You are on page 1of 22

ตารางวิเคราะห์ข้อสอบมาตรฐานปลายภาค / รายปี วิชาคณิตศาสตร์ เล่ม 1

ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 ชุดที่ 1


มาตรฐาน/ตัวชี้วัด
ข้อ ค 1.1 ค 1.2 ค 1.4 ค 3.1 ค 5.2 ค 6.1 ม.1-3
1 2 1 3 4 1 1 2 3 1 1 2 3 4 5 6
1       
2       
3       
4       
5       
6       
7       
8       
9       
10       
11       
12       
13       
14       
15       
16       
17       
18        
19        
20        
21       
22        
23        
24        
25       

มาตรฐาน/ตัวชี้วัด
ข้อ ค 1.1 ค 1.2 ค 1.4 ค 3.1 ค 5.2 ค 6.1 ม.1-3
1 2 1 3 4 1 1 2 3 1 1 2 3 4 5 6
26        
27        
28        
29        
30        
31         
32       
33        
34        
35        
36       
37         
38         
39         
40         
41       
42       
43       
44       
45       
46       
47       
48       
49       
50       

ข้อสอบมาตรฐานปลายภาค / รายปี ชุดที่ 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์


วิชาคณิตศาสตร์ เล่ม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 จำนวน 50 ข้อ

คำชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียว

1. จำนวนในข้อใดไม่มี 3 และ 7 เป็นตัวประกอบ


ก. 231 ข. 273 ค. 285 ง. 357

2. จำนวนนับที่อยู่ระหว่าง 10 -156 ซึ่งมี 13 เป็นตัวประกอบมีกี่จำนวน


ก. 11 ข. 12 ค. 13 ง. 14
3. จำนวนเฉพาะที่อยู่ระหว่าง 20 – 100 มีกี่จำนวน
ก. 15 ข. 16 ค. 17 ง. 18
4. ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
ก. 111 เป็นจำนวนเฉพาะ ข. 127 เป็นจำนวนเฉพาะ
ค. 143 เป็นจำนวนเฉพาะ ง. 221 เป็นจำนวนเฉพาะ
5. การเขียนจำนวนในข้อใดไม่ใช่การแยกตัวประกอบ
ก. 105 = 3 × 5 × 7 ข. 323 = 1 × 17 × 19
ค. 402 = 2 × 3 × 67 ง. 640 = 27 × 5
6. กำหนดให้ a และ b แทนจำนวนเฉพาะที่มีผลบวกเท่ากับ 7 โดยที่ a < b ถ้า P = a2 × b3 และ
Q = a3 × b4 แล้วจำนวนในข้อใดเป็ นผลบวกของ P และ Q
ก. 2,200 ข. 5,500 ค. 5,184 ง. 7,488
7. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง
ก. 6 คือ จำนวนที่มากที่สุดซึ่งหาร 18 และ 24 ลงตัว
ข. 1 คือ จำนวนที่มากที่สุดซึ่งหาร 20, 21 และ 29 ลงตัว
ค 16 คือ จำนวนที่มากที่สุดซึ่งหาร 128 และ 160 ลงตัว
. 2 คือ จำนวนที่มากที่สุดซึ่งหาร 136 และ 510 ลงตัว
ง.
8. 8 ไม่เป็น ห.ร.ม. ของจำนวนในข้อใด
ก. 16, 72 และ 104 ข. 72, 24 และ 32
ค. 72, 88 และ 104 ง. 32, 96 และ 128

9. จำนวนในข้อใดเป็ น ค.ร.น. ของ 81, 135 และ 243


ก. 3,645 ข. 1,215 ค. 405 ง. 243
10. กำหนดให้ a และ b แทนจำนวนนับ ซึ่ง a น้อยกว่า b ที่มีสมบัติว่า
(1) ห.ร.ม. ของ a และ b เท่ากับ 7
(2) ผลคูณของ a และ b เท่ากับ 490
ผลลบของ ค.ร.น. a และ b กับจำนวนเฉพาะในข้อใดมีค่าน้อยที่สุด
ก. 61 ข. 67 ค. 71 ง. 73
11. จำนวนนับที่น้อยที่สุดซึ่งหารด้วย 9, 16 และ 24 แล้วเหลือเศษ 5 เท่ากัน คือจำนวนในข้อใด
ก. 149 ข. 148 ค. 147 ง. 146
12. ธีรเดชนำกระดาษแผ่นใหญ่แผ่นหนึ่งมาวัดความกว้างได้ 1.2 เมตร และยาว 4.2 เมตร แล้วตัด
กระดาษแผ่นใหญ่ให้เป็ นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสให้มีพื้นที่มากที่สุด โดยไม่ให้เหลือเศษ จะตัดกระดาษยาว
ด้านละกี่เมตร และได้กระดาษกี่แผ่น
ก. 0.2 เมตร , 14 แผ่น ข. 0.2 เมตร , 16 แผ่น
ค. 0.6 เมตร , 14 แผ่น ง. 0.6 เมตร , 16 แผ่น

13. ไฟกระพริบ 4 ดวง ต่างสีกัน จะกระพริบไฟเพื่อส่องสว่างบนเวทีการแสดงทุก 30, 45, 60 และ 75


วินาที ตามลำดับ อีกนานเท่าไรที่ไฟกระพริบทั้ง 4 ดวงจะกระพริบไฟพร้อมกัน
ก. 15 นาที ข. 30 นาที ค. 45 นาที ง. 60 นาที
14. ค.ร.น. ของ 27 และ 63 เป็นกี่เท่าของ ห.ร.ม. ของจำนวนทั้งสอง
ก. 21 เท่า ข. 18 เท่า
ค. 15 เท่า ง. 9 เท่า
15. เชือก 5 เส้น ยาว 40, 90, 120, 180 และ 300 ฟุต น้ำผึ้งจะตัดเป็ นเส้นสั้น ๆ ให้ยาวเท่ากัน และยาว
ที่สุด จะได้เชือกทั้งหมดกี่เส้น
ก. 71 เส้น ข. 72 เส้น
ค. 73 เส้น ง. 74 เส้น
16. ข้อความต่อไปนี้ข้ อใดไม่ถูกต้อง
ก. 0 เป็นจำนวนเต็มบวก ข. -5.0 เป็นจำนวนเต็ม
ค. จำนวนเต็มบวกเป็ นจำนวนนับ 363
ง. 3 เป็นจำนวนเต็ม

17. กำหนดเส้นจำนวน
b a c
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง 0
ก. b > a ข. a + b ≥ c
ค. b มีค่ามากที่สุด ง. a × b > 0
18. กำหนด a = -1, b = -11, c = -111 และ d = 1,111 ข้อต่อไปนี้ไม่ถูกต้อง
ก. (a + b + c) × d ได้ผลลัพธ์เป็ นจำนวนลบ ข. (a - b) = - ( b - a)
ค. (c × d) > (a - b) ง. (b ÷ c) > (d ÷ c)
19. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง
ก. (−5 ) × [ (−2 )+3 ]=[ (−5 ) × (−2 ) ]+ [ (−5 ) × 3 ] ใช้สมบัติการแจกแจง
ข. [ (−3 ) +5 ]+7=(−3 )+ [ 7+ 5 ] ใช้สมบัติการเปลี่ยนหมู่
ค. 5 × ( 11+ 9 )=( 11+ 9 ) ×5 ใช้สมบัติการสลับที่สำหรับการคูณ
ง. 5,555 + 0 = 0 + 5,555 = 5,555 ใช้สมบัติของศูนย์
20. กำหนดให้จำนวนเต็มที่แทน a, b, c และ d แล้วทำให้ประโยคต่อไปนี้เป็ นจริง
1) (−4 ×5 ) + (−4 ×3 )=−4 ×a 3) (−9 )( 3−9 )= (−9 ×3 ) −( c ×−9 )
2) ( 13 ×b )−( 13 ×141 ) =13× 59 4) [ 0 ÷ (−99 ) ] ÷ [ a ÷ a ] =d เมื่อ a ≠ 0
จากสมการข้อ 1) – 4) จงตรวจสอบว่าจำนวนในข้อใดที่ให้สมการเป็นจริง
ก. a=8 ข. b=200 ค. c=9 ง. d=0

21. ผลลัพธ์ของ
[ (−9 ) +9 ] × [|−7|+|7|]
(−1 ) +2+3+ (−3 )
+
[ (−285 ) ÷5
99÷ (−99 ) ] ตรงกับผลลัพธ์ของข้อใด
ก. -57 ข. 57 ค. 1 ง. 0
22. สมการในข้อใดมีคำตอบเป็นจำนวนเต็มลบ
ก. b × (11 ) (−2 )(−99 )=−117 ข. [ b−100 ] × (−55 )=1,000
b ง. b+ (−9 ) + (−19 ) =−202
ค. 10 × (−10 )=1,001
23. ให้ a, b และ c เป็นจำนวนเต็ม ข้อใดถูกต้อง
ก. ถ้า a 2=b2 แล้ว a=b ข. ถ้า a 4=b4 แล้ว a=b
ค. ถ้า a 2 c 2=b 2 แล้ว b=ac ง. มี a และ b ซึ่ง a 3=b2

24. ให้ a, b และ c เป็นจำนวนเต็ม ถ้า a b 2=c และ c เป็ นจำนวนเต็มลบ พิจารณาว่าข้อใดถูกต้อง
ก. a เป็นจำนวนเต็มลบ และ b เป็ นจำนวนเต็มบวก
ข. a และ b เป็ นจำนวนเต็มลบ
ค a เป็นจำนวนเต็มลบ และ b เป็ นจำนวนเต็มที่ไม่เท่ากับ 0
. a และ b เป็ นจำนวนเต็มที่ไม่เท่ากับ 0
ง.
25. 121 ×2,744 × 6,859 เขียนรูปเลขยกกำลังที่มีฐานเป็ นจำนวนเฉพาะตรงกับจำนวนในข้อใด
ก. 112 ∙14 3 ∙ 193 ข. 23 ∙7 3 ∙ 112 ∙ 193
ค. 22 ∙73 ∙ 112 ∙ 193 ง. 23 ∙7 2 ∙ 112 ∙ 193

() ( ) เท่ากับข้อใด
a 5
1 1 a
26. กำหนด a และ b แทนจำนวนเต็มบวก 3
=
243
และ (−2 )b =1,024 แล้ว b
1 1 1 1
ก. 2
ข. 4
ค. 16
ง. 32
27. 2 และ ( 22 )3 ต่างกันเท่าไร
23

ก. 0 ข. 64 ค. 192 ง. 256

( ) ( ) ได้ผลลัพธ์ตรงกับข้อใด
−7 −2 2 −2 4
a b a b
28. 3 −5
÷ −1 3
a b a b
()
ก. ( ab )8 ข. ( ab )−8 a a
−8
ค. b ง. b
29. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ถูกต้อง
( ) ()
10 4
ก. ( 0.01 )2 ( 0.01 )3= 1 ข.
1 ( )3 1
0.5 = 7
10 2 2

() ง. ( )
3 2
( 0.8 )4 ÷ 4 = 4 −1 1
ค. 5 5 3
0
×0 =
9

30. [ ( (−2 )2 )3 ÷2−3 ]


−2
÷ [2 ÷ 3
−1
] มีค่าตรงกับข้อใด
−2 −1

ก. 2−19 ×32 ข. 2
−18
×3
2
ค. 2
−19
×3
−2
ง. 2
−18
×3
−1

31. ถ้า ( 8.9 ×10 3 ) × ( 9.9 ×10−4 ) =8.811×10 a แล้ว a เท่ากับข้อใด


ก. −2 ข. −1 ค. 0 ง. 1

32. จำนวนในข้อใดเขียนอยู่ในรูปสัญกรณ์วิทยาศาสตร์ไม่ถูกต้อง
ก. 0.00000001070=1.07 ×10−8 ข. 0.00000005888=5.888 ×10−9
ค. 39,050,000=3.905× 107 ง. 1,009,000,000=1.009× 109

33. โลกมีมวลประมาณ 6 ×10 24 กิโลกรัม ดวงอาทิตย์มีมวลประมาณ 4 ×105 เท่าของโลก น้ำหนักของ


ดวงอาทิตย์ซึ่งเขียนในรูปสัญกรณ์วิทยาศาสตร์ได้ถูกต้องมีมวลประมาณเท่าใด
ก. 2 . 4 ×10 33 กรัม ข. 0.24 × 1030 กรัม
ค. 24 × 1029 กิโลกรัม ง. 2 . 40 ×1031 กิโลกรัม
34. เชื้อไวรัสสายพันธุ์ใหม่แต่ละตัวยาวประมาณ 7 ×10−9 เมตร ถ้าไวรัสชนิดนี้เรียงต่อกันเป็ นสายยาว
6.3 ×10 เมตร จงหาว่ามีไวรัสอยู่ประมาณกี่ตัว
−4

ก. 9,000 ตัว ข. 90,000 ตัว ค. 900,000 ตัว ง. 9,000,000 ตัว


35. มูลค่าจำหน่ายเวชภัณฑ์ของบริษัทแห่งหนึ่งตั้งแต่ มกราคม ถึง มีนาคม 2553 เท่ากับ 4.568 × 105
บาท ต่อมาอีก 3 เดือนมีมูลค่าจำหน่ายอีก 5.164 × 108 บาท จงหาว่ามูลค่าจำหน่ายเวชภัณฑ์ของ
บริษัทนี้ในครึ่งปี แรกเท่ากับกี่ล้านบาท
ก. 516.8568 ข. 5,168.568 ค. 51,685.68 ง. 516,856.80
36. ข้อความต่อไปนี้ข้ อใดไม่ถูกต้อง
ก. มุมตรงมีขนาดมุมเท่ากับสองมุมฉาก
ข. เส้นตรง AB เขียนแทนด้วย AB ´ คือเส้นตรงที่มีความยาวจำกัด และคำนึงถึงความกว้างของ เส้น
ตรง ดังรูป
ค. ระยะห่างจากจุด A ถึงจุดA B หมายถึงความยาวของ
B AB เขียนแทนด้วย AB
ง. รังสี AB เขียนแทนด้วย ⃗ AB มี A เป็นจุดปลายส่วนของเส้นตรง AB
37. กำหนดขั้นตอนการสร้างมุมที่มีขนาดมุมต่าง ๆ กัน ดังรูป
D
E
1. ลากเส้น AC ´ และให้จุด B เป็นจุดจุดหนึ่งบน AC
´
2. ที่จุด B สร้าง ⃗ ´ จะได้ A ^B D=D B
BD ให้ตั้งฉากกับ AC ^C
3. สร้าง ⃗BE ให้แบ่งครึ่งมุมฉาก A ^B D

ข้อใดคือขนาดมุมของ E ^BC
ก. 145 ° ข. 135 ° ค. 130 ° ง. 125 °

P
E
C D
F
A B
Q
38. จากรูปกำหนดให้ AB/¿ ´ CD´ และ PQ
´ ตัดกับ AB
´ และ ´
CD ที่จุด F และ E จงพิจารณาว่าข้อใด
ไม่ถูกต้อง
ก. m ( A F^ E ) =m ( F E^ D ) ข. m ( C ^E P )=m ( A ^F E )
ค. m ( C ^E F ) + m ( A ^F E )=180 ° ง. 2 เท่าของ m ( P E^ C ) เท่ากับหนึ่ง
มุมฉาก
39. มุมตรงมีขนาดเป็ นกี่เท่าของครึ่งมุมฉาก
ก. 2 เท่า ข. 4 เท่า ค. 6 เท่า ง. 8 เท่า
40. ขนาดมุมในข้อใด สร้างด้วยวงเวียนและสันตรงไม่ได้
ก. 15 ° 1 ค. 105 ° ง. 165 °
ข. 22 ° 2
41. ทอดลูกเต๋าหนึ่งลูก 1 ครั้ง เหตุการณ์ที่มีโอกาสเกิดขึ้นได้แน่นอนตรงกับข้อใด
ก. ลูกเต๋าขึ้นแต้มเป็ นจำนวนนับซึ่งไม่มากกว่า 6 ข. ลูกเต๋าขึ้นแต้มเป็นจำนวนเฉพาะ
ค. ลูกเต๋าขึ้นแต้มเป็นจำนวนเต็มที่มากกว่า 1 ง. ลูกเต๋าขึ้นแต้มเป็นจำนวนคี่

ข้อความข้างล่างนี้ใช้ตอบคำถามข้อ 42 - 43
กล่องใบหนึ่งมีบัตรเลข 2 3 5 7 9 11 13 15
42. สุ่มหยิบบัตรขึ้นมา 1 ใบ เหตุการณ์ในข้อใดมีโอกาสเกิดขึ้นมากที่สุด
ก. เหตุการณ์ที่หยิบได้บัตรเป็นจำนวนคู่
ข. เหตุการณ์ที่หยิบได้บัตรเป็นจำนวนคี่
ค. เหตุการณ์ที่หยิบได้บัตรเป็นจำนวนเฉพาะ
ง. เหตุการณ์ที่หยิบได้บัตรเป็นจำนวนที่หารด้วย 3 ลงตัว
43. สุ่มหยิบบัตร 2 ใบ เหตุการณ์ในข้อใดไม่มีโอกาสเกิดขึ้นได้
ก. ผลบวกของบัตรทั้งสองใบเป็ นจำนวนเต็มบวก ข. ผลบวกของบัตรทั้งสองใบเป็ นจำนวนคี่
ค. ผลต่างของบัตรทั้งสองใบเป็ นศูนย์ ง. ผลบวกของบัตรทั้งสองใบเป็ นจำนวนคู่

ข้อความข้างล่างนี้ใช้ตอบคำถามข้อ 44 – 45
กล่องทึบแสงบรรจุลูกปิงปอง 3 สี คือ สีแดง, สีขาว และสีเขียวอย่างละ 3 ลูก หยิบลูกปิงปองพร้อมกัน
3 ลูก 1 ครั้ง
กำหนดเหตุการณ์ต่อไปนี้
1) เหตุการณ์ที่หยิบได้ลูกปิ งปองสีเดียวกัน
2) เหตุการณ์ที่หยิบได้ลูกปิ งปองต่างสีกัน
3) เหตุการณ์ที่หยิบได้ลูกปิ งปองทั้งสามสี
4) เหตุการณ์ที่หยิบได้ลูกปิ งปองสีใดสีหนึ่งในลูกปิงปองทั้งสามสีนี้
44. เหตุการณ์ในข้อใดมีโอกาสเกิดขึ้นได้
ก. เหตุการณ์ข้อ 1) และ 2) ข. เหตุการณ์ข้อ 1) และ 3)
ค. เหตุการณ์ข้อ 1), 2) และ 3) ง. เหตุการณ์ข้อ 1), 2), 3) และ 4)
45. เหตุการณ์ในข้อใดมีโอกาสเกิดขึ้นแน่นอน
ก. เหตุการณ์ข้อ 1) ข. เหตุการณ์ข้อ 2)
ค. เหตุการณ์ข้อ 3) ง. เหตุการณ์ข้อ 4)
46. กล่องทึบแสง 2 ใบ บรรจุลูกแก้วเป็ นจำนวนเท่ากัน แต่ละกล่องมีลูกแก้วสีฟ้ า และสีส้มคละปนกันอยู่
ดังนี้
1 3
กล่องใบที่ 1 มีลูกแก้วสีฟ้ า 2 ของทั้งหมด กล่องใบที่ 2 มีลูกแก้วสีฟ้ า 4 ของทั้งหมด
ความเข้าใจเกี่ยวกับโอกาสของเหตุการณ์ของใครที่ไม่ถูกต้อง
ก. สุขมีความมั่นใจว่าถ้าหยิบลูกแก้วจากกล่องใบที่ 2 แล้วจะได้ลูกแก้วสีฟ้ าแน่นอน
ข. ไพกล่าวว่า ถ้าหยิบลูกแก้วในกล่องใบที่ 1 โอกาสที่จะได้ลูกแก้วสีฟ้ าหรือสีส้มเท่ากัน
ค. บีกล่าวว่า ไม่ว่าจะหยิบลูกแก้วจากกล่องใบที่ 1 หรือ 2 อาจจะจะได้ลูกแก้วสีส้ม
ง. เอกล่าวว่า โอกาสที่จะหยิบได้ลูกแก้วสีส้มน้อยกว่าโอกาสที่จะหยิบได้ลูกแก้วสีฟ้ า จะต้อง
เลือกหยิบจากกล่องใบที่ 2
47. โยนเหรียญที่เที่ยงตรง 1 อัน 3 ครั้ง ข้อใดต่อไปนี้กล่าวไม่ถูกต้อง
ก. การโยนเหรียญที่เที่ยงตรง 1 อัน 3 ครั้ง เป็ นการทดลองสุ่ม
ข. เหตุการณ์ที่เหรียญขึ้นหัวทั้ง 3 ครั้ง และขึ้นก้อยทั้ง 3 ครั้ง มีโอกาสเกิดขึ้นเท่ากัน
ค. เหตุการณ์ที่เหรียญจะขึ้นหัวอย่างน้อย 1 ครั้ง และขึ้นก้อยอย่างน้อย 1 ครั้ง มีโอกาสเกิดขึ้นเท่ากัน
ง. เหตุการณ์ที่เหรียญจะขึ้นหน้าเหมือนกันที่โอกาสเกิดขึ้นมากที่สุด
48. กำหนดวงล้อแบ่งพื้นที่เป็ นสี่ส่วนเท่ากัน ดังรูป เมื่อหมุนวงล้อ 1 ครั้ง ข้อใดต่อไปนี้กล่าวไม่ถูกต้อง

G R

Y G

ก. เหตุการณ์ที่ลูกศรจะหยุดอยู่พื้นที่ R และ Y มีโอกาสเกิดขึ้นเท่ากัน


ข. เหตุการณ์ที่ลูกศรจะหยุดอยู่พื้นที่ G มีโอกาสเกิดขึ้นแน่นอน
ค. เหตุการณ์ที่ลูกศรจะหยุดอยู่พื้นที่ G มีโอกาสเกิดขึ้นมากกว่าเหตุการณ์ที่ลูกศรจะหยุดอยู่พื้นที่ R
ง. เหตุการณ์ที่ลูกศรจะหยุดอยู่พื้นที่ G ซึ่งอยู่ระหว่าง R และ Y มีโอกาสเกิดขึ้นได้

ข้อกำหนดต่อไปนี้ใช้ตอบคำถามข้อ 49 - 50
ลูกบาศก์หกหน้า เขียนตัวเลข -3, -2, -1, 0, 1 และ 2
49. จงวิเคราะห์โอกาสของเหตุการณ์ต่อไปนี้ว่าข้อที่ถูกต้องมีกี่ข้อ
1) โยนลูกบาศก์หนึ่งลูก 1 ครั้ง เหตุการณ์ที่หน้าของลูกบาศก์จะขึ้นตัวเลขใดตัวเลขหนึ่งในหกตัวนี้
มีโอกาสเกิดขึ้นได้เท่ากัน
2) โยนลูกบาศก์หนึ่งลูก 1 ครั้ง เหตุการณ์ที่หน้าของลูกบาศก์จะขึ้นตัวเลข 0 มีโอกาสเกิดขึ้นได้
3) โยนลูกบาศก์หนึ่งลูก 2 ครั้ง เหตุการณ์ที่ผลบวกของจำนวนทั้งสองเป็ นจำนวนเต็มบวกมี
โอกาสเกิดขึ้นได้
4) โยนลูกบาศก์หนึ่งลูก 2 ครั้ง เหตุการณ์ที่ผลบวกของจำนวนทั้งสองเป็ นศูนย์มีโอกาสเกิดขึ้นได้
ก. 1 ข้อ ข. 2 ข้อ ค. 3 ข้อ ง. 4 ข้อ
50. เหตุการณ์ในข้อใดต่อไปนี้มีโอกาสเกิดขึ้นได้แน่นอน
ก. โยนลูกบาศก์หนึ่งลูก 2 ครั้ง เหตุการณ์ที่ผลคูณของจำนวนทั้งสองเป็ นจำนวนเต็ม
ข. โยนลูกบาศก์หนึ่งลูก 2 ครั้ง เหตุการณ์ที่ผลคูณของจำนวนทั้งสองเป็ นจำนวนนับ
ค. โยนลูกบาศก์หนึ่งลูก 2 ครั้ง เหตุการณ์ที่ผลคูณของจำนวนทั้งสองเป็ นศูนย์
ง. โยนลูกบาศก์หนึ่งลูก 2 ครั้ง เหตุการณ์ที่ผลหารของจำนวนทั้งสองเป็ นจำนวนเฉพาะ

เฉลยข้อสอบมาตรฐานปลายภาค / รายปี วิชาคณิตศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 ชุดที่ 1


1. ค. 11. ก. 21. ข. 31. ค. 41. ก.
2. ข. 12. ค. 22. ง. 32. ข. 42. ข.
3. ค. 13. ข. 23. ง. 33. ก. 43. ค.
4. ข. 14. ก. 24. ค. 34. ข. 44. ง.
5. ข. 15. ค. 25. ค. 35. ก. 45. ง.
6. ข. 16. ก. 26. ง. 36. ข. 46. ก.
7. ค. 17. ง. 27. ค. 37. ข. 47. ง.
8. ง. 18. ค. 28. ก. 38. ง. 48. ข.
9. ข. 19. ข. 29. ง. 39. ข. 49. ง.
10. ค. 20. ค. 30. ก. 40. ค. 50. ก.

แนวเฉลยละเอียดข้อสอบมาตรฐานปลายภาค / รายปี วิชาคณิตศาสตร์


มัธยมศึกษาปี ที่1 เล่ม 1 ชุดที่ 1
1. ตอบ ค. 285
แนวคิด ก 231 = 1 × 3 × 7 × 11
. 273 = 1 × 3 × 7 × 13
ข 285 = 1 × 3 × 5 × 19
. 357 = 1 × 3 × 7 × 17

.
ง.
ดังนั้น ข้อ ค.เป็นคำตอบ เพราะ 285 มี 3 เป็นตัวประกอบแต่ไม่มี 7 เป็นตัวประกอบ
2. ตอบ ข. 12
แนวคิด จำนวนนับที่อยู่ระหว่าง 10 -156 ซึ่งมี 13 เป็นตัวประกอบ ได้แก่ 13, 26, 39, 52, 65, 78,
91, 104, 117, 130, 143 และ 156 มีทั้งหมด 12 จำนวน
3. ตอบ ค. 17
แนวคิด จำนวนเฉพาะที่อยู่ระหว่าง 20 – 100 ได้แก่ 23, 29, 31, 37, 41, 43, 47, 53, 59, 61, 67,
71, 73, 79, 83, 89 และ 97 มีทั้งหมด 17 จำนวน
4. ตอบ ข. 127 เป็ นจำนวนเฉพาะ
แนวคิด ก. ไม่ถูกต้อง เพราะ 111 หารด้วย 3 และ 37 ลงตัว จึงไม่เป็ นจำนวนเฉพาะ
ข. ถูกต้อง เพราะ ไม่มีจำนวนใดหาร 127 ลงตัวยกเว้น 1 และ 127
ค ไม่ถูกต้อง เพราะ 143 หารด้วย 11 และ 13 ลงตัว จึงไม่เป็ นจำนวนเฉพาะ
. ไม่ถูกต้อง เพราะ 221 หารด้วย 13 และ 17 ลงตัว จึงไม่เป็ นจำนวนเฉพาะ
ง.
5. ตอบ ข. 323 = 1 × 17 × 19
แนวคิด การแยกตัวประกอบของจำนวนนับใด ๆ เป็นการเขียนจำนวนนับนั้นในรูปการคูณของ
ตัวประกอบเฉพาะ พิจารณาจากตัวเลือก
ก. ถูกต้อง เพราะสมการเป็นจริง โดยที่ 3, 5 และ 7 เป็นจำนวนเฉพาะ
ข. ไม่ถูกต้อง เพราะสมการเป็นจริง แต่ 1 ไม่เป็นจำนวนเฉพาะ
ค ถูกต้อง เพราะสมการเป็นจริง โดยที่ 2, 3 และ 67 เป็นจำนวนเฉพาะ
. ถูกต้อง เพราะสมการเป็นจริง โดยที่ 2 และ 5 เป็นจำนวนเฉพาะ
ง.
6. ตอบ ข. 5,500
แนวคิด จากโจทย์กำหนดให้ a และ b แทนจำนวนเฉพาะที่มีผลบวกเท่ากับ 7 โดยที่ a < b
ผลบวกของจำนวนเฉพาะสองจำนวนที่เท่ากับ 7 คือ 2, 5 ที่ตรงตามเงื่อนไข a < b
คือ a = 2 b = 5
จาก P = a2 × b3 แทนค่าจะได้ว่า P = 22 × 53 = 4 × 125 = 500 และ
Q = a3 × b4 แทนค่าจะได้ว่า Q = 23 × 54 = 8 × 625 = 5,000
ดังนั้น P + Q = 500 + 5,000 = 5,500
7. ตอบ ค. 16 คือ จำนวนที่มากที่สุดซึ่งหาร 128 และ 160 ลงตัว
แนวคิด จำนวนที่มากที่สุดซึ่งหารเลขจำนวนนั้นลงตัว คือ การหา ห.ร.ม. ของจำนวนนั้น
ข. เนื่องจากไม่มีจำนวนใด ๆ ยกเว้น 1
ที่หาร 20, 21 และ 29 ลงตัว
ก. ห.ร.ม. ของ 18 และ 24 คือ 6
2 18 24
3 9 12
3 4
ค. ห.ร.ม. ของ 128 และ 160 คือ 32 ง. ห.ร.ม. ของ 136 และ 510 คือ 2
2 128 160 2 136 510
2 64 80 68 255
2 32 40
2 16 20
2 8 10
4 5 ดังนั้น ข้อ ค. จึงไม่ถูกต้อง
8. ตอบ ง. 32, 96 และ 128
แนวคิด ก. ห.ร.ม. ของ 16, 72 และ 104 คือ 8 ข. ห.ร.ม. ของ 72, 24 และ 32 คือ 8
2 16 72 104 2 72 24 32
2 8 36 52 2 36 12 16
2 4 18 26 2 18 6 8
2 9 13 9 3 4
ค. ห.ร.ม. ของ 72, 88 และ 104 คือ 8 ง. ห.ร.ม. ของ 32, 96 และ 128 คือ 32
2 72 88 104 2 32 96 128
2 36 44 52 2 16 48 64
2 18 22 26 2 8 24 32
9 11 13 2 4 12 16
2 2 6 8
1 3 4
ดังนั้น ข้อ ง. 8 จึงไม่เป็น ห.ร.ม. ของ 32, 96 และ 128

9. ตอบ ข. 1,215
แนวคิด 3 81 135 243
3 27 45 81
3 9 15 27
3 3 5 9
1 5 3
ดังนั้น ค.ร.น. ของ 81, 135 และ 243 คือ 35× 5 = 1,215
10. ตอบ ค. 71
แนวคิด ห.ร.ม. ของ a และ b = 7
ผลคูณของ a และ b = 490
ผลคูณของเลขสองจำนวน = ห.ร.ม. × ค.ร.น.
490 = 7 × ค.ร.น.
490
 ค.ร.น. ของ a และ b = 7 = 70
พิจารณาจำนวนเฉพาะที่อยู่ใกล้ ค.ร.น. ของ a และ b มากที่สุด ดังนี้
65 66 67 68 69 70 71 72 73 74
พิจารณาจากตัวเลือก ค.ร.น. ของ a และ b
ข้อ ก. ถึงข้อ ง. พบว่า 61, 67, 71 และ 73 เป็นจำนวนเฉพาะทุกจำนวน
ต่อมาจะต้องพิจารณาว่าผลลบของ ค.ร.น. a และ b กับจำนวนเฉพาะใดมีค่าน้อย
ที่สุด จะเห็นได้ว่า ข้อ ค. 71 – 70 = 1 มีผลลบของ ค.ร.น. a และ b กับจำนวน
เฉพาะมีค่าน้อยที่สุด
11. ตอบ ก. 149
แนวคิด จำนวนนับที่น้อยที่สุดซึ่งหารด้วย 9, 16 และ 24 แล้วเหลือเศษ 5 เท่ากัน คือ จำนวนนับที่
ต้องการหาจะต้องมากกว่า ค.ร.น. ของทั้งสามจำนวนอยู่ 5
3 9 16 24
2 3 16 8
2 3 8 4
2 3 4 2 จะได้ว่า ค.ร.น. ของ 9, 16 และ 24
3 2 1 คือ 2 × 2 × 2 × 2 × 3 × 3 = 144
ดังนั้น จำนวนนับที่น้อยที่สุดซึ่งหารด้วย 9, 16 และ 24 แล้วเหลือเศษ 5 เท่ากัน
คือ 144 + 5 = 149
12. ตอบ ค. 0.6 เมตร , 14 แผ่น
แนวคิด กระดาษกว้าง 1.2 เมตร = 120 เซนติเมตร
กระดาษยาว 4.2 เมตร = 420 เซนติเมตร
ธีรเดชนำกระดาษแผ่นใหญ่มาตัดเป็ นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสให้มีพื้นที่มากที่สุด และไม่ให้เหลือ
เศษ ซึ่งต้องหา ห.ร.ม. ของ 120 และ 420
ใช้การหา ห.ร.ม. โดยวิธีการหารสั้น หรือตามขั้นตอนวิธีแบบยุคลิดได้
2 120 420 3 จะได้ว่า ห.ร.ม. ของ 120 และ 420 คือ 60
120 360 ต้องตัดกระดาษแผ่นนี้ยาวด้านละ 60 เซนติเมตร
0 60 หรือ 0.6 เมตร
กระดาษแผ่นใหญ่มีพื้นที่ 1.2 × 4.2 ตารางเมตร
กระดาษรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส 1 แผ่น มีพื้นที่ 0.6 × 0.6 ตารางเมตร
1.2× 4.2
จะได้ว่า จำนวนกระดาษรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่ตัดได้ เท่ากับ 0 .6 ×0.6
12× 42
¿
6×6
14
¿

ดังนั้น ธีรเดชจะตัดกระดาษยาวด้านละ 0.6 เมตร และได้กระดาษทั้งหมด 14 แผ่น


13. ตอบ ข. 30 นาที
แนวคิด ใช้วิธีการหา ค.ร.น. ของเวลาในการวิ่งต่อรอบของทั้ง 4 คน ได้ดังนี้
5 30 45 60 75
3 6 9 12 15
2 3 4 5
ค.ร.น. ของ 30, 45, 60 และ 75 คือ 2 × 3 × 3 × 4 × 5 × 5 = 1,800
นั่นคือ ไฟกระพริบทั้ง 4 ดวงจะกระพริบไฟพร้อมกันเวลา 1,800 วินาที
เนื่องจากในตัวเลือกไม่มีคำตอบที่มีหน่วยเป็ นวินาที จึงต้องเปลี่ยนหน่วยจากวินาที
1,800
เป็นนาที ดังนี้ 60 =30 นาที
14. ตอบ ก. 21 เท่า
แนวคิด ใช้วิธีการหา ห.ร.ม. และ ค.ร.น. ดังนี้
27 = 3 × 3 × 3
63 = 3 × 3 × 7
ห.ร.ม.ของ 27 และ 63 คือ = 3 × 3 = 9 ค.ร.น.ของ 27 และ 63 คือ 33 × 7 = 189
189
เนื่องจาก 9 = 21 ดังนั้น ค.ร.น. ของ 27 และ 63 เป็น 21 เท่าของ ห.ร.ม ของจำนวนทั้ง
สอง

15. ตอบ ค. 73 เส้น


แนวคิด ห.ร.ม. ของ 40, 90, 120, 180 และ 300 จะเป็ นความยาวของเชือกที่สามารถตัดได้
5 40 90 120 180 300
2 8 18 24 36 60
4 9 12 18 30
จะได้ว่า ห.ร.ม. ของ 40, 90, 120, 180 และ 300 คือ 2× 5 = 10
และผลหาร 4, 9, 12, 18 และ 30 เป็นจำนวนเส้นเชือกที่เกิดจากการตัด
ดังนั้น จำนวนเชือกทั้งหมดที่ตัดได้ เท่ากับ 4 + 9 + 12 + 18 + 30 = 73 เส้น
16. ตอบ ก. 0 เป็ นจำนวนเต็มบวก
แนวคิด จำนวนเต็มประกอบด้วย
1) จำนวนเต็มบวก 2) ศูนย์ 3) จำนวนเต็มลบ
ก. ไม่ถูกต้อง เพราะ 0 ไม่เป็นจำนวนเต็มบวก
ข. ถูกต้อง เพราะ -5.0 เท่ากับ -5 ซึ่งเป็ นจำนวนเต็ม
ค. ถูกต้อง เพราะจำนวนเต็มบวก ได้แก่ 1, 2, 3, ... ซึ่งเรียกว่าจำนวนนับ
363
ง. ถูกต้อง เพราะ 3 = 121 ซึ่งเป็ นจำนวนเต็มแต่เขียน 121 ในรูปเศษส่วน
17. ตอบ ง. a × b > 0
แนวคิด ก. ไม่ถูกต้อง เพราะ b และ a อยู่ทางซ้ายของ 0 แสดงว่าเป็นจำนวนลบ ซึ่ง b อยู่ทาง
ซ้ายมากกว่า a ดังนั้น b < a
ข. ไม่ถูกต้อง เพราะ b และ a เป็นจำนวนลบ แต่ c อยู่ทางขวาของ 0 แสดงว่าเป็น
จำนวนบวก ดังนั้น a + b < c
ค. ไม่ถูกต้อง เพราะ b เป็นจำนวนลบที่น้อยที่สุดในเส้นจำนวนนี้
ง. ถูกต้อง เพราะ a และ b เป็นจำนวนลบ ดังนั้น a × b > 0
18. ตอบ ค. (c × d) > (a - b)
แนวคิด ก. ถูกต้อง เพราะ a, b และ c เป็นจำนวนเต็มลบ แต่ d เป็นจำนวนเต็มบวก ทำให้
(a + b + c) เป็นจำนวนเต็มลบ ผลลัพธ์ (a + b + c) × d ที่ได้เป็นจำนวนเต็มลบ
เนื่องจากจำนวนเต็มลบคูณด้วยจำนวนเต็มบวกได้จำนวนเต็มลบ
ข. ถูกต้อง เพราะ - ( b - a) = - b + a (ใช้สมบัติการแจกแจง)
= a – b (ใช้สมบัติการสลับที่)
ดังนั้น (a - b) = - ( b - a)
ค. ไม่ถูกต้อง เพราะ c เป็นจำนวนเต็มลบ, d เป็นจำนวนเต็มบวก จะได้ (c × d) เป็น
จำนวนเต็มลบ และ (a - b) เป็นจำนวนเต็มบวก ดังนั้น (c × d) < (a - b)
ง. ถูกต้อง เพราะ b และ c เป็นจำนวนเต็มลบ จะได้ (b ÷ c) เป็นจำนวนบวก แต่
d เป็นจำนวนเต็มบวก จะได้ (d ÷ c) เป็นจำนวนลบ
ดังนั้น (b ÷ c) > (d ÷ c)
19. ตอบ ข. [ (−3 ) +5 ]+7=(−3 )+ [ 7+ 5 ] ใช้สมบัติการเปลี่ยนหมู่
แนวคิด สมบัติการสลับที่สำหรับการบวก a+ b=b+a
สมบัติการสลับที่สำหรับการคูณ a × b=b ×a
สมบัติการแจกแจง เป็ นสมบัติที่แสดงความเกี่ยวข้องระหว่างการบวกและการคูณที่
กล่าวว่า ถ้า a, b และ c แทนจำนวนเต็มใด ๆ แล้ว a × [ b +c ] =[ a × b ] + [ a ×c ]
สมบัติการเปลี่ยนหมู่สำหรับการบวก ถ้า a, b และ c แทนจำนวนเต็มใด ๆ แล้ว
(a + b) + c = a + (b + c)
สมบัติของศูนย์ a+ 0=0+ a=a
พิจารณาจากตัวเลือก
ก. ถูกต้อง ตามสมบัติการแจกแจง
ข. ไม่ถูกต้อง เพราะใช้สมบัติการการเปลี่ยนหมู่ก่อน แล้วจึงใช้สมบัติการสลับที่สำหรับ
การบวก
ค. ถูกต้อง ตามสมบัติการสลับที่สำหรับการคูณ
ง. ถูกต้อง ตามสมบัติของศูนย์
20. ตอบ ค. c=9
แนวคิด 1) (−4 ×5 ) + (−4 ×3 )=−4 ×a=−4 × ( 5+3 )=−4 × ( 8 )
ดังนั้น a=8 จากสมบัติการแจกแจง
2) ( 13 ×b )−( 13 ×141 ) =13× 59
¿ 13 ( b−141 )
จากสมบัติการแจกแจงจะได้ว่า ( b−141 )=59
b=141+59=200
ดังนั้น b=200
3) (−9 )( 3−9 )= (−9 ×3 ) −( c ×−9 )
จากสมบัติการแจกแจงจะได้ว่า c=−9
ดังนั้น c=−9
4) [ 0 ÷ (−99 ) ] ÷ [ a ÷ a ] =d เมื่อ a ≠ 0
0 ÷ 1=d
0=d
ดังนั้น d=0
เพราะฉะนั้น ข้อ ค. c=9 จึงไม่ถูกต้อง
21. ตอบ ข. 57
แนวคิด
[ (−9 ) +9 ] × [|−7|+|7|]
(−1 ) +2+3+ (−3 )
+
[ 99÷ (−99 )
=
]
(−285 ) ÷5 0× 14 (−57 )
1
+
(−1 )
¿ 0+57
¿ 57
22. ตอบ ง. b+ (−9 ) + (−19 ) =−202
แนวคิด พิจารณา b ว่าเป็นจำนวนเต็มลบหรือไม่ โดยการแก้สมการ ดังนี้
ก. b × (11 ) ( 2 )(−99 )=−117
−117
b=
(11 ) ( 2 )(−99 )
ดังนั้น b เป็ นจำนวนบวก
ข. [ b−100 ] × (−55 )=1,000
1,000
b= +100
−55
ดังนั้น b ไม่เป็ นจำนวนเต็ม
b
ค. 10
× (−10 )=1,001
b=1,001+1
ดังนั้น b เป็ นจำนวนเต็มบวก
ง. b+ (−9 ) + (−19 ) =−202
b−28=−202
b=−202+28
ดังนั้น b เป็ นจำนวนเต็มลบ
23. ตอบ ง. มี a และ b ซึ่ง a 3=b2
แนวคิด ก. ไม่ถูกต้อง เช่น ถ้าให้ a=2 และ b=−2 จะได้ว่า a 2=b2 แต่ a ≠ b
ข. ไม่ถูกต้อง เช่น ถ้าให้ a=2 และ b=−2 จะได้ว่า a 4=b4 แต่ a ≠ b
ค. ไม่ถูกต้อง เช่น ถ้าให้ a=−2 , b=6 และ c=3 จะได้ว่า a 2 c 2=b 2 แต่ b ≠ ac
ง. ถูกต้อง เช่น มี a=4 และ b=6 จะได้ว่า a 3=64=b2
24. ตอบ ค. a เป็ นจำนวนเต็มลบ และ b เป็ นจำนวนเต็มที่ไม่เท่ากับ 0
แนวคิด เนื่องจาก a b 2=c และ c เป็นจำนวนเต็มลบ นั่นคือ a , b 2และ c ไม่เท่ากับ 0
a ต้องเป็นจำนวนลบ b 2เป็นจำนวนเต็มบวก นั่นคือ b เป็นจำนวนเต็มที่ไม่เท่ากับ 0
ดังนั้น a เป็ นจำนวนเต็มลบ และ b เป็ นจำนวนเต็มที่ไม่เท่ากับ 0
25. ตอบ ค. 22 ∙73 ∙ 112 ∙ 193
แนวคิด 121 ×2,744 × 6,859=112 ∙ 8 ∙343 ∙ 193
2 3 3 3
¿ 11 ∙2 ∙ 7 ∙ 19
เมื่อจัดรูปใหม่จะได้ 23 ∙7 3 ∙ 112 ∙ 193 ซึ่งตรงกับคำตอบข้อ ค.

1
26. ตอบ ง. 32

() ()
a 5
1 1 1 1
แนวคิด จาก 3
= = =
243 35 3
 a=5

จาก (−2 )b =1,024=(−2 )10  b=10

(a ) ( 5 ) (1)
5 5 5
1
ดังนั้น b = 10 = 2 = 32
27. ตอบ ค. 192
แนวคิด 223=28 =256 และ ( 22 )3=26=64
ดังนั้น 223 และ ( 22 )3 ต่างกันเท่ากับ 256 – 64 = 192
28. ตอบ ก. ( ab )8
−n 1
แนวคิด จาก a =
a
n , m
a ∙ a =a
n m +n
, m
a ÷ a =a
n m−n

( ) ( ) ( ) ( )
−7 −2 2 −2 4 5 −2 2 1 4
a b a b b∙b a ∙a
3 −5
÷ −1 3
= 3 7 ÷ 3 2
a b a b a ∙a b ∙b

( ) ( )
6 −2 3 4
b a
¿ 10
÷ 5
a b

( ) ( )
10 2 5 4
a b
¿ 6 × 3
b a
20 20
a ∙b
¿ 12 12
b ∙a
20−12 20−12
¿a ∙b
8 8 8
¿ a b =( ab )

( )
2
−1
29. ตอบ ง. 3
0
×0 =0

( ) ( ) ( )
5 5 10
2 3 5 1 1 1 1
แนวคิด ก. 0.01 0.01 = 0.01 = 100 = 102 ¿ 1010 = 10
( ) ( ) ( )

( ) ( )( ) ( )
4 4 3 7
1 3 1 1 1 1
ข. 2 ( 0.5 ) = 2 2 = 2 = 7
2

() ( ) () () () ()
3 4 3 4 3 4−3
4 4 8 4 4 4 4 4
ค. ( 0.8 ) ÷ 5 = 10 ÷ 5 = 5 ÷ 5 = 5 = 5

( )
2
−1
ง. 3 ×00 หาค่าไม่ได้ เพราะ 0 0 ไม่นิยามทางคณิตศาสตร์
30. ตอบ ก. −19
2 ×3
2
[ ( (−2 ) ) ÷2 ]
−2 −2 −1
2 3 −2 −1
แนวคิด −3
÷ [2 ÷ 3
−1
] ¿ [ 4 3 ÷2−3 ] ÷ [ 2−1 ×32 ]
−2 −1
¿ [ 26 ×23 ] ÷ [ 2−1 × 32 ]
¿ (2 ) ÷ [ 2 × 3 ]
9 −2 1 −2

¿ 2−18 ÷ [2 ×3−2 ]
−18−1 2
¿2 ×3
−19 2
¿2 ×3
ดังนั้น [ ( (−2 )2 )3 ÷2−3 ]
−2
÷ [2 ÷ 3
−1 −2 −1
] = 2
−19
×3
2

31. ตอบ ค. 0
แนวคิด ( 8.9 ×10 3 ) × ( 9.9 ×10−4 ) =88.11×10−1=8.811×10 × 10−1
จาก 8.811× 10a=8.811× 100
ดังนั้น a=0
32. ตอบ ข. 0.00000005888=5.888 ×10−9
แนวคิด ข้อ ก., ข้อ ค. และข้อ ง. เขียนได้ถูกต้องในรูปสัญกรณ์วิทยาศาสตร์ แต่ข้อ ข. เขียนได้ไม่
ถูกต้อง เพราะ 0.00000005888=5.888 ×10−8
33. ตอบ ก. 2 . 4 ×10 33 กรัม
แนวคิด มวลของดวงอาทิตย์ประมาณ ( 6 × 1024 ) ( 4 × 105 ) กิโลกรัม
29
¿ 24 × 10 =2.4 ×10
30
กิโลกรัม
พิจารณาจากตัวเลือกยังไม่มีคำตอบที่ถูกต้อง ดังนั้น จึงต้องเปลี่ยนหน่วยจากกิโลกรัม
เป็นกรัมเพื่อหาข้อที่ถูกต้อง
จาก มวลของดวงอาทิตย์ประมาณ 2.4 × 1030=2.4 × 1030 ×10 3 กรัม
¿ 2.4 × 10 กรัม
33

ดังนั้น น้ำหนักของดวงอาทิตย์มีมวลประมาณ 2.4 × 1033 กรัม


34. ตอบ ข. 90,000 ตัว
แนวคิด ไวรัสเรียงต่อกันเป็ นสายยาวประมาณ 6.3 ×10−4 เมตร
ถ้าไวรัสแต่ละตัวยาวประมาณ 7 ×10−9 เมตร
−4 −4
6.3 ×10 6.3× 10
จะมีไวรัสเรียงต่อกันอยู่ประมาณ −9
¿ −9 ตัว
7 ×10 7 ×10
¿ 0.9 ×10
−4− ( −9)
ตัว
¿ 0. 9 ×105 ตัว
¿ 9 ×10 4
ตัว
ดังนั้น มีไวรัสที่เรียงต่อกันอยู่ประมาณ 90,000 ตัว
35. ตอบ ก. 516.8568
แนวคิด มูลค่าจำหน่ายเวชภัณฑ์ของบริษัทแห่งนี้ในครึ่งปี แรก เท่ากับ
( 4.568× 105 ) + ( 5.164 × 108 ) บาท
¿ ( 4.568× 105 ) + ( 5,164 × 105 ) บาท
¿ ( 4.568+ 5,164 ) ×10
5
บาท
¿ 5,168.568 ×10
5
บาท
¿ 516.8568 ×10
6
บาท
¿ 516.8568 ล้านบาท
36. ตอบ ข. เส้นตรง ´
AB เขียนแทนด้วย AB คือเส้นตรงที่มีความยาวจำกัด
ดังนั้น มูลค่าจำหน่ายเวชภัณฑ์ของบริษัทในครึ่งปี แรก เท่ากับ 516.8568และคำนึงถึง
ล้านบาท
ความกว้างของเส้นตรง ดังรูป
A B
แนวคิด ข้อ ก., ข้อ ค. และข้อ ง. ถูกต้อง แต่ข้อ ข. ไม่ถูกต้อง เพราะ เส้นตรง AB เขียนแทนด้วย
´ คือเส้นตรงที่มีความยาวไม่จำกัด และคำนึงถึงความกว้างของเส้นตรง ดังรูป
AB

A B
37. ตอบ ข. 135 °
แนวคิด จากขั้นตอนการสร้างรูปพบว่า A ^B D=D B^ C=90 °
สร้าง ⃗ BE ให้แบ่งครึ่งมุมฉาก A ^B D ทำให้ A ^B E=E ^B D=45 °
ดังนั้น E ^BC มีขนาดมุม เท่ากับ 90 ° +45 °=135°
38. ตอบ ง. 2 เท่าของ m ( P E^ C ) เท่ากับหนึ่งมุมฉาก
แนวคิด เนื่องจาก AB/¿´ CD´
ก. m ( A F^ E ) =m ( F E^ D ) เพราะมุมแย้งเท่ากัน
ข. m ( C ^E P )=m ( A ^F E ) เพราะมุมภายนอกเท่ากับมุมภายในที่ไม่ใช่มุมประชิดบนด้าน
เดียวกันของเส้นตัด
ค. m ( C ^E F ) + m ( A ^F E )=180 ° เพราะมุมภายในบนด้านเดียวกันของเส้นตัดรวมกัน
เท่ากับ 180 °
ง. ไม่ใช่สมบัติของเส้นขนาน
39. ตอบ ข. 4 เท่า
แนวคิด มุมตรงมีขนาด 180 °
หนึ่งมุมฉากมีขนาด 90 ° จะได้ว่า มุมครึ่งมุมฉากมีขนาด 45 °
ดังนั้น มุมตรงมีขนาดเป็ นสี่เท่าของมุมครึ่งมุมฉาก
40. ตอบ ค. 105 °
แนวคิด ก. สร้างได้ เพราะมุมที่มีขนาด 15 ° สร้างจากการแบ่งครึ่งมุม 30 ° โดยใช้วงเวียนและ
สันตรงได้
1
ข. สร้างได้ เพราะมุมที่มีขนาด 22 2 ° สร้างจากการแบ่งครึ่งมุม 45 ° โดยใช้วงเวียน
และสันตรงได้
ค. สร้างไม่ได้ เพราะต้องกำหนดขนาดมุม 70 ° มาก่อน จึงแบ่งครึ่งมุม 70 ° แล้วนำ
มุม 70 ° +35 °=105 °
ง. สร้างได้ เพราะใช้มุม 15 ° จากข้อ ก.จะได้ส่วนที่เป็ นมุมป้ านจาก 180 °−15 °=165 °
41. ตอบ ก. ลูกเต๋าขึ้นแต้มเป็ นจำนวนนับซึ่งไม่มากกว่า 6
แนวคิด ทอดลูกเต๋า 1 ครั้งมีโอกาสที่จะได้แต้ม 1, 2, 3, 4, 5 หรือ 6 ได้
ก. ถูกต้องเพราะแต้ม 1, 2, 3, 4, 5 หรือ 6 ที่ขึ้นนั้นเป็ นจำนวนนับซึ่งไม่มากกว่า 6
ข. ไม่ถูกต้อง เพราะแต้ม 2, 3 และ 5 เท่านั้นที่เป็นจำนวนเฉพาะ
ค. ไม่ถูกต้อง เพราะลูกเต๋าขึ้นแต้ม 1 มีโอกาสเกิดขึ้นได้ แต่ 1 ไม่เป็นจำนวนเต็มที่มากกว่า 1
ง. ไม่ถูกต้อง เพราะแต้มของลูกเต๋าอาจขึ้นเป็ นจำนวนคู่ได้
42. ตอบ ข. เหตุการณ์ที่หยิบได้บัตรเป็ นจำนวนคี่
แนวคิด จำนวนคู่มี 1 จำนวน คือ 2
จำนวนคี่มี 7 จำนวน คือ 3, 5, 7, 9, 11, 13 และ 15
จำนวนเฉพาะมี 6 จำนวน คือ 2, 3, 5, 7, 11, 13
จำนวนที่หารด้วย 3 ลงตัว มี 3 จำนวนคือ 3, 9 และ 15
ดังนั้น เหตุการณ์ที่หยิบได้บัตรเป็นจำนวนคี่มีโอกาสเกิดขึ้นมากที่สุด
43. ตอบ ค. ผลต่างของบัตรทั้งสองใบเป็ นศูนย์
แนวคิด ก. มีโอกาสเกิดขึ้นได้ เพราะบัตรทุกใบเป็ นจำนวนเต็มบวก ผลบวกของจำนวนเต็ม
บวกสองจำนวนยังคงเป็ นจำนวนเต็มบวก
ข. มีโอกาสเกิดขึ้นได้ เช่น ถ้าสุ่มหยิบบัตรใบแรกได้ 2 ใบที่สองได้ 3 แล้วผลบวกของ
บัตรทั้งสองใบเป็ นจำนวนคี่
ค. ไม่มีโอกาสเกิดขึ้นได้ เพราะบัตรทุกใบเป็ นจำนวนเต็มบวกที่แตกต่างกัน ดังนั้น
การหาผลต่างของสองจำนวนจึงไม่มีโอกาสเท่ากับศูนย์
ง. มีโอกาสเกิดขึ้นได้ เช่น ถ้าสุ่มหยิบบัตรใบแรกได้ 3 ใบที่สองได้ 5 แล้วผลบวกของ
จำนวนทั้งสองเป็ นจำนวนคู่
44. ตอบ ง. เหตุการณ์ข้อ 1), 2), 3) และ 4)
แนวคิด กล่องทึบแสงบรรจุลูกปิงปอง 3 สี คือ สีแดง, สีขาว และสีเขียวอย่างละ 3 ลูก ดังนั้น เมื่อ
หยิบลูกปิงปองพร้อมกัน 3 ลูก สีของลูกปิงปองที่หยิบได้อาจเป็นสีเดียวกันทั้ง 3 ลูก หรือ
เป็นสีเดียวกันเพียง 2 ลูก หรือแต่ละลูกเป็นสีแดง สีขาวหรือสีเขียวได้ เพราะฉะนั้น
เหตุการณ์ข้อ 1), 2), 3) และ 4) จึงมีโอกาสเกิดขึ้นได้
45. ตอบ ง. เหตุการณ์ข้อ 4)
แนวคิด หยิบลูกปิงปองพร้อมกัน 3 ลูก 1 ครั้ง สีของลูกปิงปองอาจจะมีสีเดียว สองสี และสามสี
ดังนั้น เหตุการณ์ที่หยิบได้ลูกปิ งปองสีใดสีหนึ่งของลูกปิ งปองทั้งสามสีนี้มีโอกาส
เกิดขึ้นแน่นอน
46. ตอบ ก. สุขมีความมั่นใจว่าถ้าหยิบลูกแก้วจากกล่องใบที่ 2 แล้วจะได้ลูกแก้วสีฟ้ าแน่นอน
1 1
แนวคิด กล่องใบที่ 1 มีลูกแก้วสีฟ้ า 2 ของทั้งหมด ดังนั้น มีลูกแก้วสีส้ม 2 ของทั้งหมด
3 1
กล่องใบที่ 2 มีลูกแก้วสีฟ้ า 4 ของทั้งหมด ดังนั้น มีลูกแก้วสีส้ม 4 ของทั้งหมด
พิจารณาตัวเลือก
ก. ไม่ถูกต้อง เพราะในกล่องใบที่ 2 มีลูกแก้วสีส้มด้วย อาจจะหยิบได้ลูกแก้วสีส้ม ดังนั้น
โอกาสที่จะหยิบได้ลูกแก้วสีฟ้ าในกล่องใบที่ 2 จึงมีโอกาสเกิดขึ้นได้
ข. ถูกต้อง เพราะในกล่องใบที่ 1 มีจำนวนลูกแก้วสีฟ้ าและสีส้มเท่ากัน
ดังนั้น โอกาสที่จะได้ลูกแก้วสีฟ้ าหรือสีส้มเท่ากัน
ค. ถูกต้อง เพราะกล่องทั้ง 2 ใบ มีลูกแก้วสีส้ม
ดังนั้น ไม่ว่าจะหยิบลูกแก้วจากกล่องใบที่ 1 หรือ 2 อาจจะได้ลูกแก้วสีส้ม
ง. ถูกต้อง เพราะในกล่องใบที่ 2 มีลูกแก้วสีส้มน้อยกว่าสีฟ้ า
ดังนั้น โอกาสที่จะหยิบได้ลูกแก้วสีส้มน้อยกว่าโอกาสที่จะหยิบได้ลูกแก้วสีฟ้ า จะต้อง
เลือกหยิบจากกล่องใบที่ 2
47. ตอบ ง. เหตุการณ์ที่เหรียญจะขึ้นหน้าเหมือนกันที่โอกาสเกิดขึ้นมากที่สุด
แนวคิด การโยนเหรียญที่เที่ยงตรง 1 อัน 3 ครั้ง สามารถบอกผลทั้งหมดที่เกิดขึ้นได้
ดังนั้น จึงเป็ นการทดลองสุ่ม
เมื่อกำหนดให้ H แทนหัว และ T แทนก้อย
ผลทั้งหมดที่เกิดขึ้น คือ {HHH, HHT, HTH, HTT, THH, THT, TTH, TTT}
พิจารณาตัวเลือก
ก. ถูกต้อง เพราะสามารถบอกผลทั้งหมดที่เกิดขึ้นจึงเป็นการทดลองสุ่ม
ข. ถูกต้อง เพราะ เหตุการณ์ที่เหรียญขึ้นหัวทั้ง 3 ครั้ง คือ {HHH} และขึ้นก้อยทั้ง 3 ครั้งคือ
{TTT} ทั้งสองเหตุการณ์มีจำนวนเท่ากัน จึงมีโอกาสเกิดขึ้นเท่ากัน
ค. ถูกต้อง เพราะเหตุการณ์ที่เหรียญจะขึ้นหัวอย่างน้อย 1 ครั้ง คือ {HHH, HHT, HTH, HTT,
THH, THT, TTH} ขึ้นก้อยทั้ง 3 ครั้ง คือ {HHT, HTH, HTT, THH, THT, TTH, TTT} ดัง
นั้น เหตุการณ์ที่เหรียญขึ้นหัวอย่างน้อย 1 ครั้ง และขึ้นก้อยอย่างน้อย 1 ครั้ง ทั้งสอง
เหตุการณ์มีจำนวนเท่ากัน จึงมีโอกาสเกิดขึ้นเท่ากัน
ง. ไม่ถูกต้อง เพราะเหตุการณ์ที่เหรียญจะขึ้นหน้าเหมือนกัน คือ {HHH, TTT} ซึ่งไม่ใช่
เหตุการณ์ที่มีโอกาสเกิดขึ้นมากที่สุด
48. ตอบ ข. เหตุการณ์ที่ลูกศรจะหยุดอยู่พื้นที่ G มีโอกาสเกิดขึ้นแน่นอน
แนวคิด ก. ถูกต้อง เพราะวงล้อมีพื้นที่ R และ Y เท่ากัน
ดังนั้น เหตุการณ์ที่ลูกศรจะหยุดอยู่พื้นที่ R และ Y จึงมีโอกาสเกิดขึ้นเท่ากัน
ข. ไม่ถูกต้อง เพราะหมุนวงล้อ 1 ครั้ง ลูกศรอาจหยุดในพื้นที่ G, R หรือ Y ได้
ดังนั้น เหตุการณ์ที่ลูกศรจะหยุดอยู่พื้นที่ G มีโอกาสเกิดขึ้นได้
ค. ถูกต้อง เพราะวงล้อมีพื้นที่ G 2 ส่วน แต่พื้นที่ R และ Y มี 1 ส่วน
ดังนั้น เหตุการณ์ที่ลูกศรจะหยุดอยู่พื้นที่ G มีโอกาสเกิดขึ้นมากกว่าเหตุการณ์ที่ลูกศร
จะหยุดอยู่พื้นที่ R
ง. ถูกต้อง เพราะวงล้อมีพื้นที่ G ซึ่งอยู่ระหว่างพื้นที่ R และ Y
ดังนั้น เหตุการณ์ที่ลูกศรจะหยุดอยู่พื้นที่ G ซึ่งอยู่ระหว่าง R และ Y มีโอกาสเกิดขึ้นได้
49. ตอบ ง. 4 ข้อ
แนวคิด 1) ถูกต้อง เพราะ แต่ละหน้าของลูกบาศก์ประกอบด้วยตัวเลขต่างกันทั้งหมด 6 ตัว
ดังนั้น โยนลูกบาศก์หนึ่งลูก 1 ครั้ง เหตุการณ์ที่หน้าของลูกบาศก์จะขึ้นตัวเลขใด
ตัวเลขหนึ่งในหกตัวนี้ มีโอกาสเกิดขึ้นได้เท่ากัน
2) ถูกต้อง เพราะ 0 เป็นตัวเลขบนหน้าของลูกบาศก์นี้
3) ถูกต้อง เพราะจากสมบัติการบวกของจำนวนเต็ม จะได้ว่า จำนวนเต็มบวกบวก
กับจำนวนเต็มบวกใด ๆ จะให้ผลบวกเป็ นจำนวนเต็มบวกเสมอ
4) ถูกต้อง เพราะมีจำนวนเต็มซึ่งเป็ นจำนวนตรงข้ามกัน ได้แก่ -1 กับ 1 หรือ -2 กับ 2
50. ตอบ ก. โยนลูกบาศก์หนึ่งลูก 2 ครั้ง เหตุการณ์ที่ผลคูณของจำนวนทั้งสองเป็ นจำนวนเต็ม
แนวคิด จากสมบัติการคูณของจำนวนเต็ม ผลคูณของจำนวนเต็มสองจำนวนใด ๆ เป็นจำนวน
เต็มเสมอ ดังนั้น โยนลูกบาศก์หนึ่งลูก 2 ครั้ง โอกาสที่ผลคูณของตัวเลขทั้งสองเป็น
จำนวนเต็ม จึงมีโอกาสเกิดขึ้นได้แน่นอน ส่วนเหตุการณ์ข้อ ข., ค. และ ง. มีโอกาส
เกิดขึ้นได้

You might also like