You are on page 1of 30

O-NET (ก.พ.

63) 1
25 Apr 2021

O-NET 63 รหัสวิชา 04 คณิตศาสตร์


วันเสาร์ที่ 29 กุมภาพันธ์ 2563 เวลา 11.30 – 13.30 น.

ตอนที่ 1 แบบปรนัย 5 ตัวเลือก ข้อละ 2.5 คะแนน


4
1. จานวนในข้อใดเท่ากับ (−5)5
4 5
1 −5 1 4
1. 5
− √54 2. 4
− √55 3. 4
√55 4. ( )
5
5. ( )
5

3−1 − 3
2. −1 เท่ากับเท่าใด
√3 − √3
4√3 4√3
1. −4√3 2. − 3
3. −√3 4. 3
5. 4√3

𝑎 2
3. กาหนดให้ 𝑎 และ 𝑏 เป็ นจานวนจริง โดยที่ 𝑏 ≠ 0 ถ้า |𝑎| + |𝑏| = 20 และ 𝑏
= −3
แล้ว |𝑎 + 𝑏| มีคา่ เท่ากับเท่าใด
1. 4 2. 6 3. 8 4. 12 5. 20

4. กาหนดให้ 𝑎 เป็ นจานวนจริงใดๆ ข้อใดถูกต้อง


1. −2|𝑎 + 2| = |−2𝑎 − 4| 2. √𝑎2 + 9 = √𝑎2 + 3
3. 2√𝑎2 + 1 = √2𝑎2 + 2 4. (𝑎 − 2)2 = 𝑎2 − 4
5. (2𝑎 − 4)3 = 8(𝑎 − 2)3
2 O-NET (ก.พ. 63)

5. กาหนดให้ 𝑎, 𝑏, 𝑠 และ 𝑡 เป็ นจานวนจริงบวก โดยที่ 𝑎 < 𝑏 และ 𝑠 < 𝑡 พิจารณาข้อความต่อไปนี ้


ก) 𝑎𝑠 < 𝑏𝑡
𝑎 𝑏
ข) 𝑡−𝑠 < 𝑠−𝑡
ค) 𝑠 − 𝑎1 < 𝑡 − 𝑏1
จากข้อความ ก) ข) และ ค) ข้างต้น ข้อใดถูกต้อง
1. ข้อความ ก) ถูกต้องเพียงข้อเดียวเท่านัน้ 2. ข้อความ ข) ถูกต้องเพียงข้อเดียวเท่านัน้
3. ข้อความ ค) ถูกต้องเพียงข้อเดียวเท่านัน้ 4. ข้อความ ก) และ ข) ถูกต้องเท่านัน้
5. ข้อความ ก) และ ค) ถูกต้องเท่านัน้

6. โต้งยืนอยูร่ ะหว่างเสาธงและเสาไฟฟ้า โดยยืนอยูบ่ น


ยอดเสาไฟฟ้า
พืน้ ดินในแนวเส้นตรงเดียวกันกับโคนเสาธงและ
โคนเสาไฟฟ้า ยอดเสาธง
จุดที่โต้งยืนห่างจากโคนเสาธง 10 เมตร และห่างจาก
แนวสายตา
โคนเสาไฟฟ้า 16 เมตร โต้งมองเห็นยอดเสาธงและ แนวสายตา
ยอดเสาไฟฟ้า เป็ นมุมเงย 60 องศา เท่ากัน ดังรูป
เสาไฟฟ้าสูงกว่าเสาธงกี่เมตร 60° 60° แนวเส้นระดับ
1. 6√3 เมตร 2. 6 เมตร โต้ง พืน้ ดิน
10 ม. 16 ม.
3. 3√3 เมตร 4. 3 เมตร
5. 2√3 เมตร

7. ที่ดินรูปสามเหลีย่ มมุมฉาก ABC มี ̅̅̅̅ AC ยาว 60 เมตร


A
ต้องการแบ่งที่ดินแปลงนีอ้ อกเป็ นสองส่วน โดยทารัว้ กัน้
45°
จากจุด A ไปยังจุด P ซึง่ อยูบ่ น ̅̅̅̅
BC ดังรู ป 15°
60 ม.
รัว้ กัน้ จากจุด A ไปยังจุด P ยาวกี่เมตร
รัว้
1. 30 เมตร 2. 45 เมตร
3. 30√2 เมตร 4. 30√3 เมตร C B
P
5. 30√6 เมตร
O-NET (ก.พ. 63) 3

8. กาหนดให้ 𝑈 = { −2 , −1 , 0 , 1 , 2 , … , 7 , 8 , 9 }
𝐴 = { 𝑥 | 𝑥∈𝑈 และ 𝑥 เป็ นจานวนคี่ }
และ 𝐵 = { 𝑥 | 𝑥∈𝑈 และ 𝑥 2 < 9 }
𝐴−𝐵 คือเซตในข้อใด
1. { −1 , 1 } 2. {1, 3} 3. {5, 7, 9}
4. {3, 5, 7, 9} 5. {1, 3, 5, 7, 9}

9. กาหนดให้ 𝑎 เป็ นจานวนจริง และ 𝑆={𝑥|𝑥−2=𝑎 เมื่อ |𝑎 − 1| = 2 }


เซต 𝑆 เป็ นสับเซตของเซตในข้อใด
1. { 1 , 3 , 5 , 7 } 2. {3, 4, 5, 6} 3. { −2 , 1 , 2 , 3 }
4. { −2 , −1 , 1 , 2 } 5. { −5 , −2 , 2 , 5 }

10. จากการสารวจลูกค้าที่ดมื่ กาแฟ จานวน 125 คน ของร้านกาแฟแห่งหนึง่ เกี่ยวกับการใส่นา้ ตาล นมสด


หรือครีมเทียมในกาแฟ พบว่า
1) มีลกู ค้าทีใ่ ส่นา้ ตาลในกาแฟ 40 คน
2) มีลกู ค้าทีใ่ ส่ครีมเทียมในกาแฟ 50 คน
3) มีลกู ค้าทีใ่ ส่นา้ ตาลและครีมเทียมในกาแฟ 20 คน
4) มีลกู ค้าทีใ่ ส่นา้ ตาลและนมสดในกาแฟ 5 คน
5) ไม่มีลกู ค้าทีใ่ ส่นมสดและครีมเทียมในกาแฟ
6) มีลกู ค้าที่ไม่ใส่นา้ ตาล ไม่ใส่นมสด และไม่ใส่ครีมเทียมในกาแฟ 25 คน
ในการสารวจนี ้ มีลกู ค้าทีใ่ ส่นมสดในกาแฟเพียงอย่างเดียวกี่คน
1. 10 คน 2. 15 คน 3. 20 คน 4. 30 คน 5. 35 คน
4 O-NET (ก.พ. 63)

11. พิจารณาการอ้างเหตุผล โดยกาหนดเหตุและผล ดังนี ้


เหตุ 1) ภาพวาดในโรงเรียนทุกภาพ วาดโดยครูศิลปะ
2) ภาพวาดที่วาดโดยครูศิลปะบางภาพ เป็ นภาพสีนา้ มัน
ผล มีภาพวาดในโรงเรียนบางภาพเป็ นภาพสีนา้ มัน
กาหนดให้ 𝑆 แทน เซตของภาพวาดในโรงเรียน
𝑇 แทน เซตของภาพวาดทีว่ าดโดยครู ศิลปะ
𝑃 แทน เซตของภาพสีนา้ มัน
แผนภาพในข้อใดสอดคล้องกับเหตุที่กาหนดและแสดงว่าผลสรุปข้างต้น ไม่ สมเหตุสมผล
𝑃 𝑃 𝑃
𝑇
1. 𝑆
𝑇 2. 𝑆 𝑇 3. 𝑆

𝑃 𝑇 𝑃
𝑇
4. 𝑆 5. 𝑆

12. พิจารณาการอ้างเหตุผลต่อไปนี ้
ก) เหตุ 1) ขนมที่ขายในโรงอาหารบางชนิดไม่มีนา้ ตาลเป็ นส่วนผสม
2) มีขนม A ขายในโรงอาหาร
ผล ขนม A ไม่มีนา้ ตาลเป็ นส่วนผสม
ข) เหตุ 1) นักฟุตบอลทุกคนที่เป็ นนักเรียน ใส่กางเกงสีเหลือง
2) เก่งเป็ นนักเรียนที่ใส่กางเกงสีเหลือง
ผล เก่งเป็ นนักฟุตบอล
ค) เหตุ 1) ครูคณิตศาสตร์ทกุ คนในโรงเรียน B แต่งงานแล้ว
2) ครูทกุ คนในโรงเรียน B ที่แต่งงานแล้วอายุมากกว่า 30 ปี
ผล ครูคณิตศาสตร์ทกุ คนในโรงเรียน B อายุมากกว่า 30 ปี
ผลสรุปใดบ้างสมเหตุสมผล
1. ก) เท่านัน้ 2. ข) เท่านัน้ 3. ค) เท่านัน้
4. ก) และ ค) 5. ข) และ ค)
O-NET (ก.พ. 63) 5

13. กราฟแสดงความสัมพันธ์ 𝑟 เป็ นบริเวณที่แรเงา ดังนี ้


6

−1 0 1 2 3 4 5 6
−1

ความสัมพันธ์ 𝑟 คือเซตในข้อใด
1. 𝑟 = { (𝑥, 𝑦) | 𝑥 + 𝑦 < 5 , 𝑥>1 และ 𝑦>2 }
2. 𝑟 = { (𝑥, 𝑦) | 𝑥 + 𝑦 < 5 , 𝑥>2 และ 𝑦>1 }
3. 𝑟 = { (𝑥, 𝑦) | 𝑥 + 𝑦 < 5 , 𝑥<4 และ 𝑦<3 }
4. 𝑟 = { (𝑥, 𝑦) | 𝑥 + 𝑦 > 5 , 𝑥>2 และ 𝑦>1 }
5. 𝑟 = { (𝑥, 𝑦) | 𝑥 + 𝑦 > 5 , 𝑥<4 และ 𝑦<3 }

14. กาหนดให้ 𝑎 เป็ นจานวนจริง และ 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั โดยที่ 𝑓(𝑥) = (𝑥 + 𝑎)2 − 𝑎 เมื่อ 𝑎 เป็ นจานวนจริง
ถ้า 𝑓(−2) = 𝑓(4) แล้ว 𝑎 มีคา่ เท่ากับเท่าใด
1. −3 2. −2 3. −1 4. 1 5. 2

15. กาหนดให้ 𝐼 แทนเซตของจานวนเต็ม และ 𝐴 = { 𝑥 | 𝑥∈𝐼 และ 2𝑥 2 − 3𝑥 − 14 ≤ 0 }


ผลรวมของสมาชิกทุกตัวในเซต 𝐴 เท่ากับเท่าใด
1. −5 2. −3 3. 3 4. 5 5. 7
6 O-NET (ก.พ. 63)

16. กาหนดให้ 𝑎 และ 𝑏 เป็ นจานวนจริง ถ้ากราฟของ 𝑦 = 2𝑥+𝑎 + 𝑏 ตัดแกน 𝑋 ที่จดุ (2, 0)
และตัดแกน 𝑌 ที่จดุ (0, −1.5) แล้ว 𝑎 + 𝑏 มีคา่ เท่ากับเท่าใด
1. −7 2. −3 3. −1 4. 0.5 5. 2

17. บริษัทวางแผนการจ้างพนักงาน โดยรายได้และรายจ่ายของบริษัทคานวณได้ดงั นี ้


รายได้ตอ่ เดือน เท่ากับ 𝑎𝑥 2 บาท และ รายจ่ายต่อเดือน เท่ากับ 𝑏𝑥 บาท
เมื่อ 𝑥 แทน จานวนพนักงานที่บริษัทจ้างในหนึง่ เดือน (คน) และ 𝑎, 𝑏 เป็ นจานวนจริงบวก
จากข้อมูลเกี่ยวกับการจ้างพนักงานของบริษัทนี ้ พบว่า
 ในเดือนที่บริษัทจ้างพนักงาน 100 คน ในเดือนนัน ้ บริษัทจะมีรายได้เท่ากับรายจ่าย
 ในเดือนที่บริษัทจ้างพนักงาน 200 คน ในเดือนนัน ้ บริษัทจะมีรายได้มากกว่ารายจ่ายอยู่ 100,000 บาท
ในเดือนที่บริษัทนีจ้ า้ งพนักงาน 300 คน ในเดือนนัน้ บริษัทจะมีรายได้มากกว่ารายจ่ายอยูก่ ี่บาท
1. 100,000 บาท 2. 150,000 บาท 3. 200,000 บาท
4. 250,000 บาท 5. 300,000 บาท

18. ถ้าพจน์ท่วั ไปของลาดับ 𝑎𝑛 คือ 12 (𝑛2 + 3𝑛) เมื่อ 𝑛 ∈ { 1, 2, 3, … , 19, 20 }


แล้วจานวนในข้อใดอยูใ่ นลาดับนี ้
1. 10 2. 15 3. 21 4. 25 5. 27

19. กาหนดให้ 𝑎1 , 𝑎2 , 𝑎3 , … , 𝑎44 , 𝑎45 เป็ นลาดับเลขคณิต


ถ้า 𝑎1 = 60 และ 𝑎45 = 720 แล้ว 𝑎36 − 𝑎34 มีคา่ เท่ากับเท่าใด
1. 30 2. 32 3. 34 4. 36 5. 45
O-NET (ก.พ. 63) 7

20. กาหนดให้ 𝑎 และ 𝑏 เป็ นจานวนจริงบวก ถ้า 𝑎 , 2 , 𝑏, 6, … เป็ นลาดับเรขาคณิต


แล้วพจน์ที่ 10 ของลาดับนีเ้ ท่ากับเท่าใด
1. 18 2. 36 3. 54 4. 81 5. 162

21. ถ้า 𝑘 เป็ นจานวนจริงที่มากกว่า 1 แล้ว 𝑘 + 𝑘2 + 𝑘3 + 𝑘4 + 𝑘5 + 𝑘6 + 𝑘7 + 𝑘8 เท่ากับเท่าใด


𝑘(𝑘 7
− 1) 𝑘(𝑘 8 − 1) 𝑘8
1. 𝑘−1
2. 𝑘−1
3. 𝑘−1
4. 4(𝑘 + 𝑘 ) 7
5. 4(𝑘 + 𝑘 ) 8

22. กาหนดให้ 𝑎 และ 𝑏 เป็ นจานวนจริง ถ้าผลบวกของพจน์ทกุ พจน์ของลาดับเลขคณิต 2 , 𝑎 , 10 , … , 𝑏


เท่ากับ 288 แล้ว 𝑎 + 𝑏 มีคา่ เท่ากับเท่าใด
1. 48 2. 50 3. 52 4. 54 5. 56

23. หุน่ ยนต์ตวั หนึง่ เคลือ่ นที่ตามแนวเส้นตรง


โดย เวลาตัง้ แต่ 0 วินาที ถึง 1 วินาที หุน่ ยนต์นเี ้ คลือ่ นที่ ได้ระยะทาง 50 นิว้
เวลาตัง้ แต่ 1 วินาที ถึง 2 วินาที หุน่ ยนต์นเี ้ คลือ่ นที่ตอ่ ไป ได้ระยะทางอีก 48 นิว้
เวลาตัง้ แต่ 2 วินาที ถึง 3 วินาที หุน่ ยนต์นเี ้ คลือ่ นที่ตอ่ ไป ได้ระยะทางอีก 46 นิว้
และ หุน่ ยนต์นเี ้ คลือ่ นที่ในทานองนีไ้ ปเรือ่ ยๆ จนหยุดนิง่ ระยะทางทัง้ หมดที่หนุ่ ยนต์เคลือ่ นที่ได้เท่ากับกี่นวิ ้
1. 575 นิว้ 2. 598 นิว้ 3. 625 นิว้ 4. 650 นิว้ 5. 676 นิว้
8 O-NET (ก.พ. 63)

24. แผนภาพต้น – ใบ แสดงข้อมูลซึง่ เป็ นคะแนนสอบวิชาภาษาอังกฤษของนักเรียนกลุม่ หนึง่


0 7 9
1
2 2 3 3 3 8
3 0 0 5 7
4 2 4 5
5 0

เปอร์เซ็นไทล์ที่ 70 ของข้อมูลชุดนีเ้ ท่ากับกี่คะแนน


1. 35.4 คะแนน 2. 36 คะแนน 3. 37 คะแนน
4. 38 คะแนน 5. 39.5 คะแนน

25. นักท่องเที่ยวกลุม่ หนึง่ มีจานวน 20 คน เมื่อชั่งสัมภาระของแต่ละคนรวมกันแล้ว ได้นา้ หนักเฉลีย่ ของสัมภาระของ


ทัง้ 20 คน เป็ น 30.4 กิโลกรัม ต่อมามีนกั ท่องเที่ยวบางคนหยิบสัมภาระออกมาส่วนหนึง่ พบว่า นา้ หนักเฉลีย่ ใหม่
ของสัมภาระของทัง้ 20 คน เป็ น 29.6 กิโลกรัม สัมภาระที่หยิบออกมาหนักกี่กิโลกรัม
1. 8 กิโลกรัม 2. 16 กิโลกรัม 3. 25 กิโลกรัม
4. 30 กิโลกรัม 5. 32 กิโลกรัม

26. ข้อมูลชุดหนึง่ มีสบิ จานวน ประกอบด้วย 𝑥1 , 𝑥2 , 𝑥3 , … , 𝑥10 โดยที่ 𝑥𝑖 = {


𝑖 เมื่อ 𝑖 เป็ นจานวนคี่
2𝑖 + 2 เมื่อ 𝑖 เป็ นจานวนคู่
มัธยฐานของข้อมูลชุดนีเ้ ท่ากับเท่าใด
1. 5 2. 5.5 3. 7 4. 8 5. 9.5
O-NET (ก.พ. 63) 9

27. ตารางแสดงความยาวรอบอกและสีเสือ้ ของนักแสดง 5 คน


นักแสดง คนที่ 1 คนที่ 2 คนที่ 3 คนที่ 4 คนที่ 5
ความยาวรอบอก (นิว้ ) 34 42 40 36 38
สีเสือ้ สีแดง สีชมพู สีแดง สีมว่ ง สีแดง

พิจารณาข้อความต่อไปนี ้
ก) ค่าเฉลีย่ เลขคณิตของความยาวรอบอก คือ 38 นิว้
ข) มัธยฐานเป็ นค่ากลางที่เหมาะสม เพื่อใช้เป็ นตัวแทนของข้อมูลสีเสือ้ ได้
ค) ฐานนิยมเป็ นค่ากลางที่เหมาะสม เพื่อใช้เป็ นตัวแทนของข้อมูลความยาวรอบอกได้
จากข้อความ ก) ข) และ ค) ข้างต้น ข้อใดถูกต้อง
1. ข้อความ ก) ถูกต้องเพียงข้อเดียวเท่านัน้ 2. ข้อความ ข) ถูกต้องเพียงข้อเดียวเท่านัน้
3. ข้อความ ค) ถูกต้องเพียงข้อเดียวเท่านัน้ 4. ข้อความ ก) และ ข) ถูกต้องเท่านัน้
5. ข้อความ ก) และ ค) ถูกต้องเท่านัน้

28. ข้อมูลกลุม่ ตัวอย่างชุดหนึง่ มี 5 จานวน ถ้าข้อมูลชุดนีม้ ีฐานนิยมเป็ น 6 มัธยฐานเป็ น 8 พิสยั เป็ น 10 และค่าเฉลีย่
เลขคณิตเป็ น 10 แล้วส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของข้อมูลชุดนีเ้ ท่ากับเท่าใด
1. √5 2. √22 3. 3√2 4. 2 5. 5

29. ตารางแสดงผลการสารวจวันที่ออกกาลังกายในแต่ละสัปดาห์ของนักศึกษากลุม่ หนึง่ จาแนกตามระดับการศึกษา


จานวนวันที่ออกกาลังกาย จานวนนักศึกษา (คน)
ต่อสัปดาห์ ปริญญาตรี สูงกว่าปริญญาตรี
น้อยกว่า 3 วัน 45 25
3 วัน ถึง 5 วัน 20 20
มากกว่า 5 วัน 25 15

หากสุม่ นักศึกษาจากกลุม่ นีม้ าหนึง่ คน ความน่าจะเป็ นทีจ่ ะได้นกั ศึกษาระดับปริญญาตรีที่


ออกกาลังกาย ไม่ เกิน 5 วันต่อสัปดาห์ เท่ากับใด
1. 13
30
2. 15 2
3. 11
15
4. 103
5. 3
5
10 O-NET (ก.พ. 63)

30. จุกและปอเป็ นพนักงานบัญชีประจาสานักงานใหญ่ของบริษัทแห่งหนึง่ ซึง่ มีสาขาอยูท่ งั้ หมด 4 สาขา จุกและปอต้อง


เลือกสาขา คนละหนึง่ สาขา เพื่อไปตรวจสอบบัญชี โดยทัง้ สองคนไม่ตรวจสอบบัญชีของสาขาเดียวกัน
จานวนวิธีที่จกุ และปอเลือกสาขาที่แตกต่างกันมีได้ทงั้ หมดกี่วิธี
1. 7 วิธี 2. 8 วิธี 3. 12 วิธี 4. 16 วิธี 5. 24 วิธี

31. ร้านค้าจัดรายการสมนาคุณให้แก่ลกู ค้า โดยให้ลกู ค้าสุม่ หยิบสลาก 1 ใบ จากกล่องซึง่ มีสลากทัง้ หมด 40 ใบ ดังนี ้
สลากสีขาว 20 ใบ เป็ น สลากหมายเลข 1 , 2 , 3 , … , 19 , 20
และ สลากสีแดง 20 ใบ เป็ น สลากหมายเลข 21 , 22 , 23 , … , 39 , 40
ลูกค้าที่หยิบได้สลากสีขาวทีม่ ีหมายเลขมากกว่า 15 หรือ หยิบได้สลากสีแดงที่มีหมายเลขเป็ นจานวนคู่ จะได้รบั ของ
สมนาคุณจากทางร้านค้า ความน่าจะเป็ นที่ลกู ค้าคนแรกสุม่ หยิบสลากแล้วได้รบั ของสมนาคุณเท่ากับเท่าใด
1. 14 2. 38 3. 25 4. 58 5. 78

32. กล่องใบหนึง่ มีลกู บอล 3 สี คือ สีแดง สีนา้ เงิน และสีขาว โดยมีลกู บอลสีแดงและสีนา้ เงินรวมกัน 24 ลูก
และความน่าจะเป็ นในการสุม่ หยิบลูกบอล 1 ลูก แล้วได้ลกู บอลสีตา่ งๆ เป็ นดังนี ้
1) ความน่าจะเป็ นที่จะได้ลกู บอลสีขาวเท่ากับ 13
2) ความน่าจะเป็ นที่จะได้ลกู บอลสีแดงเท่ากับ 14
กล่องใบนีม้ ีลกู บอลสีนา้ เงินกี่ลกู
1. 5 ลูก 2. 9 ลูก 3. 10 ลูก 4. 12 ลูก 5. 15 ลูก
O-NET (ก.พ. 63) 11

ตอนที่ 2 แบบเติมคาตอบ ข้อละ 2.5 คะแนน


6 2 3
33. (
√48

3
√3) + (3 √16 − 2√54)
3
เท่ากับเท่าใด

34. จุด A จุด B จุด C และจุด D เป็ นจุดตัดของถนนทีเ่ ป็ นส่วนของเส้นตรงสีส่ าย โดยที่ ̅̅̅̅
AB ขนานกับ DC
̅̅̅̅ ดังรู ป

A B
𝜃
ถ้า sin 𝜃 = 35 , cos 𝜃 = 45
และ ระยะทางจากจุด B ถึงจุด C เท่ากับ 4.5 กิโลเมตร
แล้ว ระยะทางจากจุด A ถึงจุด D เท่ากับกี่กิโลเมตร
D C

35. จากการสารวจนักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมของโรงเรียนแห่งหนึง่ จานวน 800 คน พบว่า


1) นักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรม A แต่ไม่เข้าร่วมกิจกรรม B มีจานวน 230 คน
2) นักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรม B แต่ไม่เข้าร่วมกิจกรรม C มีจานวน 270 คน
3) นักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรม C แต่ไม่เข้าร่วมกิจกรรม A มีจานวน 200 คน
4) นักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมอื่นๆ ทีไ่ ม่ใช่กิจกรรม A ไม่ใช่กิจกรรม B และไม่ใช่กิจกรรม C มีจานวน 20 คน
ในการสารวจนี ้ นักเรียนที่เข้าร่วมทัง้ กิจกรรม A กิจกรรม B และกิจกรรม C มีจานวนกี่คน
12 O-NET (ก.พ. 63)

𝑥−1
36. ถ้า 𝐴 = { 5 , 6 , 7 , … , 12 , 13 , 14 } และ 𝑟 = { (𝑥, 𝑦) ∈ 𝐴 × 𝐴 | 𝑦 = 2
}
แล้ว 𝑟 มีสมาชิกทัง้ หมดกี่ตวั

37. กาหนดให้ 𝑎, 𝑏 และ 𝑐 เป็ นจานวนเต็ม พิจารณาแบบรูปต่อไปนี ้


4 90 8 81 16 72 ... 𝑎 27 1,024 𝑏

20 30 40 90 𝑐

รูปที่ 1 รูปที่ 2 รูปที่ 3 ... รูปที่ 8 รูปที่ 9


𝑎+𝑏+𝑐 มีคา่ เท่ากับเท่าใด

38. รูปสามเหลีย่ มมุมฉากรูปหนึง่ มีความยาวของด้านสามด้าน ดังนี ้


𝑥 − 2 หน่วย , 𝑥 หน่วย และ 10 หน่วย
ค่าของ 𝑥 เท่ากับเท่าใด จึงจะทาให้รูปสามเหลีย่ มรูปนีม้ ีพนื ้ ทีม่ ากที่สดุ
O-NET (ก.พ. 63) 13

39. ตารางแสดงจานวนปี ที่ทางานของพนักงานจานวน 45 คน ของบริษัทแห่งหนึง่


จานวนปี ที่ทางาน (ปี ) จานวนพนักงาน (คน)
2 8
3 𝑎
4 𝑏
5 12

ถ้า 𝑎 > 𝑏 และ มัธยฐานและฐานนิยมของจานวนปี ที่ทางานมีคา่ เท่ากัน


แล้ว 𝑏 ที่มากที่สดุ ที่เป็ นไปได้เท่ากับเท่าใด

40. กล่องใบหนึง่ มีถา่ นไฟฉายอยูท่ งั้ หมด 500 ก้อน เป็ นถ่านไฟฉายดี จานวน 420 ก้อน เป็ นถ่านไฟฉายเสีย
จานวน 80 ก้อน ถ้านาวินคัดถ่านไฟฉายเสียออกไปจากกล่องจานวนหนึง่ แล้วพบว่า เมื่อสุม่ หยิบ
ถ่านไฟฉาย 1 ก้อน จากถ่านไฟฉายที่เหลือในกล่อง ความน่าจะเป็ นที่จะได้ถ่านไฟฉายดี เท่ากับ 78
นาวินคัดถ่านไฟฉายเสียออกไปกี่กอ้ น
14 O-NET (ก.พ. 63)

เฉลย
1. 4 9. 1 17. 5 25. 2 33. 0.75
2. 2 10. 4 18. 5 26. 4 34. 7.5
3. 1 11. 3 19. 1 27. 1 35. 80
4. 5 12. 3 20. 5 28. 2 36. 2
5. 5 13. 2 21. 2 29. 1 37. 630
6. 1 14. 3 22. 3 30. 3 38. 26
7. 3 15. 3 23. 4 31. 2 39. 10
8. 4 16. 2 24. 4 32. 5 40. 20

แนวคิด
4
1. จานวนในข้อใดเท่ากับ (−5)5
4 5
1 −5 1 4
1. − √54
5
2. 4
− √55 3. 4
√55 4. (5) 5. (5)
ตอบ 4
𝑛 4
จากสมบัติ 𝑎𝑚 = √𝑎𝑛
𝑚
จะได้ 5
(−5)5 = √(−5)4 ยกกาลังคู่ เป็ นบวกเสมอ
=
5
√54 …(∗) → ไม่ตรงกับข้อ 1, 2, 3
4 5
1 − 4
1 4 4
1 5
4. ( )
5
5
= (5−1 )−5 5. ( )
5
= √( )
5
→ ไม่เหมือนกับ (∗)
4
= 5 5
5
= √54 → เหมือนกับ (∗) 

3−1 − 3
2. −1 เท่ากับเท่าใด
√3 − √3
4√3 4√3
1. −4√3 2. −
3
3. −√3 4. 3
5. 4√3
ตอบ 2
−1 1
เศษ : 3−1 – 3 =
1
3
−3 ส่วน : √3 − √3 = √3 −
√3
1−9 3−1
= =
3 √3
8 2
= −3 =
√3
8
3−1 − 3 − 8 √3 4√3
ดังนัน้ −1 = 2
3
= −3× 2
= − 3
√3 − √3 √3

𝑎 2
3. กาหนดให้ 𝑎 และ 𝑏 เป็ นจานวนจริง โดยที่ 𝑏 ≠ 0 ถ้า |𝑎| + |𝑏| = 20 และ 𝑏
= −3
แล้ว |𝑎 + 𝑏| มีคา่ เท่ากับเท่าใด
1. 4 2. 6 3. 8 4. 12 5. 20
ตอบ 1
จาก 𝑎𝑏 = − 23 |𝑎| + |𝑏| = 20
2
2 |− 3 𝑏| + |𝑏| = 20
𝑎= −3𝑏 …(1)
2
|𝑏| + |𝑏| = 20
3
2
(3 + 1) |𝑏| = 20
5
3
|𝑏| = 20
|𝑏| = 12 …(2)
O-NET (ก.พ. 63) 15

2
แทน (1) และ (2) ในค่าที่โจทย์ถาม จะได้ |𝑎 + 𝑏| = |− 3 𝑏 + 𝑏|
1 |𝑏| 12
= |3 𝑏| = 3
= 3
= 4

4. กาหนดให้ 𝑎 เป็ นจานวนจริงใดๆ ข้อใดถูกต้อง


1. −2|𝑎 + 2| = |−2𝑎 − 4| 2. √𝑎2 + 9 = √𝑎2 + 3
3. 2√𝑎2 + 1 = √2𝑎2 + 2 4. (𝑎 − 2)2 = 𝑎2 − 4
5. (2𝑎 − 4)3 = 8(𝑎 − 2)3
ตอบ 5
1. ค่าสัมบูรณ์จะเป็ นบวกเสมอ ดังนัน้ ฝั่งซ้าย −2|𝑎 + 2| = −2(บวก) = ลบ
ในขณะที่ฝ่ ังขวา |−2𝑎 − 4| เป็ นบวก จึงไม่เท่ากับฝั่งซ้าย 
2. รูทกระจายในการบวกลบไม่ได้ 
3. ถ้าจะเอา 2 เข้าไปในรูท ต้องยกกาลัง 2 กลายเป็ น √4
2√𝑎2 + 1 = √4√𝑎2 + 1 = √4(𝑎2 + 1) = √4𝑎2 + 4 ซึง่ ไม่เท่ากับฝั่งขวา 
4. การยกกาลัง กระจายในการบวกลบไม่ได้ 
5. (2𝑎 − 4)3 = (2(𝑎 − 2))3 = 23 (𝑎 − 2)3 = 8(𝑎 − 2)3 

5. กาหนดให้ 𝑎, 𝑏, 𝑠 และ 𝑡 เป็ นจานวนจริงบวก โดยที่ 𝑎 < 𝑏 และ 𝑠 < 𝑡 พิจารณาข้อความต่อไปนี ้


ก) 𝑎𝑠 < 𝑏𝑡
𝑎 𝑏
ข) 𝑡−𝑠 <
𝑠−𝑡
ค) 𝑠 − 𝑎1 < 𝑡 − 𝑏1
จากข้อความ ก) ข) และ ค) ข้างต้น ข้อใดถูกต้อง
1. ข้อความ ก) ถูกต้องเพียงข้อเดียวเท่านัน้ 2. ข้อความ ข) ถูกต้องเพียงข้อเดียวเท่านัน้
3. ข้อความ ค) ถูกต้องเพียงข้อเดียวเท่านัน้ 4. ข้อความ ก) และ ข) ถูกต้องเท่านัน้
5. ข้อความ ก) และ ค) ถูกต้องเท่านัน้
ตอบ 5
ก) 𝑎 และ 𝑠 คือตัวน้อย 𝑏 และ 𝑡 คือตัวมาก ทุกตัวเป็ นบวก จึงสรุปได้วา่ 𝑎𝑠 < 𝑏𝑡 
ข) เนื่องจาก 𝑠 < 𝑡 ดังนัน้ 𝑡 − 𝑠 เป็ นบวก แต่ 𝑠 − 𝑡 เป็ นลบ
𝑎 𝑏 𝑎 𝑏
ดังนัน้ 𝑡−𝑠 เป็ นบวก แต่ 𝑠−𝑡 เป็ นลบ จึงสรุปได้วา่ 𝑡−𝑠 >
𝑠−𝑡
→ ข) ผิด
ค) จาก 𝑎 < 𝑏 𝑎, 𝑏 เป็ นบวก → หารสลับข้างได้
1 1
<
𝑏 𝑎 ย้ายแต่ละฝั่งไปลบอีกฝั่ง
1 1
−𝑎 < −𝑏
1 1
และจาก 𝑠 < 𝑡 รวมสองอสมการ จะสรุปได้วา่ 𝑠−𝑎 < 𝑡−𝑏 
16 O-NET (ก.พ. 63)

6. โต้งยืนอยูร่ ะหว่างเสาธงและเสาไฟฟ้า โดยยืนอยูบ่ น


ยอดเสาไฟฟ้า
พืน้ ดินในแนวเส้นตรงเดียวกันกับโคนเสาธงและ
โคนเสาไฟฟ้า ยอดเสาธง
จุดที่โต้งยืนห่างจากโคนเสาธง 10 เมตร และห่างจาก
แนวสายตา
โคนเสาไฟฟ้า 16 เมตร โต้งมองเห็นยอดเสาธงและ แนวสายตา
ยอดเสาไฟฟ้า เป็ นมุมเงย 60 องศา เท่ากัน ดังรูป
เสาไฟฟ้าสูงกว่าเสาธงกี่เมตร 60° 60° แนวเส้นระดับ
1. 6√3 เมตร 2. 6 เมตร โต้ง พืน้ ดิน
10 ม. 16 ม.
3. 3√3 เมตร 4. 3 เมตร
5. 2√3 เมตร
ตอบ 1 C

สามเหลีย่ มฝั่งซ้าย : A สามเหลีย่ มฝั่งขวา :


ข้าม AB ข้าม CD
tan 60° = = tan 60° = ชิด =
ชิด 10 16
AB CD
√3 = √3 =
10 16
10√3 = AB B 60° 60° D 16√3 = CD
10 16

จะเห็นว่า CD ยาวกว่า AB อยู่ 16√3 − 10√3 = 6√3 → จะสรุปได้วา่ เสาไฟฟ้าสูงกว่าเสาธงอยู่ 6√3 เมตร

7. ที่ดินรูปสามเหลีย่ มมุมฉาก ABC มี AC ̅̅̅̅ ยาว 60 เมตร


A
ต้องการแบ่งที่ดินแปลงนีอ้ อกเป็ นสองส่วน โดยทารัว้ กัน้
45°
จากจุด A ไปยังจุด P ซึง่ อยูบ่ น ̅̅̅̅
BC ดังรู ป 15°
60 ม.
รัว้ กัน้ จากจุด A ไปยังจุด P ยาวกี่เมตร
รัว้
1. 30 เมตร 2. 45 เมตร
3. 30√2 เมตร 4. 30√3 เมตร C B
P
5. 30√6 เมตร
ตอบ 3
จะใช้ ∆ABC (รูปใหญ่) หา AB แล้วค่อยใช้ ∆ABP (รูปเล็ก) หา AP
̂B =
∆ABC : cos CA =
ฃิด AB
∆ABP : ̂ B = ฃิด =
cos PA
AB
ฉาก ฉาก AP
AC
30
จาก (∗)
AB
cos(15° + 45°) = cos 45° = AP
60
1 AB √2 30
2
= 60
=
2 AP
30 = AB …(∗) AP =
60
×
√2
= 30√2
√2 √2
O-NET (ก.พ. 63) 17

8. กาหนดให้ 𝑈 = { −2 , −1 , 0 , 1 , 2 , … , 7 , 8 , 9 }
𝐴 = { 𝑥 | 𝑥∈𝑈 และ 𝑥 เป็ นจานวนคี่ }
และ 𝐵 = { 𝑥 | 𝑥∈𝑈 และ 𝑥 2 < 9 }
𝐴−𝐵 คือเซตในข้อใด
1. { −1 , 1 } 2. {1, 3} 3. {5, 7, 9}
4. {3, 5, 7, 9} 5. {1, 3, 5, 7, 9}
ตอบ 4
𝐴−𝐵 คือ อยูใ่ น 𝐴 แต่ไม่อยูใ่ น 𝐵 → คือจานวนคี่ที่ยกกาลังสองแล้วมีคา่ ไม่นอ้ ยกว่า 9 (คือ ≥ 9)
จานวนคี่ใน 𝑈 จะมี −1 , 1 , 3 , 5 , 7 , 9 (เลขติดลบ ก็เป็ นจานวนคี่ได้)
ซึง่ ในจานวนเหล่านี ้ จะมี 3 , 5 , 7 , 9 (ตรงกับตัวเลือกข้อ 4) ที่ยกกาลังสองแล้วมีคา่ ≥ 9

9. กาหนดให้ 𝑎 เป็ นจานวนจริง และ 𝑆 = { 𝑥 | 𝑥 − 2 = 𝑎 เมื่อ |𝑎 − 1| = 2 }


เซต 𝑆 เป็ นสับเซตของเซตในข้อใด
1. { 1 , 3 , 5 , 7 } 2. { 3 , 4 , 5 , 6 } 3. { −2 , 1 , 2 , 3 }
4. { −2 , −1 , 1 , 2 } 5. { −5 , −2 , 2 , 5 }
ตอบ 1
จาก | 𝑎 − 1| = 2 โจทย์ให้ 𝑥 − 2 = 𝑎
|𝑥 − 2 − 1| = 2
𝑥−3 = 2 , −2
𝑥 = 5, 1
ดังนัน้ 𝑆 = { 5 , 1} ซึง่ จะเป็ นสับเซตของข้อ {1, 3, 5, 7} ในตัวเลือกข้อ 1

10. จากการสารวจลูกค้าที่ดมื่ กาแฟ จานวน 125 คน ของร้านกาแฟแห่งหนึง่ เกี่ยวกับการใส่นา้ ตาล นมสด


หรือครีมเทียมในกาแฟ พบว่า
1) มีลกู ค้าทีใ่ ส่นา้ ตาลในกาแฟ 40 คน
2) มีลกู ค้าทีใ่ ส่ครีมเทียมในกาแฟ 50 คน
3) มีลกู ค้าทีใ่ ส่นา้ ตาลและครีมเทียมในกาแฟ 20 คน
4) มีลกู ค้าทีใ่ ส่นา้ ตาลและนมสดในกาแฟ 5 คน
5) ไม่มีลกู ค้าทีใ่ ส่นมสดและครีมเทียมในกาแฟ
6) มีลกู ค้าที่ไม่ใส่นา้ ตาล ไม่ใส่นมสด และไม่ใส่ครีมเทียมในกาแฟ 25 คน
ในการสารวจนี ้ มีลกู ค้าทีใ่ ส่นมสดในกาแฟเพียงอย่างเดียวกี่คน
1. 10 คน 2. 15 คน 3. 20 คน 4. 30 คน 5. 35 คน
ตอบ 4
ตาล ครีม ตาล ครีม
20
จาก 5) และ 6) จะได้ 0 0 เมื่อตรงกลางเป็ น 0 และ จาก 3) กับ 4) จะได้ 5 0 0
25 25
สด สด
18 O-NET (ก.พ. 63)

ตาล ครีม
จาก 1) จะได้สว่ นที่เหลือของวงนา้ ตาล = 40 − 20 − 5 = 15 15 20 30
5 0 0
จาก 2) จะได้สว่ นที่เหลือของวงครีมเทียม = 50 − 20 = 30 25
สด

มีทงั้ หมด 125 คน → เหลือนมสดอย่างเดียว = 125 − 15 − 20 − 30 − 5 − 25 = 30 คน

11. พิจารณาการอ้างเหตุผล โดยกาหนดเหตุและผล ดังนี ้


เหตุ 1) ภาพวาดในโรงเรียนทุกภาพ วาดโดยครูศิลปะ
2) ภาพวาดที่วาดโดยครูศิลปะบางภาพ เป็ นภาพสีนา้ มัน
ผล มีภาพวาดในโรงเรียนบางภาพเป็ นภาพสีนา้ มัน
กาหนดให้ 𝑆 แทน เซตของภาพวาดในโรงเรียน
𝑇 แทน เซตของภาพวาดทีว่ าดโดยครู ศิลปะ
𝑃 แทน เซตของภาพสีนา้ มัน
แผนภาพในข้อใดสอดคล้องกับเหตุที่กาหนดและแสดงว่าผลสรุปข้างต้น ไม่ สมเหตุสมผล
𝑃 𝑃 𝑃
𝑇
1. 𝑆
𝑇 2. 𝑆 𝑇 3. 𝑆

𝑃 𝑇 𝑃
𝑇
4. 𝑆 5. 𝑆

ตอบ 3
ผลสรุป จะไม่สมเหตุสมผล เมื่อมีแผนภาพที่ทาให้เหตุทกุ เหตุเป็ นจริง แต่ทาให้ผลเป็ นเท็จ
เหตุ 1) ภาพโรงเรียน (𝑆) ทุกภาพ วาดโดยครูศิลปะ (𝑇) แสดงว่าวง 𝑆 อยูใ่ นวง 𝑇 → เหลือตัวเลือก 1, 3, 5
เหตุ 2) ภาพครูศิลปะ (𝑇) บางภาพ เป็ นภาพสีนา้ มัน (𝑃) แสดงว่าวง 𝑇 กับวง 𝑃 มีสว่ นซ้อนทับกัน → เหลือ 1, 3
แต่ผล มีภาพโรงเรียน (𝑆) บางภาพเป็ นภาพสีนา้ มัน (𝑃) ต้องไม่จริง แสดงว่า วง 𝑆 กับ วง 𝑃 ต้องไม่มสี ว่ นซ้อนทับกัน
ทาให้สามารถตัดตัวเลือก 1 ทิง้ เหลือเพียงตัวเลือกข้อ 3 เท่านัน้ ทีส่ อดคล้องกับทุกเงื่อนไข

12. พิจารณาการอ้างเหตุผลต่อไปนี ้
ก) เหตุ 1) ขนมที่ขายในโรงอาหารบางชนิดไม่มีนา้ ตาลเป็ นส่วนผสม
2) มีขนม A ขายในโรงอาหาร
ผล ขนม A ไม่มีนา้ ตาลเป็ นส่วนผสม
ข) เหตุ 1) นักฟุตบอลทุกคนที่เป็ นนักเรียน ใส่กางเกงสีเหลือง
2) เก่งเป็ นนักเรียนที่ใส่กางเกงสีเหลือง
ผล เก่งเป็ นนักฟุตบอล
O-NET (ก.พ. 63) 19

ค) เหตุ 1) ครูคณิตศาสตร์ทกุ คนในโรงเรียน B แต่งงานแล้ว


2) ครูทกุ คนในโรงเรียน B ที่แต่งงานแล้วอายุมากกว่า 30 ปี
ผล ครูคณิตศาสตร์ทกุ คนในโรงเรียน B อายุมากกว่า 30 ปี
ผลสรุปใดบ้างสมเหตุสมผล
1. ก) เท่านัน้ 2. ข) เท่านัน้ 3. ค) เท่านัน้
4. ก) และ ค) 5. ข) และ ค)
ตอบ 3
จะไม่สมเหตุสมผล เมื่อมีแผนภาพที่ทาให้เหตุทกุ เหตุเป็ นจริง แต่ผลเป็ นเท็จ
จะเห็นว่า ก) และ ข) สามารถหาแผนภาพที่ทาให้เหตุทกุ เหตุเป็ นจริง แต่ผลเป็ นเท็จ ได้ จึงไม่สมเหตุสมผล
ใส่เหลือง
โรงอาหาร นา้ ตาล
ก) ข) นักบอล นักเรียน
A
เก่ง

ส่วน ค) จะจัดรูปเหตุ 1) เล็กน้อยโดยจะเขียนซา้ ข้อความ “ครูใน B”


เพื่อให้ “ครูใน B ที่แต่งานแล้ว” มาเชื่อมกับ เหตุ 2) ได้ อายุ > 30 ปี
เนื่องจาก ครูคณิตทุกคนใน B เป็ นครูใน B ครูใน B ที่แต่งงานแล้ว
ดังนัน้ “ครูคณิตทุกคนใน B แต่งงานแล้ว” ครูคณิตใน B
จะเหมือนกับ “ครูคณิตทุกคนใน B เป็ นครูใน B ทีแ่ ต่งงานแล้ว”
ซึง่ จากแผนภาพ จะเห็นว่าผลสรุปจริงเสมอ → สมเหตุสมผล

13. กราฟแสดงความสัมพันธ์ 𝑟 เป็ นบริเวณที่แรเงา ดังนี ้


6

5
4

−1 0 1 2 3 4 5 6
−1

ความสัมพันธ์ 𝑟 คือเซตในข้อใด
1. 𝑟 = { (𝑥, 𝑦) | 𝑥 + 𝑦 < 5 , 𝑥>1 และ 𝑦>2 }
2. 𝑟 = { (𝑥, 𝑦) | 𝑥 + 𝑦 < 5 , 𝑥>2 และ 𝑦>1 }
3. 𝑟 = { (𝑥, 𝑦) | 𝑥 + 𝑦 < 5 , 𝑥<4 และ 𝑦<3 }
4. 𝑟 = { (𝑥, 𝑦) | 𝑥 + 𝑦 > 5 , 𝑥>2 และ 𝑦>1 }
5. 𝑟 = { (𝑥, 𝑦) | 𝑥 + 𝑦 > 5 , 𝑥<4 และ 𝑦<3 }
20 O-NET (ก.พ. 63)

ตอบ 2
𝑥=2
เส้นแนวดิง่ ตัดแกน X ที่ 2 จะมีสมการคือ 𝑥 = 2
ส่วนที่แรเงาอยูท่ างขวาของเส้นประนี ้ → จะได้เงื่อนไขหนึง่ คือ 𝑥 > 2 𝑥>2
พิจารณาตัวเลือก จะเหลือข้อ 2 และ ข้อ 4
ซึง่ ข้อ 2 และ ข้อ 4 จะต่างกันที่เงื่อนไข 𝑥 + 𝑦 < 5 หรือ > 5
ทดลองสุม่ จุดในส่วนที่แรเงามาแทนดูวา่ เงื่อนไขอันไหนเป็ นจริง
สุม่ จุด (2.5 , 1.5) มาแทนดู จะเห็นว่า 2.5 + 1.5 < 5 ซึง่ จะตรงกับเงื่อนไขในข้อ 2

14. กาหนดให้ 𝑎 เป็ นจานวนจริง และ 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั โดยที่ 𝑓(𝑥) = (𝑥 + 𝑎)2 − 𝑎 เมื่อ 𝑎 เป็ นจานวนจริง
ถ้า 𝑓(−2) = 𝑓(4) แล้ว 𝑎 มีคา่ เท่ากับเท่าใด
1. −3 2. −2 3. −1 4. 1 5. 2
ตอบ 3
𝑓(−2) = 𝑓(4)
โจทย์ให้ 𝑓(𝑥) = (𝑥 + 𝑎)2 − 𝑎
(−2 + 𝑎)2 − 𝑎 = (4 + 𝑎)2 − 𝑎
(−2 + 𝑎)2 = (4 + 𝑎)2 (น + ล)2 = น2 + 2นล + ล2
(−2) + 2(−2)𝑎 + 𝑎2
2
= 42 + 2(4)𝑎 + 𝑎2
4 − 4𝑎 = 16 + 8𝑎
−12 = 12𝑎
−1 = 𝑎

15. กาหนดให้ 𝐼 แทนเซตของจานวนเต็ม และ 𝐴 = { 𝑥 | 𝑥∈𝐼 และ 2𝑥 2 − 3𝑥 − 14 ≤ 0 }


ผลรวมของสมาชิกทุกตัวในเซต 𝐴 เท่ากับเท่าใด
1. −5 2. −3 3. 3 4. 5 5. 7
ตอบ 3
2𝑥 2 − 3𝑥 − 14 ≤ 0
(2𝑥 − 7)(𝑥 + 2) ≤ 0
→ จะได้จานวนเต็มในช่วงนีค้ ือ −2 , −1 , 0 , 1 , 2 , 3
−2
7 ซึง่ เมื่อรวมกัน จานวนลบจะหักกับจานวนบวก เหลือผลรวม = 3
2
7
= 3.5
2

16. กาหนดให้ 𝑎 และ 𝑏 เป็ นจานวนจริง ถ้ากราฟของ 𝑦 = 2𝑥+𝑎 + 𝑏 ตัดแกน 𝑋 ที่จดุ (2, 0)
และตัดแกน 𝑌 ที่จดุ (0, −1.5) แล้ว 𝑎 + 𝑏 มีคา่ เท่ากับเท่าใด
1. −7 2. −3 3. −1 4. 0.5 5. 2
ตอบ 2
จุดตัดแกน จะอยูบ่ นกราฟด้วย → เมื่อแทนในสมการกราฟ จะทาให้สมการเป็ นจริง
(2, 0) : 0 = 22+𝑎 + 𝑏 (0, −1.5) : −1.5 = 20+𝑎 + 𝑏
0 = 22 ∙ 2𝑎 + 𝑏 −1.5 = 2𝑎 + 𝑏 …(2)
0 = 4(2𝑎 ) + 𝑏 …(1)
O-NET (ก.พ. 63) 21

(1) − (2) : 0 − (−1.5) = (4(2𝑎 ) + 𝑏) − (2𝑎 + 𝑏)


1.5 = 3(2𝑎 )
0.5 = 2𝑎 แทนใน (2) : −1.5 = 0.5 + 𝑏
1
2
= 2𝑎 −2 = 𝑏
−1
2 = 2𝑎
−1 = 𝑎 จะได้ 𝑎 + 𝑏 = −1 + (−2) = −3

17. บริษัทวางแผนการจ้างพนักงาน โดยรายได้และรายจ่ายของบริษัทคานวณได้ดงั นี ้


รายได้ตอ่ เดือน เท่ากับ 𝑎𝑥 2 บาท และ รายจ่ายต่อเดือน เท่ากับ 𝑏𝑥 บาท
เมื่อ 𝑥 แทน จานวนพนักงานที่บริษัทจ้างในหนึง่ เดือน (คน) และ 𝑎, 𝑏 เป็ นจานวนจริงบวก
จากข้อมูลเกี่ยวกับการจ้างพนักงานของบริษัทนี ้ พบว่า
 ในเดือนที่บริษัทจ้างพนักงาน 100 คน ในเดือนนัน ้ บริษัทจะมีรายได้เท่ากับรายจ่าย
 ในเดือนที่บริษัทจ้างพนักงาน 200 คน ในเดือนนัน ้ บริษัทจะมีรายได้มากกว่ารายจ่ายอยู่ 100,000 บาท
ในเดือนที่บริษัทนีจ้ า้ งพนักงาน 300 คน ในเดือนนัน้ บริษัทจะมีรายได้มากกว่ารายจ่ายอยูก่ ี่บาท
1. 100,000 บาท 2. 150,000 บาท 3. 200,000 บาท
4. 250,000 บาท 5. 300,000 บาท
ตอบ 5
จ้าง 100 คน → 𝑥 = 100 จ้าง 200 คน → 𝑥 = 200
จะได้ รายได้ = รายจ่าย จะได้ รายได้ − รายจ่าย = 100000
𝑎𝑥 2 = 𝑏𝑥 𝑎𝑥 2 − 𝑏𝑥 = 100000
𝑎(100)2 = 𝑏(100) 𝑎(200)2 − 𝑏(200) = 100000
100𝑎 = 𝑏 …(∗) 200𝑎 − 𝑏 = 500
200𝑎 − 100𝑎 = 500
100𝑎 = 500
𝑎 = 5 → แทนใน (∗) จะได้ 𝑏 = 500
ถ้าจ้าง 300 คน → 𝑥 = 300 จะมีรายได้มากกว่ารายจ่าย = 𝑎𝑥 2 − 𝑏𝑥
= 5(300)2 − 500(300)
= 450,000 − 150,000 = 300,000 บาท

18. ถ้าพจน์ท่วั ไปของลาดับ 𝑎𝑛 คือ 12 (𝑛2 + 3𝑛) เมื่อ 𝑛 ∈ { 1, 2, 3, … , 19, 20 }


แล้วจานวนในข้อใดอยูใ่ นลาดับนี ้
1. 10 2. 15 3. 21 4. 25 5. 27
ตอบ 5
จาก 𝑎𝑛 = 12 (𝑛2 + 3𝑛)
2𝑎𝑛 = 𝑛(𝑛 + 3) → จานวนในลาดับนี ้ เมื่อคูณ 2 แล้วต้องเขียนเป็ นผลคูณของจานวนที่ตา่ งกัน 3 ได้
1. 10 2. 15 3. 21 ×2 4. 25 5. 27 ×2
×2 ×2 ×2
20 30 42 50 54
4×5 5×6 6×7 5 × 10 6×9 
2 × 10 3 × 10 3 × 14
จะเห็นว่ามีขอ้ 5 เท่านัน้ ที่เขียนเป็ นผลคูณของจานวนที่ตา่ งกัน 3 ได้ (6 + 3 = 9)
22 O-NET (ก.พ. 63)

19. กาหนดให้ 𝑎1 , 𝑎2 , 𝑎3 , … , 𝑎44 , 𝑎45 เป็ นลาดับเลขคณิต


ถ้า 𝑎1 = 60 และ 𝑎45 = 720 แล้ว 𝑎36 − 𝑎34 มีคา่ เท่ากับเท่าใด
1. 30 2. 32 3. 34 4. 36 5. 45
ตอบ 1
จากสูตรพจน์ท่วั ไปของลาดับเลขคณิต 𝑎𝑛 = 𝑎1 + (𝑛 − 1)𝑑 แทน 𝑛 = 45
𝑎45 = 𝑎1 + (45 − 1)𝑑
720 = 60 + 44𝑑
660 = 44𝑑
15 = 𝑑
ดังนัน้ แต่ละพจน์ในลาดับนี ้ จะเพิ่มขึน้ จากพจน์ก่อนหน้าทีละ 15
เนื่องจาก 𝑎36 เป็ นพจน์ที่อยูถ่ ดั จาก 𝑎34 ไป 2 พจน์ จึงเพิ่มขึน้ 15 + 15 = 30 นั่นคือ 𝑎36 − 𝑎34 = 30

20. กาหนดให้ 𝑎 และ 𝑏 เป็ นจานวนจริงบวก ถ้า 𝑎 , 2 , 𝑏 , 6 , … เป็ นลาดับเรขาคณิต


แล้วพจน์ที่ 10 ของลาดับนีเ้ ท่ากับเท่าใด
1. 18 2. 36 3. 54 4. 81 5. 162
ตอบ 5
จากลาดับที่โจทย์ให้ เราจะรูพ้ จน์ที่สอง 𝑎2 = 2 และพจน์ที่สี่ 𝑎4 = 6
จากสูตรพจน์ท่วั ไปของลาดับเรขาคณิต 𝑎𝑛 = 𝑎1 𝑟 𝑛−1
แทน 𝑛 = 2 : 𝑎2 = 𝑎1 𝑟 2−1 แทน 𝑛 = 4 : 𝑎4 = 𝑎1 𝑟 4−1
2 = 𝑎1 𝑟 …(1) 6 = 𝑎1 𝑟 3 …(2)
6 𝑎1 𝑟 3
(2) ÷ (1) : =
2 𝑎1 𝑟
2
3 = 𝑟
√3 = 𝑟 → แทนใน (1) : 2 = 𝑎1 √3
2
= 𝑎1
√3

แทน 𝑛 = 10 ในสูตรพจน์ท่วั ไป จะได้ 𝑎10 = 𝑎1 𝑟10−1


2 9 8
= (√3) = 2(√3) = 2(3)4 = 162
√3

21. ถ้า 𝑘 เป็ นจานวนจริงที่มากกว่า 1 แล้ว 𝑘 + 𝑘2 + 𝑘3 + 𝑘4 + 𝑘5 + 𝑘6 + 𝑘7 + 𝑘8 เท่ากับเท่าใด


𝑘(𝑘 7
− 1) 𝑘(𝑘 8 − 1) 𝑘8
1. 𝑘−1
2. 𝑘−1
3. 𝑘−1
4. 4(𝑘 + 𝑘 ) 7
5. 4(𝑘 + 𝑘 ) 8

ตอบ 2
แต่ละพจน์ คูณเพิม่ ทีละ 𝑘 → เป็ นอนุกรมเรขาคณิตทีม่ ีอตั ราส่วนร่วม 𝑟=𝑘 โดยมีพจน์แรก 𝑎1 = 𝑘
𝑎1 (𝑟 𝑛 −1)
ใช้สตู รอนุกรมเรขาคณิต 𝑆𝑛 =
𝑟−1
โดยแทน 𝑛=8 (บวกกัน 8 พจน์)
𝑘(𝑘 8 −1)
จะได้ผลบวก = 𝑘−1
O-NET (ก.พ. 63) 23

22. กาหนดให้ 𝑎 และ 𝑏 เป็ นจานวนจริง ถ้าผลบวกของพจน์ทกุ พจน์ของลาดับเลขคณิต 2 , 𝑎 , 10 , … , 𝑏


เท่ากับ 288 แล้ว 𝑎 + 𝑏 มีคา่ เท่ากับเท่าใด
1. 48 2. 50 3. 52 4. 54 5. 56
ตอบ 3
จากลาดับที่โจทย์ให้ เราจะรูพ้ จน์แรก 𝑎1 = 2 และพจน์ที่สาม 𝑎3 = 10
จากสูตรพจน์ท่วั ไปของลาดับเลขคณิต 𝑎𝑛 = 𝑎1 + (𝑛 − 1)𝑑 …(∗)
แทน 𝑛 = 3 จะได้ 𝑎3 = 𝑎1 + (3 − 1)𝑑
10 = 2 + 2𝑑
4 = 𝑑
𝑛
โจทย์ให้ผลบวก = 288 → ใช้สตู รอนุกรมเลขคณิต 𝑆𝑛 = 2
(2𝑎1 + (𝑛 − 1)𝑑)
𝑛
288 = (2(2) + (𝑛 − 1)4)
2
𝑛
288 = ( 4 + 4𝑛 − 4 )
2
2
288 = 2𝑛
12 = 𝑛

ดังนัน้ ลาดับนีม้ ี 12 พจน์ จะได้ 𝑏 = พจน์ที่ 12 → 𝑎+𝑏 = พจน์ที่ 2 + พจน์ที่ 12 = 𝑎2 + 𝑎12


แทน 𝑛 = 2 ใน (∗) : 𝑎2 = 𝑎1 + (2 − 1)𝑑 แทน 𝑛 = 12 ใน (∗) : 𝑎12 = 𝑎1 + (12 − 1)𝑑
= 2 + (1)4 = 2 + (11)4
= 6 = 46
จะได้ 𝑎 + 𝑏 = 6 + 46 = 52

23. หุน่ ยนต์ตวั หนึง่ เคลือ่ นที่ตามแนวเส้นตรง


โดย เวลาตัง้ แต่ 0 วินาที ถึง 1 วินาที หุน่ ยนต์นเี ้ คลือ่ นที่ ได้ระยะทาง 50 นิว้
เวลาตัง้ แต่ 1 วินาที ถึง 2 วินาที หุน่ ยนต์นเี ้ คลือ่ นที่ตอ่ ไป ได้ระยะทางอีก 48 นิว้
เวลาตัง้ แต่ 2 วินาที ถึง 3 วินาที หุน่ ยนต์นเี ้ คลือ่ นที่ตอ่ ไป ได้ระยะทางอีก 46 นิว้
และ หุน่ ยนต์นเี ้ คลือ่ นที่ในทานองนีไ้ ปเรือ่ ยๆ จนหยุดนิง่ ระยะทางทัง้ หมดที่หนุ่ ยนต์เคลือ่ นที่ได้เท่ากับกี่นวิ ้
1. 575 นิว้ 2. 598 นิว้ 3. 625 นิว้ 4. 650 นิว้ 5. 676 นิว้
ตอบ 4
จะเห็นว่าระยะทางทีเ่ คลือ่ นที่ได้ 50, 48, 46, … → ลดลงทีละ 2 จะเป็ นลาดับเลขคณิต ที่มี 𝑎1 = 50 และ 𝑑 = −2
หยุดนิ่ง คือเคลือ่ นได้ 0 นิว้ จะได้พจน์สดุ ท้าย 𝑎𝑛 = 0 → ต้องหาผลบวก 50 + 48 + 46 + … + 2 + 0
จากสูตรลาดับเลขคณิต 𝑎𝑛 = 𝑎1 + (𝑛 − 1)𝑑
0 = 50 + (𝑛 − 1)(−2)
0 = 50 −2𝑛 + 2
2𝑛 = 52
𝑛 = 26
𝑛
ใช้สตู รอนุกรมเลขคณิต จะได้ผลบวก 𝑆𝑛 = 2
(2𝑎1 + (𝑛 − 1)𝑑)
26
= 2
(2(50) + (26 − 1)(−2))
= 13( 100 − 50 ) = 650
24 O-NET (ก.พ. 63)

24. แผนภาพต้น – ใบ แสดงข้อมูลซึง่ เป็ นคะแนนสอบวิชาภาษาอังกฤษของนักเรียนกลุม่ หนึง่


0 7 9
1
2 2 3 3 3 8
3 0 0 5 7
4 2 4 5
5 0

เปอร์เซ็นไทล์ที่ 70 ของข้อมูลชุดนีเ้ ท่ากับกี่คะแนน


1. 35.4 คะแนน 2. 36 คะแนน 3. 37 คะแนน
4. 38 คะแนน 5. 39.5 คะแนน
ตอบ 4
นับตัวเลขทางฝั่งขวาของเส้นคั่น จะนับได้ 15 จานวน ดังนัน้ มีขอ้ มูล 15 ตัว 0 7 9
𝑟 1
ใช้สตู รตาแหน่ง 𝑃𝑟 = 100 × (𝑁 + 1) 2 2 3 3 3 8
70 3 0 0 5 7
จะได้ 𝑃70 อยูต่ วั ที่ 100 × (15 + 1) = 11.2 4 2 4 5 ตัวที่ 11
นับตัวเลขทางฝั่งขวาของเส้นคั่น ตัวที่ 11 คือ 37 และตัวที่ 12 คือ 42 5 0 ตัวที่ 12
ใช้สตู รการประมาณค่าระหว่างตาแหน่ง จะได้ ตัวที่ 11.2 = ตัวที่ 11 + 0.2 × (ตัวที่ 12 − ตัวที่ 11)
= 37 + 0.2 × ( 42 − 37 ) = 38

25. นักท่องเที่ยวกลุม่ หนึง่ มีจานวน 20 คน เมื่อชั่งสัมภาระของแต่ละคนรวมกันแล้ว ได้นา้ หนักเฉลีย่ ของสัมภาระของ


ทัง้ 20 คน เป็ น 30.4 กิโลกรัม ต่อมามีนกั ท่องเที่ยวบางคนหยิบสัมภาระออกมาส่วนหนึง่ พบว่า นา้ หนักเฉลีย่ ใหม่
ของสัมภาระของทัง้ 20 คน เป็ น 29.6 กิโลกรัม สัมภาระที่หยิบออกมาหนักกี่กิโลกรัม
1. 8 กิโลกรัม 2. 16 กิโลกรัม 3. 25 กิโลกรัม
4. 30 กิโลกรัม 5. 32 กิโลกรัม
ตอบ 2
ผลรวมข้อมูล
จากสูตร ค่าเฉลีย่ = จานวนข้อมูล จะได้
ผลรวมนา้ หนักก่อนหยิบ ผลรวมนา้ หนักหลังหยิบ
นา้ หนักเฉลีย่ ก่อนหยิบ = จานวนคน
นา้ หนักเฉลีย่ หลังหยิบ = จานวนคน
ผลรวมนา้ หนักก่อนหยิบ ผลรวมนา้ หนักหลังหยิบ
30.4 = 20
29.6 = 20
608 = ผลรวมนา้ หนักก่อนหยิบ 592 = ผลรวมนา้ หนักหลังหยิบ

จะเห็นว่าหลังหยิบสัมภาระออก นา้ หนักรวมลดลง 608 − 592 = 16 แสดงว่า หยิบออก 16 กิโลกรัม

26. ข้อมูลชุดหนึง่ มีสบิ จานวน ประกอบด้วย 𝑥1 , 𝑥2 , 𝑥3 , … , 𝑥10 โดยที่ 𝑥𝑖 = {


𝑖 เมื่อ 𝑖 เป็ นจานวนคี่
2𝑖 + 2 เมื่อ 𝑖 เป็ นจานวนคู่
มัธยฐานของข้อมูลชุดนีเ้ ท่ากับเท่าใด
1. 5 2. 5.5 3. 7 4. 8 5. 9.5
ตอบ 4
จะหามัธยฐาน ต้องเรียงข้อมูลจากน้อยไปมากก่อน (ข้อมูลชุดนี ้ ยังไม่ได้เรียงลาดับ จึงยังใช้หามัธยฐานไม่ได้)
พจน์คี่ 𝑥1 , 𝑥3 , 𝑥5 , 𝑥7 , 𝑥9 ใช้สตู ร 𝑥𝑖 = 𝑖 จะได้ 5 พจน์นคี ้ ือ 1 , 3 , 5 , 7 , 9
O-NET (ก.พ. 63) 25

พจน์คู่ 𝑥2 , 𝑥4 , 𝑥6 , 𝑥8 , 𝑥10 ใช้สตู ร 𝑥𝑖 = 2𝑖 + 2 จะได้ 5 พจน์นคี ้ ือ 2(2) + 2 , 2(4) + 2 , 2(6) + 2 , …


= 6 , 10 , 14 , 18 , 22
เรียงข้อมูลทัง้ 10 จานวน จะได้ 1 , 3 , 5 , 6 , 7 , 9 , 10 , 14 , 18 , 22
จากสูตรตาแหน่งมัธยฐาน 𝑁+1 2
จะได้มธั ยฐานอยูต่ วั ที่ 10+1
2
= 5.5 → ตรงกลางระหว่าง 7 และ 9
7+9
→ จะได้ มัธยฐาน = = 10
2

27. ตารางแสดงความยาวรอบอกและสีเสือ้ ของนักแสดง 5 คน


นักแสดง คนที่ 1 คนที่ 2 คนที่ 3 คนที่ 4 คนที่ 5
ความยาวรอบอก (นิว้ ) 34 42 40 36 38
สีเสือ้ สีแดง สีชมพู สีแดง สีมว่ ง สีแดง

พิจารณาข้อความต่อไปนี ้
ก) ค่าเฉลีย่ เลขคณิตของความยาวรอบอก คือ 38 นิว้
ข) มัธยฐานเป็ นค่ากลางที่เหมาะสม เพื่อใช้เป็ นตัวแทนของข้อมูลสีเสือ้ ได้
ค) ฐานนิยมเป็ นค่ากลางที่เหมาะสม เพื่อใช้เป็ นตัวแทนของข้อมูลความยาวรอบอกได้
จากข้อความ ก) ข) และ ค) ข้างต้น ข้อใดถูกต้อง
1. ข้อความ ก) ถูกต้องเพียงข้อเดียวเท่านัน้ 2. ข้อความ ข) ถูกต้องเพียงข้อเดียวเท่านัน้
3. ข้อความ ค) ถูกต้องเพียงข้อเดียวเท่านัน้ 4. ข้อความ ก) และ ข) ถูกต้องเท่านัน้
5. ข้อความ ก) และ ค) ถูกต้องเท่านัน้
ตอบ 1
ก) ค่าเฉลีย่ เลขคณิต = ผลรวมข้ อมูล
จานวนตัว
=
34+42+40+36+38
5
190
= 5 = 38 
ข) สีเสือ้ ไม่สามารถเรียงลาดับได้ จึงหามัธยฐานไม่ได้ 
ค) ฐานนิยม เหมาะกับข้อมูลเชิงคุณภาพ แต่ความยาวรอบอก เป็ นข้อมูลเชิงปริมาณ จึงไม่เหมาะกับฐานนิยม 

28. ข้อมูลกลุม่ ตัวอย่างชุดหนึง่ มี 5 จานวน ถ้าข้อมูลชุดนีม้ ีฐานนิยมเป็ น 6 มัธยฐานเป็ น 8 พิสยั เป็ น 10 และค่าเฉลีย่
เลขคณิตเป็ น 10 แล้วส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของข้อมูลชุดนีเ้ ท่ากับเท่าใด
1. √5 2. √22 3. 3√2 4. 2 5. 5
ตอบ 2
มีขอ้ มูล 4 ตัว และมัธยฐานเป็ น 8 แสดงว่าตัวตรงกลาง (ตัวที่ 3) มีคา่ 8 → __ , __ , 8 , __ , __
ฐานนิยมเป็ น 6 แสดงว่ามีอย่างน้อย 2 ตัวเป็ น 6 → 6 , 6 , 8 , __ , __ (เพราะ 6 < 8)
พิสยั = 10 แต่ขอ้ มูลน้อยสุด = 6 ดังนัน้ ข้อมูลมากสุด = 10 + 6 = 16 → 6 , 6 , 8 , __ , 16
ค่าเฉลีย่ เลขคณิต = 10 ดังนัน้ 6+6+8+𝑥+165
= 10
𝑥 + 36 = 50
𝑥 = 14 → 6 , 6 , 8 , 14 , 16
∑(𝑥𝑖 − 𝑥̅ )2 (6−10)2 +(6−10)2 +(8−10)2 +(14−10)2 +(16−10)2
ใช้สตู ร 𝑠 ของกลุม่ ตัวอย่าง √
𝑁−1
จะได้ 𝑠= √ 5−1

16 + 16 + 4 + 16 + 36
= √ 4
= √4 + 4 + 1 + 4 + 9 = √22
26 O-NET (ก.พ. 63)

29. ตารางแสดงผลการสารวจวันที่ออกกาลังกายในแต่ละสัปดาห์ของนักศึกษากลุม่ หนึง่ จาแนกตามระดับการศึกษา


จานวนวันที่ออกกาลังกาย จานวนนักศึกษา (คน)
ต่อสัปดาห์ ปริญญาตรี สูงกว่าปริญญาตรี
น้อยกว่า 3 วัน 45 25
3 วัน ถึง 5 วัน 20 20
มากกว่า 5 วัน 25 15

หากสุม่ นักศึกษาจากกลุม่ นีม้ าหนึง่ คน ความน่าจะเป็ นทีจ่ ะได้นกั ศึกษาระดับปริญญาตรีที่


ออกกาลังกาย ไม่ เกิน 5 วันต่อสัปดาห์ เท่ากับใด
1. 13
30
2. 15 2
3. 11
15
4. 103
5. 3
5
ตอบ 1
จานวนนักศึกษาทัง้ หมด = 45 + 20 + 25 + 25 + 20 + 15 = 150 คน
ไม่เกิน 5 วัน จะได้จากช่อง “น้อยกว่า 3 วัน” รวมกับช่อง “3 วันถึง 5 วัน”
จะได้จานวนนักศึกษา ป. ตรี ที่ออกกาลังไม่เกิน 5 วัน = 45 + 20 = 65
65 13
จะได้ความน่าจะเป็ น = 150 = 30

30. จุกและปอเป็ นพนักงานบัญชีประจาสานักงานใหญ่ของบริษัทแห่งหนึง่ ซึง่ มีสาขาอยูท่ งั้ หมด 4 สาขา จุกและปอต้อง


เลือกสาขา คนละหนึง่ สาขา เพื่อไปตรวจสอบบัญชี โดยทัง้ สองคนไม่ตรวจสอบบัญชีของสาขาเดียวกัน
จานวนวิธีที่จกุ และปอเลือกสาขาที่แตกต่างกันมีได้ทงั้ หมดกี่วิธี
1. 7 วิธี 2. 8 วิธี 3. 12 วิธี 4. 16 วิธี 5. 24 วิธี
ตอบ 3
จะแบ่งงานเป็ น 2 ขัน้ ตอน ดังนี ้
ขัน้ ตอนที่ 1 : เลือกสาขาให้จกุ จากสาขาที่มีทงั้ หมด จะเลือกได้ 4 แบบ
ขัน้ ตอนที่ 2 : เลือกสาขาให้ปอ โดยต้องไม่ใช่สาขาทีเ่ ลือกให้จกุ จะมีสาขาเหลือให้เลือกได้ 3 แบบ
จะได้จานวนแบบทัง้ หมด = 4 × 3 = 12 แบบ

31. ร้านค้าจัดรายการสมนาคุณให้แก่ลกู ค้า โดยให้ลกู ค้าสุม่ หยิบสลาก 1 ใบ จากกล่องซึง่ มีสลากทัง้ หมด 40 ใบ ดังนี ้
สลากสีขาว 20 ใบ เป็ น สลากหมายเลข 1 , 2 , 3 , … , 19 , 20
และ สลากสีแดง 20 ใบ เป็ น สลากหมายเลข 21 , 22 , 23 , … , 39 , 40
ลูกค้าที่หยิบได้สลากสีขาวทีม่ ีหมายเลขมากกว่า 15 หรือ หยิบได้สลากสีแดงที่มีหมายเลขเป็ นจานวนคู่ จะได้รบั ของ
สมนาคุณจากทางร้านค้า ความน่าจะเป็ นที่ลกู ค้าคนแรกสุม่ หยิบสลากแล้วได้รบั ของสมนาคุณเท่ากับเท่าใด
1. 14 2. 38 3. 25 4. 58 5. 78
ตอบ 2
จานวนแบบทัง้ หมด = จานวนสลากทัง้ หมด = 40 แบบ
จานวนแบบที่สนใจ = จานวนสลากสีขาวที่มากกว่า 15 + จานวนสลากสีแดงทีเ่ ป็ นเลขคู่
สีขาวที่มากกว่า 15 จะมี 16 , 17 , 18 , 19 , 20 รวม 5 แบบ
สีแดงที่เป็ นคู่ จะมีครึง่ หนึง่ ของสลากสีแดงทัง้ หมด (เพราะสลากสลับ คี่ , คู่ , คี่ , คู่ , … , คู)่ → 20
2
= 10 แบบ
O-NET (ก.พ. 63) 27

5 + 10 15 3
จะได้ความน่าจะเป็ น = 40
= 40
= 8

32. กล่องใบหนึง่ มีลกู บอล 3 สี คือ สีแดง สีนา้ เงิน และสีขาว โดยมีลกู บอลสีแดงและสีนา้ เงินรวมกัน 24 ลูก
และความน่าจะเป็ นในการสุม่ หยิบลูกบอล 1 ลูก แล้วได้ลกู บอลสีตา่ งๆ เป็ นดังนี ้
1) ความน่าจะเป็ นที่จะได้ลกู บอลสีขาวเท่ากับ 13
2) ความน่าจะเป็ นที่จะได้ลกู บอลสีแดงเท่ากับ 14
กล่องใบนีม้ ีลกู บอลสีนา้ เงินกี่ลกู
1. 5 ลูก 2. 9 ลูก 3. 10 ลูก 4. 12 ลูก 5. 15 ลูก
ตอบ 5
สมมติให้มีลกู บอลสีแดง 𝑟 ลูก สีนา้ เงิน 𝑏 ลูก และสีขาว 𝑤 ลูก
จานวนลูกบอลสีขาว จานวนลูกบอลสีแดง 1
จาก 1) จะได้ 1
= 3 จาก 2) จะได้ จานวนลูกบอลทัง้ หมด
= 4
จานวนลูกบอลทัง้ หมด
𝑤 1 𝑟 1
โจทย์ให้ แดง 𝑟+𝑏+𝑤
= 3 𝑟+𝑏+𝑤
= 4
และนา้ เงิน 𝑤 1 𝑟 1
= =
รวมกัน 24 ลูก 24 +𝑤 3 24 +12 4
3𝑤 = 24 +𝑤 4𝑟 = 36
2𝑤 = 24 𝑟 = 9
𝑤 = 12 ดังนัน้ จะเหลือสีนา้ เงิน = 24 − 9 = 15 ลูก

2 3
33. (√648 − √3) 3
+ (3 √16 − 2√54)
3
เท่ากับเท่าใด
ตอบ 0.75
6 2 3 3 3
= ( − √3) + (3 √24 − 2√2 ∙ 33 )
√24 ∙3
6 2 3 3 3
= (22 − √3) + (3 ∙ 2√2 − 2 ∙ 3√2)
√3
3 2 3 3 3
= (2 − √3) + ( 6 √2 − 6√2 )
√3
3 − 6 2
= ( 2√3
) + 0
−3 2 9 3
= ( ) = = = 0.75
2√3 4(3) 4
28 O-NET (ก.พ. 63)

34. จุด A จุด B จุด C และจุด D เป็ นจุดตัดของถนนทีเ่ ป็ นส่วนของเส้นตรงสีส่ าย โดยที่ ̅̅̅̅
AB ขนานกับ ̅̅̅̅
DC ดังรู ป

A B
𝜃
ถ้า sin 𝜃 = 35 , cos 𝜃 = 45
และ ระยะทางจากจุด B ถึงจุด C เท่ากับ 4.5 กิโลเมตร
แล้ว ระยะทางจากจุด A ถึงจุด D เท่ากับกี่กิโลเมตร
D C

ตอบ 7.5
ลาก ̅̅̅̅
ED ดังรู ป จะได้ ED = BC = 4.5
A E B ข้าม ED
𝜃 ใช้อตั ราส่วนตรีโกณกับ ∆ADE จะได้ sin 𝜃 = ฉาก = AD
3 4.5
5
= AD
4.5 × 5
AD =
D C 3
= 7.5

35. จากการสารวจนักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมของโรงเรียนแห่งหนึง่ จานวน 800 คน พบว่า


1) นักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรม A แต่ไม่เข้าร่วมกิจกรรม B มีจานวน 230 คน
2) นักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรม B แต่ไม่เข้าร่วมกิจกรรม C มีจานวน 270 คน
3) นักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรม C แต่ไม่เข้าร่วมกิจกรรม A มีจานวน 200 คน
4) นักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมอื่นๆ ทีไ่ ม่ใช่กิจกรรม A ไม่ใช่กิจกรรม B และไม่ใช่กิจกรรม C มีจานวน 20 คน
ในการสารวจนี ้ นักเรียนที่เข้าร่วมทัง้ กิจกรรม A กิจกรรม B และกิจกรรม C มีจานวนกี่คน
ตอบ 80
จากทัง้ 4 ข้อ จะได้ A แต่ไม่ B = 230 B แต่ไม่ C = 270 C แต่ไม่ A = 200 ไม่ A B C = 20

จะเห็นว่า รูปทัง้ 4 ไม่ซอ้ นทับกันเลย ซึง่ ถ้านาทุกรูปมารวมกัน


จะได้เกือบครบทุกส่วน (ยกเว้นตรงกลาง) ดังรูป 230 + 270 + 200 + 20 = 720

เนื่องจากมีนกั เรียนทัง้ หมด 800 คน → จะเหลือตรงกลาง (เข้าทัง้ A B C) = 800 − 720 = 80 คน

36. ถ้า 𝐴 = { 5 , 6 , 7 , … , 12 , 13 , 14 } และ 𝑟 = { (𝑥, 𝑦) ∈ 𝐴 × 𝐴 | 𝑦 = 𝑥 −2 1 }


แล้ว 𝑟 มีสมาชิกทัง้ หมดกี่ตวั
ตอบ 2
เนื่องจาก (𝑥, 𝑦) ∈ 𝐴 × 𝐴 ดังนัน้ ต้องแทน 𝑥 จาก 𝐴 ลงในสูตร 𝑦 = 𝑥 −2 1 แล้วเลือกเฉพาะตัวที่ได้คา่ 𝑦 อยูใ่ น 𝐴
ั้ 𝑥 −2 1 จะหารไม่ลงตัว
→ 𝑥 ต้องเป็ นเลขคี่ ไม่งน
→ ถ้า 𝑥 น้อยเกินไป จะได้ 𝑦 < 5 ซึง่ ไม่อยูใ่ น 𝐴 → จะเห็นว่า 𝑥 ต้องเป็ น 11 ขึน้ ไป ถึงทาให้ 𝑦 เริม
่ อยูใ่ น 𝐴
O-NET (ก.พ. 63) 29

จะเห็นว่า มี 𝑥 = 11 → 𝑦 = 112− 1 = 5 และ 𝑥 = 13 → 𝑦=


13 − 1
2
= 6 เท่านัน้
ดังนัน้ 𝑟 จะมีสมาชิกคือ (11, 5) และ (13, 6) รวม 2 ตัว

37. กาหนดให้ 𝑎, 𝑏 และ 𝑐 เป็ นจานวนเต็ม พิจารณาแบบรูปต่อไปนี ้


4 90 8 81 16 72 ... 𝑎 27 1,024 𝑏

20 30 40 90 𝑐

รูปที่ 1 รูปที่ 2 รูปที่ 3 ... รูปที่ 8 รูปที่ 9


𝑎+𝑏+𝑐 มีคา่ เท่ากับเท่าใด
ตอบ 630 ×2 −9

สังเกตความสัมพันธ์ของรูป 2 รูปที่อยูต่ ิดกัน จะเป็ นดังนี ้ 4 90 8 81

20 30
+ 10
×2 −9
ดังนัน้ รูปที่ 8 และ 9 จึงน่าจะมีความสัมพันธ์แบบเดียวกัน
ซึง่ จะได้ 𝑎 × 2 = 1024 → 𝑎 = 512 𝑎 27 1,024 𝑏
𝑏 = 27 − 9 = 18
𝑐 = 90 + 10 = 100 90 𝑐
ดังนัน้ 𝑎 + 𝑏 + 𝑐 = 512 + 18 + 100 = 630 + 10

38. รูปสามเหลีย่ มมุมฉากรูปหนึง่ มีความยาวของด้านสามด้าน ดังนี ้


𝑥 − 2 หน่วย , 𝑥 หน่วย และ 10 หน่วย
ค่าของ 𝑥 เท่ากับเท่าใด จึงจะทาให้รูปสามเหลีย่ มรูปนีม้ ีพนื ้ ทีม่ ากที่สดุ
ตอบ 26
เนื่องจากด้านตรงข้ามมุมฉาก จะยาวที่สดุ เสมอ ดังนัน้ 𝑥 − 2 ไม่ใช่ดา้ นตรงข้ามมุมฉาก (เพราะสัน้ กว่า 𝑥)
ใช้พีทากอรัส → ถ้า 𝑥 เป็ นด้านตรงข้ามมุมฉาก → ถ้า 10 เป็ นด้านตรงข้ามมุมฉาก
𝑥2 = 102 + (𝑥 − 2)2 102
𝑥 2 + (𝑥 − 2)2
=
𝑥2 = 100 + 𝑥 2 − 4𝑥 + 4 𝑥 2 + 𝑥 2 − 4𝑥 + 4
100 =
4𝑥 = 104 02𝑥 2 − 4𝑥 − 96
=
𝑥 = 26 0𝑥 2 − 2𝑥 − 48
=
0(𝑥 − 8)(𝑥 + 6)
=
𝑥 = 8 , −6 ความยาวด้าน > 0
จะได้ความยาวด้าน คือ 26 , 24 , 10
→ → จะได้ความยาวด้านคือ 8 , 6 , 10
จะเห็นว่า 26 , 24 , 10 ใหญ่กว่า ดังนัน้ 𝑥 = 26 จะทาให้สามเหลืย่ มมีพนื ้ ที่มากที่สดุ
30 O-NET (ก.พ. 63)

39. ตารางแสดงจานวนปี ที่ทางานของพนักงานจานวน 45 คน ของบริษัทแห่งหนึง่


จานวนปี ที่ทางาน (ปี ) จานวนพนักงาน (คน)
2 8
3 𝑎
4 𝑏
5 12

ถ้า 𝑎 > 𝑏 และ มัธยฐานและฐานนิยมของจานวนปี ที่ทางานมีคา่ เท่ากัน


แล้ว 𝑏 ที่มากที่สดุ ที่เป็ นไปได้เท่ากับเท่าใด
ตอบ 10
มีพนักงาน 45 คน ดังนัน้ 8 + 𝑎 + 𝑏 + 12 = 45
𝑏 = 25 − 𝑎 …(∗)
และจาก 𝑎 > 𝑏
จาก (∗)
𝑎 > 25 − 𝑎
2𝑎 > 25
𝑎 > 12.5 → ดังนัน
้ ชัน้ ของ 𝑎 จะมีความถี่มากที่สดุ จึงสรุปได้วา่ ฐานนิยม = 3
โจทย์ให้ มัธยฐาน = ฐานนิยม ดังนัน้ มัธยฐาน = 3 ด้วย
จากสูตร จะได้ตาแหน่งมัธยฐาน = 𝑁+1 2
= 2
45+1
= 23 ดังนัน ้ ตัวที่ 23 จะต้องมีคา่ 3 (อยูใ่ นชัน้ ที่ 2)
แสดงว่า ความถี่สะสมของชัน้ ที่ 2 ต้องมีคา่ 23 ขึน้ ไป นั่นคือ 8 + 𝑎 ≥ 23
𝑎 ≥ 15
จาก (∗) จะเห็นว่า 𝑏 มากสุด เมื่อ 𝑎 น้อยที่สดุ (= 15) → จะได้ 𝑏 มากสุด = 25 − 15 = 10

40. กล่องใบหนึง่ มีถา่ นไฟฉายอยูท่ งั้ หมด 500 ก้อน เป็ นถ่านไฟฉายดี จานวน 420 ก้อน เป็ นถ่านไฟฉายเสีย
จานวน 80 ก้อน ถ้านาวินคัดถ่านไฟฉายเสียออกไปจากกล่องจานวนหนึง่ แล้วพบว่า เมื่อสุม่ หยิบ
ถ่านไฟฉาย 1 ก้อน จากถ่านไฟฉายที่เหลือในกล่อง ความน่าจะเป็ นที่จะได้ถ่านไฟฉายดี เท่ากับ 78
นาวินคัดถ่านไฟฉายเสียออกไปกี่กอ้ น
ตอบ 20
สมมติให้คดั ถ่านเสียออกไป 𝑥 ก้อน → จะเหลือถ่าน 500 − 𝑥 ก้อน
มีถ่านดี 420 ก้อน → ความน่าจะเป็ นที่จะหยิบได้ถา่ นดี = 500420− 𝑥 = 78
60 1
500 − 𝑥
= 8
480 = 500 − 𝑥
𝑥 = 20

เครดิต
ขอบคุณ คุณ สนธยา เสนามนตรี สาหรับข้อสอบ และเฉลยคาตอบ
ขอบคุณ คุณ Chonlakorn Chiewpanich
และ คุณ Jack Teerasak
และ คุณ ธนพล สาราญรืน่ ที่ช่วยตรวจสอบความถูกต้องของเอกสาร

You might also like