 = 48
n
และจำกสูตร FVAn = A[(1 + i)i - 1]
48 - 1
จะได้ FVA48 = 7,500[ (1 + 0.001)
0.001 ]
FVA48 ≈ 368,591.19
ดังนั้น เมื่อครบก�ำหนด 4 ปี สุชำติจะได้รับเงินทั้งหมดประมำณ
368,591.19 บำท

367
2) พิจำรณำโดยใช้เส้นเวลำ ดังนี้
0 1 2 3 ... 35 36 i = 0.002
2,000 2,000 2,000 2,000 ... 2,000
จำกโจทย์ จะได้ A = 2,000, i = 0.024
12 = 0.002 และ n = 3 × 12 = 36
n
และจำกสูตร FVAn = A(1 + i) [(1 + i)i - 1]
36 - 1
จะได้ FVA36 = 2,000(1 + 0.002) [(1 + 0.002)
0.002 ]
36 - 1
FVA36 = 2,000(1.002) [(1.002)
0.002 ]
FVA36 ≈ 74,727.23 บำท
ดังนั้น เมื่อครบก�ำหนด 3 ปี ธำนินจะได้รับเงินทั้งหมดประมำณ
74,727.23 บำท

แบบฝกทักษะ 4.3 (หน้ำ 210)

ระดับพื้นฐาน
ใช้ข้อมูลต่อไปนี้ตอบค�ำถำมข้อ 1. - 2.
ธนำคำรอักษรไทยให้ดอกเบี้ย 3% ต่อปี โดยคิดดอกเบี้ยทบต้นทุกเดือน

1. เจมส์ฝำกเงินทุกเดือน เดือนละ 1,200 บำททุกต้นงวด เปนเวลำ 2 ปี ให้หำจ�ำนวนเงินทัง้ หมด


1.
ที่เจมส์จะได้รับเมื่อสิ้นปีที่ 1 และสิ้นปีที่ 2
แนวคิด พิจำรณำโดยใช้เส้นเวลำ ดังนี้
0 1 2 3 ... 11 12 i = 0.0025
1,200 1,200 1,200 1,200 ... 1,200
จำกโจทย์ จะได้ A = 1,200, i = 0.03
12 = 0.0025
พิจำรณำ จ�ำนวนเงินที่ได้รับเมื่อสิ้นปีที่ 1 จะได้ n = 12

368
n
และจำกสูตร FVAn = A(1 + i) [(1 + i)i - 1]
12
จะได้ FVA12 = 1,200(1 + 0.0025) [(1 + 0.0025)
0.0025
- 1]
12
FVA12 = 1,200(1.0025) [ 0.0025 - 1]
(1.0025)
FVA12 ≈ 14,636.16 บำท
ดังนั้น เมื่อสิ้นปีที่ 1 เจมส์จะได้รับจ�ำนวนเงินทั้งหมดประมำณ 14,636.16 บำท
พิจำรณำโดยใช้เส้นเวลำ ดังนี้
0 1 2 3 ... 23 24 i = 0.0025
1,200 1,200 1,200 1,200 ... 1,200
จ�ำนวนเงินที่ได้รับเมื่อสิ้นปีที่ 2 จะได้ n = 24
n
และจำกสูตร FVAn = A(1 + i) [(1 + i)i - 1]
24 - 1
จะได้ FVA24 = 1,200(1 + 0.0025) [(1 + 0.0025)
0.0025 ]
24 - 1
FVA24 = 1,200(1.0025) [(1.0025)
0.0025 ]
FVA24 ≈ 29,717.49 บำท
ดังนั้น เมื่อสิ้นปีที่ 2 เจมส์จะได้รับเงินทั้งหมดประมำณ 29,717.49 บำท
2. เจมส์ฝำกเงินทุกเดือน เดือนละ 2,000 บำททุกปลำยงวด เปนเวลำ 3 ปี เขำจะได้รับเงิน
2.
ทั้งหมดเท่ำใด
แนวคิด พิจำรณำโดยใช้เส้นเวลำ ดังนี้
0 1 2 3 ... 36 i = 0.0025
2,000 2,000 2,000 ... 2,000
จำกโจทย์ จะได้ A = 2,000, i = 0.03
12 = 0.0025 และ n = 3 × 12 = 36
n
และจำกสูตร FVAn = A[(1 + i)i - 1]

369
36 - 1
จะได้ FVA36 = 2,000[ (1 + 0.0025)
0.0025 ]
FVA36 ≈ 75,241.12
ดังนั้น เมื่อสิ้นปีที่ 3 เจมส์จะได้รับเงินทั้งหมดประมำณ 75,241.12 บำท
ระดับกลาง
3. ตะวันฝำกเงินกับธนำคำรแห่งหนึง่ ทุกต้นเดือน เปนเวลำ 12 ปี ธนำคำรให้ดอกเบีย้ 3.6% ต่อปี
3.
โดยคิดดอกเบี้ยทบต้นทุกเดือน ถ้ำสิ้นปีที่ 12 ตะวันอยำกมีเงินรวมทั้งหมด 200,000 บำท
เขำจะต้องฝำกเงินเดือนละเท่ำใด
แนวคิด พิจำรณำโดยใช้เส้นเวลำ ดังนี้
0 1 2 3 ... 143 144 i = 0.003
A A A A ... A
จำกโจทย์ จะได้ FVAn = 200,000, i = 0.036 12 = 0.003
และ n = 12 × 12 = 144
n
และจำกสูตร FVAn = A(1 + i) [(1 + i)i - 1]
144 - 1
จะได้ 200,000 = A(1 + 0.003) [ (1 + 0.003)
0.003 ]
A = 200,000
144 - 1
(1.003)
(1.003)[ 0.003 ]
A ≈ 1,109.14 บำท
ดังนั้น ตะวันจะต้องฝำกเงินเดือนละประมำณ 1,109.14 บำท เป็นเวลำ 12 ปี
เพื่อจะได้รับเงินรวมทั้งหมด 200,000 บำท
ระดับทาทาย
4.4. น ุศรำท�ำสัญญำเช่ำตึกแถวเป็นรำยปี เป็นเวลำ 5 ปี โดยมีค่ำเช่ำงวดละ 180,000 บำท อัตรำ
ดอกเบี้ยเท่ำกับ 5% ต่อปี ทบต้นทุกปี
1) ถำ้ มีกำรก�ำหนดให้จำ่ ยค่ำเช่ำงวดแรกทันทีทมี่ กี ำรท�ำสัญญำ นัน่ คือ จ่ำยทุกต้นงวด ให้หำ
ค่ำเช่ำรวมทั้งหมด

370
2) ถา้ มีการก�ำหนดให้จา่ ยค่าเช่าในวันครบก�ำหนดสัญญาของทุกปี นัน่ คือ จ่ายทุกปลายงวด
ให้หาค่าเช่ารวมทั้งหมด
3) ถา้ นักเรียนเป็นผูเ้ ช่า นักเรียนจะเลือกจ่ายค่าเช่าวิธใี ด และถ้านักเรียนเป็นผูใ้ ห้เช่านักเรียน
จะเลือกเก็บค่าเช่าวิธีใด
แนวคิด 1) พิจารณาโดยใช้เส้นเวลา ดังนี้
0 1 2 3 4 5 i = 0.05
180,000 180,000 180,000 180,000 180,000
จากโจทย์ จะได้ A = 180,000, i = 0.05 และ n = 5
n
และจากสูตร FVAn = A(1 + i)[(1 + i)i - 1]
5-1
จะได้ FVA5 = 180,000(1 + 0.05)[(1 + 0.05)
0.05 ]
FVA5 ≈ 1,044,344.31
ดังนั้น ถ้ามีการก�ำหนดจ่ายค่าเช่าทุกต้นงวด นุศราจะต้องจ่ายค่าเช่าทั้งหมด
ประมาณ 1,044,344.31 บาท
2) พิจารณาโดยใช้เส้นเวลา ดังนี้
0 1 2 3 4 5 i = 0.05
180,000 180,000 180,000 180,000 180,000
จากโจทย์ จะได้ A = 180,000, i = 0.05 และ n = 5
n
และจากสูตร FVAn = A[(1 + i)i - 1]
5
จะได้ FVA5 = 180,000[(1 + 0.05) -1
0.05 ]
FVA5 ≈ 994,613.63
ดังนั้น ถา้ มีการก�ำหนดจ่ายค่าเช่าทุกปลายงวด นุศราจะต้องจ่ายค่าเช่าทัง้ หมด
ประมาณ 994,613.63 บาท
3) ถ้านักเรียนเป็นผู้เช่า จะเลือกจ่ายค่าเช่าทุกปลายงวด เพราะต้องจ่ายค่าเช่า
ทั้งหมดในราคาที่ถูกกว่า และถ้านักเรียนเป็นผู้ให้เช่า จะเลือกเก็บค่าเช่า
ทุกต้นงวด เพราะจะเก็บค่าเช่าทั้งหมดในราคาที่สูงกว่าหรือได้ก�ำไรมากกว่า
371
แบบฝกทักษะประจําหนวยการเรียนรูท้ ่ี 4 (หน้ำ 215)
1.1. ต ะวันฝำกเงินกับธนำคำรแห่งหนึ่งเป็นจ�ำนวน 40,000 บำท เป็นเวลำ 3 ปี โดยธนำคำรให้
ดอกเบี้ย 1.2% ต่อปี
1) ให้หำเงินรวมทั้งหมดและดอกเบี้ยที่ได้รับ ถ้ำธนำคำรคิดดอกเบี้ยแบบคงต้น
2) ให้หำเงินรวมทั้งหมดและดอกเบี้ยที่ได้รับ ถ้ำธนำคำรคิดดอกเบี้ยทบต้นต่อปี
3) ให้หำเงินรวมทั้งหมดและดอกเบี้ยที่ได้รับ ถ้ำธนำคำรคิดดอกเบี้ยทบต้นทุก 3 เดือน
แนวคิด 1) จำกโจทย์ จะได้ P = 40,000, r = 0.012 และ t = 3
และจำกสูตรดอกเบี้ยคงต้น A = P(1 + rt)
ดังนั้น เมื่อสิ้นปีที่ 3 ตะวันจะมีเงินรวมทั้งหมด
คือ 40,000[1 + (0.012)(3)]
= 40,000(1.036)
= 41,440 บำท
ดังนั้น เมื่อสิ้นปีที่ 3 ตะวันจะมีเงินรวมทั้งหมด 41,440 บำท
และได้รับดอกเบี้ย เท่ำกับ 41,440 - 40,000 = 1,440 บำท
2) จำกโจทย์ จะได้ P = 40,000, i = 0.012 และ n = 3
และจำกสูตรดอกเบี้ยทบต้น A = P(1 + i)n
ดังนั้น เมื่อสิ้นปีที่ 3 ตะวันจะมีเงินรวมทั้งหมด
คือ 40,000(1 + 0.012)3
= 40,000(1.012)3

≈ 41,457.35 บำท
ดังนั้น เมื่อสิ้นปีที่ 3 ตะวันจะมีเงินรวมทั้งหมดประมำณ 41,457.35 บำท
และได้รับดอกเบี้ยประมำณ 41,457.35 - 40,000 = 1,457.35 บำท

372
3) เนื่องจำกธนำคำรคิดดอกเบี้ยทบต้นทุก 3 เดือน
จะได้ว่ำ ในเวลำ 1 ปี จะมีกำรคิดดอกเบี้ยทบต้นทั้งหมด 4 ครั้ง
ดังนั้น ในเวลำ 3 ปี จะมีกำรคิดดอกเบี้ยทบต้นทั้งหมด 12 ครั้ง
จะได้ n = 12 และ i = 0.012 4 = 0.003
ดังนั้น เมื่อสิ้นปีที่ 3 ตะวันจะมีเงินรวมทั้งหมด
คือ 40,000(1 + 0.003)12
= 40,000(1.003)12
≈ 41,464 บำท
ดังนั้น เมื่อสิ้นปีที่ 3 ตะวันจะมีเงินรวมทั้งหมดประมำณ 41,464 บำท
และได้รับดอกเบี้ยประมำณ 41,464 - 40,000 = 1,464 บำท
2. ชะเอมน�ำเงินไปฝำกธนำคำรเป็นเงิน 50,000 บำท เมื่อ 3 ปีที่แล้ว ปัจจุบันชะเอมตรวจสอบ
เงินในบัญชีปรำกฏว่ำมีเงิน 51,209.63 บำท อยำกทรำบว่ำธนำคำรจะให้ดอกเบี้ยเงินฝำก
ร้อยละเท่ำใด ถ้ำธนำคำรคิดอัตรำดอกเบี้ยทบต้นต่อปี
แนวคิด จำกโจทย์ จะได้ A = 51,209.63, P = 50,000 และ n = 3
และจำกสูตร A = P(1 + i)n
จะได้ 51,209.63 = 50,000(1 + i)3
(1 + i)3 = 51,209.63
50,000
3 ≈ 1.024
(1 + i)
1 + i ≈ 1.008
i = 0.008
ดังนั้น ธนำคำรให้ดอกเบี้ยเงินฝำกประมำณร้อยละ 0.8

373
3. สดใสกู้เงินจำกเพื่อนจ�ำนวน 10,000 บำท โดยมีเงื่อนไขว่ำจะต้องจ่ำยดอกเบี้ย 10% ต่อปี
โดยคิดดอกเบี้ยทบต้นต่อปี ถ้ำสดใสจ่ำยเงินเพื่อนทั้งหมดเป็นเงินจ�ำนวน 16,105.10 บำท
อยำกทรำบว่ำเขำจะกู้เงินมำเป็นเวลำกี่ปี
แนวคิด จำกโจทย์ จะได้ A = 16,105.10, P = 10,000 และ i = 0.1
และจำกสูตร A = P(1 + i)n
จะได้ 16,105.10 = 10,000(1 + 0.1)n
(1.1)n = 16,105.10
10,000
n ≈ 1.611
(1.1)
n ≈ 5
ดังนั้น สดใสกู้เงินมำเป็นเวลำประมำณ 5 ปี
ใช้ข้อมูลต่อไปนี้ตอบค�ำถำมข้อ 4. - 6.
6.
ธนำคำรอักษรไทยให้ดอกเบี้ย 1.8% ต่อปี โดยคิดดอกเบี้ยทบต้นต่อปี

4. เงิน 15,000 บำท ในอีก 3 ปีข้ำงหน้ำ เทียบได้กับค่ำเงินปัจจุบันเป็นจ�ำนวนเท่ำใด


แนวคิด พิจำรณำโดยใช้เส้นเวลำ ดังนี้
0 1 2 3 i = 0.018
FV = 15,000
จำกโจทย์ จะได้ FV = 15,000, i = 0.018 และ n = 3
และจำกสูตร FV = PV(1 + i)n
จะได้ 15,000 = PV(1 + 0.018)3

PV = 15,0003
(1.018)

PV ≈ 14,218.31
ดังนั้น เงิน 15,000 บำท ในอีก 3 ปีข้ำงหน้ำ เทียบได้กับเงินประมำณ
14,218.31 บำท ในปัจจุบัน

374
5. ถ ้ำต้องกำรใช้เงิน 100,000 บำท ในอีก 10 ปีข้ำงหน้ำ ให้หำค่ำเงินปัจจุบันที่ต้องน�ำไปฝำก
ธนำคำร โดยไม่มีกำรถอนจนกว่ำจะครบ 10 ปี
แนวคิด พิจำรณำโดยใช้เส้นเวลำ ดังนี้
0 1 2 3 ... 10 i = 0.018
FV = 100,000
จำกโจทย์ จะได้ FV = 100,000, i = 0.018 และ n = 10
และจำกสูตร FV = PV(1 + i)n
จะได้ 100,000 = PV(1 + 0.018)10
PV = 100,00010
(1.018)

PV ≈ 83,660.84
ดังนั้น ถ้ำต้องกำรใช้เงิน 100,000 บำท ในอีก 10 ปีข้ำงหน้ำ ต้องน�ำเงินไปฝำก
ธนำคำรประมำณ 83,660.84 บำท

375
6. ย ุทธฝำกเงินทุกเดือน เดือนละ 2,000 บำททุกปลำยงวด เป็นเวลำ 4 ปี ให้หำจ�ำนวนเงิน
ทั้งหมดที่ยุทธจะได้รับเมื่อสิ้นปีที่ 3 และสิ้นที่ปี 4
แนวคิด พิจำรณำโดยใช้เส้นเวลำ ดังนี้
0 1 2 3 ... 36 ... 48 i = 0.0015
2,000 2,000 2,000 2,000 2,000
จำกโจทย์ จะได้ A = 2,000, i = 0.018
12 = 0.0015
พิจำรณำ จ�ำนวนเงินที่ได้รับเมื่อสิ้นปีที่ 3 จะได้ n = 3 × 12 = 36
n
และจำกสูตร FVAn = A[(1 + i)i - 1]
36 - 1
จะได้ FVA36 = 2,000[ (1 + 0.0015) ]
0.0015
FVA36 ≈ 73,922.53
ดังนั้น เมื่อสิ้นปีที่ 3 ยุทธคมจะได้รับเงินทั้งหมดประมำณ 73,922.53 บำท
พิจำรณำ จ�ำนวนเงินที่ได้รับเมื่อสิ้นปีที่ 4 จะได้ n = 4 × 12 = 48
n
และจำกสูตร FVAn = A[(1 + i)i - 1]
(1 + 0.0015) 48 - 1
จะได้ FVA48 = 2,000[ 0.0015 ]
FVA48 ≈ 99,463.16
ดังนั้น เมื่อสิ้นปีที่ 4 ยุทธจะได้รับเงินทั้งหมดประมำณ 99,463.16 บำท

376
7. นิธิศลงทุนกับบริษัทแห่งหนึ่งทุกต้นเดือน เป็นเวลำ 5 ปี ได้รับผลตอบแทน 6% ต่อปี
โดยคิดอัตรำดอกเบีย้ ทบต้นทุกเดือน ถ้ำสิน้ ปีท ี่ 5 นิธศิ อยำกมีเงินรวมทัง้ หมด 100,000 บำท
เขำจะต้องลงทุนเดือนละเท่ำใด
แนวคิด พิจำรณำโดยใช้เส้นเวลำ ดังนี้
0 1 2 3 ... 60 i = 0.005
A A A A ...

จำกโจทย์ จะได้ FVAn = 100,000, i = 0.06


12 = 0.005 และ n = 5 × 12 = 60
n
และจำกสูตร FVAn = A(1 + i) [(1 + i)i - 1]
60 - 1
จะได้ 100,000 = A(1 + 0.005) [(1 + 0.005)
0.005 ]
A ≈ 1,426.15
ดังนั้น นิธิศต้องลงทุนกับบริษัทเดือนละประมำณ 1,426.15 บำท เป็นเวลำ 5 ปี
จึงจะมีเงินรวมทั้งหมด 100,000 บำท

A (B C) Math in
Real Life คณิตศาสตรในชีวิตจริง (หน้ำ 216)

ในป จ จุ บั น กรุ ง เทพมหานคร มี ร ะบบ


กำรขนส่งสำธำรณะที่ได้มำตรฐำนและทันสมัย
มีทงั้ เส้นทำงบกและเส้นทำงน�ำ้ ได้แก่ รถแท็กซี่
มิเตอร์ รถโดยสำรประจ�ำทำง รถจักรยำนยนต์
รับจ้ำง รถสำมล้อ รถไฟ รถไฟฟำบีทเี อส (BTS)
รถไฟฟำใต้ดิน (MRT) และเรือด่วน ซึ่งในกำร
เดินทำงต่ำงก็มีอัตรำค่ำโดยสำรที่แตกต่ำงกัน
ขึ้นอยู่กับควำมสะดวกของผู้ใช้บริกำร เช่น
อัตรำค่ำรถแท็กซี่มิเตอร์และอัตรำค่ำโดยสำร
รถประจ�ำทำงปรับอำกำศ

377
อัตรำค่ำโดยสำรรถแท็กซี่มิเตอร์
ระยะทำง (กิโลเมตร) ค่ำโดยสำร (บำท)
กิโลเมตรแรก 35
เกินกว่ำ 1 กิโลเมตรถึง 10 กิโลเมตร กิโลเมตรละ 5.50
เกินกว่ำ 10 กิโลเมตรถึง 20 กิโลเมตร กิโลเมตรละ 6.50
เกินกว่ำ 20 กิโลเมตรถึง 40 กิโลเมตร กิโลเมตรละ 7.50
เกินกว่ำ 40 กิโลเมตรถึง 60 กิโลเมตร กิโลเมตรละ 8
เกินกว่ำ 60 กิโลเมตรถึง 80 กิโลเมตร กิโลเมตรละ 9
เกินกว่ำ 80 กิโลเมตรขึ้นไป กิโลเมตรละ 10.50
ที่มา : www.thaipublic.org

อัตราคาโดยสารรถประจําทางปรับอากาศ
ในเขตกรุงเทพมหานครและจังหวัดที่มีสายตอเนื่อง
หมวดที่ 1 สายที่ 80 ชื่อเสนทาง โรงเรียนศึกษานารีวิทยา–สนามหลวง
ส�ำหรับกำรเดินรถช่วง วัดศรีนวลธรรมวิมล-สนำมหลวง
อัตรำค่ำโดยสำรรถประจ�ำทำงปรับอำกำศใหม่ (ชนิด EURO I และ EURO II) ดังนี้
อัตรำค่ำโดยสำรรถประจ�ำทำงปรับอำกำศ
ระยะทำง (กิโลเมตร) ค่ำโดยสำร (บำท)
4 กิโลเมตรแรก 13
ทุก ๆ 4 กิโลเมตรต่อไป เก็บเพิ่มอีก 2 บำท
เกิน 26 กิโลเมตรขึ้นไป 25
ที่มา : www.bmta.co.th

378
จากข้อมูลข้างต้น

1. ถ้านักเรียนโดยสารรถประจ�ำทางปรับอากาศสาย 80 เป็นระยะทางทั้งหมด 30 กิโลเมตร และ


โดยสารด้วยรถแท็กซีม่ เิ ตอร์ตอ่ ไปอีก 12 กิโลเมตร นักเรียนจะต้องจ่ายค่าโดยสารทัง้ หมดเท่าใด
แนวคิด ค่าโดยสารรถประจ�ำทางปรับอากาศสาย 80 เป็นระยะทาง 30 กิโลเมตร
จะต้องจ่ายค่าโดยสาร 25 บาท และค่าโดยสารรถแท็กซี่มิเตอร์
เป็นระยะทาง 12 กิโลเมตร
ระยะทาง (กิโลเมตร) ค่าโดยสาร (บาท)
กิโลเมตรแรก 35 × 1 = 35
กิโลเมตรที่ 2-10 5.50 × 9 = 49.50
กิโลเมตรที่ 11-12 6.50 × 2 = 13
รวม 97.50
ดังนั้น นักเรียนจะต้องจ่ายค่าโดยสารทั้งหมดเท่ากับ 25 + 97.50 = 122.50 บาท

2. ถ้านักเรียนต้องการเดินทางซึ่งมีระยะทางทั้งหมด 22 กิโลเมตร อยากทราบว่าถ้าโดยสาร


ด้วยรถแท็กซี่มิเตอร์จะต้องจ่ายค่าโดยสารมากกว่ารถประจ�ำทางปรับอากาศสาย 80 เท่าใด
แนวคิด ค่าโดยสารรถประจ�ำทางปรับอากาศสาย 80 เป็นระยะทาง 22 กิโลเมตร
ระยะทาง (กิโลเมตร) ค่าโดยสาร (บาท)
4 กิโลเมตรแรก 13
กิโลเมตรที่ 5-8 2
กิโลเมตรที่ 9-12 2
กิโลเมตรที่ 13-16 2
กิโลเมตรที่ 17-20 2
กิโลเมตรที่ 21-22 2
รวม 23

379
ค่าโดยสารรถแท็กซี่มิเตอร์ เป็นระยะทาง 22 กิโลเมตร
ระยะทาง (กิโลเมตร) ค่าโดยสาร (บาท)
กิโลเมตรแรก 35 × 1 = 35
กิโลเมตรที่ 2-10 5.50 × 9 = 49.50
กิโลเมตรที่ 11-20 6.50 × 10 = 65
กิโลเมตรที่ 21-22 7.50 × 2 = 15
รวม 164.50

ดังนั้น ถา้ โดยสารด้วยรถแท็กซีม่ เิ ตอร์จะต้องจ่ายค่าโดยสารมากกว่ารถประจ�ำทาง


ปรับอากาศสาย 80 เป็นเงิน 164.50 - 23 = 141.50 บาท
3. ในการเดินทางทีม่ รี ะยะทางทัง้ หมด 56 กิโลเมตร นักเรียนโดยสารด้วยรถประจ�ำทางปรับอากาศ
สาย 80 เป็นระยะทาง 1 ใน 4 ของระยะทางทั้งหมด โดยระยะทางที่เหลือจะโดยสารด้วยรถ
แท็กซี่มิเตอร์ นักเรียนจะต้องจ่ายค่าโดยสารรวมทั้งหมดเท่าใด
แนวคิด จากโจทย์จะต้องเดินทางระยะทางทั้งหมด 56 กิโลเมตร จะต้องเดินทาง
ด้วยรถโดยสารปรับอากาศสาย 80 เป็นระยะ 1 ใน 4 ของระยะทางทั้งหมด
นั่นคือ จะต้องเดินทางด้วยรถโดยสารปรับอากาศสาย 80 เป็นระยะทาง
เท่ากับ 564 = 14 กิโลเมตร และเดินทางต่อด้วยรถแท็กซี่มิเตอร์
อีกเป็นระยะทาง 56 - 14 = 42 กิโลเมตร
ค่าโดยสารรถประจ�ำทางปรับอากาศสาย 80 เป็นระยะทาง 14 กิโลเมตร
ระยะทาง (กิโลเมตร) ค่าโดยสาร (บาท)
4 กิโลเมตรแรก 13
กิโลเมตรที่ 5-8 2
กิโลเมตรที่ 9-12 2
กิโลเมตรที่ 13-14 2
รวม 19

380
ค่าโดยสารรถแท็กซี่มิเตอร์ เป็นระยะทาง 42 กิโลเมตร
ระยะทาง (กิโลเมตร) ค่าโดยสาร (บาท)
กิโลเมตรแรก 35 × 1 = 35
กิโลเมตรที่ 2-10 5.50 × 9 = 49.50
กิโลเมตรที่ 11-20 6.50 × 10 = 65
กิโลเมตรที่ 21-40 7.50 × 20 = 150
กิโลเมตรที่ 41-42 8 × 2 = 16
รวม 315.50
ดังนั้น จะต้องจ่ายค่าโดยสารทั้งหมด 19 + 315.50 = 334.50 บาท
4. บ้านของนักเรียน A และ นักเรียน B มีระยะทางห่างจากโรงเรียน 24 กิโลเมตร เป็นระยะทาง
เท่ากัน โดยมีเส้นทางในการเดินทาง ดังนี้
15 กิโลเมตรแรกโดยสารด้วยรถประจ�ำทางปรับอากาศสาย 80
เส้นทางที่ 1
และระยะทางที่เหลือโดยสารด้วยรถแท็กซี่มิเตอร์
7 กิโลเมตรแรกโดยสารด้วยรถแท็กซี่มิเตอร์ และระยะทางที่เหลือ
เส้นทางที่ 2
โดยสารด้วยรถประจ�ำทางปรับอากาศสาย 80

ถ ้านักเรียน A เลือกเส้นทางที่ 1 และนักเรียน B เลือกเส้นทางที่ 2 นักเรียนคนใดจะต้องจ่าย


ค่าโดยสารมากกว่ากัน และมากกว่าอยู่เท่าใด
แนวคิด ค่าโดยสารเส้นทางที่ 1 ของนักเรียน A
ค่าโดยสารรถประจ�ำทางปรับอากาศสาย 80 เป็นระยะทาง 15 กิโลเมตร
ระยะทาง (กิโลเมตร) ค่าโดยสาร (บาท)
4 กิโลเมตรแรก 13
กิโลเมตรที่ 5-8 2
กิโลเมตรที่ 9-12 2
กิโลเมตรที่ 13-15 2
รวม 19

381
ค่าโดยสารรถแท็กซี่มิเตอร์ เป็นระยะทาง 9 กิโลเมตร
ระยะทาง (กิโลเมตร) ค่าโดยสาร (บาท)
กิโลเมตรแรก 35 × 1 = 35
กิโลเมตรที่ 2-9 5.50 × 8 = 44
รวม 79
ดังนั้น นักเรียน A จะต้องจ่ายค่าโดยสารทั้งหมด 19 + 79 = 98 บาท
ค่าโดยสารเส้นทางที่ 2 ของนักเรียน B
ค่าโดยสารรถแท็กซี่มิเตอร์ เป็นระยะทาง 7 กิโลเมตร
ระยะทาง (กิโลเมตร) ค่าโดยสาร (บาท)
กิโลเมตรแรก 35 × 1 = 35
กิโลเมตรที่ 2-7 5.50 × 6 = 33
รวม 68
ค่าโดยสารรถประจ�ำทางปรับอากาศสาย 80 เป็นระยะทาง 17 กิโลเมตร
ระยะทาง (กิโลเมตร) ค่าโดยสาร (บาท)
4 กิโลเมตรแรก 13
กิโลเมตรที่ 5-8 2
กิโลเมตรที่ 9-12 2
กิโลเมตรที่ 13-16 2
กิโลเมตรที่ 17 2
รวม 21
ดังนั้น นักเรียน B จะต้องจ่ายค่าโดยสารทั้งหมด 68 + 21 = 89 บาท
นั่นคือ นักเรียน A จะต้องจ่ายค่าโดยสารมากกว่านักเรียน B
เท่ากับ 98 - 89 = 9 บาท

382

You might also like